• ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024)

    Photo Album 1/2
    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67)
    02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024) Photo Album 1/2 ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท 01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67) 02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 76 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024)

    Photo Album 1/2
    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67)
    02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024) Photo Album 1/2 ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท 01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67) 02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 78 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,515
    วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๗ (12 September 2024)

    Photo Album 5/5
    โอนเงินทำบุญ 48 วัด เป็นเงิน 960 บาท
    41. วัดบ้านใหม่ อ.เมือง จ.นครนายก
    (ซื้อดินถมที่วัด)
    42. ที่พักสงฆ์ในกรัง อ.กระบุรี จ.ระนอง
    (สร้างถนนเข้าวัด)
    43. วัดป่ากกสะทอน อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (จัดพิมพ์หนังสือหยดน้ำบนใบบัว)
    44. วัดโบสถ์อินทรสารเพชร เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    (ถวายทุนการศึกษา)
    45. วัดสำลาก อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
    (สร้างประตูวัด)
    46. วัดอรุณคงคาวนาราม อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ
    (สร้างซุ้มประตูวัด)
    47. วัดถ้ำพระธาตุ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
    (สร้างท้าวเวสสุวรรณ)
    48. วัดป่าเนรมิต อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    (งานปรับปรุงระบบไฟฟ้า)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๕๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,515 วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๗ (12 September 2024) Photo Album 5/5 โอนเงินทำบุญ 48 วัด เป็นเงิน 960 บาท 41. วัดบ้านใหม่ อ.เมือง จ.นครนายก (ซื้อดินถมที่วัด) 42. ที่พักสงฆ์ในกรัง อ.กระบุรี จ.ระนอง (สร้างถนนเข้าวัด) 43. วัดป่ากกสะทอน อ.เมือง จ.อุดรธานี (จัดพิมพ์หนังสือหยดน้ำบนใบบัว) 44. วัดโบสถ์อินทรสารเพชร เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (ถวายทุนการศึกษา) 45. วัดสำลาก อ.เมือง จ.อุบลราชธานี (สร้างประตูวัด) 46. วัดอรุณคงคาวนาราม อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ (สร้างซุ้มประตูวัด) 47. วัดถ้ำพระธาตุ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี (สร้างท้าวเวสสุวรรณ) 48. วัดป่าเนรมิต อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ (งานปรับปรุงระบบไฟฟ้า) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๕๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 150 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,515
    วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๗ (12 September 2024)

    Photo Album 5/5
    โอนเงินทำบุญ 48 วัด เป็นเงิน 960 บาท
    41. วัดบ้านใหม่ อ.เมือง จ.นครนายก
    (ซื้อดินถมที่วัด)
    42. ที่พักสงฆ์ในกรัง อ.กระบุรี จ.ระนอง
    (สร้างถนนเข้าวัด)
    43. วัดป่ากกสะทอน อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (จัดพิมพ์หนังสือหยดน้ำบนใบบัว)
    44. วัดโบสถ์อินทรสารเพชร เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    (ถวายทุนการศึกษา)
    45. วัดสำลาก อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
    (สร้างประตูวัด)
    46. วัดอรุณคงคาวนาราม อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ
    (สร้างซุ้มประตูวัด)
    47. วัดถ้ำพระธาตุ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
    (สร้างท้าวเวสสุวรรณ)
    48. วัดป่าเนรมิต อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    (งานปรับปรุงระบบไฟฟ้า)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๕๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,515 วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๗ (12 September 2024) Photo Album 5/5 โอนเงินทำบุญ 48 วัด เป็นเงิน 960 บาท 41. วัดบ้านใหม่ อ.เมือง จ.นครนายก (ซื้อดินถมที่วัด) 42. ที่พักสงฆ์ในกรัง อ.กระบุรี จ.ระนอง (สร้างถนนเข้าวัด) 43. วัดป่ากกสะทอน อ.เมือง จ.อุดรธานี (จัดพิมพ์หนังสือหยดน้ำบนใบบัว) 44. วัดโบสถ์อินทรสารเพชร เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (ถวายทุนการศึกษา) 45. วัดสำลาก อ.เมือง จ.อุบลราชธานี (สร้างประตูวัด) 46. วัดอรุณคงคาวนาราม อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ (สร้างซุ้มประตูวัด) 47. วัดถ้ำพระธาตุ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี (สร้างท้าวเวสสุวรรณ) 48. วัดป่าเนรมิต อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ (งานปรับปรุงระบบไฟฟ้า) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๕๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 141 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,507
    วันพุธ: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๔ กันยายน ๒๕๖๗ (4 September 2024)

    บูรณะปฏิสังขรณ์ 10 วัด เป็นเงิน 200 บาท
    01. วัดอัมพวัน อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี
    (บูรณะศาลาการเปรียญ)
    02. วัดหงษ์ทอง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
    (บูรณะศาลาการเปรียญ)
    03. วัดไทรทอง อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ
    (บูรณะศาลาการเปรียญ)
    04. วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
    (บูรณะพระเจดีย์)
    05. วัดสันธาตุ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
    (บูรณะพระธาตุศรีมงคลโยนก)
    06. วัดเขาวงพระจันทร์ อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี
    (บูรณะมณฑปรอยพระพุทธบาท)
    07. วัดมะสง อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี
    (บูรณะเมรุ)
    08. วัดโสมนัส อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
    (บูรณะกุฏิสงฆ์)
    09. วัดอินทาราม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
    (บูรณะพื้นรอบอุโบสถ)
    10. วัดสุภาพัฒนาราม อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี
    (ปูกระเบื้องรอบพระอุโบสถ)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๖๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,507 วันพุธ: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๔ กันยายน ๒๕๖๗ (4 September 2024) บูรณะปฏิสังขรณ์ 10 วัด เป็นเงิน 200 บาท 01. วัดอัมพวัน อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี (บูรณะศาลาการเปรียญ) 02. วัดหงษ์ทอง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา (บูรณะศาลาการเปรียญ) 03. วัดไทรทอง อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ (บูรณะศาลาการเปรียญ) 04. วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ (บูรณะพระเจดีย์) 05. วัดสันธาตุ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย (บูรณะพระธาตุศรีมงคลโยนก) 06. วัดเขาวงพระจันทร์ อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี (บูรณะมณฑปรอยพระพุทธบาท) 07. วัดมะสง อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี (บูรณะเมรุ) 08. วัดโสมนัส อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ (บูรณะกุฏิสงฆ์) 09. วัดอินทาราม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม (บูรณะพื้นรอบอุโบสถ) 10. วัดสุภาพัฒนาราม อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี (ปูกระเบื้องรอบพระอุโบสถ) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๖๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 224 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม หยิบหมอก หยอกกระเจียว เที่ยวผาสุดแผ่นดิน

    สายฝนเริ่มโปรยปรายเราเลยจะชวนทุกคนไปเที่ยวหน้าฝน ชมดอกกระเจียวสวย ๆ กันที่อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม จังหวัดชัยภูมิ เพลิดเพลินกับธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ รายล้อมด้วยภูเขาน้อยใหญ่ ป่าไม้เขียวขจี อากาศเย็นสบาย ได้สูดออกซิเจนให้เต็มปอด ก่อนจะวางแผนเดินทางไปเที่ยวกัน มารู้จักกับเรื่องน่ารู้ของอุทยานแห่งชาติป่าหินงามก่อนดีกว่า

    อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม ตั้งอยู่บนเทือกเขาพังเหย อยู่ในพื้นที่อำเภอเทพสถิต และอำเภอซับใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ มีเนื้อที่ประมาณ 62,437.50 ไร่ หรือ 99.9 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศเป็นเนินเขาสลับซับซ้อน เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของลุ่มน้ำชีและแม่น้ำป่าสัก มีสภาพป่าสมบูรณ์ ปกคลุมด้วยป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ทำให้มีความหลากหลายของระบบนิเวศ และมีไม้ดอกจำพวกดุสิตา เอนอ้า และกล้วยไม้ ขึ้นอยู่จำนวนมาก รวมถึงมีสัตว์ป่านานาพรรณ ที่สำคัญยังมีจุดเด่นทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่งโดยเฉพาะ “ทุ่งดอกกระเจียว” ซึ่งจะบานสะพรั่งสวยงามในราวเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ของทุกปี

    ทุ่งดอกกระเจียว ดอกกระเจียว หรือดอกบัวสวรรค์ ราชินีแห่งมวลไม้ในขุนเขา เป็นพืชล้มลุกประเภทหัว จำพวกขิง-ข่า พบขึ้นกระจายอยู่ทั่วไปตั้งแต่ลานหินงามไปจนถึงจุดชมวิวสุดแผ่นดิน รวมเป็นระยะทางกว่า 1 กิโลเมตร โดยช่วงเวลาที่เหมาะสมในการมาเที่ยวชมความสวยงามของดอกกระเจียวที่เบ่งบานผลิดอกสีชมพูอมม่วงขึ้นเต็มทั่วผืนป่า คือในช่วงฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ของทุกปี ทั้งนี้ ดอกกระเจียวที่บานในอุทยานค้นพบทั้งหมด 3 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ปทุมมา สายพันธุ์กระเจียวดิน และสายพันธุ์กระเจียวขาว

    ลานหินงาม เป็นบริเวณลานหินที่มีโขดหินใหญ่รูปร่างแปลกตากระจายอยู่ในพื้นที่กว่า 10 ไร่ ซึ่งโขดหินดังกล่าวเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยเป็นการกัดเซาะเนื้อดินและหินในส่วนที่จับตัวกันอย่างเบาบางหลุดออกไป นานวันเข้าจึงเกิดโขดหินที่มีรูปลักษณ์แตกต่างกัน สามารถจินตนาการเป็นรูปต่าง ๆ เช่น ตะปู เรด้าร์ แม่ไก่ รูปสัตว์ ปราสาทโบราณ หินรูปถ้วยรางวัลฟุตบอลโลก รูปดอกเห็ด เป็นต้น สำหรับลานหินงามนี้อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของพื้นที่ทำการอุทยานแห่งชาติมีทางรถยนต์เข้าถึง

    สุดแผ่นดิน หน้าผาสูงชันและจุดสูงสุดของเทือกเขาพังเหย อยู่ทางด้านทิศเหนือห่างจากที่ทำการอุทยาน ประมาณ 2 กิโลเมตร มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 846 เมตร เป็นแนวหน้าผาซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างภาคกลางและภาคอีสาน ที่จุดชมวิวสุดแผ่นดินจะมองเห็นทิวทัศน์สันเขาพังเหยและเขตพื้นที่ป่าของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา และมีสายลมพัดเย็นสบายตลอดวัน จึงเป็นจุดชมวิวสำคัญที่นักท่องเที่ยวนิยมมาดูสายหมอกตอนเช้าและพระอาทิตย์ตกในตอนเย็น รวมถึงแวะมาถ่ายรูปเก็บไว้เป็นที่ระลึกกันด้วย

    #ป่าหินงาม
    #ชัยภูมิ
    #ดอกกระเจียว


    อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม หยิบหมอก หยอกกระเจียว เที่ยวผาสุดแผ่นดิน🌷 สายฝนเริ่มโปรยปรายเราเลยจะชวนทุกคนไปเที่ยวหน้าฝน ชมดอกกระเจียวสวย ๆ กันที่อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม จังหวัดชัยภูมิ เพลิดเพลินกับธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ รายล้อมด้วยภูเขาน้อยใหญ่ ป่าไม้เขียวขจี อากาศเย็นสบาย ได้สูดออกซิเจนให้เต็มปอด ก่อนจะวางแผนเดินทางไปเที่ยวกัน มารู้จักกับเรื่องน่ารู้ของอุทยานแห่งชาติป่าหินงามก่อนดีกว่า อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม ตั้งอยู่บนเทือกเขาพังเหย อยู่ในพื้นที่อำเภอเทพสถิต และอำเภอซับใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ มีเนื้อที่ประมาณ 62,437.50 ไร่ หรือ 99.9 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศเป็นเนินเขาสลับซับซ้อน เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของลุ่มน้ำชีและแม่น้ำป่าสัก มีสภาพป่าสมบูรณ์ ปกคลุมด้วยป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ทำให้มีความหลากหลายของระบบนิเวศ และมีไม้ดอกจำพวกดุสิตา เอนอ้า และกล้วยไม้ ขึ้นอยู่จำนวนมาก รวมถึงมีสัตว์ป่านานาพรรณ ที่สำคัญยังมีจุดเด่นทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่งโดยเฉพาะ “ทุ่งดอกกระเจียว” ซึ่งจะบานสะพรั่งสวยงามในราวเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ของทุกปี ทุ่งดอกกระเจียว ดอกกระเจียว หรือดอกบัวสวรรค์ ราชินีแห่งมวลไม้ในขุนเขา เป็นพืชล้มลุกประเภทหัว จำพวกขิง-ข่า พบขึ้นกระจายอยู่ทั่วไปตั้งแต่ลานหินงามไปจนถึงจุดชมวิวสุดแผ่นดิน รวมเป็นระยะทางกว่า 1 กิโลเมตร โดยช่วงเวลาที่เหมาะสมในการมาเที่ยวชมความสวยงามของดอกกระเจียวที่เบ่งบานผลิดอกสีชมพูอมม่วงขึ้นเต็มทั่วผืนป่า คือในช่วงฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ของทุกปี ทั้งนี้ ดอกกระเจียวที่บานในอุทยานค้นพบทั้งหมด 3 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ปทุมมา สายพันธุ์กระเจียวดิน และสายพันธุ์กระเจียวขาว ลานหินงาม เป็นบริเวณลานหินที่มีโขดหินใหญ่รูปร่างแปลกตากระจายอยู่ในพื้นที่กว่า 10 ไร่ ซึ่งโขดหินดังกล่าวเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยเป็นการกัดเซาะเนื้อดินและหินในส่วนที่จับตัวกันอย่างเบาบางหลุดออกไป นานวันเข้าจึงเกิดโขดหินที่มีรูปลักษณ์แตกต่างกัน สามารถจินตนาการเป็นรูปต่าง ๆ เช่น ตะปู เรด้าร์ แม่ไก่ รูปสัตว์ ปราสาทโบราณ หินรูปถ้วยรางวัลฟุตบอลโลก รูปดอกเห็ด เป็นต้น สำหรับลานหินงามนี้อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของพื้นที่ทำการอุทยานแห่งชาติมีทางรถยนต์เข้าถึง สุดแผ่นดิน หน้าผาสูงชันและจุดสูงสุดของเทือกเขาพังเหย อยู่ทางด้านทิศเหนือห่างจากที่ทำการอุทยาน ประมาณ 2 กิโลเมตร มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 846 เมตร เป็นแนวหน้าผาซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างภาคกลางและภาคอีสาน ที่จุดชมวิวสุดแผ่นดินจะมองเห็นทิวทัศน์สันเขาพังเหยและเขตพื้นที่ป่าของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา และมีสายลมพัดเย็นสบายตลอดวัน จึงเป็นจุดชมวิวสำคัญที่นักท่องเที่ยวนิยมมาดูสายหมอกตอนเช้าและพระอาทิตย์ตกในตอนเย็น รวมถึงแวะมาถ่ายรูปเก็บไว้เป็นที่ระลึกกันด้วย #ป่าหินงาม #ชัยภูมิ #ดอกกระเจียว
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 248 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญ กฐิน 2558 หลวงพ่อทอง สุทธสีโล
    วัดพระพุทธบาทเขายายหอม จ.ชัยภูมิ
    เหรียญ กฐิน 2558 หลวงพ่อทอง สุทธสีโล วัดพระพุทธบาทเขายายหอม จ.ชัยภูมิ
    Yay
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 81 มุมมอง 0 รีวิว
  • ป้อมปราการ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

    กำแพงเมืองพระนครกรุงรัตนโกสินทร์นั้นสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 7 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ มีป้อมสังเกตุการณ์จำนวนถึง 14 ป้อม ป้อมปราการที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งมี 14 ป้อม คือ

    1. ป้อมพระสุเมรุ ป้อมที่อยู่เหนือสุดของเกาะรัตนโกสินทร์
    2. ป้อมยุคุนธร ตรงหน้าวัดบวรนิเวศวิหาร บัดนี้เหลือแต่กำแพงและประตูเมืองเท่านั้น
    3. ป้อมมหาปราบ ระหว่างสะพานเฉลิมวันชาติกับแยกผ่านฟ้าลีลาศ ตรงหัวโค้งถนนพระสุเมรุ
    4. ป้อมมหากาฬ เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ
    5. ป้อมหมู่ทะลวง (ทลวง) ใกล้หัวถนนหลวง ตรงข้ามสวนรมณีนาถและร้านเครื่องหวายข้างสวนรมณีนาถ แต่ก่อนสวนรมณีนาถคือเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ก่อนถูกยุบเป็นสวนสาธารณะกับพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ ส่วนป้อมหมู่ทลวงโดนทุบทิ้งไปบางส่วนเมื่อเมื่อปี พ.ศ. 2440 เพื่อนำอิฐไปสร้างทางรถไฟจากอยุธยาไปบ้านภาชีและแก่งคอย
    6. ป้อมเสือทะยาน (ทยาน) อยู่ใกล้สะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) ตรงโรงแรมมิรามา
    7. ป้อมมหาไชย ปัจจุบันคือธนาคารทหารไทย สาขาวังบูรพา หัวถนนเยาวราช แถวสะพานหัน ทุบทิ้งเมื่อปลายธันวาคม พ.ศ. 2469
    8. ป้อมจักรเพชร ป้อมที่อยู่ใต้สุดของเกาะรัตนโกสินทร์ อยู่ตรงปากคลองรอบกรุง เชิงสะพานพุทธยอดฟ้า
    9. ป้อมผีเสื้อ ปัจจุบันปากคลองคูเมืองเดิมด้านใต้ ฝั่งปากคลองตลาด
    10. ป้อมมหาฤกษ์ ปัจจุบันอยู่ในบริเวณโรงเรียนราชินี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับป้อมวิชัยประสิทธิ์ซึ่งอยู่ฝั่งธนบุรี
    11. ป้อมมหายักษ์ อยู่บริเวณท่าเตียน แถว ๆ ตึกกรมการค้าภายใน เก่า
    12. ป้อมพระจันทร์ ปัจจุบันคือท่าพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    13. ป้อมพระอาทิตย์ ปัจจุบันคือเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า ปากคลองคูเมืองเดิม
    14. ป้อมอิสินธร ปัจจุบันคือพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตรงข้ามซอยชนะสงคราม ทางลัดเข้าวัดชนะสงคราม

    โดยประตูเมืองและกำแพงเมือง ทางทิศเหนือนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นประตูเมืองตามแบบในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นประตูยอด โดยแตกต่างจากประตูไม้ทาดินแดงในสมัยรัชกาลที่ 1 และประตูก่ออิฐข้างบนซึ่งใช้เป็นหอรบในสมัยรัชกาลที่ 3

    ส่วนกำแพงเมืองทางด้านป้อมมหากาฬนั้น ได้ถูกรื้อถอนออกเป็นจำนวนมากเพื่อสร้างถนน และที่อยู่อาศัย จะเหลือให้เห็นเพียงระยะประมาณ 100 เมตร ติดต่อกับตัวป้อมมหากาฬ ด้านหลังกำแพงปัจจุบันเป็นสวนสาธารณะ เป็นอีกหนึ่งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวกรุงเทพมหานครและนักท่องเที่ยว

    ทั้งนี้เนื่องจากรัชกาลที่ 1 ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านความมั่นคงมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า และมีตำแหน่งเป็น “แม่ทัพ” เมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรี ทำให้ทรงเชี่ยวชาญการศึก และเข้าใจตำราพิไชยสงคราม การตั้งหลักเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีการอ้างอิงการตั้งทัพหรือแต่งทัพ ที่สอดคล้องกับภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม

    รัชกาลที่ 1 เข้าพระราชหฤทัยชัยภูมิของ “บางกอก” ที่มีลักษณะตรงกับการตั้งทัพตามคติ “นาคนาม” กล่าวคือ เป็นบริเวณที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ดังนั้น ในการเลือกที่ตั้งศูนย์กลางของเมือง และการตั้ง “หลักเมือง” พระองค์จึงทรงเล็งเห็นประเด็นของ “ชัยภูมิ” เป็นลำดับแรก จากนั้นจึงดูฤกษ์ยาม วัน และเดือน ที่เหมาะสมตามคติ “โหราศาสตร์” ในการลงหลักเมืองตามมาเป็นลำดับ

    และเมื่อได้ดูลักษณะรูปร่างของการวางผังของ กำแพงเมืองพระนครจะเหมือนลักษณะคันธนู โดยยึดหลักฮวงจุ้ยของจีนมาประกอบการวางผังกำแพงเมือง หากสังเกตุดีๆ จะเห็นว่าสายธนูจะง้างออกไปทางทิศตะวันออก ส่วนลูกธนูจะพุ่งไปทางทิศตะวันตกอันเป็นทิศที่ตั้งของคู่ปรับสำคัญนั่นคือเมืองอังวะ พม่านั่นเอง
    .
    อ้างอิง
    พินิจพระนคร 2475-2545, กรมแผนที่ทหาร, กองบัญชาการทหารสูงสุด, พ.ศ. 2549
    แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2450 - 2550, โดย บัณฑิต จุลาสัยและคณะ, กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2550
    เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 5
    เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 6
    เอกสารชุดกระทรวงมหาดไทย สมัยรัชกาลที่ 7
    เพจบางกอกไอเลิฟยู

    เรียบเรียงโดย เพจเกร็ดประวัติศาสตร์ v2

    #Thaitimes
    ป้อมปราการ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ กำแพงเมืองพระนครกรุงรัตนโกสินทร์นั้นสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 7 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ มีป้อมสังเกตุการณ์จำนวนถึง 14 ป้อม ป้อมปราการที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งมี 14 ป้อม คือ 1. ป้อมพระสุเมรุ ป้อมที่อยู่เหนือสุดของเกาะรัตนโกสินทร์ 2. ป้อมยุคุนธร ตรงหน้าวัดบวรนิเวศวิหาร บัดนี้เหลือแต่กำแพงและประตูเมืองเท่านั้น 3. ป้อมมหาปราบ ระหว่างสะพานเฉลิมวันชาติกับแยกผ่านฟ้าลีลาศ ตรงหัวโค้งถนนพระสุเมรุ 4. ป้อมมหากาฬ เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ 5. ป้อมหมู่ทะลวง (ทลวง) ใกล้หัวถนนหลวง ตรงข้ามสวนรมณีนาถและร้านเครื่องหวายข้างสวนรมณีนาถ แต่ก่อนสวนรมณีนาถคือเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ก่อนถูกยุบเป็นสวนสาธารณะกับพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ ส่วนป้อมหมู่ทลวงโดนทุบทิ้งไปบางส่วนเมื่อเมื่อปี พ.ศ. 2440 เพื่อนำอิฐไปสร้างทางรถไฟจากอยุธยาไปบ้านภาชีและแก่งคอย 6. ป้อมเสือทะยาน (ทยาน) อยู่ใกล้สะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) ตรงโรงแรมมิรามา 7. ป้อมมหาไชย ปัจจุบันคือธนาคารทหารไทย สาขาวังบูรพา หัวถนนเยาวราช แถวสะพานหัน ทุบทิ้งเมื่อปลายธันวาคม พ.ศ. 2469 8. ป้อมจักรเพชร ป้อมที่อยู่ใต้สุดของเกาะรัตนโกสินทร์ อยู่ตรงปากคลองรอบกรุง เชิงสะพานพุทธยอดฟ้า 9. ป้อมผีเสื้อ ปัจจุบันปากคลองคูเมืองเดิมด้านใต้ ฝั่งปากคลองตลาด 10. ป้อมมหาฤกษ์ ปัจจุบันอยู่ในบริเวณโรงเรียนราชินี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับป้อมวิชัยประสิทธิ์ซึ่งอยู่ฝั่งธนบุรี 11. ป้อมมหายักษ์ อยู่บริเวณท่าเตียน แถว ๆ ตึกกรมการค้าภายใน เก่า 12. ป้อมพระจันทร์ ปัจจุบันคือท่าพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 13. ป้อมพระอาทิตย์ ปัจจุบันคือเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า ปากคลองคูเมืองเดิม 14. ป้อมอิสินธร ปัจจุบันคือพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตรงข้ามซอยชนะสงคราม ทางลัดเข้าวัดชนะสงคราม โดยประตูเมืองและกำแพงเมือง ทางทิศเหนือนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นประตูเมืองตามแบบในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นประตูยอด โดยแตกต่างจากประตูไม้ทาดินแดงในสมัยรัชกาลที่ 1 และประตูก่ออิฐข้างบนซึ่งใช้เป็นหอรบในสมัยรัชกาลที่ 3 ส่วนกำแพงเมืองทางด้านป้อมมหากาฬนั้น ได้ถูกรื้อถอนออกเป็นจำนวนมากเพื่อสร้างถนน และที่อยู่อาศัย จะเหลือให้เห็นเพียงระยะประมาณ 100 เมตร ติดต่อกับตัวป้อมมหากาฬ ด้านหลังกำแพงปัจจุบันเป็นสวนสาธารณะ เป็นอีกหนึ่งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวกรุงเทพมหานครและนักท่องเที่ยว ทั้งนี้เนื่องจากรัชกาลที่ 1 ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านความมั่นคงมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า และมีตำแหน่งเป็น “แม่ทัพ” เมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรี ทำให้ทรงเชี่ยวชาญการศึก และเข้าใจตำราพิไชยสงคราม การตั้งหลักเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีการอ้างอิงการตั้งทัพหรือแต่งทัพ ที่สอดคล้องกับภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม รัชกาลที่ 1 เข้าพระราชหฤทัยชัยภูมิของ “บางกอก” ที่มีลักษณะตรงกับการตั้งทัพตามคติ “นาคนาม” กล่าวคือ เป็นบริเวณที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ดังนั้น ในการเลือกที่ตั้งศูนย์กลางของเมือง และการตั้ง “หลักเมือง” พระองค์จึงทรงเล็งเห็นประเด็นของ “ชัยภูมิ” เป็นลำดับแรก จากนั้นจึงดูฤกษ์ยาม วัน และเดือน ที่เหมาะสมตามคติ “โหราศาสตร์” ในการลงหลักเมืองตามมาเป็นลำดับ และเมื่อได้ดูลักษณะรูปร่างของการวางผังของ กำแพงเมืองพระนครจะเหมือนลักษณะคันธนู โดยยึดหลักฮวงจุ้ยของจีนมาประกอบการวางผังกำแพงเมือง หากสังเกตุดีๆ จะเห็นว่าสายธนูจะง้างออกไปทางทิศตะวันออก ส่วนลูกธนูจะพุ่งไปทางทิศตะวันตกอันเป็นทิศที่ตั้งของคู่ปรับสำคัญนั่นคือเมืองอังวะ พม่านั่นเอง . อ้างอิง พินิจพระนคร 2475-2545, กรมแผนที่ทหาร, กองบัญชาการทหารสูงสุด, พ.ศ. 2549 แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2450 - 2550, โดย บัณฑิต จุลาสัยและคณะ, กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2550 เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 5 เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 6 เอกสารชุดกระทรวงมหาดไทย สมัยรัชกาลที่ 7 เพจบางกอกไอเลิฟยู เรียบเรียงโดย เพจเกร็ดประวัติศาสตร์ v2 #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 520 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชัยภูมิเช้านี้หนาวแท้

    ชัยภูมิเช้านี้หนาวแท้ 🥶🥶🥶🥶🤧💕💕💕
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว