• ✨วันนี้ในอดีต ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ตชด.บ้านตาเรือง ตำบลทรายขาว อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องเขียนและแบบเรียนแก่นักเรียนชายหญิงและทรงมีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรที่ประสบอุทกภัย ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภค Cr. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #18พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ตชด.บ้านตาเรือง ตำบลทรายขาว อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องเขียนและแบบเรียนแก่นักเรียนชายหญิงและทรงมีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรที่ประสบอุทกภัย ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภค Cr. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #18พฤศจิกายน
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 181 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨พระผงรูปเหมือนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี พิมพ์ยืน ด้านหลังมีเกศา และ จีวรของหลวงตา

    หลวงตามหาบัว เป็นศิษย์องค์สำคัญในพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต

    คุณอุดมศิลป์ ลูกศิษย์หลวงตามหาบัว ได้นำมาให้คุณสนธิ ลิ้มทองกุล ซึ่งก็เป็นลูกศิษย์ของหลวงตาเช่นกัน

    คุณอุดมศิลป์ เล่าว่า เมื่อครั้งที่ไปอินเดียได้เก็บรวบรวมดินจากสถานที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น พุทธคยา ค้นศรีมหาโพธิ์ ฯลฯ

    หลังจากกลับมาไทยได้นำเอาดินเหล่านี้ไปไว้ที่วัดอโศการามของท่านพ่อลี ปรากฎว่า ดินที่รวบรวมมานั้นเปลี่ยนเป็นสีเขียวสวยมากจึงนำมาเป็นมวลสารจัดสร้างวัตถุมงคลเป็นพระผงรูปเหมือนหลวงตามหาบัวพิมพ์ยืนและนั่งสมาธิ เมื่อสร้างเสร็จแล้วนำมาขอให้หลวงตามหาบัวอฐิษฐานจิตปลุกเสก ซึ่งหลวงตาเมตตาอฐิษฐานนานถึง20นาที

    ต่อมาคุณอุดมศิลป์ได้นำพระบางส่วนถวายหลวงปู่ลี กุสลธโร วัดภูผาแดง หนองวัวซอ อุดรธานีศิษย์ของหลวงตามหาบัว ซึ่งท่านพอได้รับก็เก็บรักษาพระรุ่นนี้เอาไว้ในกุฏิของท่านอย่างดี ไม่ได้นำมาแจกจ่ายให้ใครเลย

    จนกระทั่งนานแค่ไหนไม่มีใครทราบ หลวงปู่ลีได้นำออกมามอบให้ลูกศิษย์คนหนึ่ง ซึ่งพอได้รับพระรุ่นนี้อาราธนาขึ้นคอก็ปรากฎเกิดเรื่องราวปาฎิหารย์โดยไม่คาดคิด ฟันแทงไม่เข้า หลังจากลูกศิษย์รายนี้ถูกชาย3คนที่ใช้มีดดาบเป็นอาวุธฟันแทงไม่เข้า และ สามารถแย่งอาวุธมาได้อีกต่างหากโดยเจ้าตัวไม่เป็นอันตรายแม้แต่น้อย

    ความสวยงามของพุทธศิลป์องค์นี้จะเห็นผิวพระมีคราบสีของดินที่ขึ้นเองตามธรรมชาติตรงจีวรของหลวงตาซึ่งแตกต่างจากพระองค์อื่นๆในรุ่นนี้



    ✨พระผงรูปเหมือนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี พิมพ์ยืน ด้านหลังมีเกศา และ จีวรของหลวงตา หลวงตามหาบัว เป็นศิษย์องค์สำคัญในพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต คุณอุดมศิลป์ ลูกศิษย์หลวงตามหาบัว ได้นำมาให้คุณสนธิ ลิ้มทองกุล ซึ่งก็เป็นลูกศิษย์ของหลวงตาเช่นกัน คุณอุดมศิลป์ เล่าว่า เมื่อครั้งที่ไปอินเดียได้เก็บรวบรวมดินจากสถานที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น พุทธคยา ค้นศรีมหาโพธิ์ ฯลฯ หลังจากกลับมาไทยได้นำเอาดินเหล่านี้ไปไว้ที่วัดอโศการามของท่านพ่อลี ปรากฎว่า ดินที่รวบรวมมานั้นเปลี่ยนเป็นสีเขียวสวยมากจึงนำมาเป็นมวลสารจัดสร้างวัตถุมงคลเป็นพระผงรูปเหมือนหลวงตามหาบัวพิมพ์ยืนและนั่งสมาธิ เมื่อสร้างเสร็จแล้วนำมาขอให้หลวงตามหาบัวอฐิษฐานจิตปลุกเสก ซึ่งหลวงตาเมตตาอฐิษฐานนานถึง20นาที ต่อมาคุณอุดมศิลป์ได้นำพระบางส่วนถวายหลวงปู่ลี กุสลธโร วัดภูผาแดง หนองวัวซอ อุดรธานีศิษย์ของหลวงตามหาบัว ซึ่งท่านพอได้รับก็เก็บรักษาพระรุ่นนี้เอาไว้ในกุฏิของท่านอย่างดี ไม่ได้นำมาแจกจ่ายให้ใครเลย จนกระทั่งนานแค่ไหนไม่มีใครทราบ หลวงปู่ลีได้นำออกมามอบให้ลูกศิษย์คนหนึ่ง ซึ่งพอได้รับพระรุ่นนี้อาราธนาขึ้นคอก็ปรากฎเกิดเรื่องราวปาฎิหารย์โดยไม่คาดคิด ฟันแทงไม่เข้า หลังจากลูกศิษย์รายนี้ถูกชาย3คนที่ใช้มีดดาบเป็นอาวุธฟันแทงไม่เข้า และ สามารถแย่งอาวุธมาได้อีกต่างหากโดยเจ้าตัวไม่เป็นอันตรายแม้แต่น้อย ความสวยงามของพุทธศิลป์องค์นี้จะเห็นผิวพระมีคราบสีของดินที่ขึ้นเองตามธรรมชาติตรงจีวรของหลวงตาซึ่งแตกต่างจากพระองค์อื่นๆในรุ่นนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 209 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,682
    วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024)

    รับพรจากคณะสงฆ์ ภายหลังจากการตักบาตรวันนี้
    วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,682 วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024) รับพรจากคณะสงฆ์ ภายหลังจากการตักบาตรวันนี้ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 19 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,682
    วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024)

    รับพรจากคณะสงฆ์ ภายหลังจากการตักบาตรวันนี้
    วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,682 วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024) รับพรจากคณะสงฆ์ ภายหลังจากการตักบาตรวันนี้ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 83 มุมมอง 31 0 รีวิว
  • Amin999
    เปิดรับพรีออเดอร์ เทมเป้ถั่วปลอดสาร

    " เทมเป้ " อาหารโปรตีนคุณภาพสูง
    จากถั่ว 3 สี ทั้งเมล็ด
    มีโปรตีน ไฟเบอร์ วิตามินแร่ธาตุสารอาหารสูงกว่า เต้าหู้ ทั่วไป

    เหมาะสำหรับทุกท่าน ท่านที่ต้องการควบคุมนน.
    ลดไขมัน ลดพุง
    มีปัญหาต่อระบบการย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย
    เป็นภูมิแพ้ ท้องอืด
    อาหารไม่ย่อย มีสภาวะไขมันเกาะตับ
    ท่านที่ทานคลีน คีโต เจ มังสวิรัติ
    ต้องการสร้างกล้ามเนื้อ

    เพราะเป็นโพรไบโอติกและพรีไบโอติก
    จุลินทรีย์ที่เป็นมิตรต่อร่างกาย
    มีวิตามินบี 12 สูงมีเลซิตินช่วยลดไขมัน
    บำรุงเลือด บำรุงสมอง
    ทำให้ผิวพรรณดี

    รสชาติ มันๆเหมือนเต้าหู้ หอมคล้ายๆเห็ด
    ประกอบอาหารได้หลากหลายเมนู
    ทานสดๆกับเครื่องดื่มร้อนๆก็อร่อย

    1.สูตร ถั่วเหลือง &ถั่วแดง
    &ถั่วเหลืองเปลือกดำเนื้อเขียว
    ก้อนละ 200กรัม ชุดละ 5 ก้อน 300

    2.สูตรถั่วเหลือง &ถั่วลิสง& ถั่วลูกไก่
    190 กรัม ชุดละ 5 ก้อน 350

    3.สูตร ถั่วเหลืองล้วน ก้อนละ180กรัม
    ชุด 6 ก้อน 200

    4.สูตร ถั่วธัญญพืช 7 ชนิด
    ผสมงาขาว & เมล็ดแฟลกสีทอง 190 กรัม
    ชุดละ 5 ก้อน 350

    สูตร 1 &2&4
    ซื้อ 10 ก้อนแถมฟรี 1 ก้อนคะ

    - ส่งแบบพร้อมทาน ทานได้เลยไม่ต้องรอบ่ม
    รถควบคุมความเย็น ค่าจัดส่ง 150 บาท
    ส่งทั่วประเทศ
    - ส่งแบบบ่มต่อ ค่าจัดส่ง 50 บาท
    ( ภาค ตะวันออกกรุงเทพฯปริมณฑลและจังหวัดใกล้เคียงเท่านั้น

    #ถั่วเหลือง Non Gmo
    #ถั่วปลอดสาร
    #เทมเป้ #โปรตีน #Tempeh
    #อาหารสุขภาพ
    #เจ
    #วีเกน
    #มังสวิรัติ
    #Plantbased
    #เสริมมวลกล้ามเนื้อ
    #โปรตีนคุณภาพสูง
    #ควบคุมน้ำหนัก
    Amin999 เปิดรับพรีออเดอร์ เทมเป้ถั่วปลอดสาร " เทมเป้ " อาหารโปรตีนคุณภาพสูง จากถั่ว 3 สี ทั้งเมล็ด มีโปรตีน ไฟเบอร์ วิตามินแร่ธาตุสารอาหารสูงกว่า เต้าหู้ ทั่วไป เหมาะสำหรับทุกท่าน ท่านที่ต้องการควบคุมนน. ลดไขมัน ลดพุง มีปัญหาต่อระบบการย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย เป็นภูมิแพ้ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย มีสภาวะไขมันเกาะตับ ท่านที่ทานคลีน คีโต เจ มังสวิรัติ ต้องการสร้างกล้ามเนื้อ เพราะเป็นโพรไบโอติกและพรีไบโอติก จุลินทรีย์ที่เป็นมิตรต่อร่างกาย มีวิตามินบี 12 สูงมีเลซิตินช่วยลดไขมัน บำรุงเลือด บำรุงสมอง ทำให้ผิวพรรณดี รสชาติ มันๆเหมือนเต้าหู้ หอมคล้ายๆเห็ด ประกอบอาหารได้หลากหลายเมนู ทานสดๆกับเครื่องดื่มร้อนๆก็อร่อย 1.สูตร ถั่วเหลือง &ถั่วแดง &ถั่วเหลืองเปลือกดำเนื้อเขียว ก้อนละ 200กรัม ชุดละ 5 ก้อน 300 2.สูตรถั่วเหลือง &ถั่วลิสง& ถั่วลูกไก่ 190 กรัม ชุดละ 5 ก้อน 350 3.สูตร ถั่วเหลืองล้วน ก้อนละ180กรัม ชุด 6 ก้อน 200 4.สูตร ถั่วธัญญพืช 7 ชนิด ผสมงาขาว & เมล็ดแฟลกสีทอง 190 กรัม ชุดละ 5 ก้อน 350 สูตร 1 &2&4 ซื้อ 10 ก้อนแถมฟรี 1 ก้อนคะ - ส่งแบบพร้อมทาน ทานได้เลยไม่ต้องรอบ่ม รถควบคุมความเย็น ค่าจัดส่ง 150 บาท ส่งทั่วประเทศ - ส่งแบบบ่มต่อ ค่าจัดส่ง 50 บาท ( ภาค ตะวันออกกรุงเทพฯปริมณฑลและจังหวัดใกล้เคียงเท่านั้น #ถั่วเหลือง Non Gmo #ถั่วปลอดสาร #เทมเป้ #โปรตีน #Tempeh #อาหารสุขภาพ #เจ #วีเกน #มังสวิรัติ #Plantbased #เสริมมวลกล้ามเนื้อ #โปรตีนคุณภาพสูง #ควบคุมน้ำหนัก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 351 มุมมอง 0 รีวิว
  • แมทธิว มิลเลอร์ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เตือนจอร์เจียถึง 'ผลที่ตามมา' หากรัฐบาลของพวกเขายังไม่เปลี่ยนแปลงแนวนโยบาย

    "เรากำลังดำเนินการเพื่อกำหนดข้อจำกัดด้านวีซ่าสำหรับพรรค Georgian Dream และพรรคการเมืองอื่นๆ ที่กำลังร่วมกันทำลายประชาธิปไตยในจอร์เจีย

    ผู้นำของจอร์เจียควรตระหนักถึงการกระทำของพวกเขา และควรทำงานเพื่อก้าวไปข้างหน้าตามค่านิยมในระบอบประชาธิปไตยของยูโร-แอตแลนติกที่ประกาศไว้"
    แมทธิว มิลเลอร์ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เตือนจอร์เจียถึง 'ผลที่ตามมา' หากรัฐบาลของพวกเขายังไม่เปลี่ยนแปลงแนวนโยบาย "เรากำลังดำเนินการเพื่อกำหนดข้อจำกัดด้านวีซ่าสำหรับพรรค Georgian Dream และพรรคการเมืองอื่นๆ ที่กำลังร่วมกันทำลายประชาธิปไตยในจอร์เจีย ผู้นำของจอร์เจียควรตระหนักถึงการกระทำของพวกเขา และควรทำงานเพื่อก้าวไปข้างหน้าตามค่านิยมในระบอบประชาธิปไตยของยูโร-แอตแลนติกที่ประกาศไว้"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 93 มุมมอง 34 0 รีวิว
  • ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน

    เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา

    การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่

    สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน

    สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้

    ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว

    ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว

    ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย

    ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน

    ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี

    ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้

    เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น

    ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน

    ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ

    ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน
    สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน
    อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก

    เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด

    ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้

    เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก

    เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง
    ...................................
    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน
    www.watthakhanun.com
    ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่ สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้ ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้ เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง ................................... พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน www.watthakhanun.com
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 200 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน

    เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา

    การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่

    สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน

    สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้

    ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว

    ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว

    ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย

    ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน

    ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี

    ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้

    เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น

    ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน

    ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ

    ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน
    สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน
    อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก

    เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด

    ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้

    เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก

    เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง
    ...................................
    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน
    www.watthakhanun.com
    ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่ สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้ ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้ เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง ................................... พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน www.watthakhanun.com
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 149 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอน้อมระลึกพระมหากรุณาธิคุณ พระปิยะมหาราช

    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา ครองราชสมบัติมานานถึง 42 ปี พระราชกรณียกิจที่สำคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาทิเช่น 1.การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช"
    ขอน้อมระลึกพระมหากรุณาธิคุณ พระปิยะมหาราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา ครองราชสมบัติมานานถึง 42 ปี พระราชกรณียกิจที่สำคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาทิเช่น 1.การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 71 มุมมอง 0 รีวิว
  • 21/10/67

    "ฉันไว้ใจเธอ" คำพูดเดียว จดจำไม่ลืมเลือน

    เรื่องเล่าของ นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลน่าน เป็นบทความจาก หนังสือ ฅ.คน ฉบับ ๘๐ พรรษา พระราชาเหนือนิยาม เดือนธันวาคม 2550

    เรื่องเกิดในปี 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินมาเยี่ยมทหารที่กองทัพภาคที่ 3 ส่วนหน้า ที่เชียงกลาง ในคราวนั้นเล่ากันว่ามีนายทหารเข้ามากราบบังคมทูลฯ ว่า มีทหารถูกยิงได้รับบาดเจ็บสาหัส นำตัวออกจากแนวหน้าไม่ได้ พระองค์ก็เลยเสด็จฯ ขึ้นเฮลิคอปเตอร์ พร้อมสมเด็จพระราชินี นายทหารที่โดยเสด็จฯ ก็ต้องคุ้มกันกันอุตลุด ก็นำทหารที่บาดเจ็บออกมาได้

    นพ.บุญยงค์ : "ผมจำได้แม่นยำ ชื่อ พลฯ บิน มาลิกา ถูกยิงไส้ไหล และที่โคนขา เสียเลือดมาก เดิมจะส่งตัวไปรักษาที่ รพ.พระมงกุฎ แต่ไม่ไหวต้องมารักษาที่ รพ.น่านก่อน"
    ชะตากรรมของพลทหารที่บาดเจ็บกลางสมรภูมิ ทำให้ชีวิตของคุณหมอผูกพันกับฟ้า

    การนำพลฯ บินมารับการรักษา ทำให้ในหลวงได้มีโอกาสเสด็จพระราชดำเนินมาเยี่ยมทหารที่บาดเจ็บจากการสู้รบ แล้วสิ่งที่หมอและพยาบาลทำการรักษาโดยไม่เห็นแก่เหนื่อยยาก ก็ทราบถึงพระเนตรพระกรรณ หลังเสด็จพระราชดำเนิน ได้ให้สมุหราชองครักษ์ พล.ร.อ. ม.จ.กาฬวรรณดิศ ดิศกุล นำหนังสือจากสำนักงานสมุหราชองครักษ์ แจ้งว่าในหลวงทรงพอพระราชหฤทัยกับการทำงานของเจ้าหน้าที่ รพ.น่าน และมีพระประสงค์ที่จะสนับสนุนเครื่องมือแพทย์และความต้องการอื่น

    นพ.บุญยงค์ : "เราก็กราบบังคมทูลไปว่ามีอะไรบ้างที่เราขาดแคลน ทั้งเครื่องมือแพทย์ และการขยายอาคารเพื่อรับผู้บาดเจ็บ" หลังจากนั้นในหลวงก็ทรงมาเยี่ยมผู้บาดเจ็บจากการสู้รบที่ รพ.น่าน อีกครั้ง เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2511 นายแพทย์ผู้อำนวยการหนุ่มเข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูล ถวายรายงานอย่างฉาดฉาน

    สิ่งของพระราชทาน ได้แก่ เครื่องเอกซเรย์เคลื่อนที่ เครื่องดูดเลือดและน้ำจากปอด เครื่องรมยาสลบ เครื่องปรับอากาศ ประดิษฐานอยู่บนโต๊ะ ยังความปลาบปลื้มให้กับหมอหนุ่ม แต่ที่เหนืออื่นใด เมื่อพระองค์ท่านพระราชทานสิ่งของให้แล้วก็พระราชดำรัสว่า...

    “เงินที่ขอไปนั้น ฉันนำมามอบให้แล้ว ขอให้หมอดำเนินการก่อสร้างเองนะ ไม่ต้องผ่านราชการ ฉันไว้ใจเธอ”

    นพ.บุญยงค์ : "คำว่า ฉันไว้ใจเธอ ใครได้ฟังแล้วจะรู้สึกอย่างไร ท่านเป็นกษัตริย์ เราเป็นหมอบ้านนอก โอ้โฮ ใจเราในเวลานั้น เมื่อพระองค์ท่านรับสั่งแบบนี้ ย่อมมีผลต่อการทำงานต่าง ๆ มากมายโดยไม่อาจบิดพลิ้ว"

    นายแพทย์หนุ่มยังมีอันต้องสะดุ้งใจซ้ำเป็นคำรบสอง เมื่อทรงกำชับว่า "สร้างเสร็จแล้วให้บอกด้วยนะ จะมาเปิด"

    นพ.บุญยงค์ : "ยิ่งสะดุ้งมากขึ้นเพราะผมขอพระราชทานเงินไปสองแสนสี่ เพื่อใช้ต่อเติมอาคารไม้ให้รองรับผู้ป่วยได้อีก 20-25 คน เอาแค่พอใช้ได้ ไม่ได้คิดว่าจะทาสีด้วยซ้ำไป แต่พอพระองค์ท่านบอกว่าจะมาเปิด โอ้โฮ นึกไม่ออกเลยว่าจะทำอย่างไร"

    แต่ปัญหาทั้งมวลก็ลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลือของคนไข้รายหนึ่ง "คนไข้ที่เราดูแลเขามาพบ พาลูกชายมาด้วยชื่อ ทองจุล สิงหกุล เป็น ผอ. กรมโยธาฯ พอถามว่า คุณหมอมีอะไรให้ช่วยเหลือก็ขอให้บอก ผมบอกเลยว่ามีแน่ครับ ผมได้เงินพระราชทานมาขยายอาคาร ต้องเขียนแปลน ตอนนี้จะทำเป็นไม้แค่พอใช้ไม่ได้แล้ว เขาก็ช่วยเหลือเรื่องแบบ หาช่างรับเหมามาทำให้อย่างดีเลย ยิ่งรู้ว่าเป็นเงินพระราชทาน ผู้รับเหมาถึงขนาดควบคุมดูแลการก่อสร้างอย่างดี"

    ระหว่างการดำเนินการก่อสร้างก็ได้ขอพระราชทานนาม ได้รับพระราชทานนามอาคารใหม่ว่า "พิทักษ์ไทย" เป็นอาคารที่ใช้รองรับผู้บาดเจ็บจากการสู้รบต่อเนื่องมาอีกหลายปี
    ปีถัดมา ภายหลังอาคารใหม่สร้างเสร็จแล้ว เป็นช่วงเวลาเดียวกันกับที่จังหวัดน่านได้กราบบังคมทูลเชิญในหลวง เพื่อทรงเป็นองค์ประธานในการเปิดอาคารศาลากลางจังหวัด และอาคารโรงเรียนราชานุบาล ทางจังหวัดก็ถามผมว่า จะให้กราบบังคมทูลเชิญเพื่อทรงเปิดอาคารตึกพิทักษ์ไทยด้วยไหม ผมก็เห็นว่าพระองค์ท่านต้องเสด็จฯ ถึงสองแห่งแล้ว ก็บอกไปว่าคงไม่ต้องกระมัง แจ้งทางจังหวัดไปอย่างนั้น ปรากฏว่า ม.ล.ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา กรมวังผู้ใหญ่ ท่านมาเลย บอกคุณหมอ ในหลวงรับสั่งกับผมว่า...

    "แล้วตึกฉันล่ะ จะไม่ให้ฉันเปิดหรือ"

    ผมได้ยินอย่างนั้นก็ตกใจ เราไม่ได้เตรียมอะไรเลย ท่านก็บอกว่าไม่ต้องเตรียม หมอมีป้ายไหม... มีครับ หมอหาพรมมาผืนหนึ่ง เพราะท่านจะประทับยืนทรงพระสุหร่าย ส่วนอื่น ๆ จะจัดมาจากกรุงเทพฯ แล้วก็หาสมุดอัลบั้มเล่มหนึ่งสำหรับทรงลงพระนามปรมาภิไธย

    นพ.บุญยงค์ : "ผมก็ทำอย่างที่แนะนำ เตรียมทุกอย่างเพียงชั่วโมงเดียว ลงทุน 35 บาท ซื้อสมุด 1 เล่ม ครั้นเสร็จพิธี ยังทรงพระราชทานเงินอีก 5 หมื่นบาท เพื่อซื้อสิ่งของที่จำเป็นอื่น ๆ"

    คำของในหลวงมีความหมายกับชีวิตผมทั้งชีวิต เมื่อพระองค์ท่านทรงทราบว่ามีคนที่ได้รับบาดเจ็บกลางสมรภูมิ พระองค์ท่านตัดสินพระราชหฤทัยเด็ดเดี่ยวที่จะไปพาตัวออกมาให้ได้ แน่นอนเหลือเกินว่ามันต้องยากและเสี่ยงกว่าเราที่เป็นผู้ที่ดูแลต่อ ความพยายาม ความเพียรของพระองค์ต้องมากจริง ๆ และเมื่อได้พบพระองค์ท่าน และมีพระราชดำรัสว่า ฉันไว้ใจเธอ ก็ยิ่งทวีความหมาย

    คุณหมอบุญยงค์ ใช้ชีวิตราชการที่น่านต่อเนื่องจากปี 2507 จนถึงปี 2537 เป็นนายแพทย์ที่ปฏิเสธความก้าวหน้าบนเส้นทางวิชาชีพ รวมถึงตำแหน่งสำคัญทางการเมือง เพื่อดูแลประชาชนจังหวัดน่าน ตามรอยพระยุคลบาทของพระองค์ท่าน น้อมนำพระกระแสรับสั่ง
    "ฉันไว้ใจเธอ" คำพูดเดียวที่จดจำ ไม่ลืมเลือน

    คัดลอกจาก หนังสือ ฅ.คน ฉบับ ๘๐ พรรษา พระราชาเหนือนิยาม เดือนธันวาคม 2550

    #KingBhumibol
    Cr.บทความจากไลน์

    ปล. อาจารย์มอบหนังสือให้ผมและบรรจงเขียนพร้อมลายเซ็นต์ให้ ท่านเล่าเรื่องราวให้ฟังมากมายเช่นเดียวกับบทความด้านบน และ ชี้ให้เราดูรูปในหลวงบนผนังบ้านอาจารย์ ..เห็นแล้วน้ำตาซึม..ในวันที่พวกเราไปกราบอาจารย์กันครับ
    21/10/67 "ฉันไว้ใจเธอ" คำพูดเดียว จดจำไม่ลืมเลือน เรื่องเล่าของ นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลน่าน เป็นบทความจาก หนังสือ ฅ.คน ฉบับ ๘๐ พรรษา พระราชาเหนือนิยาม เดือนธันวาคม 2550 เรื่องเกิดในปี 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินมาเยี่ยมทหารที่กองทัพภาคที่ 3 ส่วนหน้า ที่เชียงกลาง ในคราวนั้นเล่ากันว่ามีนายทหารเข้ามากราบบังคมทูลฯ ว่า มีทหารถูกยิงได้รับบาดเจ็บสาหัส นำตัวออกจากแนวหน้าไม่ได้ พระองค์ก็เลยเสด็จฯ ขึ้นเฮลิคอปเตอร์ พร้อมสมเด็จพระราชินี นายทหารที่โดยเสด็จฯ ก็ต้องคุ้มกันกันอุตลุด ก็นำทหารที่บาดเจ็บออกมาได้ นพ.บุญยงค์ : "ผมจำได้แม่นยำ ชื่อ พลฯ บิน มาลิกา ถูกยิงไส้ไหล และที่โคนขา เสียเลือดมาก เดิมจะส่งตัวไปรักษาที่ รพ.พระมงกุฎ แต่ไม่ไหวต้องมารักษาที่ รพ.น่านก่อน" ชะตากรรมของพลทหารที่บาดเจ็บกลางสมรภูมิ ทำให้ชีวิตของคุณหมอผูกพันกับฟ้า การนำพลฯ บินมารับการรักษา ทำให้ในหลวงได้มีโอกาสเสด็จพระราชดำเนินมาเยี่ยมทหารที่บาดเจ็บจากการสู้รบ แล้วสิ่งที่หมอและพยาบาลทำการรักษาโดยไม่เห็นแก่เหนื่อยยาก ก็ทราบถึงพระเนตรพระกรรณ หลังเสด็จพระราชดำเนิน ได้ให้สมุหราชองครักษ์ พล.ร.อ. ม.จ.กาฬวรรณดิศ ดิศกุล นำหนังสือจากสำนักงานสมุหราชองครักษ์ แจ้งว่าในหลวงทรงพอพระราชหฤทัยกับการทำงานของเจ้าหน้าที่ รพ.น่าน และมีพระประสงค์ที่จะสนับสนุนเครื่องมือแพทย์และความต้องการอื่น นพ.บุญยงค์ : "เราก็กราบบังคมทูลไปว่ามีอะไรบ้างที่เราขาดแคลน ทั้งเครื่องมือแพทย์ และการขยายอาคารเพื่อรับผู้บาดเจ็บ" หลังจากนั้นในหลวงก็ทรงมาเยี่ยมผู้บาดเจ็บจากการสู้รบที่ รพ.น่าน อีกครั้ง เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2511 นายแพทย์ผู้อำนวยการหนุ่มเข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูล ถวายรายงานอย่างฉาดฉาน สิ่งของพระราชทาน ได้แก่ เครื่องเอกซเรย์เคลื่อนที่ เครื่องดูดเลือดและน้ำจากปอด เครื่องรมยาสลบ เครื่องปรับอากาศ ประดิษฐานอยู่บนโต๊ะ ยังความปลาบปลื้มให้กับหมอหนุ่ม แต่ที่เหนืออื่นใด เมื่อพระองค์ท่านพระราชทานสิ่งของให้แล้วก็พระราชดำรัสว่า... “เงินที่ขอไปนั้น ฉันนำมามอบให้แล้ว ขอให้หมอดำเนินการก่อสร้างเองนะ ไม่ต้องผ่านราชการ ฉันไว้ใจเธอ” นพ.บุญยงค์ : "คำว่า ฉันไว้ใจเธอ ใครได้ฟังแล้วจะรู้สึกอย่างไร ท่านเป็นกษัตริย์ เราเป็นหมอบ้านนอก โอ้โฮ ใจเราในเวลานั้น เมื่อพระองค์ท่านรับสั่งแบบนี้ ย่อมมีผลต่อการทำงานต่าง ๆ มากมายโดยไม่อาจบิดพลิ้ว" นายแพทย์หนุ่มยังมีอันต้องสะดุ้งใจซ้ำเป็นคำรบสอง เมื่อทรงกำชับว่า "สร้างเสร็จแล้วให้บอกด้วยนะ จะมาเปิด" นพ.บุญยงค์ : "ยิ่งสะดุ้งมากขึ้นเพราะผมขอพระราชทานเงินไปสองแสนสี่ เพื่อใช้ต่อเติมอาคารไม้ให้รองรับผู้ป่วยได้อีก 20-25 คน เอาแค่พอใช้ได้ ไม่ได้คิดว่าจะทาสีด้วยซ้ำไป แต่พอพระองค์ท่านบอกว่าจะมาเปิด โอ้โฮ นึกไม่ออกเลยว่าจะทำอย่างไร" แต่ปัญหาทั้งมวลก็ลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลือของคนไข้รายหนึ่ง "คนไข้ที่เราดูแลเขามาพบ พาลูกชายมาด้วยชื่อ ทองจุล สิงหกุล เป็น ผอ. กรมโยธาฯ พอถามว่า คุณหมอมีอะไรให้ช่วยเหลือก็ขอให้บอก ผมบอกเลยว่ามีแน่ครับ ผมได้เงินพระราชทานมาขยายอาคาร ต้องเขียนแปลน ตอนนี้จะทำเป็นไม้แค่พอใช้ไม่ได้แล้ว เขาก็ช่วยเหลือเรื่องแบบ หาช่างรับเหมามาทำให้อย่างดีเลย ยิ่งรู้ว่าเป็นเงินพระราชทาน ผู้รับเหมาถึงขนาดควบคุมดูแลการก่อสร้างอย่างดี" ระหว่างการดำเนินการก่อสร้างก็ได้ขอพระราชทานนาม ได้รับพระราชทานนามอาคารใหม่ว่า "พิทักษ์ไทย" เป็นอาคารที่ใช้รองรับผู้บาดเจ็บจากการสู้รบต่อเนื่องมาอีกหลายปี ปีถัดมา ภายหลังอาคารใหม่สร้างเสร็จแล้ว เป็นช่วงเวลาเดียวกันกับที่จังหวัดน่านได้กราบบังคมทูลเชิญในหลวง เพื่อทรงเป็นองค์ประธานในการเปิดอาคารศาลากลางจังหวัด และอาคารโรงเรียนราชานุบาล ทางจังหวัดก็ถามผมว่า จะให้กราบบังคมทูลเชิญเพื่อทรงเปิดอาคารตึกพิทักษ์ไทยด้วยไหม ผมก็เห็นว่าพระองค์ท่านต้องเสด็จฯ ถึงสองแห่งแล้ว ก็บอกไปว่าคงไม่ต้องกระมัง แจ้งทางจังหวัดไปอย่างนั้น ปรากฏว่า ม.ล.ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา กรมวังผู้ใหญ่ ท่านมาเลย บอกคุณหมอ ในหลวงรับสั่งกับผมว่า... "แล้วตึกฉันล่ะ จะไม่ให้ฉันเปิดหรือ" ผมได้ยินอย่างนั้นก็ตกใจ เราไม่ได้เตรียมอะไรเลย ท่านก็บอกว่าไม่ต้องเตรียม หมอมีป้ายไหม... มีครับ หมอหาพรมมาผืนหนึ่ง เพราะท่านจะประทับยืนทรงพระสุหร่าย ส่วนอื่น ๆ จะจัดมาจากกรุงเทพฯ แล้วก็หาสมุดอัลบั้มเล่มหนึ่งสำหรับทรงลงพระนามปรมาภิไธย นพ.บุญยงค์ : "ผมก็ทำอย่างที่แนะนำ เตรียมทุกอย่างเพียงชั่วโมงเดียว ลงทุน 35 บาท ซื้อสมุด 1 เล่ม ครั้นเสร็จพิธี ยังทรงพระราชทานเงินอีก 5 หมื่นบาท เพื่อซื้อสิ่งของที่จำเป็นอื่น ๆ" คำของในหลวงมีความหมายกับชีวิตผมทั้งชีวิต เมื่อพระองค์ท่านทรงทราบว่ามีคนที่ได้รับบาดเจ็บกลางสมรภูมิ พระองค์ท่านตัดสินพระราชหฤทัยเด็ดเดี่ยวที่จะไปพาตัวออกมาให้ได้ แน่นอนเหลือเกินว่ามันต้องยากและเสี่ยงกว่าเราที่เป็นผู้ที่ดูแลต่อ ความพยายาม ความเพียรของพระองค์ต้องมากจริง ๆ และเมื่อได้พบพระองค์ท่าน และมีพระราชดำรัสว่า ฉันไว้ใจเธอ ก็ยิ่งทวีความหมาย คุณหมอบุญยงค์ ใช้ชีวิตราชการที่น่านต่อเนื่องจากปี 2507 จนถึงปี 2537 เป็นนายแพทย์ที่ปฏิเสธความก้าวหน้าบนเส้นทางวิชาชีพ รวมถึงตำแหน่งสำคัญทางการเมือง เพื่อดูแลประชาชนจังหวัดน่าน ตามรอยพระยุคลบาทของพระองค์ท่าน น้อมนำพระกระแสรับสั่ง "ฉันไว้ใจเธอ" คำพูดเดียวที่จดจำ ไม่ลืมเลือน คัดลอกจาก หนังสือ ฅ.คน ฉบับ ๘๐ พรรษา พระราชาเหนือนิยาม เดือนธันวาคม 2550 #KingBhumibol Cr.บทความจากไลน์ ปล. อาจารย์มอบหนังสือให้ผมและบรรจงเขียนพร้อมลายเซ็นต์ให้ ท่านเล่าเรื่องราวให้ฟังมากมายเช่นเดียวกับบทความด้านบน และ ชี้ให้เราดูรูปในหลวงบนผนังบ้านอาจารย์ ..เห็นแล้วน้ำตาซึม..ในวันที่พวกเราไปกราบอาจารย์กันครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 151 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระนาม​ "ภูมิพลอดุลเดช" ในรัชกาลที่9​ ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ขณะที่พระนาม​ "สิริกิติ์" ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ​นั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่7​ พระราชทาน แสดงถึงพระชะตาทั้ง4พระองค์ที่ผูกพันกันมาแต่ไหน
    #พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว#สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี#พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช#สม้ด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
    พระนาม​ "ภูมิพลอดุลเดช" ในรัชกาลที่9​ ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่พระนาม​ "สิริกิติ์" ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ​นั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่7​ พระราชทาน แสดงถึงพระชะตาทั้ง4พระองค์ที่ผูกพันกันมาแต่ไหน #พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว​ #สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี​ #พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช​ #สม้ด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 110 มุมมอง 0 รีวิว
  • “...พระมหากรุณาธิคุณที่ผมและวงดนตรีได้รับพระราชทานมานี้ไม่มีทางใดที่จะใช้เป็นมาตร ที่จะวัด หรือคำนวณความใหญ่หลวงได้ เพราะว่าพระมหากรุณาธิคุณที่หลั่งพระราชทานมานั้นยิ่งใหญ่และพรั่งพร้อม

    ประการแรกเป็นพระมหากรุณาในฐานะองค์พระประมุขแห่งชาติและของชาวไทย

    ประการที่สองเป็นพระมหากรุณาที่พระราชทานเป็นส่วนพระองค์

    ประการที่สามเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่พระราชทานในฐานะที่กระผมเป็นศิลปินนักดนตรี

    และประการสุดท้ายในฐานะที่กระผมเป็นข้าใต้เบื้องพระบาท ซึ่งผมเชื่อว่าจะไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใด ที่ทรงพระกรุณานักดนตรีที่ต่ำต้อย เช่นอย่างกระผมเท่านี้ เช่นนี้จึงเป็นพระมหากรุณาที่แม้ผมหรือนักดนตรีในวงนี้จะได้ตายแล้วเกิดใหม่อีกสักกี่ชาติ เราก็จะหาทางสนองพระมหากรุณาธิคุณให้สมสาใจได้

    แม้เพียงเมื่อเช้านี้ ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้กระผมและนักดนตรีเข้าเฝ้าพระราชทานพรและพระราชทานน้ำสังข์ ทำให้กระผมปลื้มปิติอย่างสุดที่จะพรรณนาได้ ผมรู้สึกว่าหยาดน้ำสังข์ที่หลั่งมาบนหัวนั้น ได้ไหลซึมเข้ามาสู่ดวงใจของกระผมจนกระทั่งแทบจะหายใจไม่ออกด้วยความตื้นตันใจ และพระราชทานกระแสรับสั่ง และพรที่พระราชทานก็เช่นกัน ก้องเข้ามาในหูมากังวาลอยู่ในสมองอย่างที่ในชีวิตนี้จะมิมีทางเสื่อมเสียงกังวาลได้

    ผมและพวกชาวคณะสุนทราภรณ์ทุกคนถือว่านอกจากเราจะได้รับพระราชทานพรจากพระมหาราช ที่ยิ่งใหญ่ด้วยพระบารมีคุณแล้ว

    กระผมยังรู้สึกว่าได้รับพระราชทานพรจากนักดนตรีที่ยิ่งใหญ่ ที่เราบูชา บูชาทั้งพระกรุณาธิคุณ พระเกียรติคุณ บูชาน้ำพระราชหทัยและบูชาฝีพระหัตถ์ในเชิงนักดนตรี ซึ่งจัดว่ากระผมกับพวกได้รับพรและน้ำมนต์ที่ได้หลั่งจากพระหัตถ์ครูด้วยโดยแท้ จะหาสิ่งใดที่เป็นมิ่งมงคลที่ยิ่งกว่านี้มิได้แล้ว

    กระผมกับบรรดาศิลปินนักดนตรีจึงขอตั้งสัตยอธิษฐาน ขอให้องค์สมเด็จพระมหาราช สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และพระราชโอรสธิดา จงทรงพระเจริญยิ่ง ๆ และตลอดไป ตราบเท่าที่มนุษย์ยังรู้จักฟังเสียงดนตรี เทอญ...“

    คำกล่าวของครูเอื้อ สุนทรสนาน
    ในโอกาสครบ 30 ปี วงดนตรีสุนทราภรณ์
    ออกอากาศทางช่อง 4 บางขุนพรหม
    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2512

    ที่มา : เพจ เพลินเพลงเก่า สุนทราภรณ์
    https://www.facebook.com/share/GHk6mUnvTEUJrFD6/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    “...พระมหากรุณาธิคุณที่ผมและวงดนตรีได้รับพระราชทานมานี้ไม่มีทางใดที่จะใช้เป็นมาตร ที่จะวัด หรือคำนวณความใหญ่หลวงได้ เพราะว่าพระมหากรุณาธิคุณที่หลั่งพระราชทานมานั้นยิ่งใหญ่และพรั่งพร้อม ประการแรกเป็นพระมหากรุณาในฐานะองค์พระประมุขแห่งชาติและของชาวไทย ประการที่สองเป็นพระมหากรุณาที่พระราชทานเป็นส่วนพระองค์ ประการที่สามเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่พระราชทานในฐานะที่กระผมเป็นศิลปินนักดนตรี และประการสุดท้ายในฐานะที่กระผมเป็นข้าใต้เบื้องพระบาท ซึ่งผมเชื่อว่าจะไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใด ที่ทรงพระกรุณานักดนตรีที่ต่ำต้อย เช่นอย่างกระผมเท่านี้ เช่นนี้จึงเป็นพระมหากรุณาที่แม้ผมหรือนักดนตรีในวงนี้จะได้ตายแล้วเกิดใหม่อีกสักกี่ชาติ เราก็จะหาทางสนองพระมหากรุณาธิคุณให้สมสาใจได้ แม้เพียงเมื่อเช้านี้ ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้กระผมและนักดนตรีเข้าเฝ้าพระราชทานพรและพระราชทานน้ำสังข์ ทำให้กระผมปลื้มปิติอย่างสุดที่จะพรรณนาได้ ผมรู้สึกว่าหยาดน้ำสังข์ที่หลั่งมาบนหัวนั้น ได้ไหลซึมเข้ามาสู่ดวงใจของกระผมจนกระทั่งแทบจะหายใจไม่ออกด้วยความตื้นตันใจ และพระราชทานกระแสรับสั่ง และพรที่พระราชทานก็เช่นกัน ก้องเข้ามาในหูมากังวาลอยู่ในสมองอย่างที่ในชีวิตนี้จะมิมีทางเสื่อมเสียงกังวาลได้ ผมและพวกชาวคณะสุนทราภรณ์ทุกคนถือว่านอกจากเราจะได้รับพระราชทานพรจากพระมหาราช ที่ยิ่งใหญ่ด้วยพระบารมีคุณแล้ว กระผมยังรู้สึกว่าได้รับพระราชทานพรจากนักดนตรีที่ยิ่งใหญ่ ที่เราบูชา บูชาทั้งพระกรุณาธิคุณ พระเกียรติคุณ บูชาน้ำพระราชหทัยและบูชาฝีพระหัตถ์ในเชิงนักดนตรี ซึ่งจัดว่ากระผมกับพวกได้รับพรและน้ำมนต์ที่ได้หลั่งจากพระหัตถ์ครูด้วยโดยแท้ จะหาสิ่งใดที่เป็นมิ่งมงคลที่ยิ่งกว่านี้มิได้แล้ว กระผมกับบรรดาศิลปินนักดนตรีจึงขอตั้งสัตยอธิษฐาน ขอให้องค์สมเด็จพระมหาราช สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และพระราชโอรสธิดา จงทรงพระเจริญยิ่ง ๆ และตลอดไป ตราบเท่าที่มนุษย์ยังรู้จักฟังเสียงดนตรี เทอญ...“ คำกล่าวของครูเอื้อ สุนทรสนาน ในโอกาสครบ 30 ปี วงดนตรีสุนทราภรณ์ ออกอากาศทางช่อง 4 บางขุนพรหม วันที่ 20 พฤศจิกายน 2512 ที่มา : เพจ เพลินเพลงเก่า สุนทราภรณ์ https://www.facebook.com/share/GHk6mUnvTEUJrFD6/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Love
    Yay
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 324 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024)

    รับพรภิกษุสามเณร ตักบาตรเทโวโรหณะ 700 รูป
    วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024) รับพรภิกษุสามเณร ตักบาตรเทโวโรหณะ 700 รูป วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • สังฆทาน >>> ครั้งที่ 476
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024)

    รับพรจากพระ หลังจากทำบุญถวายสังฆทาน
    วัดประสิทธิ์คุณากร ต.สิงห์ อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี
    #ถวายสังฆทานโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    สังฆทาน >>> ครั้งที่ 476 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024) รับพรจากพระ หลังจากทำบุญถวายสังฆทาน วัดประสิทธิ์คุณากร ต.สิงห์ อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี #ถวายสังฆทานโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 176 มุมมอง 34 0 รีวิว
  • สังฆทาน >>> ครั้งที่ 476
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024)

    รับพรจากพระ หลังจากทำบุญถวายสังฆทาน
    วัดประสิทธิ์คุณากร ต.สิงห์ อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี
    #ถวายสังฆทานโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    สังฆทาน >>> ครั้งที่ 476 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024) รับพรจากพระ หลังจากทำบุญถวายสังฆทาน วัดประสิทธิ์คุณากร ต.สิงห์ อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี #ถวายสังฆทานโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 181 มุมมอง 20 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 488 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • เที่ยววัดบางชัน ขอพรท้าวเวสสุวรรณ

    วัดบางชัน: ศูนย์รวมศรัทธาและประวัติศาสตร์
    วัดบางชัน เป็นวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และศาสนา ตั้งอยู่ริมคลองบางชันในกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2435 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในปี พ.ศ. 2511
    สิ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับวัดบางชัน:
    * ท้าวเวสสุวรรณ: วัดแห่งนี้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะศูนย์รวมของรูปปั้นท้าวเวสสุวรรณหลากหลายปาง ผู้คนจำนวนมากมาสักการะขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคลและโชคลาภ
    เที่ยววัดบางชัน ขอพรท้าวเวสสุวรรณ วัดบางชัน: ศูนย์รวมศรัทธาและประวัติศาสตร์ วัดบางชัน เป็นวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และศาสนา ตั้งอยู่ริมคลองบางชันในกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2435 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในปี พ.ศ. 2511 สิ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับวัดบางชัน: * ท้าวเวสสุวรรณ: วัดแห่งนี้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะศูนย์รวมของรูปปั้นท้าวเวสสุวรรณหลากหลายปาง ผู้คนจำนวนมากมาสักการะขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคลและโชคลาภ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 198 มุมมอง 38 0 รีวิว
  • หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #รับพร #พ่อแม่ครูบาอาจารย์สายพระป่ากรรมฐาน #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #ฟีดดดシ #
    หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #รับพร #พ่อแม่ครูบาอาจารย์สายพระป่ากรรมฐาน #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #ฟีดดดシ #
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 226 มุมมอง 27 0 รีวิว
  • 🤠#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 01.🤠

    😎#ออกจากประตูหยก😎

    🥸การเดินทางของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปทางทิศตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะนั้นเป็นการกระทำส่วนตัวโดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากทางการ แต่ด้วยเหตุนี้ มุมมองของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่มีต่อภูมิภาคตะวันตกจึงมีความเป็นพลเรือนมากกว่า เป็นกลางมากกว่า และเป็นจริงมากกว่า🥸

    🥸ต่อไปนี้เชิญท่านมาเผชิญหน้ากับท่ามกลางท้องฟ้าอันเต็มไปด้วยลมและทราย เดินย่ำเหยียบฝ่าหมอกควันทะเลทราย เริ่มต้นเข้าร่วมกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ในการเดินทางอันน่ามหัศจรรย์ของเขาเพื่อร่างขอบเขตดินแดนของภูมิภาคตะวันตก🥸

    😎ออกจากประตูหยก(玉门)ไปทางทิศตะวันตก 😎

    🥸ในปีคริสตศักราช 629 ภัยพิบัติน้ำแข็งเกิดขึ้นในพื้นที่กวนจง(关中) ราชวงศ์ถัง(唐)ออกคำสั่งให้พระภิกษุและฆราวาสในพื้นที่ คยองกี(Gyeonggi京畿) ย้ายไปยังสถานที่อื่นเพื่อหาอาหารและหลีกเลี่ยงหลบหนีจากความอดอยาก พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ซึ่งแต่เดิมต้องการออกจากด่านทางผ่าน แต่ไม่ได้รับอนุญาตจากราชสำนักจึงใช้โอกาสนี้ออกจากฉางอาน(长安)🥸 เขาเดินทางผ่านหลานโจว(兰州)และเหลียงโจว(凉州) เขาหลีกเลี่ยงการติดตามจัยกุมของทางการโดยการเดินทางเวลากลางคืนและพักเวลากลางวัน ต่อมา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เสี่ยงภัยเดินทางผ่าน กวัวโจว(瓜州) และ อวี้เหมินกวน(Yumen Pass玉门关) ผ่านหอคอยสัญญาณไฟ 5 แห่งที่มีกองทหารคุ้มกันตามลำดับรายทาง ด้วยความช่วยเหลือจากทหารรักษาชายแดนผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ข้ามทะเลทรายโกบีด้วยพลังแห่งความศรัทธาและความอุตสาหะอย่างแรงกล้าก่อนจะไปถึงอีหวู(伊吾) และเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตก

    🥸สถานีแรกของการเดินทาง อีหวู(伊吾) ได้มีการส่งมอบการมาถึงอย่างกะทันหันของพระภิกษุให้กับเกาชาง(Gaochang高昌) (ปัจจุบันคือเมืองถูหลู่ฟาน(Turfan 吐鲁番) เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์(Xinjiang Uygur Autonomous Region 新疆维吾尔自治区)) เจ้าเหนือหัวองค์น้อยทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตกในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ริมแอ่งถูหลู่ฟาน(Turfan Depression吐鲁番盆地)🥸

    🥸หลังจากได้ยินข่าวว่า พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)มาถึงแล้ว กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) เสนาบดี และสาวใช้ออกมาจากพระราชวังในเวลากลางคืน ทรงจุดเทียน และเข้าแถวเพื่อต้อนรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เข้าสู่พระราชวังด้วยความเคารพ🥸 หลังจากเห็น พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) แล้ว ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ดีใจมากและบอกกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ว่า: นับตั้งแต่ฉันรู้ชื่ออาจารย์ ฉันมีความสุขมากจนลืมกินลืมนอน ฉันรู้ว่าพระภิกษุผู้แสวงธรรมจากตะวันออกจะมาคืนนี้ ฉันก็เลยพร้อมกับพระราชินีและเจ้าชายทรงพากันสวดมนต์ตลอดทั้งคืนรอการมาถึงของพระอาจารย์

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ถูกจัดให้อยู่ที่สนามหลวงทางพิธีกรรมของศาสนาถัดจากพระราชวังกษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) และจัดขันทีให้ดูแลอาหารและชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)

    รัฐเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)เป็นนครรัฐที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคตะวันตก และถูกปกครองโดยผู้รอดชีวิตจากราชวงศ์ฮั่น(汉)และเว่ย(魏) ซึ่งเป็นโครงสร้างทางการเมืองที่รวมหู(胡)และฮั่น(汉)เข้าด้วยกัน ในบรรดาพลเมืองนั้น ไม่เพียงแต่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพชาวฮั่น(汉)เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้คนจากภูมิภาคตะวันตกด้วย เช่น ชาวซ็อกเดียน(Sogdians粟特) ชาวซานซาน(Shanshan鄯善人)และชาวเติร์ก(Turks突厥人) 🥸ก่อนที่ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)จะมาถึง ประเทศนี้ก็ก่อตั้งขึ้นที่นั่นมานานกว่า 100 ปีแล้ว เขารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่พบว่าข้อมูลจำเพาะของเมืองที่นี่มีความคล้ายคลึงกับเมืองฉางอัน(长安)ในราชวงศ์ซุย(隋)และราชวงศ์ถัง(唐)มาก นอกจากนี้ยังมีรูปของ ดยุคไอแห่งหลู่(鲁哀公)สอดถามขงจื๊อ(孔子)เกี่ยวกับปัญหาการเมืองที่แขวนอยู่ในพระราชวังของอาณาจักร เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)🥸

    😎การต้อนรับด้วยมารยาทอันสูงส่ง😎

    🥸ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และบิดาของเขาเดินทางไปยังราชวงศ์สุย(隋)ในยุครุ่งเรืองเพื่อเข้าเฝ้าจักรพรรดิสุยหยางตี้(隋炀帝)🥸 เขาไม่เพียงแต่เดินทางไปยังฉางอาน(长安) ล่อหยาง(洛阳) เฝินหยาง(汾阳) เอี้ยนตี้(燕地) ไต้ตี้(代地) และเมืองสำคัญอื่นๆ และได้เห็นวัฒนธรรมฮั่น(汉)ของที่ราบตอนกลางดั้งเดิม แต่เขายังไปเยี่ยมคารวะพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงและผู้มีคุณธรรมอีกมากมาย และเขาก็ชื่นชมที่ราบภาคกลางที่เป็นบ้านเกิดทางวัฒนธรรมของเขาเป็นอย่างมาก แต่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)รู้สึกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงในอดีตของราชวงศ์ซุย ความฉลาดสามารถของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)นั้นเหนือกว่ามาก

    เมื่อใดก็ตามที่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)บรรยายธรรมแก่ขุนนางของเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ในเต็นท์ใหญ่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ถือกระถางธูปเพื่อเคลียร์นำทางให้พระภิกษุผู้มีชื่อเสียงด้วยตนเอง เมื่อพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปที่แท่นธรรมาสน์เพื่อขึ้นเทศนาธรรม กษัตริย์แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ถึงกับคุกเข่าโน้มตัวลง และทำหน้าที่เป็นบันไดให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ก้าวขึ้นแท่นธรรมาสน์ การปฏิบัตินี้ไม่สอดคล้องกับประเพณีตะวันออก แต่ก็มีบันทึกไว้ในหนังสือดั้งเดิมของอินเดียบางเรื่อง สิ่งนี้พิสูจน์ได้จากสิ่งแวดล้อมข้วงเคียงว่า เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)คือจุดทางสี่แยกของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการบูชาสักการะอย่างสูงสุดต่อ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ยังคัดเลือกพระภิกษุในท้องถิ่นหลายแห่งใน เกาชาง(Gaochang高昌)ให้เป็นนักเรียนและคนรับใช้ นิสัยปกิบัติในการรับลูกศิษย์ไปตลอดทางนี้ กลายเป็นต้นแบบทางประวัติศาสตร์สำหรับทีมอาจารย์และลูกศิษย์ของภิกษุราชวงศ์ถัง(唐)ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน "บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก(Journey to the West西游记)" แม้ว่ากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)จะชื่นชมพรสวรรค์และการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เขาถึงกับมีความคิดหน่วงรั้งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้ที่เกาชาง(Gaochang高昌)ด้วยซ้ำ และขอให้ประทับอยู่ที่นี่ตลอดไป แสดงธรรมสั่งสอนให้ความรู้ความกระจ่างแก่คนทั่วไป จนกระทั่งเป็นพระอาจารย์ระดับชาติของ เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เห็นด้วยเพราะมีตวามเห็นว่าเรื่องธรรมะเป็นเรื่องใหญ่กว่า กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)เห็นว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) มีความมุ่งมั่นดังนั้นเขาจึงจำต้องโยนไพ่ตายทางเลือกสุดท้ายของเขาออกไป: 🥸ถ้าพระคุณท่านไม่ปรารถนาอยู่ในเกาชาง(Gaochang高昌) ข้าพระเจ้าจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากส่งท่านอาจารย์กลับไปทางทิศตะวันออก🥸

    เมื่อต้องเผชิญกับกลยุทธ์ไม้แข็งและไม้อ่อนร่วมกันของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) กล่าวด้วยท่าทีที่ไม่ถ่อมตัวหรือหยิ่งผยองว่า: 🥸พระองค์สามารถจะเพียงได้รับกระดูกของอาตมาเอาไว้ได้ แต่พระองค์ไม่สามารถหยุดยั้งความตั้งใจของอาตมาที่จะไปทางตะวันตกได้🥸

    😎หนทางเบื้องหน้าอันยาวไกล😎

    🥸ด้วยเหตุนี้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) จึงอดอาหารเป็นเวลาสามวันเพื่อแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตก🥸 ในฐานะเป็นอาณาจักรในภูมิภาคตะวันตกที่นับถือศาสนาพุทธ หากมีพระภิกษุที่แสวงหาธรรมะมาอดอยากจนตายภายในดินแดนของตน ชื่อเสียงสู่ภายนอกของเกาชาง(Gaochang高昌)ในภูมิภาคตะวันตกจะเสียหายอย่างมาก และเขาจะพลอยได้รับชื่อเสียงเสื่อมเสียงจากการทำร้ายพระภิกษุที่มีชื่อเสียงด้วย ยิ่งไปกว่านั้นความจริงแล้ว การขัดขวางการเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตกของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ด้วยเพื่อความปรารถนาอันเห็นแก่ตัวของเขาเองก็เป็นการขัดแย้งกับความตั้งใจเดิมของเขา

    🥸เมื่อเขาคิดมาถึง ณ จุดนี้ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ก้มหัวให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เพื่อขอโทษ🥸 ความคิดที่เห็นแก่ตัวของเขาที่มีต่อเกาชาง(Gaochang高昌) ก็ถูกขจัดออกไปในที่สุดด้วยความมุ่งมั่นมีเมตตาที่จะช่วยสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในเวลาเดียวกันกับขณะที่รู้สึกประทับใจกับความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะแสวงหาธรรมะโดยปราศจากสิ่งภายนอกมาบั่นทอนความตั้งใจ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ได้สาบานต่อฟ้าดินสัญญาเป็นพี่น้องกัน ภายใต้การอุปถัมภ์จากแม่ของแผ่นดินเจ้าจอมมารดา จาง(张太妃) เพื่อให้พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เดินทางไปถึงอินเดียได้อย่างราบรื่น กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) ทรงสั่งการให้จัดทีมงานเล็กๆ ประกอบด้วยม้า 30 ตัว พนักงานข้าราชการเกาชาง(Gaochang高昌)1 คน ผู้ติดตามกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 25 คน และพระภิกษุหนุ่ม 4 รูป เพื่อดูแลเรื่องอาหาร เสื้อผ้า และชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมหน้ากากและหมวกพิเศษสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สำหรับการเดินทางผ่านภูเขาและทะเลทรายที่เต็มไปด้วยหิมะ รวมถึงเสื้อคลุมสำหรับพระสงฆ์ซึ่งสามารถปรับให้เข้ากับเขตภูมิอากาศต่างๆ จัดทหารม้าขนนำทองคำ เงิน และผ้าไหมจำนวนมากไว้สำหรับการครั้งนี้ ทำให้มั่นใจได้ว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เพียงแต่จะไม่ต้องทนทุกข์จากความหิวโหยระหว่างทางไปอินเดียเท่านั้น แต่ยังมีเงินเพียงพอที่จะทำทานอีกด้วย ในสิ่งแต่งเคิมเหล่านี้เป็นรายละเอียดด้านที่อ่อนโยนของประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ที่มีต่ออัครสาวก

    🥸นอกจากทรัพย์สินแล้ว เนื่องจากเจ้าผู้ครองแคว้นตะวันตกในขณะนั้น คือ ข่านเตอร์กตะวันตก(西突厥)ได้สมรสกับราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ยังมีจดหมายแสดงความเคารพที่กษัตริย์แห่งเกาชาง(Gaochang高昌)มอบให้กับข่านแห่งเติร์กตะวันตก(西突厥) อธิบายถึงความตั้งใจของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะไปทางดินแดนแคว้นตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะ🥸 ภายใต้การคุ้มครองของเตอร์กข่านตะวันตก (西突厥) ทุกประเทศในภูมิภาคตะวันตกตลอดเส้นทางให้ความเคารพแก่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) และให้การสนับสนุนทางทหารที่เข้มแข็งและมีควาทปลอดภัยที่สุดสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)และคณะเดินทางของเขา และจดหมายแสดงความเคารพของกษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ถึงพระมหากษัตริย์ของยี่สิบสี่ประเทศในภูมิภาคตะวันตกจะช่วยให้การเดินทางของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ง่ายและสะดวกขึ้นอย่างมาก

    🥸ในช่วงเวลาอันศักดิ์สิทธิ์ของการอำลาอาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌) บรรดาราชวงศ์และชาวเกาชาง(Gaochang高昌)ก็ออกจากเมืองเพื่อส่งอำลา🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สัญญาว่า เมื่อเดินทางผ่านเกาชาง(Gaochang高昌)หลังจากกลับจากการศึกษาในอินเดียจะแสดงเทศนาธรรมอีก จากนั้นเขาก็กล่าวคำอำลากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ด้วยน้ำตา พวกบรรดาราชวงศ์ เกาชาง(Gaochang高昌)เจ้าหน้าที่และประชาชนชาวพุทธต่างพากันออกจากเมืองส่งเสียงอำลาดังลั่นสั่นสะเทือนไปทั่วทั้งถิ่น ราวกับว่ามือแห่งโชคชะตาได้ฉีกหัวใจและจิตวิญญาณออกจากร่างกายของชาวเกาชาง(Gaochang高昌) ทำให้พวกเขาสูญเสียสมบัติของชาติไปตลอดกาล

    บรรดาพวกราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ส่งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ออกไปนอกเมืองหลายสิบลี้ แม้ว่าพระภิกษุสมณเพศจะมองเห็นบรรลุแล้วการจากแยกอำลาในทางโลกแล้วก็ตาม แต่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ผู้ที่มีจิตใจละเอียดอ่อนและยังคงเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ของมนุษย์ก็ยังมีอารมณ์อ่อนไหวมาก เขาขอบคุณต่ออาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌)อย่างสุดซึ้งอีกครั้งสำหรับการสนับสนุนอย่างมีน้ำใจ ราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังจับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้แน่นด้วยมือทั้งสองข้าง ร่ำไห้ราวกับสายฝนกล่าวว่า 🥸ในเมื่อพระคุณท่านถือเป็นพี่น้องกัน สัตว์พาหนะต่าง ๆ ในประเทศก็มีเจ้าของคนเดียวกัน แล้วเหตุใดจึงต้องขอบคุณพวกเขาด้วย?🥸

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ตอบว่า: 🥸ฉันจะไม่มีวันลืมความเมตตาของเสด็จพี่ตลอดชีวิตของอาตมา ในวันที่อาตมากลับจากนำพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนากลับมา อาตมาจะอยู่สอนธรรมะในเกาชาง(Gaochang高昌)เป็นเวลาสามปีเป็นการตอบแทน!🥸

    หลายปีต่อมาในฉางอาน(长安) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เล่าถึงเหตุการณ์อันน่าประทับใจนี้ในช่วงเวลาที่ยากลำบากให้เหล่าสาวกฟัง มิตรภาพฉันท์พี่น้องที่มีต่อราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังคงเกินคำบรรยาย ดูเหมือนราวกับว่าพิธีอำลาที่หรูหราและยิ่งใหญ่นั้นได่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้เอง ตอนนั้นเขาไม่รู้ 🥸นี่ยังจะเป็นครั้งสุดท้ายที่เขาจะได้พบกับพี่ชายร่วมสาบานของเขา🥸

    🥳โปรดติดตามบทความ#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 02.
    #อาณาจักรคาราซาห์และคูชาที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳

    🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    🤠#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 01.🤠 😎#ออกจากประตูหยก😎 🥸การเดินทางของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปทางทิศตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะนั้นเป็นการกระทำส่วนตัวโดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากทางการ แต่ด้วยเหตุนี้ มุมมองของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่มีต่อภูมิภาคตะวันตกจึงมีความเป็นพลเรือนมากกว่า เป็นกลางมากกว่า และเป็นจริงมากกว่า🥸 🥸ต่อไปนี้เชิญท่านมาเผชิญหน้ากับท่ามกลางท้องฟ้าอันเต็มไปด้วยลมและทราย เดินย่ำเหยียบฝ่าหมอกควันทะเลทราย เริ่มต้นเข้าร่วมกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ในการเดินทางอันน่ามหัศจรรย์ของเขาเพื่อร่างขอบเขตดินแดนของภูมิภาคตะวันตก🥸 😎ออกจากประตูหยก(玉门)ไปทางทิศตะวันตก 😎 🥸ในปีคริสตศักราช 629 ภัยพิบัติน้ำแข็งเกิดขึ้นในพื้นที่กวนจง(关中) ราชวงศ์ถัง(唐)ออกคำสั่งให้พระภิกษุและฆราวาสในพื้นที่ คยองกี(Gyeonggi京畿) ย้ายไปยังสถานที่อื่นเพื่อหาอาหารและหลีกเลี่ยงหลบหนีจากความอดอยาก พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ซึ่งแต่เดิมต้องการออกจากด่านทางผ่าน แต่ไม่ได้รับอนุญาตจากราชสำนักจึงใช้โอกาสนี้ออกจากฉางอาน(长安)🥸 เขาเดินทางผ่านหลานโจว(兰州)และเหลียงโจว(凉州) เขาหลีกเลี่ยงการติดตามจัยกุมของทางการโดยการเดินทางเวลากลางคืนและพักเวลากลางวัน ต่อมา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เสี่ยงภัยเดินทางผ่าน กวัวโจว(瓜州) และ อวี้เหมินกวน(Yumen Pass玉门关) ผ่านหอคอยสัญญาณไฟ 5 แห่งที่มีกองทหารคุ้มกันตามลำดับรายทาง ด้วยความช่วยเหลือจากทหารรักษาชายแดนผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ข้ามทะเลทรายโกบีด้วยพลังแห่งความศรัทธาและความอุตสาหะอย่างแรงกล้าก่อนจะไปถึงอีหวู(伊吾) และเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตก 🥸สถานีแรกของการเดินทาง อีหวู(伊吾) ได้มีการส่งมอบการมาถึงอย่างกะทันหันของพระภิกษุให้กับเกาชาง(Gaochang高昌) (ปัจจุบันคือเมืองถูหลู่ฟาน(Turfan 吐鲁番) เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์(Xinjiang Uygur Autonomous Region 新疆维吾尔自治区)) เจ้าเหนือหัวองค์น้อยทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตกในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ริมแอ่งถูหลู่ฟาน(Turfan Depression吐鲁番盆地)🥸 🥸หลังจากได้ยินข่าวว่า พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)มาถึงแล้ว กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) เสนาบดี และสาวใช้ออกมาจากพระราชวังในเวลากลางคืน ทรงจุดเทียน และเข้าแถวเพื่อต้อนรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เข้าสู่พระราชวังด้วยความเคารพ🥸 หลังจากเห็น พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) แล้ว ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ดีใจมากและบอกกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ว่า: นับตั้งแต่ฉันรู้ชื่ออาจารย์ ฉันมีความสุขมากจนลืมกินลืมนอน ฉันรู้ว่าพระภิกษุผู้แสวงธรรมจากตะวันออกจะมาคืนนี้ ฉันก็เลยพร้อมกับพระราชินีและเจ้าชายทรงพากันสวดมนต์ตลอดทั้งคืนรอการมาถึงของพระอาจารย์ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ถูกจัดให้อยู่ที่สนามหลวงทางพิธีกรรมของศาสนาถัดจากพระราชวังกษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) และจัดขันทีให้ดูแลอาหารและชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) รัฐเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)เป็นนครรัฐที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคตะวันตก และถูกปกครองโดยผู้รอดชีวิตจากราชวงศ์ฮั่น(汉)และเว่ย(魏) ซึ่งเป็นโครงสร้างทางการเมืองที่รวมหู(胡)และฮั่น(汉)เข้าด้วยกัน ในบรรดาพลเมืองนั้น ไม่เพียงแต่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพชาวฮั่น(汉)เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้คนจากภูมิภาคตะวันตกด้วย เช่น ชาวซ็อกเดียน(Sogdians粟特) ชาวซานซาน(Shanshan鄯善人)และชาวเติร์ก(Turks突厥人) 🥸ก่อนที่ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)จะมาถึง ประเทศนี้ก็ก่อตั้งขึ้นที่นั่นมานานกว่า 100 ปีแล้ว เขารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่พบว่าข้อมูลจำเพาะของเมืองที่นี่มีความคล้ายคลึงกับเมืองฉางอัน(长安)ในราชวงศ์ซุย(隋)และราชวงศ์ถัง(唐)มาก นอกจากนี้ยังมีรูปของ ดยุคไอแห่งหลู่(鲁哀公)สอดถามขงจื๊อ(孔子)เกี่ยวกับปัญหาการเมืองที่แขวนอยู่ในพระราชวังของอาณาจักร เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)🥸 😎การต้อนรับด้วยมารยาทอันสูงส่ง😎 🥸ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และบิดาของเขาเดินทางไปยังราชวงศ์สุย(隋)ในยุครุ่งเรืองเพื่อเข้าเฝ้าจักรพรรดิสุยหยางตี้(隋炀帝)🥸 เขาไม่เพียงแต่เดินทางไปยังฉางอาน(长安) ล่อหยาง(洛阳) เฝินหยาง(汾阳) เอี้ยนตี้(燕地) ไต้ตี้(代地) และเมืองสำคัญอื่นๆ และได้เห็นวัฒนธรรมฮั่น(汉)ของที่ราบตอนกลางดั้งเดิม แต่เขายังไปเยี่ยมคารวะพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงและผู้มีคุณธรรมอีกมากมาย และเขาก็ชื่นชมที่ราบภาคกลางที่เป็นบ้านเกิดทางวัฒนธรรมของเขาเป็นอย่างมาก แต่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)รู้สึกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงในอดีตของราชวงศ์ซุย ความฉลาดสามารถของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)นั้นเหนือกว่ามาก เมื่อใดก็ตามที่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)บรรยายธรรมแก่ขุนนางของเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ในเต็นท์ใหญ่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ถือกระถางธูปเพื่อเคลียร์นำทางให้พระภิกษุผู้มีชื่อเสียงด้วยตนเอง เมื่อพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปที่แท่นธรรมาสน์เพื่อขึ้นเทศนาธรรม กษัตริย์แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ถึงกับคุกเข่าโน้มตัวลง และทำหน้าที่เป็นบันไดให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ก้าวขึ้นแท่นธรรมาสน์ การปฏิบัตินี้ไม่สอดคล้องกับประเพณีตะวันออก แต่ก็มีบันทึกไว้ในหนังสือดั้งเดิมของอินเดียบางเรื่อง สิ่งนี้พิสูจน์ได้จากสิ่งแวดล้อมข้วงเคียงว่า เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)คือจุดทางสี่แยกของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการบูชาสักการะอย่างสูงสุดต่อ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ยังคัดเลือกพระภิกษุในท้องถิ่นหลายแห่งใน เกาชาง(Gaochang高昌)ให้เป็นนักเรียนและคนรับใช้ นิสัยปกิบัติในการรับลูกศิษย์ไปตลอดทางนี้ กลายเป็นต้นแบบทางประวัติศาสตร์สำหรับทีมอาจารย์และลูกศิษย์ของภิกษุราชวงศ์ถัง(唐)ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน "บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก(Journey to the West西游记)" แม้ว่ากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)จะชื่นชมพรสวรรค์และการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เขาถึงกับมีความคิดหน่วงรั้งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้ที่เกาชาง(Gaochang高昌)ด้วยซ้ำ และขอให้ประทับอยู่ที่นี่ตลอดไป แสดงธรรมสั่งสอนให้ความรู้ความกระจ่างแก่คนทั่วไป จนกระทั่งเป็นพระอาจารย์ระดับชาติของ เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เห็นด้วยเพราะมีตวามเห็นว่าเรื่องธรรมะเป็นเรื่องใหญ่กว่า กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)เห็นว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) มีความมุ่งมั่นดังนั้นเขาจึงจำต้องโยนไพ่ตายทางเลือกสุดท้ายของเขาออกไป: 🥸ถ้าพระคุณท่านไม่ปรารถนาอยู่ในเกาชาง(Gaochang高昌) ข้าพระเจ้าจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากส่งท่านอาจารย์กลับไปทางทิศตะวันออก🥸 เมื่อต้องเผชิญกับกลยุทธ์ไม้แข็งและไม้อ่อนร่วมกันของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) กล่าวด้วยท่าทีที่ไม่ถ่อมตัวหรือหยิ่งผยองว่า: 🥸พระองค์สามารถจะเพียงได้รับกระดูกของอาตมาเอาไว้ได้ แต่พระองค์ไม่สามารถหยุดยั้งความตั้งใจของอาตมาที่จะไปทางตะวันตกได้🥸 😎หนทางเบื้องหน้าอันยาวไกล😎 🥸ด้วยเหตุนี้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) จึงอดอาหารเป็นเวลาสามวันเพื่อแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตก🥸 ในฐานะเป็นอาณาจักรในภูมิภาคตะวันตกที่นับถือศาสนาพุทธ หากมีพระภิกษุที่แสวงหาธรรมะมาอดอยากจนตายภายในดินแดนของตน ชื่อเสียงสู่ภายนอกของเกาชาง(Gaochang高昌)ในภูมิภาคตะวันตกจะเสียหายอย่างมาก และเขาจะพลอยได้รับชื่อเสียงเสื่อมเสียงจากการทำร้ายพระภิกษุที่มีชื่อเสียงด้วย ยิ่งไปกว่านั้นความจริงแล้ว การขัดขวางการเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตกของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ด้วยเพื่อความปรารถนาอันเห็นแก่ตัวของเขาเองก็เป็นการขัดแย้งกับความตั้งใจเดิมของเขา 🥸เมื่อเขาคิดมาถึง ณ จุดนี้ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ก้มหัวให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เพื่อขอโทษ🥸 ความคิดที่เห็นแก่ตัวของเขาที่มีต่อเกาชาง(Gaochang高昌) ก็ถูกขจัดออกไปในที่สุดด้วยความมุ่งมั่นมีเมตตาที่จะช่วยสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในเวลาเดียวกันกับขณะที่รู้สึกประทับใจกับความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะแสวงหาธรรมะโดยปราศจากสิ่งภายนอกมาบั่นทอนความตั้งใจ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ได้สาบานต่อฟ้าดินสัญญาเป็นพี่น้องกัน ภายใต้การอุปถัมภ์จากแม่ของแผ่นดินเจ้าจอมมารดา จาง(张太妃) เพื่อให้พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เดินทางไปถึงอินเดียได้อย่างราบรื่น กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) ทรงสั่งการให้จัดทีมงานเล็กๆ ประกอบด้วยม้า 30 ตัว พนักงานข้าราชการเกาชาง(Gaochang高昌)1 คน ผู้ติดตามกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 25 คน และพระภิกษุหนุ่ม 4 รูป เพื่อดูแลเรื่องอาหาร เสื้อผ้า และชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมหน้ากากและหมวกพิเศษสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สำหรับการเดินทางผ่านภูเขาและทะเลทรายที่เต็มไปด้วยหิมะ รวมถึงเสื้อคลุมสำหรับพระสงฆ์ซึ่งสามารถปรับให้เข้ากับเขตภูมิอากาศต่างๆ จัดทหารม้าขนนำทองคำ เงิน และผ้าไหมจำนวนมากไว้สำหรับการครั้งนี้ ทำให้มั่นใจได้ว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เพียงแต่จะไม่ต้องทนทุกข์จากความหิวโหยระหว่างทางไปอินเดียเท่านั้น แต่ยังมีเงินเพียงพอที่จะทำทานอีกด้วย ในสิ่งแต่งเคิมเหล่านี้เป็นรายละเอียดด้านที่อ่อนโยนของประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ที่มีต่ออัครสาวก 🥸นอกจากทรัพย์สินแล้ว เนื่องจากเจ้าผู้ครองแคว้นตะวันตกในขณะนั้น คือ ข่านเตอร์กตะวันตก(西突厥)ได้สมรสกับราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ยังมีจดหมายแสดงความเคารพที่กษัตริย์แห่งเกาชาง(Gaochang高昌)มอบให้กับข่านแห่งเติร์กตะวันตก(西突厥) อธิบายถึงความตั้งใจของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะไปทางดินแดนแคว้นตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะ🥸 ภายใต้การคุ้มครองของเตอร์กข่านตะวันตก (西突厥) ทุกประเทศในภูมิภาคตะวันตกตลอดเส้นทางให้ความเคารพแก่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) และให้การสนับสนุนทางทหารที่เข้มแข็งและมีควาทปลอดภัยที่สุดสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)และคณะเดินทางของเขา และจดหมายแสดงความเคารพของกษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ถึงพระมหากษัตริย์ของยี่สิบสี่ประเทศในภูมิภาคตะวันตกจะช่วยให้การเดินทางของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ง่ายและสะดวกขึ้นอย่างมาก 🥸ในช่วงเวลาอันศักดิ์สิทธิ์ของการอำลาอาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌) บรรดาราชวงศ์และชาวเกาชาง(Gaochang高昌)ก็ออกจากเมืองเพื่อส่งอำลา🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สัญญาว่า เมื่อเดินทางผ่านเกาชาง(Gaochang高昌)หลังจากกลับจากการศึกษาในอินเดียจะแสดงเทศนาธรรมอีก จากนั้นเขาก็กล่าวคำอำลากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ด้วยน้ำตา พวกบรรดาราชวงศ์ เกาชาง(Gaochang高昌)เจ้าหน้าที่และประชาชนชาวพุทธต่างพากันออกจากเมืองส่งเสียงอำลาดังลั่นสั่นสะเทือนไปทั่วทั้งถิ่น ราวกับว่ามือแห่งโชคชะตาได้ฉีกหัวใจและจิตวิญญาณออกจากร่างกายของชาวเกาชาง(Gaochang高昌) ทำให้พวกเขาสูญเสียสมบัติของชาติไปตลอดกาล บรรดาพวกราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ส่งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ออกไปนอกเมืองหลายสิบลี้ แม้ว่าพระภิกษุสมณเพศจะมองเห็นบรรลุแล้วการจากแยกอำลาในทางโลกแล้วก็ตาม แต่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ผู้ที่มีจิตใจละเอียดอ่อนและยังคงเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ของมนุษย์ก็ยังมีอารมณ์อ่อนไหวมาก เขาขอบคุณต่ออาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌)อย่างสุดซึ้งอีกครั้งสำหรับการสนับสนุนอย่างมีน้ำใจ ราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังจับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้แน่นด้วยมือทั้งสองข้าง ร่ำไห้ราวกับสายฝนกล่าวว่า 🥸ในเมื่อพระคุณท่านถือเป็นพี่น้องกัน สัตว์พาหนะต่าง ๆ ในประเทศก็มีเจ้าของคนเดียวกัน แล้วเหตุใดจึงต้องขอบคุณพวกเขาด้วย?🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ตอบว่า: 🥸ฉันจะไม่มีวันลืมความเมตตาของเสด็จพี่ตลอดชีวิตของอาตมา ในวันที่อาตมากลับจากนำพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนากลับมา อาตมาจะอยู่สอนธรรมะในเกาชาง(Gaochang高昌)เป็นเวลาสามปีเป็นการตอบแทน!🥸 หลายปีต่อมาในฉางอาน(长安) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เล่าถึงเหตุการณ์อันน่าประทับใจนี้ในช่วงเวลาที่ยากลำบากให้เหล่าสาวกฟัง มิตรภาพฉันท์พี่น้องที่มีต่อราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังคงเกินคำบรรยาย ดูเหมือนราวกับว่าพิธีอำลาที่หรูหราและยิ่งใหญ่นั้นได่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้เอง ตอนนั้นเขาไม่รู้ 🥸นี่ยังจะเป็นครั้งสุดท้ายที่เขาจะได้พบกับพี่ชายร่วมสาบานของเขา🥸 🥳โปรดติดตามบทความ#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 02. #อาณาจักรคาราซาห์และคูชาที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳 🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 291 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://mgronline.com/politics/detail/9670000092959

    พระมหากรุณาธิคุณ ในหลวง-พระราชินีทรงรับผู้สูญเสียเหตุรถบัสนักเรียนไฟไหม้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ ประกันพร้อมจ่าย 1 ล้านบาทต่อราย
    เผยแพร่: 2 ต.ค. 2567 13:43 ปรับปรุง: 2 ต.ค. 2567 13:43 โดย: ผู้จัดการออนไลน์

    เป็นพระมหากรุณาธิคุณ “ในหลวง-พระราชินี” ทรงห่วงใย ทรงสลดพระทัย รับผู้สูญเสีย เหตุการณ์รถบัสนักเรียนไฟไหม้ ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ มหาดไทยพร้อมเยียวยาสูงสุด สำนักงานประกันภัยมอบ 1 ล้านกว่าบาทต่อราย เห็นต่างยกเลิก “ทัศนศึกษา” ชี้ไม่ใช่มูลเหตุ แต่สาเหตุ คือ คุณภาพรถมาตรฐานของคนขับรถ และการจัดรูปขบวนในการเดินทาง ถามเห็นคาตา รถบัสทำไมมีถังแก๊สนับสิบ ชัดเจนอยู่แล้ว ว่ามีการละเมิด

    เมื่อเวลา 11.38 น. วันที่ 2 ต.ค.67 ที่กระทรวงมหาดไทย นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.มหาดไทย ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) กล่าวถึงเหตุการณ์ไฟไหม้รถบัสทัศนศึกษาของคณะครูและนักเรียนโรงเรียนวัดเขาพระยา จ.อุทัยธานี เมื่อวันที่ 1 ต.ค.ที่ผ่านมา ซึ่งทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บและผู้เสียชีวิตจำนวนมาก จนต้องประกาศภัยพิบัติ จะพิจารณาเงินเยียวยาอย่างไรว่ า เหตุการณ์นี้ เรื่องของการช่วยเหลือตามพ.ร.บ.อุบัติภัย มีอยู่ ว่าเราจะช่วยเรื่องการทำขวัญ โดยสำนักงานประกันภัย ได้รายงานเบื้องต้นว่า จะมีเงินที่ชดเชยความเสียหายเหล่านี้ อยู่ที่ประมาณ 1 ล้านกว่าบาทต่อราย ตนถามย้ำไปว่าต้องไม่มีเงื่อนไขอะไรอีก เพราะเท่าไหร่ก็ไม่คุ้มกับการสูญเสีย แต่เราต้องเร่ง จ่ายเงินเยียวยานี้ ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ ซึ่งท่านนายกรัฐมนตรีได้สั่งการว่าเรื่องนี้มีความเสียหายมาก เป็นเรื่องที่มีระดับความรุนแรงอยู่ในระดับสูง ดังนั้นเกณฑ์การเยียวยาจะต้องหาทางที่จะเยียวยาในระดับสูงสุด

    เมื่อถามถึง งตัวเลขอายุการใช้งานรถบัสที่เกิดเหตุ ที่ระบุว่ามีอายุ 54 ปี นั้น นายอนุทิน กล่าวว่า เป็นเรื่องของทางกระทรวงคมนาคม ส่วนของกระทรวงมหาดไทย ดูในเรื่องของการให้การดูแลครอบครัวการจัดงานให้สมเกียรติ ในการนี้ เราได้รับพระมหากรุณาธิคุณ ตนได้รับการแจ้งล่วงหน้ามาว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี ทรงมีความห่วงใย และทรงสลดพระทัย ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและได้แจ้งมาว่าพระองค์ท่านจะรับการจัดการเรื่องงานทั้งหมด ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ จะมีการพระราชทานเพลิงให้กับผู้ที่สูญเสียชีวิตไป โดยกระทรวงมหาดไทย ถือเป็นพระมหากรุณาธิคุณ และตนได้สั่งการให้ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี ไปจัดการหน้างานให้สมเกียรติกับผู้วายชนม์ ซึ่งมีทั้งครู และนักเรียน

    เมื่อถามว่า ขณะนี้มี มีข้อถกเถียง เรื่องของการยกเลิกการทัศนศึกษา ในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่พรรคภูมิใจไทย กำกับดูแลอยู่จะทำอย่างไร นายอนุทิน กล่าวว่า ตนได้ยินคำนี้มาหลายครั้งแล้ว เมื่อมีเหตุเกิดขึ้น ซึ่งตนคิดว่าการไปทัศนศึกษา มันไม่ใช่มูลเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุนี้ขึ้น สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุนี้คือเรื่องมาตรฐานของคนขับรถ มาตรฐานการจัดรูปขบวนในการเดินทาง คุณภาพของรถ อย่างกรณีนี้ เราต้องไปดู เพราะตนเห็นกับตาทำไมรถบัส 1คัน ถังแก๊สเยอะขนาดนี้นับๆดูเป็น 10 ถัง ซึ่งตนก็ไม่ทราบ เพราะไม่เคยอยู่กรมขนส่ง ก็ต้องไปดูก่อนว่ากฎหมายเขากำหนดไว้อย่างไร มีถังแก๊ซตั้งแต่หน้ารถ กลางรถ ท้ายรถ ข้างรถ จะเดินทางอะไรกันกะจะแบบไม่ต้องพักผ่อนกันเลยหรือ

    “โดยมองจากสายตา ที่ผมเคยเป็นวิศวกรคุมงานมาก่อน มองว่าควรจะมีแผ่นเหล็ก ที่คอยกั้นไม่ให้ประกายไฟถึงตัว คือจะต้องเซฟตี้มากกว่านี้ เป็นพื้นที่นิรภัย ผมมั่นใจว่ามาตรฐานของกรมขนส่งทางบก ของเรามีอยู่แล้ว แต่เราไม่รู้ว่ารถคันนี้ผ่านการตรวจสภาพมาอย่างไร ตำรวจก็คงจะต้องทำหน้าที่การสืบขยายผล แต่ที่เห็นถามว่าปลอดภัยหรือไม่ ยืนยันว่าไม่ปลอดภัยแน่นอน”นายอนุทิน กล่าว

    เมื่อถามว่า ในฐานะหัวหน้าพรรคการเมือง จะขับเคลื่อนเรื่องนี้แก้กฎหมายในสภาผู้แทนราษฎรหรือไม่ นายอนุทิน กล่าวย้ำว่า เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องการเมือง เป็นหน้าที่ของทุกคน เราต้องช่วยกันทำให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด กับลูก หลานของเราอย่างที่บอกการไปทัศนศึกษา เป็นสิ่งที่ดีไม่อย่างนั้นเด็กก็อยู่แต่ในห้องเรียน เห็นทุกอย่างจากรูป ไม่เห็นของจริง แต่การจัดรูปแบบทำอย่างไรให้ดีจริงๆ ก็มีกฎอยู่สามารถที่จะประสานขอรถตำรวจนำได้ รถทางหลวงนำได้ ต้องกำหนดเรื่องของความเร็วเรื่องของผู้ใหญ่ที่อยู่ในรถที่จะสามารถคอยให้การช่วยเหลือเด็กๆ และกำหนดจำนวนคนขับรถ อย่างกรณีที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ต.ค. ก็คือรถ 1 คัน คน 1 คน ไม่มีอะไรเลย ไม่มีผู้ช่วยคนขับ ไม่มีเจ้าหน้าที่ที่รู้จักรถเลย มีแต่ครูกับนักเรียน พอเกิดเหตุการณ์ คนขับก็วิ่งลงมาดูก่อน ไม่มีผู้ช่วยลงมาคอยปลดล็อคเปิดประตูฉุกเฉิน ถีบหน้าต่างเป็นช่องทางฉุกเฉินเลย มันชัดเจนอยู่แล้ว ว่ามีการละเมิด
    https://mgronline.com/politics/detail/9670000092959 พระมหากรุณาธิคุณ ในหลวง-พระราชินีทรงรับผู้สูญเสียเหตุรถบัสนักเรียนไฟไหม้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ ประกันพร้อมจ่าย 1 ล้านบาทต่อราย เผยแพร่: 2 ต.ค. 2567 13:43 ปรับปรุง: 2 ต.ค. 2567 13:43 โดย: ผู้จัดการออนไลน์ เป็นพระมหากรุณาธิคุณ “ในหลวง-พระราชินี” ทรงห่วงใย ทรงสลดพระทัย รับผู้สูญเสีย เหตุการณ์รถบัสนักเรียนไฟไหม้ ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ มหาดไทยพร้อมเยียวยาสูงสุด สำนักงานประกันภัยมอบ 1 ล้านกว่าบาทต่อราย เห็นต่างยกเลิก “ทัศนศึกษา” ชี้ไม่ใช่มูลเหตุ แต่สาเหตุ คือ คุณภาพรถมาตรฐานของคนขับรถ และการจัดรูปขบวนในการเดินทาง ถามเห็นคาตา รถบัสทำไมมีถังแก๊สนับสิบ ชัดเจนอยู่แล้ว ว่ามีการละเมิด เมื่อเวลา 11.38 น. วันที่ 2 ต.ค.67 ที่กระทรวงมหาดไทย นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.มหาดไทย ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) กล่าวถึงเหตุการณ์ไฟไหม้รถบัสทัศนศึกษาของคณะครูและนักเรียนโรงเรียนวัดเขาพระยา จ.อุทัยธานี เมื่อวันที่ 1 ต.ค.ที่ผ่านมา ซึ่งทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บและผู้เสียชีวิตจำนวนมาก จนต้องประกาศภัยพิบัติ จะพิจารณาเงินเยียวยาอย่างไรว่ า เหตุการณ์นี้ เรื่องของการช่วยเหลือตามพ.ร.บ.อุบัติภัย มีอยู่ ว่าเราจะช่วยเรื่องการทำขวัญ โดยสำนักงานประกันภัย ได้รายงานเบื้องต้นว่า จะมีเงินที่ชดเชยความเสียหายเหล่านี้ อยู่ที่ประมาณ 1 ล้านกว่าบาทต่อราย ตนถามย้ำไปว่าต้องไม่มีเงื่อนไขอะไรอีก เพราะเท่าไหร่ก็ไม่คุ้มกับการสูญเสีย แต่เราต้องเร่ง จ่ายเงินเยียวยานี้ ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ ซึ่งท่านนายกรัฐมนตรีได้สั่งการว่าเรื่องนี้มีความเสียหายมาก เป็นเรื่องที่มีระดับความรุนแรงอยู่ในระดับสูง ดังนั้นเกณฑ์การเยียวยาจะต้องหาทางที่จะเยียวยาในระดับสูงสุด เมื่อถามถึง งตัวเลขอายุการใช้งานรถบัสที่เกิดเหตุ ที่ระบุว่ามีอายุ 54 ปี นั้น นายอนุทิน กล่าวว่า เป็นเรื่องของทางกระทรวงคมนาคม ส่วนของกระทรวงมหาดไทย ดูในเรื่องของการให้การดูแลครอบครัวการจัดงานให้สมเกียรติ ในการนี้ เราได้รับพระมหากรุณาธิคุณ ตนได้รับการแจ้งล่วงหน้ามาว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี ทรงมีความห่วงใย และทรงสลดพระทัย ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและได้แจ้งมาว่าพระองค์ท่านจะรับการจัดการเรื่องงานทั้งหมด ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ จะมีการพระราชทานเพลิงให้กับผู้ที่สูญเสียชีวิตไป โดยกระทรวงมหาดไทย ถือเป็นพระมหากรุณาธิคุณ และตนได้สั่งการให้ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี ไปจัดการหน้างานให้สมเกียรติกับผู้วายชนม์ ซึ่งมีทั้งครู และนักเรียน เมื่อถามว่า ขณะนี้มี มีข้อถกเถียง เรื่องของการยกเลิกการทัศนศึกษา ในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่พรรคภูมิใจไทย กำกับดูแลอยู่จะทำอย่างไร นายอนุทิน กล่าวว่า ตนได้ยินคำนี้มาหลายครั้งแล้ว เมื่อมีเหตุเกิดขึ้น ซึ่งตนคิดว่าการไปทัศนศึกษา มันไม่ใช่มูลเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุนี้ขึ้น สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุนี้คือเรื่องมาตรฐานของคนขับรถ มาตรฐานการจัดรูปขบวนในการเดินทาง คุณภาพของรถ อย่างกรณีนี้ เราต้องไปดู เพราะตนเห็นกับตาทำไมรถบัส 1คัน ถังแก๊สเยอะขนาดนี้นับๆดูเป็น 10 ถัง ซึ่งตนก็ไม่ทราบ เพราะไม่เคยอยู่กรมขนส่ง ก็ต้องไปดูก่อนว่ากฎหมายเขากำหนดไว้อย่างไร มีถังแก๊ซตั้งแต่หน้ารถ กลางรถ ท้ายรถ ข้างรถ จะเดินทางอะไรกันกะจะแบบไม่ต้องพักผ่อนกันเลยหรือ “โดยมองจากสายตา ที่ผมเคยเป็นวิศวกรคุมงานมาก่อน มองว่าควรจะมีแผ่นเหล็ก ที่คอยกั้นไม่ให้ประกายไฟถึงตัว คือจะต้องเซฟตี้มากกว่านี้ เป็นพื้นที่นิรภัย ผมมั่นใจว่ามาตรฐานของกรมขนส่งทางบก ของเรามีอยู่แล้ว แต่เราไม่รู้ว่ารถคันนี้ผ่านการตรวจสภาพมาอย่างไร ตำรวจก็คงจะต้องทำหน้าที่การสืบขยายผล แต่ที่เห็นถามว่าปลอดภัยหรือไม่ ยืนยันว่าไม่ปลอดภัยแน่นอน”นายอนุทิน กล่าว เมื่อถามว่า ในฐานะหัวหน้าพรรคการเมือง จะขับเคลื่อนเรื่องนี้แก้กฎหมายในสภาผู้แทนราษฎรหรือไม่ นายอนุทิน กล่าวย้ำว่า เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องการเมือง เป็นหน้าที่ของทุกคน เราต้องช่วยกันทำให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด กับลูก หลานของเราอย่างที่บอกการไปทัศนศึกษา เป็นสิ่งที่ดีไม่อย่างนั้นเด็กก็อยู่แต่ในห้องเรียน เห็นทุกอย่างจากรูป ไม่เห็นของจริง แต่การจัดรูปแบบทำอย่างไรให้ดีจริงๆ ก็มีกฎอยู่สามารถที่จะประสานขอรถตำรวจนำได้ รถทางหลวงนำได้ ต้องกำหนดเรื่องของความเร็วเรื่องของผู้ใหญ่ที่อยู่ในรถที่จะสามารถคอยให้การช่วยเหลือเด็กๆ และกำหนดจำนวนคนขับรถ อย่างกรณีที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ต.ค. ก็คือรถ 1 คัน คน 1 คน ไม่มีอะไรเลย ไม่มีผู้ช่วยคนขับ ไม่มีเจ้าหน้าที่ที่รู้จักรถเลย มีแต่ครูกับนักเรียน พอเกิดเหตุการณ์ คนขับก็วิ่งลงมาดูก่อน ไม่มีผู้ช่วยลงมาคอยปลดล็อคเปิดประตูฉุกเฉิน ถีบหน้าต่างเป็นช่องทางฉุกเฉินเลย มันชัดเจนอยู่แล้ว ว่ามีการละเมิด
    MGRONLINE.COM
    พระมหากรุณาธิคุณ ในหลวง-พระราชินีทรงรับผู้สูญเสียเหตุรถบัสนักเรียนไฟไหม้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ ประกันพร้อมจ่าย 1 ล้านบาทต่อราย
    เป็นพระมหากรุณาธิคุณ “ในหลวง-พระราชินี” ทรงห่วงใย ทรงสลดพระทัย รับผู้สูญเสีย เหตุการณ์รถบัสนักเรียนไฟไหม้ ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ มหาดไทยพร้อมเยียวยาสูงสุด สำนักงานประกันภัยมอบ 1 ล้านกว่าบาทต่อราย เห็นต่างยกเลิก “ทัศนศึกษา” ชี้ไ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 215 มุมมอง 0 รีวิว
  • EP.8 ชื่นฉ่ำฤทัย เมืองอุทัยฯที่รัก - สุขนิยาม สยามโสภา (อุทัยธานี)
    》》
    https://youtu.be/RFMEXgYQH8Y?si=Wr_V56Re1PoV7DkN
    《《
    ■จังหวัดเล็กๆ แต่เปี่ยมไปด้วยมนต์เสน่ห์ ของสายน้ำสะแกกรัง
    》》เต็มไปด้วยประวัติศาสตร์อันยาวนาน และวัดวาอารามอันลือเลื่อง
    》》ถนนคนเดินตรอกโรงยา ที่คึกคักด้วยนักท่องเที่ยว
    》》ประเพณีงานบุญออกพรรษาที่ยิ่งใหญ่ บริเวณเชิงเขาสะแกกรัง
    》》ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างศูนย์ฝึกทักษะและพัฒนางานอาชีพ
    》》และการทอผ้าลายโบราณ ซึ่งได้เผยแพร่สิ่งทอ ที่วิจิตรอันเป็นเอกลักษณ์
    ■■■■■■■■■■
    #TV5HDONLINE#สยามโสภา#ชื่นฉ่ำฤทัยเมืองอุทัยฯที่รัก#สายน้ำสะแกกรัง#เที่ยวจังหวัดอุทัยธานี
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    EP.8 ชื่นฉ่ำฤทัย เมืองอุทัยฯที่รัก - สุขนิยาม สยามโสภา (อุทัยธานี) 》》 https://youtu.be/RFMEXgYQH8Y?si=Wr_V56Re1PoV7DkN 《《 ■จังหวัดเล็กๆ แต่เปี่ยมไปด้วยมนต์เสน่ห์ ของสายน้ำสะแกกรัง 》》เต็มไปด้วยประวัติศาสตร์อันยาวนาน และวัดวาอารามอันลือเลื่อง 》》ถนนคนเดินตรอกโรงยา ที่คึกคักด้วยนักท่องเที่ยว 》》ประเพณีงานบุญออกพรรษาที่ยิ่งใหญ่ บริเวณเชิงเขาสะแกกรัง 》》ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างศูนย์ฝึกทักษะและพัฒนางานอาชีพ 》》และการทอผ้าลายโบราณ ซึ่งได้เผยแพร่สิ่งทอ ที่วิจิตรอันเป็นเอกลักษณ์ ■■■■■■■■■■ #TV5HDONLINE​ #สยามโสภา​ #ชื่นฉ่ำฤทัยเมืองอุทัยฯที่รัก​ #สายน้ำสะแกกรัง​ #เที่ยวจังหวัดอุทัยธานี​ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1381 มุมมอง 0 รีวิว
  • EP.7 วิถีสุพรรณ สร้างสรรค์มั่งคง - สุขนิยาม สยามโสภา (สุพรรณบุรี)
    》》
    https://youtu.be/7ejG-2nRzmo?si=v2auD9FcYL_rSDdi
    《《
    ■ซึ่งเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำของประเทศไทย บนฝั่งแม่น้ำท่าจีน
    》》มีพระพุทธรูปบนผนังหน้าผา ที่สูงใหญ่เป็นหนึ่ง ในที่สุดของโลก
    》》เป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ในวิถีของเกษตรกรชาวนา ที่จัดทำได้อย่างน่าสนใจ
    》》สนันสนุนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ภูมิปัญญาการเลี้ยงควายไทย
    》》ได้รับพระราชทานโครงการบรรเทาปัญหาน้ำท่วม พื้นที่การเกษตร
    》》และยังมีแหล่งเพาะปลูกแห้ว ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
    ■■■■■■■■■■■■
    #TV5HDONLINE#สยามโสภา#วิถีสุพรรณ#เมืองอู่ข้าวอู่น้ำของไทย#ศูนย์อนุรักษ์ควายไทย#เที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี#thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    EP.7 วิถีสุพรรณ สร้างสรรค์มั่งคง - สุขนิยาม สยามโสภา (สุพรรณบุรี) 》》 https://youtu.be/7ejG-2nRzmo?si=v2auD9FcYL_rSDdi 《《 ■ซึ่งเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำของประเทศไทย บนฝั่งแม่น้ำท่าจีน 》》มีพระพุทธรูปบนผนังหน้าผา ที่สูงใหญ่เป็นหนึ่ง ในที่สุดของโลก 》》เป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ในวิถีของเกษตรกรชาวนา ที่จัดทำได้อย่างน่าสนใจ 》》สนันสนุนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ภูมิปัญญาการเลี้ยงควายไทย 》》ได้รับพระราชทานโครงการบรรเทาปัญหาน้ำท่วม พื้นที่การเกษตร 》》และยังมีแหล่งเพาะปลูกแห้ว ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ■■■■■■■■■■■■ #TV5HDONLINE​ #สยามโสภา​ #วิถีสุพรรณ​ #เมืองอู่ข้าวอู่น้ำของไทย​ #ศูนย์อนุรักษ์ควายไทย​ #เที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี​ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    Love
    Wow
    8
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1704 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๘ น.
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
    เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวรมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศาสตราจารย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช และผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพุ่มดอกไม้ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รองศาสตราจารย์ นันทกร ทองแตง รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและองค์กรสัมพันธ์เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กราบบังคมทูลรายงาน และกราบบังคมทูลเบิกผู้ให้การสนับสนุนการจัดงาน ผู้มีอุปการคุณ และผู้ทำคุณประโยชน์ แก่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานโล่ที่ระลึกและของที่ระลึกตามลำดับ สมควรแก่เวลา จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ
    “วันมหิดล” ตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่งการสาธารณสุขไทย” ด้วยทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทรงอุทิศกำลังพระวรกาย และพระปรีชาสามารถ ตลอดจนทรัพย์สินส่วนพระองค์เพื่อการแพทย์ไทย ส่งผลให้กิจการแพทย์และสาธารณสุขของไทยเจริญก้าวหน้า อีกทั้งได้ประกาศยกย่องจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาลและการสาธารณสุข เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ในการวางรากฐานระบบการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุขของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าตราบจนทุกวันนี้
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : พระลาน
    วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๘ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวรมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศาสตราจารย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช และผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพุ่มดอกไม้ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รองศาสตราจารย์ นันทกร ทองแตง รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและองค์กรสัมพันธ์เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กราบบังคมทูลรายงาน และกราบบังคมทูลเบิกผู้ให้การสนับสนุนการจัดงาน ผู้มีอุปการคุณ และผู้ทำคุณประโยชน์ แก่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานโล่ที่ระลึกและของที่ระลึกตามลำดับ สมควรแก่เวลา จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ “วันมหิดล” ตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่งการสาธารณสุขไทย” ด้วยทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทรงอุทิศกำลังพระวรกาย และพระปรีชาสามารถ ตลอดจนทรัพย์สินส่วนพระองค์เพื่อการแพทย์ไทย ส่งผลให้กิจการแพทย์และสาธารณสุขของไทยเจริญก้าวหน้า อีกทั้งได้ประกาศยกย่องจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาลและการสาธารณสุข เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ในการวางรากฐานระบบการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุขของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าตราบจนทุกวันนี้ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : พระลาน
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 558 มุมมอง 0 รีวิว
  • #คิงส์นี้ใช่มั๊ยที่กำลังตามหา
    รายละเอียดดังนี้
    กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชันแนล (อังกฤษ: King Power International Group) เป็นบริษัทด้านธุรกิจค้าปลีกสินค้าปลอดอากรของไทย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2532 โดยวิชัย ศรีวัฒนประภา ใช้ชื่อเดิมว่า บริษัท ดาวน์ทาวน์ ดี.เอฟ.เอส (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ร่วมทุนกับ ททท. เปิดดำเนินกิจการร้านค้าปลอดอากรในเมืองเป็นรายแรกในประเทศไทย ณ อาคารมหาทุนพลาซ่า ถนนเพลินจิต ต่อมาในปี พ.ศ. 2536–2549 ได้รับสัมปทานจากการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ปัจจุบันคือ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)) เข้าบริหารร้านค้าปลอดภาษี ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง เชียงใหม่ ภูเก็ต และหาดใหญ่ ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท คิง เพาเวอร์ แท็กซ์ฟรี จำกัด และในปี พ.ศ. 2549 ได้เข้ามาดำเนินการสินค้าปลอดอากร ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทได้รับพระราชทานตราตั้งห้างครุฑ ตั้งอยู่ที่สำนักงานใหญ่ ถนนรางน้ำ เขตราชเทวี
    ถ้าไม่ใช่เดี๋ยวจะพยายามหามาให้อีกนะครับ
    รักทุกค๊นนน
    #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #คิงส์นี้ใช่มั๊ยที่กำลังตามหา รายละเอียดดังนี้ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชันแนล (อังกฤษ: King Power International Group) เป็นบริษัทด้านธุรกิจค้าปลีกสินค้าปลอดอากรของไทย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2532 โดยวิชัย ศรีวัฒนประภา ใช้ชื่อเดิมว่า บริษัท ดาวน์ทาวน์ ดี.เอฟ.เอส (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ร่วมทุนกับ ททท. เปิดดำเนินกิจการร้านค้าปลอดอากรในเมืองเป็นรายแรกในประเทศไทย ณ อาคารมหาทุนพลาซ่า ถนนเพลินจิต ต่อมาในปี พ.ศ. 2536–2549 ได้รับสัมปทานจากการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ปัจจุบันคือ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)) เข้าบริหารร้านค้าปลอดภาษี ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง เชียงใหม่ ภูเก็ต และหาดใหญ่ ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท คิง เพาเวอร์ แท็กซ์ฟรี จำกัด และในปี พ.ศ. 2549 ได้เข้ามาดำเนินการสินค้าปลอดอากร ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทได้รับพระราชทานตราตั้งห้างครุฑ ตั้งอยู่ที่สำนักงานใหญ่ ถนนรางน้ำ เขตราชเทวี ถ้าไม่ใช่เดี๋ยวจะพยายามหามาให้อีกนะครับ รักทุกค๊นนน #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Like
    Haha
    Love
    12
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 630 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในหลวง-พระราชินี ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม

    วันนี้ 21 กันยายน 2567 เวลา 15.33 น.
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัส หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดย นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม พร้อมด้วยข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่และข้ราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรมประจําสํานักงานศาลยุติธรรม เฝ้า ฯ รับเสด็จ

    เมื่อเสด็จเข้าพลับพลาพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา พระพุทธยุติธรรมโลกนาถ ประทับพระราชอาสน์ทรงศีล พระราชทานพระบรมราชวโรกาส และพระวโรกาสให้ นายภพ เอครพานิช และนายเผ้าพันธ์ ชอบน้ําตาล รองเลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี

    จากนั้น นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา กราบบังคมทูลรายงาน พร้อมขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญเสด็จ ฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์และทรงเปิดอาคารที่ทําการ สํานักงานศาลยุติธรรม

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกจากพลับพลาพิธี ไปยังมณฑลพิธีวางศิลาฤกษ์ ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมแผ่นอิฐ ทอง นาก เงิน แผ่นศิลาฤกษ์ แล้วทรงวางลงในหลุม เสด็จ ฯ ไปยัง แท่นพิธีทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายอาคารที่ทําการสํานักงานศาลยุติธรรม

    ต่อมาพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม กราบบังคมทูลเบิกข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมและผู้มีอุปการคุณ จํานวน 120 ราย เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากนั้น นายไกรสร โสมจันทร์ ผู้พิพากษาศาลอุทธร์ประจําสํานักประธาน ศาลฎีกาเข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายแผ่นศิลาเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลงพระนามาภิไธย

    เสร็จแล้วทรงกราบที่หน้าเครื่องนมัสการ ทรงลาพระสงฆ์เสด็จออกจากพลับพลาพิธี เข้าห้องประทับรับรองอาคารที่ทำการสํานักงานศาลยุติธรรม ชั้น 12 ทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลง พระนามาภิไธยในสมุดที่ระลึก แล้วทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม

    ทั้งนี้ สํานักงานศาลยุติธรรมเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระ มีอํานาจหน้าที่ เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม โดยเมื่อศาลได้แยกออกจากกระทรวงยุติธรรมตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แล้ว พระราชบัญญติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีผลบังคับใช้ จึงได้ก่อตั้งสํานักงานศาลยุติธรรมและเริ่มปฏิบัติภารกิจนับตั้งแต่วันนที่ 20 ส.ค. 2543 เป็นต้นมา โดยภารกิจสําคัญรับผิดชอบงานด้านธุรการของศาลยุติธรรม รวมทั้งการส่งเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรมทั่วประเทศเป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เท่าเทียม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ

    แต่เดิมสํานักงานศาลยุติธรรมได้ใช้อาคาร ร่วมกับอาคารที่ทําการศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจุตจักร กรุงเทพมหานคร กระทั่งวันที่ 11 ม.ค. 2567 สํานักงานศาลยุติธรรมได้ย้ายที่ทําการมายังอาคารสร้างใหม่ ขนาดใหญ่พิเศษ สูง 26 ชั้น เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก มีหน่วยงานสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ จํานวน 20 สํานัก/กอง โดยอาคารที่สร้างใหม่มีความกว้างขวาง สง่างาม ผสมผสานองค์ประกอบภูมิสถาปัตยกรรม ที่ทันสมัยแสดงถึงการดํารงอยู่ขององค์กรตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน ทั้งนํารูปแบบของ “ดอกบัวไทย” ที่สื่อถึงความบริสุทธิ์ มาประยุกต์ใช้ในแกนของอาคารเพื่อแสดงออกถึง การคุ้มครองความบริสุทธิ์ ยุติธรรม อันเป็นภารกิจสําคัญของศาลยุติธรรม ขณะที่ด้านหน้าอาคารมีแนวเสาขนาดใหญ่ประดับเรียงกันเหมือน อาคารศาลทั่วไปอันเป็นรูปแบบการเชื่อมโยงกับอาคารศาลหลังอื่น ๆ ที่ล้อมรอบบริเวณข้างเคียงกัน และตรงจุดเชื่อมการสัญจรชั้นล่างกับชั้น 1 ยังได้ออกแบบผนังประดับป้ายชื่ออาคารซึ่งเป็นนลักษณะ อาคารในยุคสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพื้นที่ภายในอาคารชั้น 1 มีส่วนที่เป็นลานกว้างเพื่อรองรับผู้ที่มาติดต่อ ราชการและใช้สอยอาคาร ขณะที่ความทันสมัยในการออกแบบยังคํานึงถึงการประหยัดพลังงาน เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทานมีอายุการใช้งานยาวนาน สามารถหาทดแทนได้ในอนาคตด้วย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    ในหลวง-พระราชินี ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม วันนี้ 21 กันยายน 2567 เวลา 15.33 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัส หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดย นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม พร้อมด้วยข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่และข้ราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรมประจําสํานักงานศาลยุติธรรม เฝ้า ฯ รับเสด็จ เมื่อเสด็จเข้าพลับพลาพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา พระพุทธยุติธรรมโลกนาถ ประทับพระราชอาสน์ทรงศีล พระราชทานพระบรมราชวโรกาส และพระวโรกาสให้ นายภพ เอครพานิช และนายเผ้าพันธ์ ชอบน้ําตาล รองเลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา กราบบังคมทูลรายงาน พร้อมขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญเสด็จ ฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์และทรงเปิดอาคารที่ทําการ สํานักงานศาลยุติธรรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกจากพลับพลาพิธี ไปยังมณฑลพิธีวางศิลาฤกษ์ ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมแผ่นอิฐ ทอง นาก เงิน แผ่นศิลาฤกษ์ แล้วทรงวางลงในหลุม เสด็จ ฯ ไปยัง แท่นพิธีทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายอาคารที่ทําการสํานักงานศาลยุติธรรม ต่อมาพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม กราบบังคมทูลเบิกข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมและผู้มีอุปการคุณ จํานวน 120 ราย เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากนั้น นายไกรสร โสมจันทร์ ผู้พิพากษาศาลอุทธร์ประจําสํานักประธาน ศาลฎีกาเข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายแผ่นศิลาเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลงพระนามาภิไธย เสร็จแล้วทรงกราบที่หน้าเครื่องนมัสการ ทรงลาพระสงฆ์เสด็จออกจากพลับพลาพิธี เข้าห้องประทับรับรองอาคารที่ทำการสํานักงานศาลยุติธรรม ชั้น 12 ทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลง พระนามาภิไธยในสมุดที่ระลึก แล้วทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ทั้งนี้ สํานักงานศาลยุติธรรมเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระ มีอํานาจหน้าที่ เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม โดยเมื่อศาลได้แยกออกจากกระทรวงยุติธรรมตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แล้ว พระราชบัญญติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีผลบังคับใช้ จึงได้ก่อตั้งสํานักงานศาลยุติธรรมและเริ่มปฏิบัติภารกิจนับตั้งแต่วันนที่ 20 ส.ค. 2543 เป็นต้นมา โดยภารกิจสําคัญรับผิดชอบงานด้านธุรการของศาลยุติธรรม รวมทั้งการส่งเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรมทั่วประเทศเป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เท่าเทียม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ แต่เดิมสํานักงานศาลยุติธรรมได้ใช้อาคาร ร่วมกับอาคารที่ทําการศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจุตจักร กรุงเทพมหานคร กระทั่งวันที่ 11 ม.ค. 2567 สํานักงานศาลยุติธรรมได้ย้ายที่ทําการมายังอาคารสร้างใหม่ ขนาดใหญ่พิเศษ สูง 26 ชั้น เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก มีหน่วยงานสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ จํานวน 20 สํานัก/กอง โดยอาคารที่สร้างใหม่มีความกว้างขวาง สง่างาม ผสมผสานองค์ประกอบภูมิสถาปัตยกรรม ที่ทันสมัยแสดงถึงการดํารงอยู่ขององค์กรตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน ทั้งนํารูปแบบของ “ดอกบัวไทย” ที่สื่อถึงความบริสุทธิ์ มาประยุกต์ใช้ในแกนของอาคารเพื่อแสดงออกถึง การคุ้มครองความบริสุทธิ์ ยุติธรรม อันเป็นภารกิจสําคัญของศาลยุติธรรม ขณะที่ด้านหน้าอาคารมีแนวเสาขนาดใหญ่ประดับเรียงกันเหมือน อาคารศาลทั่วไปอันเป็นรูปแบบการเชื่อมโยงกับอาคารศาลหลังอื่น ๆ ที่ล้อมรอบบริเวณข้างเคียงกัน และตรงจุดเชื่อมการสัญจรชั้นล่างกับชั้น 1 ยังได้ออกแบบผนังประดับป้ายชื่ออาคารซึ่งเป็นนลักษณะ อาคารในยุคสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพื้นที่ภายในอาคารชั้น 1 มีส่วนที่เป็นลานกว้างเพื่อรองรับผู้ที่มาติดต่อ ราชการและใช้สอยอาคาร ขณะที่ความทันสมัยในการออกแบบยังคํานึงถึงการประหยัดพลังงาน เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทานมีอายุการใช้งานยาวนาน สามารถหาทดแทนได้ในอนาคตด้วย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    Like
    10
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 554 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts