• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ)
    --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว
    ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว
    อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ.
    สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ
    อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา
    อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา
    สัพพโลเกอนภิรตสัญญา สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา
    อานาปานสติ.
    --อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า
    “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง;
    สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง;
    วิญญาณ ไม่เที่ยง”
    ดังนี้
    เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้
    อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนิจจสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=อนิจฺจสญฺญา

    --อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา;
    หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา;
    จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา;
    ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา;
    กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา;
    ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา”
    ดังนี้
    เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้
    อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนัตตสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/116/?keywords=อนตฺตสญฺญา

    --อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า?
    +--อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร;
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อสุภสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อสุภสญฺญา

    --อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น,
    กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด
    ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม
    โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว
    โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร
    อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน
    ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม
    ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย
    การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ”
    ดังนี้;
    เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อาทีนวสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อาทีนวสญฺญา

    --อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา
    กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว
    ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า #ปหานสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=ปหานสญฺญา

    --อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง
    พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า
    “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ
    ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น”
    ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา.
    --อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง
    พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต
    : กล่าวคือ
    ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความดับ เป็นความดับเย็น”
    ดังนี้
    : นี้เรียกว่า #นิโรธสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=นิโรธสญฺญา

    --อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน)
    ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่,
    เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ
    งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่
    : นี้เรียกว่า #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพโลเก+อนภิรตสญฺญา

    --อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง
    : นี้เรียกว่า #สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง).
    -http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพสงฺขาเรสุ+อนิจฺจสญฺญา

    (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่,
    และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน).

    --อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก.
    1. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว ,
    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ;
    2. เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น ,
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    3. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    4. ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า,
    ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    5. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    6. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    7. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    8. ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    9. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    10. ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    11. ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    12. ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    13. ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า,
    ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    14. ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า,
    ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    15. ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า,
    ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    16. ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า,
    ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก.
    : นี้เรียกว่า #อานาปานสติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/119/?keywords=อานาปานสติ

    --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์
    แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว
    ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว
    อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ.
    +--ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้
    ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน
    เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร.
    ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย
    แล.-

    (บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร
    ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร.
    บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไป
    หรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ.
    ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า
    อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป
    ดุจดังว่าหายจากอาพาธ;
    กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ;
    ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย;
    เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/99 - 104/60.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/99/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕ - ๑๒๐/๖๐
    http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ สัทธรรมลำดับที่ : 956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956 ชื่อบทธรรม :- ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ) --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญา สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา อานาปานสติ. --อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง; สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง; วิญญาณ ไม่เที่ยง” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนิจจสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=อนิจฺจสญฺญา --อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา; หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา; จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา; ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา; กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา; ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนัตตสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/116/?keywords=อนตฺตสญฺญา --อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? +--อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร; เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อสุภสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อสุภสญฺญา --อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น, กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ” ดังนี้; เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อาทีนวสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อาทีนวสญฺญา --อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า #ปหานสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=ปหานสญฺญา --อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา. --อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความดับ เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า #นิโรธสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=นิโรธสญฺญา --อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน) ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่, เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่ : นี้เรียกว่า #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี). http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพโลเก+อนภิรตสญฺญา --อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง : นี้เรียกว่า #สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง). -http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพสงฺขาเรสุ+อนิจฺจสญฺญา (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่, และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน). --อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก. 1. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว , เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ; 2. เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น , เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น; ทำการศึกษาว่า เรา 3. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 4. ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 5. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 6. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 7. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 8. ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 9. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 10. ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 11. ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 12. ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 13. ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า, ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 14. ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า, ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 15. ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า, ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 16. ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า, ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก. : นี้เรียกว่า #อานาปานสติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/119/?keywords=อานาปานสติ --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. +--ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้ ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร. ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย แล.- (บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร. บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไป หรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ. ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป ดุจดังว่าหายจากอาพาธ; กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ; ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย; เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/99 - 104/60. http://etipitaka.com/read/thai/24/99/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕ - ๑๒๐/๖๐ http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    -ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ) อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญาสัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา อานาปานสติ. อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง; สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง; วิญญาณ ไม่เที่ยง” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อนิจจสัญญา. อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา; หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา; จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา; ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา; กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา; ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อนัตตสัญญา. อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร; เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อสุภสัญญา. อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น, กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ” ดังนี้; เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อาทีนวสัญญา. อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า ปหานสัญญา. อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา. อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความดับ เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า นิโรธสัญญา. อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน) ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่, เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่ : นี้เรียกว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี). อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง : นี้เรียกว่า สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง). (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่, และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน). อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว , เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ; เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น , เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เราทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เราทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า, ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า, ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า, ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า, ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก. นี้เรียกว่า อานาปานสติ. อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้ ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร. ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 241 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 150
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ;
    เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150

    สัทธรรมลำดับที่ : 151
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น,
    เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ;
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151

    สัทธรรมลำดับที่ : 152
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :-
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ?
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ?
    อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ?
    อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?”
    --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ;
    --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา.
    +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ.
    +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ.
    +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ;
    สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา.
    +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา.
    +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 150 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59. http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150 สัทธรรมลำดับที่ : 151 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ; ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151 สัทธรรมลำดับที่ : 152 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :- “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ? ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ? อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ? อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?” --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ; --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา. +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ. +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ. +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ; สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา. +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา. +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 163 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 951
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951
    ชื่อบทธรรม :- เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    ...
    --อานนท์ ! สมัยใด ตถาคต #เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
    http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=อนิมิตฺตํ+เจโตสมาธึ
    เพราะไม่กระทำในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง และเพราะดับเสียซึ่งเวทนาบางพวก แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น กายของตถาคต ก็เป็นกายที่ผาสุกกว่า.
    --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลาย
    จงมีตนป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ
    มีธรรมเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นสรณะ
    อย่ามีสิ่งอื่นเป็นสรณะเลย.

    (ต่อไปนี้ได้ตรัส การปฏิบัติสติปัฏฐานสี่
    ในฐานะเป็นการมีตนเป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ,
    "ภิกษุในธรรมวินัยนี้
    ย่อมพิจารณาเห็นกาย ในกายอยู่
    พิจารณาเห็นเวทนา ในเวทนาอยู่
    พิจารณาเห็นจิต ในจิตอยู่
    พิจารณาเห็นธรรม ในธรรมอยู่
    เป็นผู้มีเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ
    พึงกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลก อย่างนี้แล"
    แล้วตรัสว่า:-
    )
    --อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ตาม ในกาลที่ล่วงไปแล้วแห่งเราก็ตาม
    ภิกษุใด
    มีตนเป็นที่พึ่งมีตนเป็นสรณะ
    มีธรรมเป็นที่พึ่งมีธรรมเป็นสรณะ
    -http://etipitaka.com/read/pali/10/119/?keywords=อตฺตสรณา+ธมฺมสรณา
    ไม่มีสิ่งอื่นเป็นสรณะ แล้ว,
    ภิกษุนั้น #ชื่อว่าเป็นผู้เลิศที่สุดแห่งภิกษุผู้ใคร่ในสิกขา.-
    ...
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา.ที. 10/86/93.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/86/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา.ที. ๑๐/๑๑๘/๙๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=951
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย สัทธรรมลำดับที่ : 951 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951 ชื่อบทธรรม :- เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย เนื้อความทั้งหมด :- --เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย ... --อานนท์ ! สมัยใด ตถาคต #เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=อนิมิตฺตํ+เจโตสมาธึ เพราะไม่กระทำในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง และเพราะดับเสียซึ่งเวทนาบางพวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น กายของตถาคต ก็เป็นกายที่ผาสุกกว่า. --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลาย จงมีตนป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นสรณะ อย่ามีสิ่งอื่นเป็นสรณะเลย. (ต่อไปนี้ได้ตรัส การปฏิบัติสติปัฏฐานสี่ ในฐานะเป็นการมีตนเป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ, "ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกาย ในกายอยู่ พิจารณาเห็นเวทนา ในเวทนาอยู่ พิจารณาเห็นจิต ในจิตอยู่ พิจารณาเห็นธรรม ในธรรมอยู่ เป็นผู้มีเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ พึงกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลก อย่างนี้แล" แล้วตรัสว่า:- ) --อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ตาม ในกาลที่ล่วงไปแล้วแห่งเราก็ตาม ภิกษุใด มีตนเป็นที่พึ่งมีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่งมีธรรมเป็นสรณะ -http://etipitaka.com/read/pali/10/119/?keywords=อตฺตสรณา+ธมฺมสรณา ไม่มีสิ่งอื่นเป็นสรณะ แล้ว, ภิกษุนั้น #ชื่อว่าเป็นผู้เลิศที่สุดแห่งภิกษุผู้ใคร่ในสิกขา.- ... #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา.ที. 10/86/93. http://etipitaka.com/read/thai/10/86/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา.ที. ๑๐/๑๑๘/๙๓. http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=951 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    -เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย อานนท์ ! สมัยใด ตถาคต เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่กระทำในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง และเพราะดับเสียซึ่งเวทนาบางพวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น กายของตถาคต ก็เป็นกายที่ผาสุกกว่า. อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลาย จงมีตนป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นสรณะ อย่ามีสิ่งอื่นเป็นสรณะเลย. (ต่อไปนี้ได้ตรัส การปฏิบัติสติปัฏฐานสี่ ในฐานะเป็นการมีตนเป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ, แล้วตรัสว่า:- ) อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ตาม ในกาลที่ล่วงไปแล้วแห่งเราก็ตาม ภิกษุใด มีตนเป็นที่พึ่งมีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่งมีธรรมเป็นสรณะ ไม่มีสิ่งอื่นเป็นสรณะ แล้ว, ภิกษุนั้น ชื่อว่าเป็นผู้เลิศที่สุด แห่งภิกษุผู้ใคร่ในสิกขา.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 201 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ โดนจำคุกยังปีกว่า บ้ายื่นประกันไป 52 ครั้ง หวังปั่นตัวเลขไว้ให้ร้ายการที่ศาลฯ ยกคำร้อง ไม่ดูตัวเองว่าความผิดมากมายขนาดไหน แค้นพรรคพวกที่หลบหนีไปต่างประเทศก็ยอมรับมา
    #7ดอกจิก
    #อานนท์นำภา
    ♣ โดนจำคุกยังปีกว่า บ้ายื่นประกันไป 52 ครั้ง หวังปั่นตัวเลขไว้ให้ร้ายการที่ศาลฯ ยกคำร้อง ไม่ดูตัวเองว่าความผิดมากมายขนาดไหน แค้นพรรคพวกที่หลบหนีไปต่างประเทศก็ยอมรับมา #7ดอกจิก #อานนท์นำภา
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 205 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์
    สัทธรรมลำดับที่ : 574
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้.
    --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต
    พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส !
    ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่,
    --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยปริยาย.

    --(ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ;
    อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย.
    ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น
    กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์
    โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-
    )​

    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ :
    ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
    --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์ สัทธรรมลำดับที่ : 574 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. --(ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ; อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :- )​ --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257. http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. อาวุโส ! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาตามคำของพระอานนท์ว่านิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 573
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573
    ชื่อบทธรรม :- ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น.
    นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า
    เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน.
    *-นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ถึง
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94
    ).

    --ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’
    ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=ปรินิพฺพานํ
    --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
    --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้
    ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย.
    --(ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน...
    ตติยฌาน...
    จตุตถฌาน...
    อากาสานัญจายตนะ....
    วิญญาณัญจายตนะ...
    อากิญจัญญายตนะ... และ
    เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย.
    ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน
    โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-)​
    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่,
    อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ,

    --อาวุโส #ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/475/255.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/365/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=573
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาตามคำของพระอานนท์ว่านิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 573 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573 ชื่อบทธรรม :- ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น. นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน. *-นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔ http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ถึง http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94 ). --ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’ ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=ปรินิพฺพานํ --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. --(ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน... ตติยฌาน... จตุตถฌาน... อากาสานัญจายตนะ.... วิญญาณัญจายตนะ... อากิญจัญญายตนะ... และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-)​ --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ, --อาวุโส #ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/475/255. http://etipitaka.com/read/thai/23/365/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=573 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์ และผู้ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น. นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน. -นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔). ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’ ดังนี้. อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ, อาวุโส ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    สัทธรรมลำดับที่ : 572
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572
    ชื่อบทธรรม :- ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘สันทิฏฐิกธรรม สันทิฏฐิกธรรม’ ดังนี้
    --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรมนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้
    ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้
    ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย.
    (ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน...
    ตติยฌาน...
    จตุตถฌาน...
    อากาสานัญจายตนะ....
    วิญญาณัญจายตนะ...
    อากิญจัญญายตนะ... และ
    เนวสัญญานาสัญญายตนะ...
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ
    และในฐานะเป็น สันทิฏฐิกธรรม โดยปริยาย.
    ส่วน สัญญาเวทยิตนิโรธชนิดที่มีการสิ้นอาสวะ นั้น
    กล่าวไว้ในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-
    )
    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่
    : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=สญฺญาเวทยิตนิโรธํ
    อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา #อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
    --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/364/250.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/364/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๗๔/๒๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/474/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=572
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ สัทธรรมลำดับที่ : 572 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572 ชื่อบทธรรม :- ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘สันทิฏฐิกธรรม สันทิฏฐิกธรรม’ ดังนี้ --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรมนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน... ตติยฌาน... จตุตถฌาน... อากาสานัญจายตนะ.... วิญญาณัญจายตนะ... อากิญจัญญายตนะ... และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ... มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็น สันทิฏฐิกธรรม โดยปริยาย. ส่วน สัญญาเวทยิตนิโรธชนิดที่มีการสิ้นอาสวะ นั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :- ) --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=สญฺญาเวทยิตนิโรธํ อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา #อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/364/250. http://etipitaka.com/read/thai/23/364/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๗๔/๒๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/474/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=572 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘สันทิฏฐิกธรรม สันทิฏฐิกธรรม’ ดังนี้ อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรมนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดที่มีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ดร.อานนท์' ย้ำร.5เห็นภัยอันตรายการพนัน ซัดคนไร้รากเหง้าไม่เข้าใจประวัติศาสตร์ ดันกาสิโน
    https://www.thai-tai.tv/news/17882/
    'ดร.อานนท์' ย้ำร.5เห็นภัยอันตรายการพนัน ซัดคนไร้รากเหง้าไม่เข้าใจประวัติศาสตร์ ดันกาสิโน https://www.thai-tai.tv/news/17882/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 87 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า
    พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ
    จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน
    ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97
    พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน
    คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ
    หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ
    สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ
    สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น,
    ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน
    คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น,
    แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า
    #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ
    ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น
    ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี.

    (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น
    บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม,
    ส่วนคำตอบในสูตรนี้
    ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ.
    และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน
    ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน
    สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น.
    อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง.
    )​

    สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ
    โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว
    ].

    --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งจักษุ (และ) รูป
    ซึ่งโสตะ (และ) เสียง
    ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น
    ซึ่งชิวหา (และ) รส
    ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งอากาสานัญจายตนะ
    ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตน
    ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง
    ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ
    แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ)
    กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ
    ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ;
    แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.-

    *--๑.บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ
    ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘) http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97 พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น. อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. )​ สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว ]. --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจ ซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.- *--๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215. http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    -[ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗) พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้ ๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพานดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้นทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็นอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว]. สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่กระทำในใจซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รสซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. “มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่ กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 324 มุมมอง 0 รีวิว
  • อ่วม! ศาลเชียงใหม่ สั่งจำคุก 'อานนท์ นำภา' ปราศรัยผิด ม.112 รวม 20 ปี 19 เดือน
    https://www.thai-tai.tv/news/17864/
    อ่วม! ศาลเชียงใหม่ สั่งจำคุก 'อานนท์ นำภา' ปราศรัยผิด ม.112 รวม 20 ปี 19 เดือน https://www.thai-tai.tv/news/17864/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 97 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฉลองที่ไหนดี
    ศาลจ.เชียงใหม่พิพากษา
    จำคุก “อานนท์ นำภา” 2 ปี
    ผิด ม.112 ปราศรัยให้ร้าย
    โทษจำคุกรวม 20 ปี 19 เดือน 20 วัน
    #7ดอกจิก
    ฉลองที่ไหนดี ศาลจ.เชียงใหม่พิพากษา จำคุก “อานนท์ นำภา” 2 ปี ผิด ม.112 ปราศรัยให้ร้าย โทษจำคุกรวม 20 ปี 19 เดือน 20 วัน #7ดอกจิก
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 0 รีวิว
  • เช้านี้ ศาลจังหวัดเชียงใหม่พิพากษาคดี “อานนท์ นำภา” ปราศรัยที่หอศิลป์ มช. ผิดตาม ม.112 ลงโทษจำคุก 3 ปี ให้การเป็นประโยชน์ ลดเหลือจำคุก 2 ปี
    โทษจำคุกรวม20 ปี 19 เดือน 20 วัน
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #อานนท์นำภา
    เช้านี้ ศาลจังหวัดเชียงใหม่พิพากษาคดี “อานนท์ นำภา” ปราศรัยที่หอศิลป์ มช. ผิดตาม ม.112 ลงโทษจำคุก 3 ปี ให้การเป็นประโยชน์ ลดเหลือจำคุก 2 ปี โทษจำคุกรวม20 ปี 19 เดือน 20 วัน #คิงส์โพธิ์แดง #อานนท์นำภา
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 292 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    สัทธรรมลำดับที่ : 942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    (โลกุตตรสมาธิ)
    “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ
    ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญา ในลม
    ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว
    สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า
    “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ
    เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ
    เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    *--๑. บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ
    สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้
    ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญาในลม
    ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว
    สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว
    สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ สัทธรรมลำดับที่ : 942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ ไม่มีวาโยสัญญา ในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. *--๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214. http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. ”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่ สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • พรุ่งนี้ ศาลฯเชียงใหม่ตัดสินคดี 112 คดีที่ 7 ของทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนสามกีบ โทษจำคุกตอนนี้ 18 ปี 19 เดือน หากรวมโทษใหม่น่าจะทะลุ 20 ปี ยาวไป ยาวไป๊ อานนท์
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #อานนท์
    พรุ่งนี้ ศาลฯเชียงใหม่ตัดสินคดี 112 คดีที่ 7 ของทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนสามกีบ โทษจำคุกตอนนี้ 18 ปี 19 เดือน หากรวมโทษใหม่น่าจะทะลุ 20 ปี ยาวไป ยาวไป๊ อานนท์ #คิงส์โพธิ์แดง #อานนท์
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 263 มุมมอง 0 รีวิว
  • กองทัพไทยต้องจัดตั้งกองทัพไซเบอร์ เป็นเหล่าทัพที่ 4โดย: ผศ.ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์https://mgronline.com/daily/detail/9680000028652?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR3iDIzj41YxtPo190vJPjzZUqukgvuLcmfTIc-LOzcgfJG8YaiQW1x2H4Y_aem_yX9eHrZPukSLm-RiP3iq9A
    กองทัพไทยต้องจัดตั้งกองทัพไซเบอร์ เป็นเหล่าทัพที่ 4โดย: ผศ.ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์https://mgronline.com/daily/detail/9680000028652?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR3iDIzj41YxtPo190vJPjzZUqukgvuLcmfTIc-LOzcgfJG8YaiQW1x2H4Y_aem_yX9eHrZPukSLm-RiP3iq9A
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • คิงส์ไม่ได้ปกป้องไอ้แม้ว แต่อยากถามไอ้โรมมันว่า เพื่อนร่วมอุดมการณ์สามกีบของมึง ที่ชื่อ ทนายอานนท์ นำพา จำคุก 18 ปี 19 เดือน แต่แม่มโพสเฟซบุ๊คทุกวัน บางวันหลายโพส มึงตอบสังคมด้วยว่า ใครเอามือถือไปให้มันโพส
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #อานนท์นำพา
    #โรม
    คิงส์ไม่ได้ปกป้องไอ้แม้ว แต่อยากถามไอ้โรมมันว่า เพื่อนร่วมอุดมการณ์สามกีบของมึง ที่ชื่อ ทนายอานนท์ นำพา จำคุก 18 ปี 19 เดือน แต่แม่มโพสเฟซบุ๊คทุกวัน บางวันหลายโพส มึงตอบสังคมด้วยว่า ใครเอามือถือไปให้มันโพส #คิงส์โพธิ์แดง #อานนท์นำพา #โรม
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 258 มุมมอง 0 รีวิว
  • ก็เอาเลย อานนท์ และ สหภาพยุโรป ยูเอ็น เอาเลย แบนคนที่ไม่ให้ยกเลิก 112 เข้าประเทศได้เลย อังกฤษด้วย เดโมแครตโว้คแลนด์ด้วย กูไม่เข้าประเทศของมึง จบมั้ย แต่กูเข้ารัสเซีย จีน ไปไหนก็ได้ โตแล้ว
    ก็เอาเลย อานนท์ และ สหภาพยุโรป ยูเอ็น เอาเลย แบนคนที่ไม่ให้ยกเลิก 112 เข้าประเทศได้เลย อังกฤษด้วย เดโมแครตโว้คแลนด์ด้วย กูไม่เข้าประเทศของมึง จบมั้ย แต่กูเข้ารัสเซีย จีน ไปไหนก็ได้ โตแล้ว
    ทนายอานนท์ หมดหนทางพ้นผิด ฟ้องยุโรปให้แบนคนไทยที่ปกป้อง 112
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #อานนท์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 194 มุมมอง 21 0 รีวิว
  • ทนายอานนท์ หมดหนทางพ้นผิด ฟ้องยุโรปให้แบนคนไทยที่ปกป้อง 112
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #อานนท์
    ทนายอานนท์ หมดหนทางพ้นผิด ฟ้องยุโรปให้แบนคนไทยที่ปกป้อง 112 #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง #อานนท์
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 538 มุมมอง 21 0 รีวิว
  • ♣ ทนายอานนท์สามกีบ ละเมิด 112 ทำผิด 116 ยังไม่พอ ยังร้องรัฐสภายุโรป ให้ระงับวีซ่าเจ้าหน้าที่รัฐและบุคคลที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี 112 ของพวกมัน โทษจำคุกอานนท์วันนี้ 18 ปี 19 เดือน ไร้หนทางหลบหนี จึงต้องดิ้นทุกทางแม้ทำลายชาติบ้านเมือ
    #7ดอกจิก
    ♣ ทนายอานนท์สามกีบ ละเมิด 112 ทำผิด 116 ยังไม่พอ ยังร้องรัฐสภายุโรป ให้ระงับวีซ่าเจ้าหน้าที่รัฐและบุคคลที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี 112 ของพวกมัน โทษจำคุกอานนท์วันนี้ 18 ปี 19 เดือน ไร้หนทางหลบหนี จึงต้องดิ้นทุกทางแม้ทำลายชาติบ้านเมือ #7ดอกจิก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 355 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ดร.อานนท์' ซัดรัฐบาลจัญไรสอดไส้ กม.การท่าเรือให้ลงทุนอสังหาฯ เปิดบ่อนได้
    https://www.thai-tai.tv/news/17627/
    'ดร.อานนท์' ซัดรัฐบาลจัญไรสอดไส้ กม.การท่าเรือให้ลงทุนอสังหาฯ เปิดบ่อนได้ https://www.thai-tai.tv/news/17627/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 124 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ดร.อานนท์' ซัด รัฐบาลจัญไร สนับสนุนคนไทยหลงใหลในอบายมุข ไม่เลวจริงๆ คิดแบบนี้ไม่ได้
    https://www.thai-tai.tv/news/17472/
    'ดร.อานนท์' ซัด รัฐบาลจัญไร สนับสนุนคนไทยหลงใหลในอบายมุข ไม่เลวจริงๆ คิดแบบนี้ไม่ได้ https://www.thai-tai.tv/news/17472/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 108 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์ คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ได้เขียนบทความพิเศษเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและประเภทของการใช้ตราพระราชลัญจกร การสร้างตราพระราชลัญจกร และการใช้ตราพระราชลัญจกรของไทยต่อเนื่องหลายตอนต่อเนื่องในเว็บไซต์ https://mgronline.com
    ขอยกข้อความหนึ่งในตอนการใช้ตราพระราชลัญจกรล่าสุดว่า

    ".....กล่าวได้ว่าเอกสารสำคัญในสมัยโบราณของไทย มิได้มีการลงพระปรมาภิไธย แต่ใช้การประทับพระราชลัญจกรเพียงอย่างเดียว หากเป็นเอกสารสำคัญมาก ก็จะมีการประทับตราพระราชลัญจกรหลายองค์ ทั้งตราพระราชลัญจกรสำหรับแผ่นดินได้แก่ ตราพระราชลัญจกรมหาโองการ ตราพระราชลัญจกรไอยราพต และตราพระราชลัญจกรหงสพิมาน และประทับตราพระราชลัญจกรประจำรัชกาลคือ พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ ที่ล้อมด้วยอักษรพระปรมาภิไธยด้วย

    พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ทรงใช้ลายพระนามคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงลงพระปรมาภิไธยเป็นภาษาละตินว่า SPPM. Mongkut Rex Siamensium โดยที่ SPPM ย่อมาจาก Somdet Phra. Poramenthra Maha Mongkut ส่วนคำภาษาละตินว่า Rex Siamensium แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า King of the Siam และภาษาไทยลงพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม

    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกทื่ทรงลงพระปรมาภิไธยและมีการประทับตราพระราชลัญจกรกำกับพระปรมาภิไธย และถือเป็นราชประเพณีปฏิบัติเช่นนี้มาจนกระทั่งปัจจุบัน ....."

    ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9680000020433
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์ คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ได้เขียนบทความพิเศษเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและประเภทของการใช้ตราพระราชลัญจกร การสร้างตราพระราชลัญจกร และการใช้ตราพระราชลัญจกรของไทยต่อเนื่องหลายตอนต่อเนื่องในเว็บไซต์ https://mgronline.com ขอยกข้อความหนึ่งในตอนการใช้ตราพระราชลัญจกรล่าสุดว่า ".....กล่าวได้ว่าเอกสารสำคัญในสมัยโบราณของไทย มิได้มีการลงพระปรมาภิไธย แต่ใช้การประทับพระราชลัญจกรเพียงอย่างเดียว หากเป็นเอกสารสำคัญมาก ก็จะมีการประทับตราพระราชลัญจกรหลายองค์ ทั้งตราพระราชลัญจกรสำหรับแผ่นดินได้แก่ ตราพระราชลัญจกรมหาโองการ ตราพระราชลัญจกรไอยราพต และตราพระราชลัญจกรหงสพิมาน และประทับตราพระราชลัญจกรประจำรัชกาลคือ พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ ที่ล้อมด้วยอักษรพระปรมาภิไธยด้วย พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ทรงใช้ลายพระนามคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงลงพระปรมาภิไธยเป็นภาษาละตินว่า SPPM. Mongkut Rex Siamensium โดยที่ SPPM ย่อมาจาก Somdet Phra. Poramenthra Maha Mongkut ส่วนคำภาษาละตินว่า Rex Siamensium แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า King of the Siam และภาษาไทยลงพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกทื่ทรงลงพระปรมาภิไธยและมีการประทับตราพระราชลัญจกรกำกับพระปรมาภิไธย และถือเป็นราชประเพณีปฏิบัติเช่นนี้มาจนกระทั่งปัจจุบัน ....." ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9680000020433
    MGRONLINE.COM
    ผู้จัดการออนไลน์ เว็บไซต์ข่าวชั้นนำของไทย แหล่งรวมข่าวสารที่ครบครัน
    ติดตามข่าวสารล่าสุด อัพเดทเหตุการณ์ปัจจุบัน รับรู้ข่าวสารด่วนทันที ไม่พลาดข่าวสารอัพเดท ข่าววันนี้ ติดตามข่าวอุบัติเหตุ อัพเดทข่าวการเมือง เศรษฐกิจ รับรู้ข่าวสารตลอด 24 ชม. ผู้จัดการออนไลน์
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ดร.อานนท์"ซัดอำมหิตดัดจริตอ้างสิทธิมนุษยชน
    https://www.thai-tai.tv/news/17443/
    "ดร.อานนท์"ซัดอำมหิตดัดจริตอ้างสิทธิมนุษยชน https://www.thai-tai.tv/news/17443/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 105 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ ขนาดชดใช้กรรม ยังเอาเปรียบสาวกผู้บริโภค ทนายอานนท์ขายพวงกุญแจราคาเท่าจำนวนวันที่ถูกขัง อีก 5 ปีมันคงขายราคา 2 พันบาท
    #7ดอกจิก
    ♣ ขนาดชดใช้กรรม ยังเอาเปรียบสาวกผู้บริโภค ทนายอานนท์ขายพวงกุญแจราคาเท่าจำนวนวันที่ถูกขัง อีก 5 ปีมันคงขายราคา 2 พันบาท #7ดอกจิก
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 272 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดร่างกฎหมายกาสิโน ขีดเส้นให้มีแค่ 10% เท่านั้น ภาคประชาชนค้านเต็มกำลัง
    .
    มาถึงชั่วโมงนี้แม้ว่าจะมีกระแสต่อต้านการเปิดกาสิโนถูกกฎหมาย แต่คงเป็นเรื่องยากที่รัฐบาลจะทบทวนตามข้อเรียกร้องของภาคประชาชน ภายหลังล่าสุดเว็บไซต์ระบบกลางทางกฎหมาย ได้เปิดรับฟังความคิดเห็น ร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ปี พ.ศ. .... หรือ​ เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ซึ่งเป็นร่างผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระที่ 1 เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชน ระหว่างวันที่ 15 กุมภาพันธ์​ -​ 1 มีนาคม​ 2568
    .
    สาระสำคัญในพระราชบัญญัติ​ดังกล่าว​ มีการระบุสัดส่วนชัดเจนของกาสิโนตามมาตรา 18 ( 6)​ ที่กำหนดสัดส่วนพื้นที่ของกาสิโนในสถานบันเทิงครบวงจร ทั้งนี้ ต้องไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานบันเทิงครบวงจร ในกรณีที่กาสิโนตั้งอยู่ในอาคารใดให้นับจากพื้นที่อาคารนั้นทั้งหมด
    .
    นอกจากนี้ มาตรา 46 ในการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ต้องกำหนดให้มีใบอนุญาตตามจำนวนกิจการหรือธุรกิจในสถานบันเทิงตามที่ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัตินี้อย่างน้อยสี่ประเภท ร่วมกับกาสิโน และให้ถือว่าผู้ได้รับใบอนุญาตในกิจการใดกิจการหนึ่ง เป็นผู้ได้รับอนุญาตในกิจการอื่นที่ประกอบกันเป็นสถานบันเทิงครบวงจร โดยไม่ต้องยื่นคำขอมีใบอนุญาตเป็นรายกิจการใหม่อีก และให้ระบุการได้รับอนุญาตสำหรับกิจการที่ได้รับอนุญาตหรือใบอนุญาตอื่นให้ชัดแจ้งไว้ในใบอนุญาตทุกใบด้วย
    .
    มาตรา 63 ผู้รับใบอนุญาตจะต้องดำเนินการดังนี้ (1) จัดให้มีเขตบริเวณของกาสิโนซึ่งแยกเป็นเอกเทศจากสถานประกอบธุรกิจสถานบันเทิงอื่นโดยมีรั้วและประตูทางเข้าแยกจากสถานประกอบธุรกิจอื่น เว้นแต่เป็นธุรกิจที่อยู่ในกาสิโนเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าเล่นพนัน (2) มีการควบคุมการเข้าออกโดย มีการตรวจสอบและลงทะเบียนหนังสือเดินทางหรือบัตรประชาชนหรือเอกสารระบุตัวตนอื่น พร้อมทั้งภาพถ่ายใบหน้า(4) ตรวจสอบผู้เข้าเล่นหรือเข้าพนันให้เป็นไปตามมาตรา 64 และมาตรา 65
    .
    ด้าน กลุ่มเครือข่ายประชาชน นำโดย นายพิชิต ไชยมงคล และ นายนัสเซอร์ ยีหมะ ตัวแทนเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.) นายใจเพชร กล้าจน ตัวแทนกองทัพธรรม และ นายอานนท์ กลิ่นแก้ว ตัวแทนศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) เดินทางมายื่นหนังสือคัดค้านการเปิดกาสิโนในประเทศไทย
    .
    เนื้อหาในหนังสือระบุว่า ขณะนี้คณะกรรมการกฤษฎีกากำลังพิจารณาร่าง พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. …. ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี แต่พบว่ามีการบรรจุ “กาสิโน” ไว้ในร่างกฎหมายดังกล่าวด้วย ซึ่งกลุ่มผู้คัดค้านเปรียบเปรยว่า เป็นเหมือนการแอบผสมสารพิษลงในอาหาร แม้จะมีสัดส่วนเพียง 10% ของพื้นที่สถานบันเทิงตามมาตรา 18 (6) ของร่างกฎหมาย แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ไม่สามารถยอมรับได้
    .
    การพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวตามนโยบายรัฐบาล ไม่มีความจำเป็นต้องพึ่งกาสิโน เพราะธุรกิจการพนันมีแต่จะทำให้คุณภาพของสังคมไทยเสื่อมโทรมลง และนำไปสู่ปัญหาสังคมในอนาคต พวกเขาจึงเสนอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาข้อเสนอของภาคประชาชนและแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีให้รับทราบถึงความห่วงใยของประชาชนต่อเรื่องนี้
    ..............
    Sondhi X
    เปิดร่างกฎหมายกาสิโน ขีดเส้นให้มีแค่ 10% เท่านั้น ภาคประชาชนค้านเต็มกำลัง . มาถึงชั่วโมงนี้แม้ว่าจะมีกระแสต่อต้านการเปิดกาสิโนถูกกฎหมาย แต่คงเป็นเรื่องยากที่รัฐบาลจะทบทวนตามข้อเรียกร้องของภาคประชาชน ภายหลังล่าสุดเว็บไซต์ระบบกลางทางกฎหมาย ได้เปิดรับฟังความคิดเห็น ร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ปี พ.ศ. .... หรือ​ เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ซึ่งเป็นร่างผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระที่ 1 เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชน ระหว่างวันที่ 15 กุมภาพันธ์​ -​ 1 มีนาคม​ 2568 . สาระสำคัญในพระราชบัญญัติ​ดังกล่าว​ มีการระบุสัดส่วนชัดเจนของกาสิโนตามมาตรา 18 ( 6)​ ที่กำหนดสัดส่วนพื้นที่ของกาสิโนในสถานบันเทิงครบวงจร ทั้งนี้ ต้องไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานบันเทิงครบวงจร ในกรณีที่กาสิโนตั้งอยู่ในอาคารใดให้นับจากพื้นที่อาคารนั้นทั้งหมด . นอกจากนี้ มาตรา 46 ในการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ต้องกำหนดให้มีใบอนุญาตตามจำนวนกิจการหรือธุรกิจในสถานบันเทิงตามที่ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัตินี้อย่างน้อยสี่ประเภท ร่วมกับกาสิโน และให้ถือว่าผู้ได้รับใบอนุญาตในกิจการใดกิจการหนึ่ง เป็นผู้ได้รับอนุญาตในกิจการอื่นที่ประกอบกันเป็นสถานบันเทิงครบวงจร โดยไม่ต้องยื่นคำขอมีใบอนุญาตเป็นรายกิจการใหม่อีก และให้ระบุการได้รับอนุญาตสำหรับกิจการที่ได้รับอนุญาตหรือใบอนุญาตอื่นให้ชัดแจ้งไว้ในใบอนุญาตทุกใบด้วย . มาตรา 63 ผู้รับใบอนุญาตจะต้องดำเนินการดังนี้ (1) จัดให้มีเขตบริเวณของกาสิโนซึ่งแยกเป็นเอกเทศจากสถานประกอบธุรกิจสถานบันเทิงอื่นโดยมีรั้วและประตูทางเข้าแยกจากสถานประกอบธุรกิจอื่น เว้นแต่เป็นธุรกิจที่อยู่ในกาสิโนเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าเล่นพนัน (2) มีการควบคุมการเข้าออกโดย มีการตรวจสอบและลงทะเบียนหนังสือเดินทางหรือบัตรประชาชนหรือเอกสารระบุตัวตนอื่น พร้อมทั้งภาพถ่ายใบหน้า(4) ตรวจสอบผู้เข้าเล่นหรือเข้าพนันให้เป็นไปตามมาตรา 64 และมาตรา 65 . ด้าน กลุ่มเครือข่ายประชาชน นำโดย นายพิชิต ไชยมงคล และ นายนัสเซอร์ ยีหมะ ตัวแทนเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.) นายใจเพชร กล้าจน ตัวแทนกองทัพธรรม และ นายอานนท์ กลิ่นแก้ว ตัวแทนศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) เดินทางมายื่นหนังสือคัดค้านการเปิดกาสิโนในประเทศไทย . เนื้อหาในหนังสือระบุว่า ขณะนี้คณะกรรมการกฤษฎีกากำลังพิจารณาร่าง พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. …. ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี แต่พบว่ามีการบรรจุ “กาสิโน” ไว้ในร่างกฎหมายดังกล่าวด้วย ซึ่งกลุ่มผู้คัดค้านเปรียบเปรยว่า เป็นเหมือนการแอบผสมสารพิษลงในอาหาร แม้จะมีสัดส่วนเพียง 10% ของพื้นที่สถานบันเทิงตามมาตรา 18 (6) ของร่างกฎหมาย แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ไม่สามารถยอมรับได้ . การพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวตามนโยบายรัฐบาล ไม่มีความจำเป็นต้องพึ่งกาสิโน เพราะธุรกิจการพนันมีแต่จะทำให้คุณภาพของสังคมไทยเสื่อมโทรมลง และนำไปสู่ปัญหาสังคมในอนาคต พวกเขาจึงเสนอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาข้อเสนอของภาคประชาชนและแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีให้รับทราบถึงความห่วงใยของประชาชนต่อเรื่องนี้ .............. Sondhi X
    Like
    Angry
    Love
    12
    3 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 2516 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts