• แชร์ลูกโซ่ คือ Paper Company อย่างหนึ่ง พึงระวังได้อย่างไร
    .
    โดย ผศ.ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์
    สาขาวิชาสถิติศาสตร์
    สาขาวิชาพลเมืองวิทยาการข้อมูล
    สาขาวิชาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง
    คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    .
    Paper company หรือบริษัทกระดาษ เป็นบริษัทที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หรือพูดง่าย ๆ ว่าเป็นบริษัทที่เป็นมิจฉาชีพเพื่อโกงโดยเฉพาะ Paper company เหล่านี้อาจจะโกงได้ตั้งแต่

    1. การหลบเลี่ยงภาษี ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น การจ้างพนักงานปลอม แล้วนำไปเป็นค่าใช้จ่าย โดยยอมเสียภาษีหัก ณ ที่จ่าย (Withholding tax) ของค่าจ้างเงินเดือน และอื่น ๆ
    2.การฟอกเงิน (นำเงินที่ได้มาจากการกระทำผิดกฎหมายมาแปลงให้เป็นเงินที่ถูกกฎหมาย)
    3. การสวมรอยในการกระทำผิดกฎหมายเพื่อแสวงหารายได้ที่ไม่ถูกต้อง
    4. การพักเงินเพื่อส่งต่อผ่องถ่าย (Siphon) จากธุรกิจหนึ่งไปยังอีกธุรกิจหนึ่ง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ผิดกฎหมาย
    5. การขอคืนภาษีอันเป็นเท็จ (Fraudulent tax refund) ได้แก่ การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเท็จ การขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นเท็จ เป็นต้น
    6. การออกใบกำกับภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเท็จ เพื่อนำไปใช้ในการสร้างค่าใช้จ่ายเท็จสำหรับลงบัญชีเพื่อลดการจ่ายภาษีหรือหลบเลี่ยงภาษี เป็นต้น
    7. การยืมเงินโดยอ้างว่าเป็นการลงทุน การสมัครหาสมาชิก อันเป็นการฉ้อโกงประชาชน ในลักษณะของแชร์ลูกโซ่ แต่ไม่ได้ประกอบกิจการจริง เช่น อ้างว่าเป็นธุรกิจขายตรงออนไลน์ ที่รับบริหารสินค้าคงเหลือให้เป็นศูนย์ (Zero-inventory) ได้ เป็นต้น
    8. การตั้ง paper company เพื่อใช้ยืมเงินระหว่างบริษัทหรือตั้งราคาโอน (Transfer pricing) เพื่อสร้างค่าใช้จ่ายสูง ๆ ผิดปกติ หรือสร้างยอดขายปลอม ก็เป็นสิ่งที่ทำกันเพื่อตบตานักลงทุนหรือเพื่อหลบกรมสรรพากร
    และมีรูปแบบอื่น ๆ อีกมาก

    บริษัทกระดาษเหล่านี้ หาได้ประกอบกิจการจริงไม่ หาได้ทำธุรกิจจริง แต่ตั้งขึ้นอย่างถูกต้องเพื่อโกงและกระทำผิดกฎหมายสารพัดวิธีการที่จะคิดสร้างสรรค์อย่างผิดวิธี เพื่อโกงประเทศชาติหรือหลอกลวงประชาชน ......
    .
    คลิกอ่านต่อ >> https://mgronline.com/daily/detail/9670000100823
    แชร์ลูกโซ่ คือ Paper Company อย่างหนึ่ง พึงระวังได้อย่างไร . โดย ผศ.ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์ สาขาวิชาสถิติศาสตร์ สาขาวิชาพลเมืองวิทยาการข้อมูล สาขาวิชาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ . Paper company หรือบริษัทกระดาษ เป็นบริษัทที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หรือพูดง่าย ๆ ว่าเป็นบริษัทที่เป็นมิจฉาชีพเพื่อโกงโดยเฉพาะ Paper company เหล่านี้อาจจะโกงได้ตั้งแต่ 1. การหลบเลี่ยงภาษี ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น การจ้างพนักงานปลอม แล้วนำไปเป็นค่าใช้จ่าย โดยยอมเสียภาษีหัก ณ ที่จ่าย (Withholding tax) ของค่าจ้างเงินเดือน และอื่น ๆ 2.การฟอกเงิน (นำเงินที่ได้มาจากการกระทำผิดกฎหมายมาแปลงให้เป็นเงินที่ถูกกฎหมาย) 3. การสวมรอยในการกระทำผิดกฎหมายเพื่อแสวงหารายได้ที่ไม่ถูกต้อง 4. การพักเงินเพื่อส่งต่อผ่องถ่าย (Siphon) จากธุรกิจหนึ่งไปยังอีกธุรกิจหนึ่ง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ผิดกฎหมาย 5. การขอคืนภาษีอันเป็นเท็จ (Fraudulent tax refund) ได้แก่ การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเท็จ การขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นเท็จ เป็นต้น 6. การออกใบกำกับภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเท็จ เพื่อนำไปใช้ในการสร้างค่าใช้จ่ายเท็จสำหรับลงบัญชีเพื่อลดการจ่ายภาษีหรือหลบเลี่ยงภาษี เป็นต้น 7. การยืมเงินโดยอ้างว่าเป็นการลงทุน การสมัครหาสมาชิก อันเป็นการฉ้อโกงประชาชน ในลักษณะของแชร์ลูกโซ่ แต่ไม่ได้ประกอบกิจการจริง เช่น อ้างว่าเป็นธุรกิจขายตรงออนไลน์ ที่รับบริหารสินค้าคงเหลือให้เป็นศูนย์ (Zero-inventory) ได้ เป็นต้น 8. การตั้ง paper company เพื่อใช้ยืมเงินระหว่างบริษัทหรือตั้งราคาโอน (Transfer pricing) เพื่อสร้างค่าใช้จ่ายสูง ๆ ผิดปกติ หรือสร้างยอดขายปลอม ก็เป็นสิ่งที่ทำกันเพื่อตบตานักลงทุนหรือเพื่อหลบกรมสรรพากร และมีรูปแบบอื่น ๆ อีกมาก บริษัทกระดาษเหล่านี้ หาได้ประกอบกิจการจริงไม่ หาได้ทำธุรกิจจริง แต่ตั้งขึ้นอย่างถูกต้องเพื่อโกงและกระทำผิดกฎหมายสารพัดวิธีการที่จะคิดสร้างสรรค์อย่างผิดวิธี เพื่อโกงประเทศชาติหรือหลอกลวงประชาชน ...... . คลิกอ่านต่อ >> https://mgronline.com/daily/detail/9670000100823
    MGRONLINE.COM
    แชร์ลูกโซ่ คือ Paper Company อย่างหนึ่ง พึงระวังได้อย่างไร
    Paper company หรือบริษัทกระดาษ เป็นบริษัทที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หรือพูดง่าย ๆ ว่าเป็นบริษัทที่เป็นมิจฉาชีพเพื่อโกงโดยเฉพาะ Paper company เหล่านี้อาจจะโกงได้ตั้งแต่
    Like
    9
    1 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 454 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13 ตุลาคม วันนวมินทรมหาราช
    น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ 🙏🏻💛🇹🇭

    รับชมไลฟ์จากเวทีในงานหนังสือฯ สนพ.บ้านพระอาทิตย์ ดำเนินรายการโดย อ.อานนท์ค่ะ

    https://www.facebook.com/share/v/m97z1L6H8uyUdk24/

    13 ตุลาคม วันนวมินทรมหาราช น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ 🙏🏻💛🇹🇭 รับชมไลฟ์จากเวทีในงานหนังสือฯ สนพ.บ้านพระอาทิตย์ ดำเนินรายการโดย อ.อานนท์ค่ะ https://www.facebook.com/share/v/m97z1L6H8uyUdk24/
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 55 มุมมอง 0 รีวิว
  • บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม
    กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง

    1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘)
    มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘

    2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์
    ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ

    3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ
    ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง

    4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ
    1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล
    2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล
    3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต
    พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน
    ดังข้อความว่า
    "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส
    คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า

    5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ
    “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ;
    เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ.
    "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม
    ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ
    การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์

    6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้
    ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี
    เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด
    "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ."
    วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙.
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8

    ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ
    สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล”
    (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.)

    วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ
    (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช)

    7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร
    เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.)

    8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน
    โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น
    จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ

    9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า
    “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา.
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์
    วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20
    หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด

    10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า
    “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม;
    คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก .
    ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง
    ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้
    ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ
    ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ
    ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม
    อธิบายความ
    1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓)
    2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา
    3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ
    4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓)

    11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม

    12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ
    ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า
    “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา
    เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    (ที.มหา.10/134/78.)
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3
    คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน
    ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้

    13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ
    ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต
    ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.

    14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา
    ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย

    15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด
    การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่
    (มี ต่อ 16-18)

    อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง 1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘) มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘ 2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์ ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ 3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง 4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ 1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล 2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล 3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า 5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ; เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ. "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์ 6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้ ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ." วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙. https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8 ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล” (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.) วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช) 7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.) 8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ 9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์ วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘ https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20 หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด 10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม; คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก . ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้ ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม อธิบายความ 1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓) 2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา 3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ 4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓) 11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม 12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” (ที.มหา.10/134/78.) https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3 คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้ 13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น. 14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย 15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่ (มี ต่อ 16-18) อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 212 มุมมอง 0 รีวิว
  • บทความนี้ของอาจารย์อานนท์ดีมากเลยค่ะ

    https://mgronline.com/daily/detail/9670000094676
    บทความนี้ของอาจารย์อานนท์ดีมากเลยค่ะ https://mgronline.com/daily/detail/9670000094676
    MGRONLINE.COM
    ศักดินา-กิริยา เจ้านาย-ไพร่
    เช้านี้เห็นภาพที่เด็กหนุ่มผู้เป็นไอดอลนักข่าวขวัญใจวัยรุ่นสีส้มผู้เปี่ยมไปด้วยความยโสโอหังห่อหุ้มอัตตาอันแข็งแกร่ง ปราศจากความอ่อนน้อมถ่อมต้น แสดงให้เห็นว่าศักดินานั้นไม่มีแล้วอีกต่อไป ที่ยังคงหลงเหลืออยู่มากมายคือกิริยาไพร่
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 63 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์
    พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด
    พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์
    พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา
    จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย
    พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป
    เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ
    พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
    การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
    การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗ พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์ พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์ พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์
    พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด
    พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์
    พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา
    จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย
    พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป
    เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ
    พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
    การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
    การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗ พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์ พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์ พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 48 0 รีวิว
  • มารบันเทพ

    พญามาร เป็นเทพยิ่งใหญ่ระดับสูงสุดแห่งชั้นกามาวจรหรือ เทวดาชั้นที่ 5 ชื่อว่า “ปรนิมมิตวสวัตดี” ท่านชื่อว่า “วัสสวัสดี เทวปุตตมาร” คนไทยมักเรียกว่าพญามาร ท่านเป็นมารที่หล่อขั้น เทพแน่นอน เพราะท่านเป็นทั้งเทพทั้งมาร คำว่า “มาร” แปลว่า นิมิต แห่งความขัดข้อง คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งคนไว้ มิให้พ้นจาก อ้านาจครอบงำาของตน ให้ห่วงหน้าพะวงหลังติดอยู่ในกามสุข ไม่อาจเสียสละออกไปบำเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญ่ได้

    ซึ่งมารตนนี้เคยมาเฝ้าพระพุทธเจ้าหลายครั้ง พระองค์ได้เล่าให้ พระอานนท์ฟัง ปรากฏในมหาปรินิพพานสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ ทีฆนิกาย มหาวรรค สรุปว่า

    สมัยที่พระพุทธเจ้ายังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ กำลังหนีออกจาก เมืองกบิลพัสดุเพื่อบรรพชา มาเชื่อว่าวัสสวัดดีมาร ได้เข้ามาห้ามมิให้ ออกมหาภิเนษกรมณ์ แต่พระโพธิสัตว์ได้ปฏิเสธและขับไล่มารไปเสีย

    ต่อมา เมื่อพระโพธิสัตว์ประทับนั่งบนโพธิบัลลังก์ ก่อนจะตรัสรู้ พญามารได้นำเสนามารไปรบกวน แต่ในที่สุดก็พ่ายแพ้แก่ทศบารมี ของพระโพธิสัตว์

    อีกครั้งหนึ่ง สมัยที่ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ณ ต้นอชปาลนิโครธ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ที่อุรุเวลาเสนานิคม

    สามารถอ่านต่อที่เว็บไซต์พระนิพพานได้

    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/10/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%95-6/
    มารบันเทพ พญามาร เป็นเทพยิ่งใหญ่ระดับสูงสุดแห่งชั้นกามาวจรหรือ เทวดาชั้นที่ 5 ชื่อว่า “ปรนิมมิตวสวัตดี” ท่านชื่อว่า “วัสสวัสดี เทวปุตตมาร” คนไทยมักเรียกว่าพญามาร ท่านเป็นมารที่หล่อขั้น เทพแน่นอน เพราะท่านเป็นทั้งเทพทั้งมาร คำว่า “มาร” แปลว่า นิมิต แห่งความขัดข้อง คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งคนไว้ มิให้พ้นจาก อ้านาจครอบงำาของตน ให้ห่วงหน้าพะวงหลังติดอยู่ในกามสุข ไม่อาจเสียสละออกไปบำเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญ่ได้ ซึ่งมารตนนี้เคยมาเฝ้าพระพุทธเจ้าหลายครั้ง พระองค์ได้เล่าให้ พระอานนท์ฟัง ปรากฏในมหาปรินิพพานสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ ทีฆนิกาย มหาวรรค สรุปว่า สมัยที่พระพุทธเจ้ายังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ กำลังหนีออกจาก เมืองกบิลพัสดุเพื่อบรรพชา มาเชื่อว่าวัสสวัดดีมาร ได้เข้ามาห้ามมิให้ ออกมหาภิเนษกรมณ์ แต่พระโพธิสัตว์ได้ปฏิเสธและขับไล่มารไปเสีย ต่อมา เมื่อพระโพธิสัตว์ประทับนั่งบนโพธิบัลลังก์ ก่อนจะตรัสรู้ พญามารได้นำเสนามารไปรบกวน แต่ในที่สุดก็พ่ายแพ้แก่ทศบารมี ของพระโพธิสัตว์ อีกครั้งหนึ่ง สมัยที่ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ณ ต้นอชปาลนิโครธ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ที่อุรุเวลาเสนานิคม สามารถอ่านต่อที่เว็บไซต์พระนิพพานได้ https://www.thenirvanalive.com/2023/03/10/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%95-6/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 519 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กางเขนแดงหัวใจขาว"
    ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล
    ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม
    ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก
    - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    - โรงพยาบาลยันฮี
    - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
    .
    "กางเขนแดงหัวใจขาว" ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - โรงพยาบาลยันฮี - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 709 มุมมอง 126 0 รีวิว
  • "ศิลปาชีพ"
    ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล
    ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์
    ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร
    ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ศิลปาชีพ" ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์ ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 654 มุมมอง 138 0 รีวิว
  • "กายเราคือเสาหลัก"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี
    ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "กายเราคือเสาหลัก" ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 636 มุมมอง 119 0 รีวิว
  • "คนโขน"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย
    ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่
    ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "คนโขน" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 630 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ภาพพันปี"
    ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม
    ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล
    ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ
    ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "ภาพพันปี" ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 641 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ
    ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า
    .
    ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย..
    .
    คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า)
    น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ)
    น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง)
    ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ)
    น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่)
    คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่
    เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง
    โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย
    ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่
    คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า
    ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา
    .
    "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า . ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย.. . คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า) น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ) น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง) ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ) น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่) คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่ เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่ คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 724 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "โพธิ์ทองของปวงไทย"
    ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์)
    ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย
    ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้
    ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej
    และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ
    .
    "โพธิ์ทองของปวงไทย" ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์) ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้ ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ .
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 672 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ"
    ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช
    ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 615 มุมมอง 80 0 รีวิว
  • "สุดหัวใจ"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล,
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล,
    ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "สุดหัวใจ" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล, เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล, ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 609 มุมมอง 81 0 รีวิว
  • "เพลงไหมแพรวา"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ,
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช
    ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน
    ปรัชญา นันธะชัย : แคน
    ==========================
    .
    ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "เพลงไหมแพรวา" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ, เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน ปรัชญา นันธะชัย : แคน ========================== . ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 617 มุมมอง 58 0 รีวิว
  • คิงส์แนะนำให้ทนวยหัว (water buffalo) กัดนิ้วแล้วใช้เ-ลือ-ดเขียนจดหมาย เหมือนในหนังจีน เผื่อจะได้ระบายเ-ลือ-ดชั่วๆ ของไอ้อานนท์ออกไปบ้าง
    #คิงส์โพธิ์แดง
    คิงส์แนะนำให้ทนวยหัว (water buffalo) กัดนิ้วแล้วใช้เ-ลือ-ดเขียนจดหมาย เหมือนในหนังจีน เผื่อจะได้ระบายเ-ลือ-ดชั่วๆ ของไอ้อานนท์ออกไปบ้าง #คิงส์โพธิ์แดง
    Like
    Haha
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 306 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทนายอานนท์ ขายผ้าเช็ดเท้าล็อตสุดท้าย ผืนละ 590 บาท สองผืน 1,112 บาท พรรคประชาชวยไม่ช่วยอุดหนุนเลย
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #อานนท์
    ทนายอานนท์ ขายผ้าเช็ดเท้าล็อตสุดท้าย ผืนละ 590 บาท สองผืน 1,112 บาท พรรคประชาชวยไม่ช่วยอุดหนุนเลย #คิงส์โพธิ์แดง #อานนท์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 120 มุมมอง 0 รีวิว
  • พุทธทำนายหลังกึ่งพุทธกาล....

    อานันทะ ดูก่อนอานนท์ หลังกึ่งพุทธกาล
    ( คือ ช่วงหลัง พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป )

    https://www.misc.today/2024/04/Buddhist-prediction.html
    พุทธทำนายหลังกึ่งพุทธกาล.... อานันทะ ดูก่อนอานนท์ หลังกึ่งพุทธกาล ( คือ ช่วงหลัง พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ) https://www.misc.today/2024/04/Buddhist-prediction.html
    WWW.MISC.TODAY
    พุทธทำนาย หลังกึ่งพุทธกาล
    คำทำนายนี้ ให้ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท ผู้ใดรู้แล้วไม่เชื่อ นับว่าเป็นกรรมของสัตว์ ผู้ใดปรารถนารอดพ้นจากภัยพิบัติ ให้รักษาศีล 5 ประการ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 0 รีวิว
  • กล่อนดีย์ๆแด่ "ไอซ์ โหบี๋"
    เมื่อก้าวไกล ..นั้นโดนยุบ
    ไอซ์(โหบี๋)รีบหุบ ..ปากทันที
    เพราะเต็มๆ...ด้วยคดีย์
    ยื้อเต็มที่...ได้นอุทธรณ์
    .........
    จากที่..เคยปากกล้า
    กีย์ชอบอ้า..ถ่มทวี
    ดึงดันคะ หรี่เสรี
    ถ่ายเอวี คนถ่อยชม
    ......
    เคยปากเอ่ย ..ไม่กราบไหว้
    ยกเว้นไป ..เพียงหนึ่งองค์
    ไอซ์ต้องการ..สมประสงค์
    เพียงแค่องค์-คะ-ชาติ เอย
    .....
    ร้องไห้หนักมากเพราะตัวตึงยืนยันว่าไม่ยุบ
    งานเข้าสิคร๊าบบบบ รู้รสชาติของชีวิตก็คราวนี้
    จริงๆไอซ์ก็เป็นแค่สก็อยโหบี๋ธรรมดาคนนึง
    ที่อยากมีแสง มีคนสนใจ ยิ่งปากดีพวกหัวๆยิ่งชม
    ก็เลยหลงคารม สะดุ้งตื่นอีกที
    คดีย์ตัดสินไปแล้วหกปี ที่ยังไม่ตัดสินอีกเพียบ
    เคยคำนวนไว้ให้ไอซ์ ก็ราวๆ 30-40 ปี
    ให้สามกีบหางแถวดูไว้เป็นบทเรียน
    บุ้งก็ตุยแล้ว อานนท์นี่ระดับทนาย
    ยังไม่รวมพวกทะลุวัง อยู่ในตารางอีกเพียบบบ
    สงสารไอซ์มากๆ อยากเอาส้งทรีนไปช่วยเช็ดจริงๆ
    #คิงส์โพธิ์แดง
    กล่อนดีย์ๆแด่ "ไอซ์ โหบี๋" เมื่อก้าวไกล ..นั้นโดนยุบ ไอซ์(โหบี๋)รีบหุบ ..ปากทันที เพราะเต็มๆ...ด้วยคดีย์ ยื้อเต็มที่...ได้นอุทธรณ์ ......... จากที่..เคยปากกล้า กีย์ชอบอ้า..ถ่มทวี ดึงดันคะ หรี่เสรี ถ่ายเอวี คนถ่อยชม ...... เคยปากเอ่ย ..ไม่กราบไหว้ ยกเว้นไป ..เพียงหนึ่งองค์ ไอซ์ต้องการ..สมประสงค์ เพียงแค่องค์-คะ-ชาติ เอย ..... ร้องไห้หนักมากเพราะตัวตึงยืนยันว่าไม่ยุบ งานเข้าสิคร๊าบบบบ รู้รสชาติของชีวิตก็คราวนี้ จริงๆไอซ์ก็เป็นแค่สก็อยโหบี๋ธรรมดาคนนึง ที่อยากมีแสง มีคนสนใจ ยิ่งปากดีพวกหัวๆยิ่งชม ก็เลยหลงคารม สะดุ้งตื่นอีกที คดีย์ตัดสินไปแล้วหกปี ที่ยังไม่ตัดสินอีกเพียบ เคยคำนวนไว้ให้ไอซ์ ก็ราวๆ 30-40 ปี ให้สามกีบหางแถวดูไว้เป็นบทเรียน บุ้งก็ตุยแล้ว อานนท์นี่ระดับทนาย ยังไม่รวมพวกทะลุวัง อยู่ในตารางอีกเพียบบบ สงสารไอซ์มากๆ อยากเอาส้งทรีนไปช่วยเช็ดจริงๆ #คิงส์โพธิ์แดง
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 331 มุมมอง 0 รีวิว
  • อะไรของป้าเจี๊ยบอมเกียร์กันเนี่ย
    พี่คิงส์ก็นึกๆแล้ว ไม่เคยว่าอะไรเจี๊ยบเลยนะเนี่ย
    กลัวจนสั่นไปหมดแล้ว
    อยากให้ป้าเจี๊ยบเอ็นดูพี่คิงส์
    แล้วเอาเวลาไปสู้คดีย์นะ ๑๑๒
    รออยู่หลายกรรมหลายวาระนี่
    ปั๊มลายนิ้วมือเรียบร้อยแล้ว
    พวกเราจะคอยเอาใจช่วย
    ป้าเตรียมหรือยัง จะตามอิบุ้ง
    หรือจะตามอานนท์
    แนะนำว่าไหนๆก็อายุปูนนี้แล้ว
    ป้าตามอิบุ้งไปดีกว่า แผ่นดินจะได้สูงขึ้นนะป้านะ
    แหม่ตามหาตัวแอด แอ๊ดอยู่มอนเต จะตามมามั๊ยล่ะป้า
    เก็บแรงไว้หายใจ ยังมีอะไรต้องเจออีกเยอะ
    กรรมมันไวนะป้านะ
    จะมาเอาเรื่องเอาราวอะไรกับน้องคิงส์โพธิ์แดง
    ถาม fc สิ พี่คิงส์ไม่เคยว่าอะไรป้าเลยน้า
    ไม่เชื่อ ลองดูในคอมเม้นเอา
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #เจี๊ยบอมรัตน์
    #เจ็บแค้นเคืองโกรธโทษฉันใย
    #เจี๊ยบอมเกียร์
    อะไรของป้าเจี๊ยบอมเกียร์กันเนี่ย พี่คิงส์ก็นึกๆแล้ว ไม่เคยว่าอะไรเจี๊ยบเลยนะเนี่ย กลัวจนสั่นไปหมดแล้ว อยากให้ป้าเจี๊ยบเอ็นดูพี่คิงส์ แล้วเอาเวลาไปสู้คดีย์นะ ๑๑๒ รออยู่หลายกรรมหลายวาระนี่ ปั๊มลายนิ้วมือเรียบร้อยแล้ว พวกเราจะคอยเอาใจช่วย ป้าเตรียมหรือยัง จะตามอิบุ้ง หรือจะตามอานนท์ แนะนำว่าไหนๆก็อายุปูนนี้แล้ว ป้าตามอิบุ้งไปดีกว่า แผ่นดินจะได้สูงขึ้นนะป้านะ แหม่ตามหาตัวแอด แอ๊ดอยู่มอนเต จะตามมามั๊ยล่ะป้า เก็บแรงไว้หายใจ ยังมีอะไรต้องเจออีกเยอะ กรรมมันไวนะป้านะ จะมาเอาเรื่องเอาราวอะไรกับน้องคิงส์โพธิ์แดง ถาม fc สิ พี่คิงส์ไม่เคยว่าอะไรป้าเลยน้า ไม่เชื่อ ลองดูในคอมเม้นเอา #คิงส์โพธิ์แดง #เจี๊ยบอมรัตน์ #เจ็บแค้นเคืองโกรธโทษฉันใย #เจี๊ยบอมเกียร์
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 424 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทนวยอานนท์ โหยหาเมนูอาหารใหม่ ราชทัณฑ์จัดให้ ซาซิมิคางดำ แดรกไปจนกว่าจะกำจัดหมด
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #ทนวยอานนท์
    #ปลาหมอคางดำ
    ทนวยอานนท์ โหยหาเมนูอาหารใหม่ ราชทัณฑ์จัดให้ ซาซิมิคางดำ แดรกไปจนกว่าจะกำจัดหมด #คิงส์โพธิ์แดง #ทนวยอานนท์ #ปลาหมอคางดำ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 373 มุมมอง 0 รีวิว
  • #อีกก้าวแห่งความสำเร็จของพรรคก้าวไกล
    #ขอแสดงความยินดีกับทนายอานนท์
    จำเพิ่มอีก 4 รวมเป็น 14 ปีนิดๆ
    และยังมีอีกหลายคดีย์ที่ตามมาเป็นชุดใหญ่
    จากภาพ ให้ทายซิ
    ปิยะบุตร กำลังพูดว่าอะไร
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #ทนวยอานนท์
    #อานนท์นำภา
    #ยาวไปๆ
    #อีกก้าวแห่งความสำเร็จของพรรคก้าวไกล #ขอแสดงความยินดีกับทนายอานนท์ จำเพิ่มอีก 4 รวมเป็น 14 ปีนิดๆ และยังมีอีกหลายคดีย์ที่ตามมาเป็นชุดใหญ่ จากภาพ ให้ทายซิ ปิยะบุตร กำลังพูดว่าอะไร #คิงส์โพธิ์แดง #ทนวยอานนท์ #อานนท์นำภา #ยาวไปๆ
    Like
    Haha
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 497 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลอาญาสั่งจำคุกอีก 4 ปี ไม่รอลงอาญา “อานนท์ นำภา” ทนายม็อบราษฎร โพสต์หมิ่นเบื้องสูง ตามม.112 นับโทษต่ออีก 3 คดีรวมคุก 14 ปีเศษ

    25 กรกฎาคม 2567 -ที่ห้องพิจารณาคดี 713 ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก ศาลอ่านคำพิพากษาคดีดูหมิ่นสถาบัน หมายเลขดำอ.735/2564 ที่พนักงานอัยการคดีอาญาเป็นโจทก์ฟ้องนายอานนท์ นำภา ทนายความกลุ่มราษฎร เป็นจำเลยในความผิดฐานหมิ่นประมาทแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ ตามประมวลอาญามาตรา112 , พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มาตรา 14 วรรคหนึ่ง

    โดยอัยการโจทก์ระบุฟ้องความผิดสรุป ว่า เมื่อวันที่ 11มกราคม 2564 จำเลยได้ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก มีเจตนาให้ผู้พบเห็นหลงเชื่อ ทำนองว่า การที่ในหลวงรัชกาลที่ 10 ลงมาบริหารประเทศด้วยตนเอง ขัดต่อหลักการประชาธิปไตย และเมื่อคนรุ่นใหม่ลุกขึ้นมาพูดก็โดนมาตรา 112 และข้อความอื่นๆ ซึ่งเป็นความเท็จ ความจริงแล้วสถาบันกษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ อันเป็นความผิดต่อความมั่นคงและฝ่าฝืนกฎหมาย
    ศาลอาญาสั่งจำคุกอีก 4 ปี ไม่รอลงอาญา “อานนท์ นำภา” ทนายม็อบราษฎร โพสต์หมิ่นเบื้องสูง ตามม.112 นับโทษต่ออีก 3 คดีรวมคุก 14 ปีเศษ 25 กรกฎาคม 2567 -ที่ห้องพิจารณาคดี 713 ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก ศาลอ่านคำพิพากษาคดีดูหมิ่นสถาบัน หมายเลขดำอ.735/2564 ที่พนักงานอัยการคดีอาญาเป็นโจทก์ฟ้องนายอานนท์ นำภา ทนายความกลุ่มราษฎร เป็นจำเลยในความผิดฐานหมิ่นประมาทแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ ตามประมวลอาญามาตรา112 , พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มาตรา 14 วรรคหนึ่ง โดยอัยการโจทก์ระบุฟ้องความผิดสรุป ว่า เมื่อวันที่ 11มกราคม 2564 จำเลยได้ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก มีเจตนาให้ผู้พบเห็นหลงเชื่อ ทำนองว่า การที่ในหลวงรัชกาลที่ 10 ลงมาบริหารประเทศด้วยตนเอง ขัดต่อหลักการประชาธิปไตย และเมื่อคนรุ่นใหม่ลุกขึ้นมาพูดก็โดนมาตรา 112 และข้อความอื่นๆ ซึ่งเป็นความเท็จ ความจริงแล้วสถาบันกษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ อันเป็นความผิดต่อความมั่นคงและฝ่าฝืนกฎหมาย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 392 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts