• สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 232
    วันพฤหัสบดี: แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๗ (19 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๖ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 232 วันพฤหัสบดี: แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๗ (19 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๖ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 98 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 232
    วันพฤหัสบดี: แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๗ (19 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๖ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 232 วันพฤหัสบดี: แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๗ (19 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๖ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 96 มุมมอง 0 รีวิว
  • #วิมานลอย

    วันนี้ขออนุญาตแนะนำหนังสือที่เคยอ่าน เป็นวรรณกรรมคลาสสิกฝั่งอเมริกา และคิดว่าอย่างน้อยผู้ที่สามารถอ่านหนังสือได้ และมีโอกาส ควรหามาอ่านให้ได้สักครั้งในชีวิต แม้ส่วนตัวจะตอบได้ไม่เต็มปากนักว่าชื่นชอบเล่มนี้ แต่ยืนยันได้ว่าคือหนังสือดีมีค่าที่คู่ควรกับการสละเวลาจริง

    เชื่อว่าคุ้นหูทุกคนอยู่แล้ว แต่ไม่ทุกคนที่จะได้อ่าน เพราะด้วยความยาวของแถวอักษรยาวเหยียด ความหนาของจำนวนหน้า พาให้รู้สึกท้อต่อการที่จะหยิบมาอ่านอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเล่มที่ผมอ่านนั้น เป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 7 ในไทย ของ สนพ.แพรว ปี พ.ศ. 2550 หนา 1,184 หน้า แปลโดย รอย โรจนานนท์ ซึ่งทำสวยงามเลอค่าน่าสะสมมาก ปกแข็งมีปกนอกหุ้ม เย็บกี่ ซึ่งเรื่องนี้ยืมจากห้องสมุดประชาชนมาอ่าน เพราะต้องใช้วิธีนี้เท่านั้น จึงจะกระตุ้นตัวเองให้มีความเพียรพอที่จะตั้งใจอ่านจนจบเรื่องได้ ไม่อย่างนั้นคงซื้อมาแล้วก็วางไว้ก่อน แต่ต้องใช้เวลาในการอ่านและยืมต่ออยู่หลายครั้ง ถ้าจำไม่ผิดก็ 3-4 หนต่อเนื่อง

    และขอยืนยันว่าฉบับพิมพ์นี้ไม่เหมาะกับการถืออ่านขณะนอนหงาย เพราะอาจหน้าแหก ดั้งยุบ หรือสลบเหมือดคาที่ได้ ขนาดนั่งอ่านยังต้องวางหนังสือกับโต๊ะ ยกอ่านได้ไม่นานเกิดอาการล้ามาก

    เรื่องที่กล่าวถึงนี้คือ Gone With The Wind หรือชื่อไทย วิมานลอย โดยผู้เขียนนาม มาร์กาเร็ต มิตเชลล์ รู้สึกชอบชื่อเรื่องมากทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่ให้ความหมายชัดเจนดีมาก ยิ่งอ่านจบแล้วยิ่งย้ำยืนยันว่าเป็นชื่อเรื่องที่เหมาะสมที่สุด ความจริงได้ยินเสียงล่ำลือถึงเรื่องนี้มานานมากตั้งแต่เด็ก แต่ได้สัมผัสครั้งแรกจากภาพยนตร์ก่อน เมื่อช่วงเรียนจบใหม่ๆ พอได้ชมแล้วชอบจึงเริ่มอยากอ่านฉบับหนังสือว่าจะแตกต่างอย่างไรบ้าง นั่นคือจุดเริ่มต้น

    เนื้อหาของเรื่องนี้ ถูกวางฉากหลังไว้ในช่วงสงครามกลางเมืองของอเมริกา ในยุคที่มีการใช้แรงงานทาสผิวดำ การทำกสิกรรมปลูกไร่ฝ้าย ไปจนถึงความขัดแย้งของคนชาติเดียวกัน แต่ต่างที่มา ซึ่งแบ่งเป็นฝ่ายเหนือกับฝ่ายใต้ ต่อเนื่องยาวไปจนถึงเริ่มสงคราม และสงครามสิ้นสุด รวมถึงพิษภัยจากไฟสงครามที่ลามเลียต่อเนื่อง ผลกระทบทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ ของฝ่ายผู้ชนะที่กระทำต่อผู้แพ้ ที่แม้คือชาติเดียวกันอย่างโหดร้าย แล้งน้ำใจ การเลิกทาส ความชุลมุน จราจลทั่วทุกหย่อมหญ้า ผ่านความคิด มุมมองและการเลือกกระทำของตัวเอกที่เป็นตัวดำเนินเรื่องหลักอย่างนางเอก คือ สการ์เลตต์ โอฮารา และตัวเดินเรื่องเสริมคือพระเอก หรือ เรตต์ บัตเลอร์

    ความจริงผมไม่ชอบสการ์เลตต์ และยิ่งไม่ชอบเรตต์ บัตเลอร์เลยจากใจจริง ออกจะเหม็นเบื่อ หมั่นไส้ และรู้สึกทุเรศทุรังกับอุปนิสัยของตัวละครทั้งสอง โดยเฉพาะช่วงแรกเริ่มได้ทำความรู้จักกันผ่านหน้าหนังสือ ด้วยเหตุที่นางเอกนั้น ช่วงต้นเป็นหญิงที่ใช้ชีวิตอย่างลูกคุณหนู สมองกลวงไปวันๆ ไม่คิดทำอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน คำนึงถึงแต่เรื่องผู้ชาย การได้แต่งงานกับลูกชายบ้านโน้นบ้านนี้ การแวดล้อมไปด้วยเพื่อนสาวที่มีค่านิยม แนวคิด ฝักใฝ่ความหรูหรา ติดสบาย ต้องมีคนคอยรับใช้ เกียรติยศ ความหลงใหลยึดติดกับศักดินา ข้าทาส บริวาร ชื่อเสียงตระกูล ความฟุ่มเฟือย สารพัดที่ผู้หญิงใฝ่สุขนิยมมักเป็นกัน

    ส่วนฝ่ายชายนั้นเล่าก็แบดบอย ยโสโอหัง กวนบาทา พูดจายียวน ชอบยั่วโมโห หน้าเลือด นิสัยพ่อค้าที่ทำอย่างไรตนจึงจะมีเงินไหลเข้ากระเป๋าได้เยอะสุดในภาวะสงคราม ที่คนจำนวนมากเดือดร้อนอดอยาก อายุมากกว่านางเอกหลายปี อยู่ในวัยหนุ่มใหญ่ผู้มีสายตาและประสบการณ์ที่ผ่านโลกมาอย่างโชกโชน

    เริ่มต้นนางเอกนั้นเกลียดขี้หน้าพระเอก และก็รู้สึกอย่างนั้นในแทบทุกครั้งที่ได้พบเจอ แต่ก็แปลกที่ในยามวิกฤตกลับนึกถึงเขา เพราะใจลึกๆนั้นรู้ดีว่าชายคนนี้เชื่อถือได้ว่าสามารถนำพาเธอให้พ้นจากสถานการณ์ร้ายต่างๆอย่างแน่นอน

    ส่วนใหญ่เวลาเจอหน้ากัน มักจะเป็นการสนทนาวิวาทะ ประคารมอย่างถึงพริกถึงขิง แม้นภายในใจจะรู้สึกต่างชอบกันอยู่บ้าง แต่โชคชะตานำพาให้พลาดกันไปพลาดกันมา กว่าจะได้มาเป็นคู่ชีวิตกัน นางเอกต้องผ่านการแต่งงานมาแล้วถึง 2ครั้ง

    ผู้อ่านจะได้เห็นถึงความเติบโตของสการ์เลตต์ผ่านประสบการณ์ชีวิตซึ่ง การศึกสงครามจากด่านหน้าที่สู้รบกันของฝ่ายสมาพันธรัฐชาวใต้ที่หยิ่งผยองในเกียรติยศ ศักดิ์ศรี และต้องการความเป็นอิสระในการถือครองทาส กับฝ่ายเหนือที่เป็นสหภาพซี่งยึดรัฐธรรมนูญเหนืออื่นใด ได้ส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อแนวหลังที่รอคอยด้วยใจกระวนกระวายอยู่กับบ้าน ผลการแพ้ชนะแต่ละครั้ง ได้สร้างรอยแผลไว้ในใจอย่างฝังลึกยากถอดถอน

    จนถึงวันที่รู้ว่าฝ่ายของตน ดินแดนอันเป็นที่รัก เชิดชูและศรัทธา ได้แพ้พ่ายอย่างราบคาบ คนรักและรู้จัก พลเมืองจำนวนมากต่างตายไปในสงคราม ที่เหลือรอดกลับมาก็สภาพน่าอเนจอนาถ รวมถึงผลพวงหลังจากรัฐบาลกลางเข้ามากุมอำนาจ มีบทบาทตั้งกฎระเบียบต่างๆ ที่เป็นการขูดรีด เอาเปรียบ เหยียบย่ำ ฉีกทึ้ง เกียรติยศ ศักดิ์ศรีความเป็นคน การฉ้อฉลคดโกง ใช้อำนาจโดยมิชอบ รีดนาทาเล้น ปล้นฆ่า โกงสมบัติชาติเป็นของตน ของผู้มีอำนาจที่ได้รับเลือกจากรัฐบาลกลางมาปกครองดูแลชาวใต้ สมาพันธรัฐล่มสลาย ประชาชนเดือดร้อน อดอยาก แร้นแค้น เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยส่งเสริม และเปลี่ยนแปลงให้นางเอกต้องกลายสภาพจากคุณหนูผู้ไร้เดียงสา ไปเป็นผู้ทำทุกทางเพื่อจะอยู่รอดให้ได้ในยามวิกฤต เพื่อประคับประคองข้าทาสผิวดำที่ซื่อสัตย์ เพื่อรักษาบ้านและที่ดินของพ่อเอาไว้ เพราะเธอต้องขึ้นมาเป็นหัวหน้าครอบครัวแทนหลังสูญเสียพ่อไป

    ยอมกระทั่งให้คนใต้ด้วยกันหยามเหยียด รังเกียจเดียดฉันท์ เพราะเธอตัดสินใจเลือกคบค้าสมาคม ทำธุรกิจกับพวกพ่อค้า ผู้มีอำนาจ ที่มาปกครองบ้านเมืองของตน ซึ่งครั้งหนึ่งเธอรังเกียจและเจ็บแค้น เพื่อจะดำรงสถานะของครอบครัวให้ไปต่อได้

    การเติบโตทางอารมณ์ และความเป็นผู้ใหญ่ที่ต้องชั่งใจเลือก ในสิ่งซึ่งขัดแย้งกับอุดมการณ์ ความศรัทธา ภาคภูมิที่ตนเชื่อมั่นมาตลอด กับความจริงตรงหน้าที่บีบคั้นให้กระทำสวนทางก็ตาม

    สการ์เลตต์ โอฮารา รวมถึง เรตต์ บัตเลอร์ จึงเป็นตัวละครที่มีความเรียลริสติก มีบุคลิกที่ใกล้เคียงความเป็นมนุษย์ปุถุชน ที่มีทั้งดีชั่วปะปน และดิ้นรนเพื่อหาทางเอาชีวิตรอดไปตามสถานการณ์ ไม่ใช่ตัวละครที่พาฝัน ภาพลักษณ์สวยงาม เป็นคนดีพร้อม ทั้งรูปสมบัติและคุณสมบัติ ที่มักพบได้ในตัวพระนางทั่วไป หากกล่าวอย่างตรงๆแล้ว ทั้งสองออกจะมีด้านที่เป็นสีเทาดำ มากกว่าสีขาวด้วยซ้ำ แต่นี่อาจเป็นเสน่ห์ที่ทำให้เรื่องนี้ยังคงอยู่ในใจของนักอ่านทั่วโลกมาอย่างยาวนานจนปัจจุบัน ถึงกับได้รับการยกย่องมากมายจากหลายสถาบัน ให้เป็นหนึ่งในวรรณกรรมคลาสสิกชิ้นเยี่ยม

    ทว่าสำหรับส่วนตัวแล้ว ไม่ได้สนใจในเรื่องนั้นเลย ยังคงยืนยันเช่นเดิมว่าไม่ชอบนางเอก และพระเอก รวมถึงไม่อาจบอกได้ว่านี่คือเรื่องที่รักชอบหลังอ่านจบ แต่สิ่งหนึ่งที่กล้ายืนยันอย่างมั่นใจอีกครั้งคือ

    นี่คือหนังสือที่ดี มีค่าเพียงพอต่อเวลาที่ต้องสละไปในการอ่าน

    ใครอ่านเรื่องนี้จบเกินกว่า 1 รอบ ขอยอมรับนับถือเลย
    สุดท้ายที่จะบอกคือ นี่เป็นหนังสือที่ดูดพลังอย่างมาก เหนื่อยที่สุดในชีวิตการเป็นนักอ่าน แม้นอ่านนิยายไทยยาวๆอย่างเพชรพระอุมา หรือนิยายจีนกำลังภายในที่ยาว 20-30 เล่ม ก็ยังไม่เคยเหนื่อยเท่า

    ป.ล. เนื่องจากไม่มีหนังสือเป็นของตน จึงขอใช้ภาพจากอินเตอร์เน็ตมาประกอบครับ

    #นิยายแปล
    #วรรณกรรมคลาสสิก
    #วิมานลอย
    #gonewiththewind
    #หนังสือน่าอ่าน
    #สงครามกลางเมือง
    #สหรัฐอเมริกา
    #ชนชั้น
    #แรงงาน
    #บริวาร
    #ทาส
    #คนผิวดำ
    #thaitimes
    #นิยาย
    #หนังสือ
    #วิมานลอย วันนี้ขออนุญาตแนะนำหนังสือที่เคยอ่าน เป็นวรรณกรรมคลาสสิกฝั่งอเมริกา และคิดว่าอย่างน้อยผู้ที่สามารถอ่านหนังสือได้ และมีโอกาส ควรหามาอ่านให้ได้สักครั้งในชีวิต แม้ส่วนตัวจะตอบได้ไม่เต็มปากนักว่าชื่นชอบเล่มนี้ แต่ยืนยันได้ว่าคือหนังสือดีมีค่าที่คู่ควรกับการสละเวลาจริง เชื่อว่าคุ้นหูทุกคนอยู่แล้ว แต่ไม่ทุกคนที่จะได้อ่าน เพราะด้วยความยาวของแถวอักษรยาวเหยียด ความหนาของจำนวนหน้า พาให้รู้สึกท้อต่อการที่จะหยิบมาอ่านอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเล่มที่ผมอ่านนั้น เป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 7 ในไทย ของ สนพ.แพรว ปี พ.ศ. 2550 หนา 1,184 หน้า แปลโดย รอย โรจนานนท์ ซึ่งทำสวยงามเลอค่าน่าสะสมมาก ปกแข็งมีปกนอกหุ้ม เย็บกี่ ซึ่งเรื่องนี้ยืมจากห้องสมุดประชาชนมาอ่าน เพราะต้องใช้วิธีนี้เท่านั้น จึงจะกระตุ้นตัวเองให้มีความเพียรพอที่จะตั้งใจอ่านจนจบเรื่องได้ ไม่อย่างนั้นคงซื้อมาแล้วก็วางไว้ก่อน แต่ต้องใช้เวลาในการอ่านและยืมต่ออยู่หลายครั้ง ถ้าจำไม่ผิดก็ 3-4 หนต่อเนื่อง และขอยืนยันว่าฉบับพิมพ์นี้ไม่เหมาะกับการถืออ่านขณะนอนหงาย เพราะอาจหน้าแหก ดั้งยุบ หรือสลบเหมือดคาที่ได้ ขนาดนั่งอ่านยังต้องวางหนังสือกับโต๊ะ ยกอ่านได้ไม่นานเกิดอาการล้ามาก เรื่องที่กล่าวถึงนี้คือ Gone With The Wind หรือชื่อไทย วิมานลอย โดยผู้เขียนนาม มาร์กาเร็ต มิตเชลล์ รู้สึกชอบชื่อเรื่องมากทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่ให้ความหมายชัดเจนดีมาก ยิ่งอ่านจบแล้วยิ่งย้ำยืนยันว่าเป็นชื่อเรื่องที่เหมาะสมที่สุด ความจริงได้ยินเสียงล่ำลือถึงเรื่องนี้มานานมากตั้งแต่เด็ก แต่ได้สัมผัสครั้งแรกจากภาพยนตร์ก่อน เมื่อช่วงเรียนจบใหม่ๆ พอได้ชมแล้วชอบจึงเริ่มอยากอ่านฉบับหนังสือว่าจะแตกต่างอย่างไรบ้าง นั่นคือจุดเริ่มต้น เนื้อหาของเรื่องนี้ ถูกวางฉากหลังไว้ในช่วงสงครามกลางเมืองของอเมริกา ในยุคที่มีการใช้แรงงานทาสผิวดำ การทำกสิกรรมปลูกไร่ฝ้าย ไปจนถึงความขัดแย้งของคนชาติเดียวกัน แต่ต่างที่มา ซึ่งแบ่งเป็นฝ่ายเหนือกับฝ่ายใต้ ต่อเนื่องยาวไปจนถึงเริ่มสงคราม และสงครามสิ้นสุด รวมถึงพิษภัยจากไฟสงครามที่ลามเลียต่อเนื่อง ผลกระทบทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ ของฝ่ายผู้ชนะที่กระทำต่อผู้แพ้ ที่แม้คือชาติเดียวกันอย่างโหดร้าย แล้งน้ำใจ การเลิกทาส ความชุลมุน จราจลทั่วทุกหย่อมหญ้า ผ่านความคิด มุมมองและการเลือกกระทำของตัวเอกที่เป็นตัวดำเนินเรื่องหลักอย่างนางเอก คือ สการ์เลตต์ โอฮารา และตัวเดินเรื่องเสริมคือพระเอก หรือ เรตต์ บัตเลอร์ ความจริงผมไม่ชอบสการ์เลตต์ และยิ่งไม่ชอบเรตต์ บัตเลอร์เลยจากใจจริง ออกจะเหม็นเบื่อ หมั่นไส้ และรู้สึกทุเรศทุรังกับอุปนิสัยของตัวละครทั้งสอง โดยเฉพาะช่วงแรกเริ่มได้ทำความรู้จักกันผ่านหน้าหนังสือ ด้วยเหตุที่นางเอกนั้น ช่วงต้นเป็นหญิงที่ใช้ชีวิตอย่างลูกคุณหนู สมองกลวงไปวันๆ ไม่คิดทำอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน คำนึงถึงแต่เรื่องผู้ชาย การได้แต่งงานกับลูกชายบ้านโน้นบ้านนี้ การแวดล้อมไปด้วยเพื่อนสาวที่มีค่านิยม แนวคิด ฝักใฝ่ความหรูหรา ติดสบาย ต้องมีคนคอยรับใช้ เกียรติยศ ความหลงใหลยึดติดกับศักดินา ข้าทาส บริวาร ชื่อเสียงตระกูล ความฟุ่มเฟือย สารพัดที่ผู้หญิงใฝ่สุขนิยมมักเป็นกัน ส่วนฝ่ายชายนั้นเล่าก็แบดบอย ยโสโอหัง กวนบาทา พูดจายียวน ชอบยั่วโมโห หน้าเลือด นิสัยพ่อค้าที่ทำอย่างไรตนจึงจะมีเงินไหลเข้ากระเป๋าได้เยอะสุดในภาวะสงคราม ที่คนจำนวนมากเดือดร้อนอดอยาก อายุมากกว่านางเอกหลายปี อยู่ในวัยหนุ่มใหญ่ผู้มีสายตาและประสบการณ์ที่ผ่านโลกมาอย่างโชกโชน เริ่มต้นนางเอกนั้นเกลียดขี้หน้าพระเอก และก็รู้สึกอย่างนั้นในแทบทุกครั้งที่ได้พบเจอ แต่ก็แปลกที่ในยามวิกฤตกลับนึกถึงเขา เพราะใจลึกๆนั้นรู้ดีว่าชายคนนี้เชื่อถือได้ว่าสามารถนำพาเธอให้พ้นจากสถานการณ์ร้ายต่างๆอย่างแน่นอน ส่วนใหญ่เวลาเจอหน้ากัน มักจะเป็นการสนทนาวิวาทะ ประคารมอย่างถึงพริกถึงขิง แม้นภายในใจจะรู้สึกต่างชอบกันอยู่บ้าง แต่โชคชะตานำพาให้พลาดกันไปพลาดกันมา กว่าจะได้มาเป็นคู่ชีวิตกัน นางเอกต้องผ่านการแต่งงานมาแล้วถึง 2ครั้ง ผู้อ่านจะได้เห็นถึงความเติบโตของสการ์เลตต์ผ่านประสบการณ์ชีวิตซึ่ง การศึกสงครามจากด่านหน้าที่สู้รบกันของฝ่ายสมาพันธรัฐชาวใต้ที่หยิ่งผยองในเกียรติยศ ศักดิ์ศรี และต้องการความเป็นอิสระในการถือครองทาส กับฝ่ายเหนือที่เป็นสหภาพซี่งยึดรัฐธรรมนูญเหนืออื่นใด ได้ส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อแนวหลังที่รอคอยด้วยใจกระวนกระวายอยู่กับบ้าน ผลการแพ้ชนะแต่ละครั้ง ได้สร้างรอยแผลไว้ในใจอย่างฝังลึกยากถอดถอน จนถึงวันที่รู้ว่าฝ่ายของตน ดินแดนอันเป็นที่รัก เชิดชูและศรัทธา ได้แพ้พ่ายอย่างราบคาบ คนรักและรู้จัก พลเมืองจำนวนมากต่างตายไปในสงคราม ที่เหลือรอดกลับมาก็สภาพน่าอเนจอนาถ รวมถึงผลพวงหลังจากรัฐบาลกลางเข้ามากุมอำนาจ มีบทบาทตั้งกฎระเบียบต่างๆ ที่เป็นการขูดรีด เอาเปรียบ เหยียบย่ำ ฉีกทึ้ง เกียรติยศ ศักดิ์ศรีความเป็นคน การฉ้อฉลคดโกง ใช้อำนาจโดยมิชอบ รีดนาทาเล้น ปล้นฆ่า โกงสมบัติชาติเป็นของตน ของผู้มีอำนาจที่ได้รับเลือกจากรัฐบาลกลางมาปกครองดูแลชาวใต้ สมาพันธรัฐล่มสลาย ประชาชนเดือดร้อน อดอยาก แร้นแค้น เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยส่งเสริม และเปลี่ยนแปลงให้นางเอกต้องกลายสภาพจากคุณหนูผู้ไร้เดียงสา ไปเป็นผู้ทำทุกทางเพื่อจะอยู่รอดให้ได้ในยามวิกฤต เพื่อประคับประคองข้าทาสผิวดำที่ซื่อสัตย์ เพื่อรักษาบ้านและที่ดินของพ่อเอาไว้ เพราะเธอต้องขึ้นมาเป็นหัวหน้าครอบครัวแทนหลังสูญเสียพ่อไป ยอมกระทั่งให้คนใต้ด้วยกันหยามเหยียด รังเกียจเดียดฉันท์ เพราะเธอตัดสินใจเลือกคบค้าสมาคม ทำธุรกิจกับพวกพ่อค้า ผู้มีอำนาจ ที่มาปกครองบ้านเมืองของตน ซึ่งครั้งหนึ่งเธอรังเกียจและเจ็บแค้น เพื่อจะดำรงสถานะของครอบครัวให้ไปต่อได้ การเติบโตทางอารมณ์ และความเป็นผู้ใหญ่ที่ต้องชั่งใจเลือก ในสิ่งซึ่งขัดแย้งกับอุดมการณ์ ความศรัทธา ภาคภูมิที่ตนเชื่อมั่นมาตลอด กับความจริงตรงหน้าที่บีบคั้นให้กระทำสวนทางก็ตาม สการ์เลตต์ โอฮารา รวมถึง เรตต์ บัตเลอร์ จึงเป็นตัวละครที่มีความเรียลริสติก มีบุคลิกที่ใกล้เคียงความเป็นมนุษย์ปุถุชน ที่มีทั้งดีชั่วปะปน และดิ้นรนเพื่อหาทางเอาชีวิตรอดไปตามสถานการณ์ ไม่ใช่ตัวละครที่พาฝัน ภาพลักษณ์สวยงาม เป็นคนดีพร้อม ทั้งรูปสมบัติและคุณสมบัติ ที่มักพบได้ในตัวพระนางทั่วไป หากกล่าวอย่างตรงๆแล้ว ทั้งสองออกจะมีด้านที่เป็นสีเทาดำ มากกว่าสีขาวด้วยซ้ำ แต่นี่อาจเป็นเสน่ห์ที่ทำให้เรื่องนี้ยังคงอยู่ในใจของนักอ่านทั่วโลกมาอย่างยาวนานจนปัจจุบัน ถึงกับได้รับการยกย่องมากมายจากหลายสถาบัน ให้เป็นหนึ่งในวรรณกรรมคลาสสิกชิ้นเยี่ยม ทว่าสำหรับส่วนตัวแล้ว ไม่ได้สนใจในเรื่องนั้นเลย ยังคงยืนยันเช่นเดิมว่าไม่ชอบนางเอก และพระเอก รวมถึงไม่อาจบอกได้ว่านี่คือเรื่องที่รักชอบหลังอ่านจบ แต่สิ่งหนึ่งที่กล้ายืนยันอย่างมั่นใจอีกครั้งคือ นี่คือหนังสือที่ดี มีค่าเพียงพอต่อเวลาที่ต้องสละไปในการอ่าน ใครอ่านเรื่องนี้จบเกินกว่า 1 รอบ ขอยอมรับนับถือเลย สุดท้ายที่จะบอกคือ นี่เป็นหนังสือที่ดูดพลังอย่างมาก เหนื่อยที่สุดในชีวิตการเป็นนักอ่าน แม้นอ่านนิยายไทยยาวๆอย่างเพชรพระอุมา หรือนิยายจีนกำลังภายในที่ยาว 20-30 เล่ม ก็ยังไม่เคยเหนื่อยเท่า ป.ล. เนื่องจากไม่มีหนังสือเป็นของตน จึงขอใช้ภาพจากอินเตอร์เน็ตมาประกอบครับ #นิยายแปล #วรรณกรรมคลาสสิก #วิมานลอย #gonewiththewind #หนังสือน่าอ่าน #สงครามกลางเมือง #สหรัฐอเมริกา #ชนชั้น #แรงงาน #บริวาร #ทาส #คนผิวดำ #thaitimes #นิยาย #หนังสือ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 824 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชื่อพระ : เหรียญหลวงพ่อแดง วัดเขาภูหลักนครศรีธรรมราช รุ่น 2 ปี 2509 เนื้อทองแดงกะไหล่ทอง

    ราคา : 2,500 บาท (รวมส่ง)

    รายละเอียด : เหรียญมหาอุดคงกะพัน สภาพสวยกะไหล่ทองเดิมๆ จัดสร้างและประกอบพิธีปลุกเสกอันลือลั่นในอุโบสถมหาอุตม์ หลวงพ่อแดงท่านเป็นศิษย์ร่วมอาจารย์เดียวกับ พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน และ หลวงพ่อตุด วัดพรุกง ซึ่งพระอาจารย์ของพวกท่านคือ พระอุปัชฌาย์กลาย วัดหาดสูง นั่นเอง .. หลวงพ่อแดง ท่านเป็นเจ้าของสมญานาม "เหรียญแลกชีวิต" สำหรับมูลเหตุ สมญานาม เหรียญแลกชีวิต มีเรื่องราวบันทึกไว้ว่า "มีชาวบ้านแขวนเหรียญรุ่นแรกของท่าน ขับรถมอเตอร์ไซค์ ผ่านไปบนถนนสายเอเชีย บริเวณเวียงสระ - ถ้ำพรรณรา ซึ่งสมัยก่อนเป็นดงคอมมิวนิสต์ .. จึงถูกดักยิงด้วยปืน M16 แต่ไม่เป็นอะไร ทว่าลูกปืนไปถูกเครื่องยนต์ดับ เหล่า ผกค. จึงตามไปยิงซ้ำ แต่กระสุนไม่ลั่น ผกค. จึงขอเหรียญในคอ โดยแลกกับการไม่เอาชีวิต ซึ่งเป็นจังหวะที่ชุดทหารลาดตระเวนการผ่านมา กลุ่ม ผกค. จึงหนีไป" เป็นเหรียญแห่งประสบการณ์เมืองคอน หนึ่งในเหรียญที่นักสะสมวัตถุมงคล ต้องมี ประวัติโดยย่อ หลวงพ่อแดง อิสสโร วัดภูเขาหลัก “พระธรรมิสรานุวัตร” (ศิษย์น้องหลวงพ่อคล้าย วาจาสิทธิ์ วัดสวนขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช) พระเครื่องของท่านล้วนแล้วประสบการณ์สูงด้านคงกระพันชาตรี เหรียญหลวงพ่อแดง รุ่นแรก สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๓ ถึงปัจจุบันนี้ก็ยังมีคำพูดกล่าวขานกันถึง ประสบการณ์พระเครื่องหลวงพ่อแดง วัดภูเขาหลัก แห่งอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เกี่ยวกับคำพูดที่ว่า “เหรียญแลกชีวิต” หลวงพ่อแดง อิสสโร ชื่อเดิม แดง ต่างศรี เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ ตรงกับวันขึ้น ๑ค่ำ เดือน๑ (อ้าย) ปีชวด ณ บ้านเหลียงเล้า ตำบลน้ำดำ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ นามบิดานายบุญช่วย นามมารดานางพุ่ม มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๖ คน เมื่อครั้งยามเยาว์วัย เด็กชายแดง ได้ย้ายตามครอบครัวของบิดามารดามาอยู่บ้านโคกมัน ตำบลท่ายาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเด็กเงียบขรึมแต่มีนิสัยช่างทำ แม้ทำงานหนักเด็กชายแดงก็ไม่เคยเอ่ยปากบ่นแต่ไม่ยอมคนง่ายๆตามนิสัยเด็ก เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นท่านได้ออกจากบ้านเพื่อแสวงหาโชคความก้าวหน้าในชีวิตท่านได้เข้าทำงานที่ชะมาย เป็นผู้ดูแลสร้างทางรถไฟอยู่ประมาณปีกว่าๆเกิดความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ท่านจึงได้เข้าไปอยู่ ที่ วัดหาดสูง เมื่อครั้นยามบวชเรียนหลวงพ่อแดง บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันพุธที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๖ ตรงกับวันแรม๑๐ค่ำ เดือน๑๐ ปีเถาะ อายุ๑๖ปี ณ วัดหาดสูง ตำบลไม้เรียง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพระอธิการกลาย (หลวงปู่กลาย) เป็นพระอุปัฌาย์ ชีวิตการศึกษา ท่านเล่าว่า เริ่มต้นตั้งแต่โสตนอโม อันเป็นอักษรโบราณทั้งภาษาขอม ไทย และบาลีเขียนกันที่กระดานชนวน ลบไปเขียนไป จนเข้าใจ ท่านได้เล่าเรียนคาถาพุทธาคม (ไสยศาสตร์ เลข ยันต์ตลอดถึงหมอโบราณ) จนมีความชำนิชำนาญ ท่านมีความสามารถในด้านความจำดีเยี่ยม (นี้เป็นคำพูดของหลวงพ่อท่านคล้ายได้เล่าให้ผู้เขียนฟัง ครั้งไปกราบท่านที่วัดพระธาตุน้อย ในครั้งหนึ่ง) ท่านได้ศึกษาเล่าเรียนอยู่นานถึง ๓ ปีกว่า จน (หลวงพ่อแดง) มีอายุพรรษาครบอุปสมบทได้ (วิชา“ นอโม” นี้เป็นวิชาสำคัญวิชาหนึ่งในทางไสยศาสตร์ โดยเฉพาะในภาคใต้ คือสำนักเขาอ้อ ที่สืบทอดมาตั้งแต่ครั้งอาณาจักรศรีวิชัย ยังรุ่งเรืองแม้ทางภาคกลางเองก็มีวิชาจำพวก ” นอโม” นี้ด้วยเหมือนกันเพียงแต่ไม่พิสดารเท่าทางสายเขาอ้อ อันว่า ” นอโม” นี้คือปฐมอักขระมีความศักดิ์สิทธิ์ในตัวเอง อักษรแต่ละตัวมีวิธีใช้ได้มากมายคนโบราณที่สำเร็จท่านใช้แค่ อะ หรือ โอ เท่านี้ก็มีอานุภาเหลือคณานับ โดยไม่ต้องว่าคาถายาวๆ) สามเณรแดงได้อุปสมบทเมื่อ วันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๐ ตรงกับวันขึ้น๑๑ค่ำ เดือน๗ ปีมะแม ณ วัดหาดสูง โดยมีพระอธิการกลายเป็นพระอุปัชฌาย์และพระอาจารย์สังข์สิริรตโน เจ้าอาวาสวัดไม้เรียง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ชีวิตเป็นสมณะเมื่ออุปสมบทแล้วพระแดงอิสสโรก็ได้จำพรรษาที่วัดหาดสูง ๑ พรรษา และใน พ.ศ.๒๔๕๒ ท่านจึงออกจากวัดหาดสูง และได้ไปจำพรรษาที่ วัดท่ายาง พ.ศ.๒๔๕๓ เดินทางไปอยู่ที่ วัดอรัญคามวารี (วัดกะชุม) ต.พ่วงพรมคร อำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ท่านอยู่ที่นี้จนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส ตำแหน่งฐานานุกรมพระใบฎีกาแดง อิสสโรเป็นเวลานานถึง ๒๙ พรรษา หลวงพ่อแดง ท่านได้ปฏิบัติภารกิจทั้งด้านการปกครองงานการศึกษาและงานด้านสาธารณูปการได้อบรมกุลบุตรกุลธิดาให้ตั้งอยู่ในความดีงามให้มีการเล่าเรียนทั้งทางโลกและทางธรรมได้อุปการะและส่งไปเล่าเรียนในสำนักต่างๆด้านการก่อสร้างท่านได้ก่อสร้างกุฏิศาลาการเปรียญอุโบสถ ที่วัดกระชุมจนเป็นวัดโดยสมบูรณ์ทุกประการ พ.ศ.๒๔๘๐ หลวงพ่อแดง ท่านจึงได้เดินทางกลับมารักษาการเจ้าอาวาสวัดภูเขาหลัก แทนพระครูนนทสิกกิจ ที่ได้มรณภาพลง ตั้งแต่”หลวงพ่อแดง”ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดภูเขาหลัก ได้จัดสร้างศาลาโรงธรรม กุฏิ หอสวดมนต์ และท้ายสุดในปลายชีวิตของท่านได้ก่อสร้างอุโบสถ และท่านยังเป็นประธานในการสร้างวัดต่างๆ ใว้หลายแห่งเช่น วัดควนสระบัว สร้างโรงเรียนวัดควนสระบัวให้ 1หลัง วัดธรรมิการาม ที่บ้านวังหิน เป็นต้น สมณศักดิ์ หลวงพ่อแดง “พระครูธรรมิสรานุวัตร” พ.ศ.๒๔๘๕ ได้รับฐานานุกรม ที่ พระปลัดแดง ของพระครูถาวรบุญรัตน์ พ.ศ.๒๔๙๖ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นโท ในราชทินนามว่า “พระครูธรรมิสรานุวัตร” พ.ศ.๒๕๑๕ ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอก ในราชทินนามเดิมว่า “พระครูธรรมิสรานุวัตร” หลวงพ่อแดงท่านมรณภาพใน ปี พ.ศ.๒๕๑๕ รวมสิริอายุ ๘๙ ปี “ เมื่อใจมีศรัทธา ปาฏิหาริย์จะเกิดขึ้นเสมอ “
    ชื่อพระ : เหรียญหลวงพ่อแดง วัดเขาภูหลักนครศรีธรรมราช รุ่น 2 ปี 2509 เนื้อทองแดงกะไหล่ทอง ราคา : 2,500 บาท (รวมส่ง) รายละเอียด : เหรียญมหาอุดคงกะพัน สภาพสวยกะไหล่ทองเดิมๆ จัดสร้างและประกอบพิธีปลุกเสกอันลือลั่นในอุโบสถมหาอุตม์ หลวงพ่อแดงท่านเป็นศิษย์ร่วมอาจารย์เดียวกับ พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน และ หลวงพ่อตุด วัดพรุกง ซึ่งพระอาจารย์ของพวกท่านคือ พระอุปัชฌาย์กลาย วัดหาดสูง นั่นเอง .. หลวงพ่อแดง ท่านเป็นเจ้าของสมญานาม "เหรียญแลกชีวิต" สำหรับมูลเหตุ สมญานาม เหรียญแลกชีวิต มีเรื่องราวบันทึกไว้ว่า "มีชาวบ้านแขวนเหรียญรุ่นแรกของท่าน ขับรถมอเตอร์ไซค์ ผ่านไปบนถนนสายเอเชีย บริเวณเวียงสระ - ถ้ำพรรณรา ซึ่งสมัยก่อนเป็นดงคอมมิวนิสต์ .. จึงถูกดักยิงด้วยปืน M16 แต่ไม่เป็นอะไร ทว่าลูกปืนไปถูกเครื่องยนต์ดับ เหล่า ผกค. จึงตามไปยิงซ้ำ แต่กระสุนไม่ลั่น ผกค. จึงขอเหรียญในคอ โดยแลกกับการไม่เอาชีวิต ซึ่งเป็นจังหวะที่ชุดทหารลาดตระเวนการผ่านมา กลุ่ม ผกค. จึงหนีไป" เป็นเหรียญแห่งประสบการณ์เมืองคอน หนึ่งในเหรียญที่นักสะสมวัตถุมงคล ต้องมี ประวัติโดยย่อ หลวงพ่อแดง อิสสโร วัดภูเขาหลัก “พระธรรมิสรานุวัตร” (ศิษย์น้องหลวงพ่อคล้าย วาจาสิทธิ์ วัดสวนขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช) พระเครื่องของท่านล้วนแล้วประสบการณ์สูงด้านคงกระพันชาตรี เหรียญหลวงพ่อแดง รุ่นแรก สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๓ ถึงปัจจุบันนี้ก็ยังมีคำพูดกล่าวขานกันถึง ประสบการณ์พระเครื่องหลวงพ่อแดง วัดภูเขาหลัก แห่งอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เกี่ยวกับคำพูดที่ว่า “เหรียญแลกชีวิต” หลวงพ่อแดง อิสสโร ชื่อเดิม แดง ต่างศรี เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ ตรงกับวันขึ้น ๑ค่ำ เดือน๑ (อ้าย) ปีชวด ณ บ้านเหลียงเล้า ตำบลน้ำดำ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ นามบิดานายบุญช่วย นามมารดานางพุ่ม มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๖ คน เมื่อครั้งยามเยาว์วัย เด็กชายแดง ได้ย้ายตามครอบครัวของบิดามารดามาอยู่บ้านโคกมัน ตำบลท่ายาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเด็กเงียบขรึมแต่มีนิสัยช่างทำ แม้ทำงานหนักเด็กชายแดงก็ไม่เคยเอ่ยปากบ่นแต่ไม่ยอมคนง่ายๆตามนิสัยเด็ก เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นท่านได้ออกจากบ้านเพื่อแสวงหาโชคความก้าวหน้าในชีวิตท่านได้เข้าทำงานที่ชะมาย เป็นผู้ดูแลสร้างทางรถไฟอยู่ประมาณปีกว่าๆเกิดความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ท่านจึงได้เข้าไปอยู่ ที่ วัดหาดสูง เมื่อครั้นยามบวชเรียนหลวงพ่อแดง บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันพุธที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๖ ตรงกับวันแรม๑๐ค่ำ เดือน๑๐ ปีเถาะ อายุ๑๖ปี ณ วัดหาดสูง ตำบลไม้เรียง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพระอธิการกลาย (หลวงปู่กลาย) เป็นพระอุปัฌาย์ ชีวิตการศึกษา ท่านเล่าว่า เริ่มต้นตั้งแต่โสตนอโม อันเป็นอักษรโบราณทั้งภาษาขอม ไทย และบาลีเขียนกันที่กระดานชนวน ลบไปเขียนไป จนเข้าใจ ท่านได้เล่าเรียนคาถาพุทธาคม (ไสยศาสตร์ เลข ยันต์ตลอดถึงหมอโบราณ) จนมีความชำนิชำนาญ ท่านมีความสามารถในด้านความจำดีเยี่ยม (นี้เป็นคำพูดของหลวงพ่อท่านคล้ายได้เล่าให้ผู้เขียนฟัง ครั้งไปกราบท่านที่วัดพระธาตุน้อย ในครั้งหนึ่ง) ท่านได้ศึกษาเล่าเรียนอยู่นานถึง ๓ ปีกว่า จน (หลวงพ่อแดง) มีอายุพรรษาครบอุปสมบทได้ (วิชา“ นอโม” นี้เป็นวิชาสำคัญวิชาหนึ่งในทางไสยศาสตร์ โดยเฉพาะในภาคใต้ คือสำนักเขาอ้อ ที่สืบทอดมาตั้งแต่ครั้งอาณาจักรศรีวิชัย ยังรุ่งเรืองแม้ทางภาคกลางเองก็มีวิชาจำพวก ” นอโม” นี้ด้วยเหมือนกันเพียงแต่ไม่พิสดารเท่าทางสายเขาอ้อ อันว่า ” นอโม” นี้คือปฐมอักขระมีความศักดิ์สิทธิ์ในตัวเอง อักษรแต่ละตัวมีวิธีใช้ได้มากมายคนโบราณที่สำเร็จท่านใช้แค่ อะ หรือ โอ เท่านี้ก็มีอานุภาเหลือคณานับ โดยไม่ต้องว่าคาถายาวๆ) สามเณรแดงได้อุปสมบทเมื่อ วันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๐ ตรงกับวันขึ้น๑๑ค่ำ เดือน๗ ปีมะแม ณ วัดหาดสูง โดยมีพระอธิการกลายเป็นพระอุปัชฌาย์และพระอาจารย์สังข์สิริรตโน เจ้าอาวาสวัดไม้เรียง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ชีวิตเป็นสมณะเมื่ออุปสมบทแล้วพระแดงอิสสโรก็ได้จำพรรษาที่วัดหาดสูง ๑ พรรษา และใน พ.ศ.๒๔๕๒ ท่านจึงออกจากวัดหาดสูง และได้ไปจำพรรษาที่ วัดท่ายาง พ.ศ.๒๔๕๓ เดินทางไปอยู่ที่ วัดอรัญคามวารี (วัดกะชุม) ต.พ่วงพรมคร อำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ท่านอยู่ที่นี้จนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส ตำแหน่งฐานานุกรมพระใบฎีกาแดง อิสสโรเป็นเวลานานถึง ๒๙ พรรษา หลวงพ่อแดง ท่านได้ปฏิบัติภารกิจทั้งด้านการปกครองงานการศึกษาและงานด้านสาธารณูปการได้อบรมกุลบุตรกุลธิดาให้ตั้งอยู่ในความดีงามให้มีการเล่าเรียนทั้งทางโลกและทางธรรมได้อุปการะและส่งไปเล่าเรียนในสำนักต่างๆด้านการก่อสร้างท่านได้ก่อสร้างกุฏิศาลาการเปรียญอุโบสถ ที่วัดกระชุมจนเป็นวัดโดยสมบูรณ์ทุกประการ พ.ศ.๒๔๘๐ หลวงพ่อแดง ท่านจึงได้เดินทางกลับมารักษาการเจ้าอาวาสวัดภูเขาหลัก แทนพระครูนนทสิกกิจ ที่ได้มรณภาพลง ตั้งแต่”หลวงพ่อแดง”ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดภูเขาหลัก ได้จัดสร้างศาลาโรงธรรม กุฏิ หอสวดมนต์ และท้ายสุดในปลายชีวิตของท่านได้ก่อสร้างอุโบสถ และท่านยังเป็นประธานในการสร้างวัดต่างๆ ใว้หลายแห่งเช่น วัดควนสระบัว สร้างโรงเรียนวัดควนสระบัวให้ 1หลัง วัดธรรมิการาม ที่บ้านวังหิน เป็นต้น สมณศักดิ์ หลวงพ่อแดง “พระครูธรรมิสรานุวัตร” พ.ศ.๒๔๘๕ ได้รับฐานานุกรม ที่ พระปลัดแดง ของพระครูถาวรบุญรัตน์ พ.ศ.๒๔๙๖ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นโท ในราชทินนามว่า “พระครูธรรมิสรานุวัตร” พ.ศ.๒๕๑๕ ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอก ในราชทินนามเดิมว่า “พระครูธรรมิสรานุวัตร” หลวงพ่อแดงท่านมรณภาพใน ปี พ.ศ.๒๕๑๕ รวมสิริอายุ ๘๙ ปี “ เมื่อใจมีศรัทธา ปาฏิหาริย์จะเกิดขึ้นเสมอ “
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 146 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 231
    วันพุธ: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๗ (18 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 231 วันพุธ: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๗ (18 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 231
    วันพุธ: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๗ (18 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 231 วันพุธ: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๗ (18 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229 วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 119 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229 วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 120 มุมมอง 0 รีวิว
  • จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดพัฒนารามเป็นอารามหลวง เป็นแหล่งความเชื่อและความศรัทธาที่ประสมประสานระหว่างวัฒนธรรม จารีตประเพณี จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ บันทึกเรื่องราวขนบธรรมเนียมประเพณีเชื่อมโยงกับศาสนาเป็นคติธรรมคำสอนที่น่าสนใจ

    ลักษณะพิเศษของอุโบสถ คือพื้นหินอ่อนและเสาไม้กลมทั้งต้น

    ขอเชิญเที่ยวชมจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ

    วัดพัฒนาราม

    ได้ทั้งถ่ายภาพได้ทั้งบุญได้ทั้งสวดมนต์เช้าเย็น

    การเปิดให้เข้าชม พระอุโบสถ มี 2 รอบ รอบเช้ากับรอบเย็น

    1 เปิดเวลา 07.30 น. เวลา 08.00น. เป็นเวลาที่พระสงฆ์ท่านทำวัตรสวดมนต์เช้า ท่านสามารถร่วมสวดมนต์เช้าได้ หลังจาก 09.00น.จะปิดพระอุโบสถ


    2 เปิดเวลา 16.30 น. เวลา 17.00น. เป็นเวลาที่พระสงฆ์ท่านทำวัตรสวดมนต์เย็น ท่านสามารถร่วมสวดมนต์เย็นได้ หลังจาก 18.00น.จะปิดพระอุโบส

    https://www.thenirvanalive.com/2023/07/05/%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1/

    #วัดพัฒนาราม #เว็บบอร์ดพระนิพพาน #เว็บไซต์พระนิพพาน #เว็บไซต์ธรรมะ #thaitimes
    จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดพัฒนารามเป็นอารามหลวง เป็นแหล่งความเชื่อและความศรัทธาที่ประสมประสานระหว่างวัฒนธรรม จารีตประเพณี จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ บันทึกเรื่องราวขนบธรรมเนียมประเพณีเชื่อมโยงกับศาสนาเป็นคติธรรมคำสอนที่น่าสนใจ ลักษณะพิเศษของอุโบสถ คือพื้นหินอ่อนและเสาไม้กลมทั้งต้น ขอเชิญเที่ยวชมจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดพัฒนาราม ได้ทั้งถ่ายภาพได้ทั้งบุญได้ทั้งสวดมนต์เช้าเย็น การเปิดให้เข้าชม พระอุโบสถ มี 2 รอบ รอบเช้ากับรอบเย็น 1 เปิดเวลา 07.30 น. เวลา 08.00น. เป็นเวลาที่พระสงฆ์ท่านทำวัตรสวดมนต์เช้า ท่านสามารถร่วมสวดมนต์เช้าได้ หลังจาก 09.00น.จะปิดพระอุโบสถ 2 เปิดเวลา 16.30 น. เวลา 17.00น. เป็นเวลาที่พระสงฆ์ท่านทำวัตรสวดมนต์เย็น ท่านสามารถร่วมสวดมนต์เย็นได้ หลังจาก 18.00น.จะปิดพระอุโบส https://www.thenirvanalive.com/2023/07/05/%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1/ #วัดพัฒนาราม #เว็บบอร์ดพระนิพพาน #เว็บไซต์พระนิพพาน #เว็บไซต์ธรรมะ #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 396 มุมมอง 0 รีวิว
  • การเก็บพระเครื่อง สิ่งที่ท่านควรทราบ คือถ้าท่านเล่นพระแบบเล่านิทาน ถึงเวลาเดือดร้อนใช้เงิน ก็ขายไม่ได้ แต่ถ้าท่านเล่นหาตามเซียนที่เขาซื้อขายกัน ก็เปลี่ยนเป็นเงินได้ ไม่ได้บอกว่า อย่างใด ใช่หรือไม่ใช่ เพราะเถียงกันไปก็ไม่จบ เอาเป็นว่า ถ้าเซียนเขาเอาไปขายต่อทำกำไรได้ เขามีตัวเลขราคาให้ท่านแน่นอน แต่ถ้าเก็บด้วยความศรัทธา จะเป็นแบบใดก็ได้เลยตามใจปรารถนา
    การเก็บพระเครื่อง สิ่งที่ท่านควรทราบ คือถ้าท่านเล่นพระแบบเล่านิทาน ถึงเวลาเดือดร้อนใช้เงิน ก็ขายไม่ได้ แต่ถ้าท่านเล่นหาตามเซียนที่เขาซื้อขายกัน ก็เปลี่ยนเป็นเงินได้ ไม่ได้บอกว่า อย่างใด ใช่หรือไม่ใช่ เพราะเถียงกันไปก็ไม่จบ เอาเป็นว่า ถ้าเซียนเขาเอาไปขายต่อทำกำไรได้ เขามีตัวเลขราคาให้ท่านแน่นอน แต่ถ้าเก็บด้วยความศรัทธา จะเป็นแบบใดก็ได้เลยตามใจปรารถนา
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 0 รีวิว
  • จริยธรรม หรือความประพฤติ การปฏิบัติ การดำเนินชีวิตของแต่ละคน ชี้วัดด้วยธรรมกรรมบท 10 จะกว้าง ลึก รอบคอบทั่วถึง หยาบ ปานกลาง ปราณีตอย่างไร แค่ไหน ขึ้นอยู่กับความแก่กล้าของอินทรีย์เฉพาะบุคคล คือ ความศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา
    จริยธรรม หรือความประพฤติ การปฏิบัติ การดำเนินชีวิตของแต่ละคน ชี้วัดด้วยธรรมกรรมบท 10 จะกว้าง ลึก รอบคอบทั่วถึง หยาบ ปานกลาง ปราณีตอย่างไร แค่ไหน ขึ้นอยู่กับความแก่กล้าของอินทรีย์เฉพาะบุคคล คือ ความศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 178 มุมมอง 36 0 รีวิว
  • ประสบการณ์สายมู: พระตรีมูรติและวัดพระศรีมหาอุมาเทวี (วัดแขก)

    ผมได้มีโอกาสสักการะพระตรีมูรติที่ศาลพระตรีมูรติ หน้าตึก Empire Tower เป็นครั้งแรก บอกเลยว่าประทับใจมาก!

    เมื่อเดินเข้ามาในบริเวณศาล รู้สึกเหมือนหลุดเข้าไปในโลกที่ต่างจากความวุ่นวายของถนน #สาทร กลับกลายเป็นความสงบ มีกลิ่นธูปหอมๆ ลอยมาแตะจมูก ทำให้จิตใจผ่อนคลายอย่างมาก ได้กราบไหว้และ #ขอพร ทั้งพระพรหม พระนารายณ์ และพระศิวะ ซึ่งรวมอยู่ในร่างของพระตรีมูรติ ขอโชคลาภทั้งในเรื่องงาน เงิน และความรัก

    สิ่งที่ได้รับกลับมาคือความสบายใจและกำลังใจเพิ่มขึ้น เหมือนมีพลังบวกเติมเต็มหัวใจ

    หลังจากสักการะพระตรีมูรติที่ตึก Empire Tower เสร็จ ก็ไปเติม #พลังศรัทธา ต่อที่วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือที่รู้จักกันในนาม "วัดแขก“ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ได้มาเยือน ที่นี่ได้กราบไหว้องค์เทพสำคัญในศาสนาฮินดูหลายองค์


    พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ เทพสูงสุดที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง รักษา และทำลายล้าง

    พระพิฆเนศ เทพแห่ง #การขจัดอุปสรรค
    พระนางลักษมี เทพีแห่ง #ความมั่งคั่งและ #โชคลาภ
    พระนางอุมาเทวี (มเหสีของพระศิวะ) เทพีแห่ง #พลังอำนาจ

    การขอพรครั้งนี้ครอบคลุมทั้งการเงิน การงาน และความรัก ขอให้ชีวิตราบรื่นและประสบความสำเร็จในทุกด้าน

    
รู้สึกอิ่มเอมใจ มีพลังบวกเต็มเปี่ยม พร้อมรับมือกับทุกสิ่งที่จะเกิดขึ้น! ใครที่มีเวลาว่าง แนะนำให้ลองแวะมากันนะ อาจจะได้พบกับความสงบและพลังศรัทธาที่จะช่วยเสริมพลังใจให้เราก้าวต่อไป

    ถ้าคุณชอบเนื้อหาแบบนี้ อย่าลืมกดติดตามเพื่อไม่พลาดการอัปเดตประสบการณ์ดีๆ ที่จะช่วยเติมพลังใจให้คุณได้ทุกวัน!

    #ความศรัทธา #เสริมดวง
    ประสบการณ์สายมู: พระตรีมูรติและวัดพระศรีมหาอุมาเทวี (วัดแขก) ผมได้มีโอกาสสักการะพระตรีมูรติที่ศาลพระตรีมูรติ หน้าตึก Empire Tower เป็นครั้งแรก บอกเลยว่าประทับใจมาก! 🙏✨
 เมื่อเดินเข้ามาในบริเวณศาล รู้สึกเหมือนหลุดเข้าไปในโลกที่ต่างจากความวุ่นวายของถนน #สาทร กลับกลายเป็นความสงบ มีกลิ่นธูปหอมๆ ลอยมาแตะจมูก ทำให้จิตใจผ่อนคลายอย่างมาก ได้กราบไหว้และ #ขอพร ทั้งพระพรหม พระนารายณ์ และพระศิวะ ซึ่งรวมอยู่ในร่างของพระตรีมูรติ ขอโชคลาภทั้งในเรื่องงาน เงิน และความรัก 😆 
 สิ่งที่ได้รับกลับมาคือความสบายใจและกำลังใจเพิ่มขึ้น เหมือนมีพลังบวกเติมเต็มหัวใจ ❤️
 หลังจากสักการะพระตรีมูรติที่ตึก Empire Tower เสร็จ ก็ไปเติม #พลังศรัทธา ต่อที่วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือที่รู้จักกันในนาม "วัดแขก“ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ได้มาเยือน 😁 ที่นี่ได้กราบไหว้องค์เทพสำคัญในศาสนาฮินดูหลายองค์
 🔹 พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ เทพสูงสุดที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง รักษา และทำลายล้าง
 🔹 พระพิฆเนศ เทพแห่ง #การขจัดอุปสรรค 🔹 พระนางลักษมี เทพีแห่ง #ความมั่งคั่งและ #โชคลาภ
 🔹 พระนางอุมาเทวี (มเหสีของพระศิวะ) เทพีแห่ง #พลังอำนาจ การขอพรครั้งนี้ครอบคลุมทั้งการเงิน การงาน และความรัก ขอให้ชีวิตราบรื่นและประสบความสำเร็จในทุกด้าน 💖💼💰 
รู้สึกอิ่มเอมใจ มีพลังบวกเต็มเปี่ยม พร้อมรับมือกับทุกสิ่งที่จะเกิดขึ้น! ใครที่มีเวลาว่าง แนะนำให้ลองแวะมากันนะ อาจจะได้พบกับความสงบและพลังศรัทธาที่จะช่วยเสริมพลังใจให้เราก้าวต่อไป 💪🌟
 ถ้าคุณชอบเนื้อหาแบบนี้ อย่าลืมกดติดตามเพื่อไม่พลาดการอัปเดตประสบการณ์ดีๆ ที่จะช่วยเติมพลังใจให้คุณได้ทุกวัน! 🌈✨ 
#ความศรัทธา #เสริมดวง

    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 224 มุมมอง 0 รีวิว
  • รีโพสต์เฟซบุ๊ก ปะการัง 31 ก.ค.2567

    ภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยสมัยศตวรรษที่ 15 “อาหารค่ำมื้อสุดท้าย” (The Last Supper) โดยศิลปินชื่อก้องโลกชาวอิตาลี เลโอนาร์โด ดาวินชี วาดจากเหตุการณ์ระหว่างทานอาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูกับสิบสองอัครสาวก ก่อนที่จะถูกยูดาสทรยศ ทำให้พระองค์ถูกจับไปประหารชีวิตบนไม้กางเขน...
    .
    มีเรื่องเล่าเบื้องหลังภาพวาดนี้ (ไม่ยืนยันว่าจริงแท้แค่ไหน) จากหนังสือนวนิยาย “The Devil & Miss Prym” ของ Paulo Coelho (ฉบับภาษาไทย “เมืองทดสอบบาป” แปลโดย กอบชลี และกันเกรา) - - ผู้เขียนเปาโลเล่าว่า เมื่อตอนที่เลโอนาร์โด ดาวินชี วาดภาพนี้ เขาพบกับปัญหาที่ยากลำบากมาก นั่นคือ การวาดภาพ ‘ความดี’ของพระเยซู และ ‘ความชั่วร้าย’ของยูดาส เขาต้องหยุดวาด จนกว่าจะพบต้นแบบจำลองในอุดมคติ
    .
    วันหนึ่ง ขณะที่เลโอนาร์โดฟังคณะนักร้องประสานเสียง เขามองเห็นภาพลักษณ์อันสมบูรณ์แบบของพระเยซูในตัวเด็กคนหนึ่ง เขาเชิญเด็กไปที่สตูดิโอและวาดภาพร่างและศึกษาใบหน้าของเด็กคนนั้น และวาดภาพพระเยซูสำเร็จ
    .
    สามปีผ่านไป ภาพ 'อาหารค่ำมื้อสุดท้าย'เกือบจะเสร็จสมบูรณ์แล้ว แต่เลโอนาร์โดยังไม่พบแบบจำลองที่สมบูรณ์แบบสำหรับยูดาส พระคาร์ดินัลที่รับผิดชอบโบสถ์เริ่มกดดันให้เขาวาดภาพฝาผนังให้เสร็จโดยเร็ว
    .
    หลังจากใช้เวลาเสาะหาอีกหลายวัน เลโอนาร์โดก็ได้พบกับชายหนุ่มหน้าตาแก่ก่อนวัยคนหนึ่ง สวมเสื้อผ้าขี้ริ้วมอมแมม นอนเมาอยู่ในรางน้ำ เขาบอกผู้ช่วยให้พาชายขอทานคนนั้นกลับไปที่โบสถ์ เพราะไม่มีเวลาแล้ว
    .
    ชายขอทานเมาไม่ได้สติถูกนำตัวไปโดยไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้น เลโอนาร์โดรีบคัดลอกเค้าโครงความไม่ซื่อสัตย์ ความบาป และความเห็นแก่ตัวที่ฝังไว้อย่างชัดเจนบนใบหน้าของชายขอทานทันที
    .
    เมื่อวาดเสร็จ ชายขอทานเริ่มสร่างเมา เขาลืมตาขึ้นและเห็นภาพตรงหน้า เอ่ยด้วยน้ำเสียงเศร้าสลดว่า “ผมเคยเห็นรูปนั้นมาก่อน!”
    .
    "เมื่อไหร่?" เลโอนาร์โดถามด้วยความประหลาดใจ
    .
    “เมื่อสามปีที่แล้ว ก่อนที่จะสูญเสียทุกสิ่งทุกอย่าง ช่วงที่ผมร้องเพลงในคณะนักร้องประสานเสียงและชีวิตยังเต็มไปด้วยความฝัน ท่านขอให้ผมเป็นต้นแบบสำหรับพระพักตร์พระเยซู!”
    .
    สารจากเรื่องเล่านี้ บอกเราว่า ความดีกับความชั่วร้ายนั้น มีใบหน้าเดียวกัน ทั้งหมดขึ้นอยู่กับว่า มันจะผ่านเข้ามาในเส้นทางชีวิตของเราแต่ละคนเมื่อไร... เท่านั้นเอง
    .
    ภาพ“อาหารค่ำมื้อสุดท้าย”นี้ ถูกกล่าวถึงอีกครั้งเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา เพราะมีการแสดงล้อเลียนในพิธีเปิดโอลิมปิกปารีส 2024 ซึ่งมีหลายคนออกมาแสดงความไม่เห็นด้วย ถึงความเหมาะสมกับการแสดงออกในลักษณะนี้ เพราะขณะที่โลกกำลังมุ่งแสวงหาสันติภาพด้วยเกมกีฬาสานสามัคคี คนกลุ่มหนึ่งกลับตอกย้ำให้แตกแยกด้วยการล้อเลียนความเชื่อของผู้อื่น - -
    .
    อันที่จริง สำหรับผม ไม่ได้รู้สึกเป็นเรื่องใหญ่โต หรือน่าประหลาดใจแต่อย่างใด เพราะพระเยซูเองก็เคยถูกยั่วเย้ยเยาะหยันมายิ่งกว่านี้ แม้ขณะถูกตรึงเลือดโชกบนไม้กางเขน พระองค์ยังตรัสต่อพระบิดาว่า “...โปรดอภัยความผิดแก่เขาเถิด เพราะเขาไม่รู้ว่ากำลังทำอะไร”
    .
    พระเยซูเองยิ่งย่อมรู้ดีว่า มนุษย์นั้นมีความดีกับความชั่วร้ายบนใบหน้าเดียวกัน... ไม่มีอะไรน่ากลัวไปกว่านี้แล้ว- - การเยาะเย้ยเหยียดหยันตั้งแต่สองพันปีก่อน จึงยังคงดำเนินตลอดมาและต่อไปตลอดประวัติศาสตร์มนุษยชาติ และต้องขอบคุณการล้อเลียนของพวกเขา เพราะทุกครั้งที่เกิดเหตุแบบนี้ขึ้น มักส่งผลให้เราต้องหวนกลับไปทบทวนอ่านคำสอนของพระองค์อีกครั้ง ตระหนักอย่างหนักแน่นว่ายิ่งโลกนี้เตลิดไปทางความชั่วร้ายอย่างสุดเหวี่ยงเท่าใด เรายิ่งต้องเชื่อมั่นในคำสอนของพระเจ้าอย่างสุดโต่งเท่านั้น!
    . . . . .

    การยอมรับในความเชื่อของคนอื่น
    ไม่ได้ทำให้โลกของเราแคบลง
    แต่ทำให้ใจของเรากว้างขึ้น
    .
    การเคารพในความศรัทธาของคนอื่น
    ไม่ได้ทำให้เราต้อยต่ำ
    หากยกใจเราให้สูงขึ้น
    .
    ปะการัง

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/4XpWozK6DP9HuaEd/?mibextid=WC7FNe
    รีโพสต์เฟซบุ๊ก ปะการัง 31 ก.ค.2567 ภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยสมัยศตวรรษที่ 15 “อาหารค่ำมื้อสุดท้าย” (The Last Supper) โดยศิลปินชื่อก้องโลกชาวอิตาลี เลโอนาร์โด ดาวินชี วาดจากเหตุการณ์ระหว่างทานอาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูกับสิบสองอัครสาวก ก่อนที่จะถูกยูดาสทรยศ ทำให้พระองค์ถูกจับไปประหารชีวิตบนไม้กางเขน... . มีเรื่องเล่าเบื้องหลังภาพวาดนี้ (ไม่ยืนยันว่าจริงแท้แค่ไหน) จากหนังสือนวนิยาย “The Devil & Miss Prym” ของ Paulo Coelho (ฉบับภาษาไทย “เมืองทดสอบบาป” แปลโดย กอบชลี และกันเกรา) - - ผู้เขียนเปาโลเล่าว่า เมื่อตอนที่เลโอนาร์โด ดาวินชี วาดภาพนี้ เขาพบกับปัญหาที่ยากลำบากมาก นั่นคือ การวาดภาพ ‘ความดี’ของพระเยซู และ ‘ความชั่วร้าย’ของยูดาส เขาต้องหยุดวาด จนกว่าจะพบต้นแบบจำลองในอุดมคติ . วันหนึ่ง ขณะที่เลโอนาร์โดฟังคณะนักร้องประสานเสียง เขามองเห็นภาพลักษณ์อันสมบูรณ์แบบของพระเยซูในตัวเด็กคนหนึ่ง เขาเชิญเด็กไปที่สตูดิโอและวาดภาพร่างและศึกษาใบหน้าของเด็กคนนั้น และวาดภาพพระเยซูสำเร็จ . สามปีผ่านไป ภาพ 'อาหารค่ำมื้อสุดท้าย'เกือบจะเสร็จสมบูรณ์แล้ว แต่เลโอนาร์โดยังไม่พบแบบจำลองที่สมบูรณ์แบบสำหรับยูดาส พระคาร์ดินัลที่รับผิดชอบโบสถ์เริ่มกดดันให้เขาวาดภาพฝาผนังให้เสร็จโดยเร็ว . หลังจากใช้เวลาเสาะหาอีกหลายวัน เลโอนาร์โดก็ได้พบกับชายหนุ่มหน้าตาแก่ก่อนวัยคนหนึ่ง สวมเสื้อผ้าขี้ริ้วมอมแมม นอนเมาอยู่ในรางน้ำ เขาบอกผู้ช่วยให้พาชายขอทานคนนั้นกลับไปที่โบสถ์ เพราะไม่มีเวลาแล้ว . ชายขอทานเมาไม่ได้สติถูกนำตัวไปโดยไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้น เลโอนาร์โดรีบคัดลอกเค้าโครงความไม่ซื่อสัตย์ ความบาป และความเห็นแก่ตัวที่ฝังไว้อย่างชัดเจนบนใบหน้าของชายขอทานทันที . เมื่อวาดเสร็จ ชายขอทานเริ่มสร่างเมา เขาลืมตาขึ้นและเห็นภาพตรงหน้า เอ่ยด้วยน้ำเสียงเศร้าสลดว่า “ผมเคยเห็นรูปนั้นมาก่อน!” . "เมื่อไหร่?" เลโอนาร์โดถามด้วยความประหลาดใจ . “เมื่อสามปีที่แล้ว ก่อนที่จะสูญเสียทุกสิ่งทุกอย่าง ช่วงที่ผมร้องเพลงในคณะนักร้องประสานเสียงและชีวิตยังเต็มไปด้วยความฝัน ท่านขอให้ผมเป็นต้นแบบสำหรับพระพักตร์พระเยซู!” . สารจากเรื่องเล่านี้ บอกเราว่า ความดีกับความชั่วร้ายนั้น มีใบหน้าเดียวกัน ทั้งหมดขึ้นอยู่กับว่า มันจะผ่านเข้ามาในเส้นทางชีวิตของเราแต่ละคนเมื่อไร... เท่านั้นเอง . ภาพ“อาหารค่ำมื้อสุดท้าย”นี้ ถูกกล่าวถึงอีกครั้งเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา เพราะมีการแสดงล้อเลียนในพิธีเปิดโอลิมปิกปารีส 2024 ซึ่งมีหลายคนออกมาแสดงความไม่เห็นด้วย ถึงความเหมาะสมกับการแสดงออกในลักษณะนี้ เพราะขณะที่โลกกำลังมุ่งแสวงหาสันติภาพด้วยเกมกีฬาสานสามัคคี คนกลุ่มหนึ่งกลับตอกย้ำให้แตกแยกด้วยการล้อเลียนความเชื่อของผู้อื่น - - . อันที่จริง สำหรับผม ไม่ได้รู้สึกเป็นเรื่องใหญ่โต หรือน่าประหลาดใจแต่อย่างใด เพราะพระเยซูเองก็เคยถูกยั่วเย้ยเยาะหยันมายิ่งกว่านี้ แม้ขณะถูกตรึงเลือดโชกบนไม้กางเขน พระองค์ยังตรัสต่อพระบิดาว่า “...โปรดอภัยความผิดแก่เขาเถิด เพราะเขาไม่รู้ว่ากำลังทำอะไร” . พระเยซูเองยิ่งย่อมรู้ดีว่า มนุษย์นั้นมีความดีกับความชั่วร้ายบนใบหน้าเดียวกัน... ไม่มีอะไรน่ากลัวไปกว่านี้แล้ว- - การเยาะเย้ยเหยียดหยันตั้งแต่สองพันปีก่อน จึงยังคงดำเนินตลอดมาและต่อไปตลอดประวัติศาสตร์มนุษยชาติ และต้องขอบคุณการล้อเลียนของพวกเขา เพราะทุกครั้งที่เกิดเหตุแบบนี้ขึ้น มักส่งผลให้เราต้องหวนกลับไปทบทวนอ่านคำสอนของพระองค์อีกครั้ง ตระหนักอย่างหนักแน่นว่ายิ่งโลกนี้เตลิดไปทางความชั่วร้ายอย่างสุดเหวี่ยงเท่าใด เรายิ่งต้องเชื่อมั่นในคำสอนของพระเจ้าอย่างสุดโต่งเท่านั้น! . . . . . การยอมรับในความเชื่อของคนอื่น ไม่ได้ทำให้โลกของเราแคบลง แต่ทำให้ใจของเรากว้างขึ้น . การเคารพในความศรัทธาของคนอื่น ไม่ได้ทำให้เราต้อยต่ำ หากยกใจเราให้สูงขึ้น . ปะการัง ที่มา : https://www.facebook.com/share/4XpWozK6DP9HuaEd/?mibextid=WC7FNe
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 537 มุมมอง 0 รีวิว
  • ด่วน! "ไบเดน" ถอยไม่ลงชิงประธานาธิบดีสหรัฐฯ เปิดทาง "แฮร์ริส" แทน
    .
    วันนี้ (22 ก.ค.) นายโจ ไบเดน ประธานาธิบดีสหรัฐฯ วัย 81 ปี ได้ออกแถลงการณ์ผ่านบัญชีสื่อสังคมออนไลน์ทั้งเฟซบู๊ก และเอ็กซ์ ว่าตนจะไม่ขอลงเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีอีกสมัย ในฐานะตัวแทนของพรรคเดโมแครต โดยระบุว่าตนจะยังคงอยู่ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทของประธานาธิบดี จนกว่าจะหมดวาระในเดือนมกราคม 2568 โดยยืนยันที่จะไม่รับการเสนอชื่อเพื่อเป็นตัวแทนของพรรคในการลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกสมัย
    .
    "ถือเป็นเกียรติอย่างยิ่งในชีวิตของผมที่ได้รับใช้พวกคุณในตำแหน่งประธานาธิบดี แม้ว่าเดิมผมตั้งใจที่จะลงเลือกตั้งใหม่อีกสมัย แต่ผมเชื่อว่ามันจะก่อประโยชน์สูงสุดสำหรับพรรค และประเทศชาติ ในการที่ผมถอนตัว เพื่อมุ่งความสนใจไปกับการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะประธานาธิบดีในช่วงเวลาที่เหลืออยู่ ... ผมขอแสดงความขอบคุณอย่างสุดซึ้งต่อทุกคนที่ทำงานอย่างหนักเพื่อให้ผมได้รับการเลือกตั้งอีกสมัย ผมอยากจะขอบคุณรองประธานาธิบดี กมลา แฮร์ริส ที่เป็นหุ้นส่วนที่ยอดเยี่ยมตลอดระยะเวลาการทำงานที่ผ่านมา และผมขอแสดงความขอบคุณจากใจจริงต่อชาวอเมริกันสำหรับความศรัทธาและความไว้วางใจที่คุณมีต่อผม" แถลงการณ์ของนายไบเดนระบุ
    .
    นอกจากนี้ ในอีกโพสต์หนึ่งนายไบเดนยังระบุด้วยว่า ตนจะเสนอชื่อนางกมลา แฮร์ริสใช้ลงชิงชัยเป็นตัวแทนของเดโมแครตเพื่อชิงตำแหน่งประธานาธิบดี "วันนี้ผมขอสนับสนุนและสนับสนุนกมลา เพื่อเป็นตัวแทนของพรรคเดโมแครตในปีนี้ – ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องรวมตัวกันเพื่อเอาชนะทรัมป์ ลงมือทำกันเถอะ"
    ......
    Sondhi X
    ด่วน! "ไบเดน" ถอยไม่ลงชิงประธานาธิบดีสหรัฐฯ เปิดทาง "แฮร์ริส" แทน . วันนี้ (22 ก.ค.) นายโจ ไบเดน ประธานาธิบดีสหรัฐฯ วัย 81 ปี ได้ออกแถลงการณ์ผ่านบัญชีสื่อสังคมออนไลน์ทั้งเฟซบู๊ก และเอ็กซ์ ว่าตนจะไม่ขอลงเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีอีกสมัย ในฐานะตัวแทนของพรรคเดโมแครต โดยระบุว่าตนจะยังคงอยู่ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทของประธานาธิบดี จนกว่าจะหมดวาระในเดือนมกราคม 2568 โดยยืนยันที่จะไม่รับการเสนอชื่อเพื่อเป็นตัวแทนของพรรคในการลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกสมัย . "ถือเป็นเกียรติอย่างยิ่งในชีวิตของผมที่ได้รับใช้พวกคุณในตำแหน่งประธานาธิบดี แม้ว่าเดิมผมตั้งใจที่จะลงเลือกตั้งใหม่อีกสมัย แต่ผมเชื่อว่ามันจะก่อประโยชน์สูงสุดสำหรับพรรค และประเทศชาติ ในการที่ผมถอนตัว เพื่อมุ่งความสนใจไปกับการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะประธานาธิบดีในช่วงเวลาที่เหลืออยู่ ... ผมขอแสดงความขอบคุณอย่างสุดซึ้งต่อทุกคนที่ทำงานอย่างหนักเพื่อให้ผมได้รับการเลือกตั้งอีกสมัย ผมอยากจะขอบคุณรองประธานาธิบดี กมลา แฮร์ริส ที่เป็นหุ้นส่วนที่ยอดเยี่ยมตลอดระยะเวลาการทำงานที่ผ่านมา และผมขอแสดงความขอบคุณจากใจจริงต่อชาวอเมริกันสำหรับความศรัทธาและความไว้วางใจที่คุณมีต่อผม" แถลงการณ์ของนายไบเดนระบุ . นอกจากนี้ ในอีกโพสต์หนึ่งนายไบเดนยังระบุด้วยว่า ตนจะเสนอชื่อนางกมลา แฮร์ริสใช้ลงชิงชัยเป็นตัวแทนของเดโมแครตเพื่อชิงตำแหน่งประธานาธิบดี "วันนี้ผมขอสนับสนุนและสนับสนุนกมลา เพื่อเป็นตัวแทนของพรรคเดโมแครตในปีนี้ – ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องรวมตัวกันเพื่อเอาชนะทรัมป์ ลงมือทำกันเถอะ" ...... Sondhi X
    Like
    8
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 469 มุมมอง 0 รีวิว