• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ฝึกหัดศึกษา​อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 673
    ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673
    เนื้อความทั้งหมด :-
    [--อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๔
    ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค (มี ๑๐ นิเทศ)
    ]​
    --อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. !
    ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบ ด้วยองค์แปดประการนี้นั่นเอง, ได้แก่
    ความเห็นถูกต้อง ความดำริถูกต้อง,
    การพูดจาถูกต้อง การทำการงานถูกต้อง การดำรงชีพถูกต้อง,
    ความพากเพียรถูกต้อง ความระลึกถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงถูกต้อง ;
    นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือ #ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ .-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=673
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ฝึกหัดศึกษา​อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 673 ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673 เนื้อความทั้งหมด :- [--อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค (มี ๑๐ นิเทศ) ]​ --อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบ ด้วยองค์แปดประการนี้นั่นเอง, ได้แก่ ความเห็นถูกต้อง ความดำริถูกต้อง, การพูดจาถูกต้อง การทำการงานถูกต้อง การดำรงชีพถูกต้อง, ความพากเพียรถูกต้อง ความระลึกถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงถูกต้อง ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือ #ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ .- http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501. http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑. http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=673 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๒
    -อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๒ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค ภาค ๔ มีเรื่อง : นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำมรรค ๒๙ เรื่อง นิทเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ ๗๗ เรื่อง นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วย สัมมาสังกัปปะ ๑๙ เรื่อง นิทเทศ ๑๖ ว่าด้วย สัมมาวาจา ๑๓ เรื่อง นิทเทศ ๑๗ ว่าด้วย สัมมากัมมันตะ ๘ เรื่อง นิทเทศ ๑๘ ว่าด้วย สัมมาอาชีวะ ๑๖ เรื่อง นิทเทศ ๑๙ ว่าด้วย สัมมาวายามะ ๒๖ เรื่อง นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ ๔๑ เรื่อง นิทเทศ ๒๑ ว่าด้วย สัมมาสมาธิ ๕๑ เรื่อง นิทเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปมรรค ๗๕ เรื่อง อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค (มี ๑๐ นิเทศ) อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบ ด้วยองค์แปดประการนี้นั่นเอง, ได้แก่ ความเห็นถูกต้อง ความดำริถูกต้อง การพูดจาถูกต้อง การทำการงานถูกต้อง การดำรงชีพถูกต้อง ความพากเพียรถูกต้อง ความระลึกถูกต้อง ความตั้งใจมั่นคงถูกต้อง ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 75 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    สัทธรรมลำดับที่ : 1039
    ชื่อบทธรรม :- ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ
    สี่อย่างคือ :-
    ทุกขอริยสัจ
    ทุกขสมุทยอริยสัจ
    ทุกขนิโรธอริยสัจ
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง.

    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่,
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. !
    อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เจริญนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้.
    พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง
    ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;”
    ดังนี้เถิด.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1039
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี สัทธรรมลำดับที่ : 1039 ชื่อบทธรรม :- ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ สี่อย่างคือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เจริญนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้. พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;” ดังนี้เถิด.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709. http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1039 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    -(ก่อนแต่จะตรัสเรื่องนี้ ได้ตรัสถึงการที่พระองค์ได้เป็นราชฤาษีในกาลก่อน กล่าวสอนวัตรปฏิบัติที่เป็นไปเพียงเพื่อพรหมโลก ไม่ถึงนิพพาน ก็ยังมีผู้พากันปฏิบัติตาม. ส่วนกัลยาณวัตรนี้เป็นไปเพื่อนิพพาน จึงควรที่คนทั้งหลายจะพึงปฏิบัติตาม. อีกข้อหนึ่ง ที่พวกเราควรจะให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่งนั้น คือข้อที่พวกเราอย่าเป็นพวกสุดท้ายแห่งการประพฤติ กัลยาณวัตรนี้ ตามพระพุทธประสงค์). ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสุจที่ใครๆ ควร รอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่. ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เกิดมีนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้. พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;” ดังนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยบุคคลพึงศึกษาว่าวิภาค(รายละเอียด)​แห่งปฏิจจสมุปบาท
    สัทธรรมลำดับที่ : 286
    ชื่อบทธรรม :- วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ;
    เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ;
    เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;--
    เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ;
    เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ;
    เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์(ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย)​ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย
    --ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว
    ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ
    ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ;
    +-นี้เรียกว่า #ชรา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรา
    --ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย
    การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต
    จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ;
    นี้ เรียกว่า #มรณะ ;
    ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชรามรณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรามรณ
    --ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง
    ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย
    ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชาติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ภโว
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน
    และอัตตวาทุปาทาน.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อุปาทาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=อุปาทา
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ตณฺหา
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=ผสฺส
    --ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อายตนะหก(สฬายตนํ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สฬายตนํ
    --ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ.
    นี้ เรียกว่า #นาม.
    รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย.
    นี้ เรียกว่า #รูป.
    ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #นามรูป.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=นามรูป
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ
    วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย
    และวิญญาณทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=วิญฺญาณ
    --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร.
    +-ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สงฺขาร
    --ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด
    เป็นความไม่รู้ในทุกข์,
    เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์,
    เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    เป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อวิชชา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=อวิชฺชา
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ,
    เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ;
    เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ;
    เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;
    เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ;
    เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ;
    เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย
    ด้วยอาการอย่างนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/2-5/5-18.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/2/?keywords=%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒-๕/๕-๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=286
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยบุคคลพึงศึกษาว่าวิภาค(รายละเอียด)​แห่งปฏิจจสมุปบาท สัทธรรมลำดับที่ : 286 ชื่อบทธรรม :- วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286 เนื้อความทั้งหมด :- --วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;-- เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์(ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย)​ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย --ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; +-นี้เรียกว่า #ชรา. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรา --ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้ เรียกว่า #มรณะ ; ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชรามรณะ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรามรณ --ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชาติ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชาติ --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ภโว --ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อุปาทาน. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=อุปาทา --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ตณฺหา --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=เวทนา --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=ผสฺส --ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อายตนะหก(สฬายตนํ)​. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สฬายตนํ --ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ. นี้ เรียกว่า #นาม. รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย. นี้ เรียกว่า #รูป. ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #นามรูป. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=นามรูป --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และวิญญาณทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=วิญฺญาณ --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร. +-ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สงฺขาร --ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด เป็นความไม่รู้ในทุกข์, เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์, เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, และ เป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อวิชชา. http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=อวิชฺชา --ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ, เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย ด้วยอาการอย่างนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/2-5/5-18. http://etipitaka.com/read/thai/16/2/?keywords=%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒-๕/๕-๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=286 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    -วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้เรียกว่า ชรา. ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้ เรียกว่า มรณะ ; ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ชรามรณะ. ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ชาติ. ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ภพ. ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า อุปาทาน. ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ตัณหา. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า เวทนา. ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่าอายตนะหก. ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ. นี้ เรียกว่า นาม. รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย. นี้ เรียกว่า รูป. ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า นามรูป. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และวิญญาณทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด เป็นความไม่รู้ในทุกข์, เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์, เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, ละเป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า อวิชชา. ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ, เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะ อุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 271 มุมมอง 0 รีวิว
  • เพราะไม่รู้อริยสัจทั้งสี่ สัตว์โลกธาตุนี้จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ
    สัทธรรมลำดับที่ : 4
    ชื่อบทธรรม :- เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=63
    เนื้อความทั้งหมด :- เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ
    --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่งอริยสัจสี่อย่าง,
    เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ
    ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจสี่อย่าง เหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่ง
    อริยสัจคือ ทุกข์,
    อริยสัจคือ เหตุให้เกิดทุกข์,
    อริยสัจคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ และ
    อริยสัจคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ ;
    เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ
    ตลอดกาล ยืดยาวนานถึงเพียงนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่ออริยสัจ คือ
    ทุกข์,
    เหตุให้เกิดทุกข์,
    ความดับไม่เหลือของทุกข์ และ
    ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์,
    เป็นความจริงที่เราและพวกเธอทั้งหลาย รู้ถึง และแทงตลอดแล้ว ;
    ตัณหาในภพ ก็ถูกถอนขึ้นขาดตัณหาที่จะนำไปสู่ภพ ก็สิ้นไปหมด
    บัดนี้ความต้องเกิดขึ้นอีก มิได้มี ;
    ดังนี้.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/428/1698.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/428/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๑/๑๖๙๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/541/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=63
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=1&id=4
    ลำดับสาธยายธรรม : 1 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_01.mp3
    เพราะไม่รู้อริยสัจทั้งสี่ สัตว์โลกธาตุนี้จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ สัทธรรมลำดับที่ : 4 ชื่อบทธรรม :- เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=63 เนื้อความทั้งหมด :- เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่งอริยสัจสี่อย่าง, เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้. --ภิกษุ ท. ! อริยสัจสี่อย่าง เหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่ง อริยสัจคือ ทุกข์, อริยสัจคือ เหตุให้เกิดทุกข์, อริยสัจคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ และ อริยสัจคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ ; เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ ตลอดกาล ยืดยาวนานถึงเพียงนี้. --ภิกษุ ท. ! เมื่ออริยสัจ คือ ทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ความดับไม่เหลือของทุกข์ และ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, เป็นความจริงที่เราและพวกเธอทั้งหลาย รู้ถึง และแทงตลอดแล้ว ; ตัณหาในภพ ก็ถูกถอนขึ้นขาดตัณหาที่จะนำไปสู่ภพ ก็สิ้นไปหมด บัดนี้ความต้องเกิดขึ้นอีก มิได้มี ; ดังนี้.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/428/1698. http://etipitaka.com/read/thai/19/428/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๑/๑๖๙๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/541/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=63 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=1&id=4 ลำดับสาธยายธรรม : 1 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_01.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การรู้จักอันตคาหิกทิฏฐิไม่เกี่ยวกับ
    -การรู้จักอันตคาหิกทิฏฐิไม่เกี่ยวกับ การรู้อริยสัจและการประพฤติพรหมจรรย์ มาลุงก๎ยบุตร ! อะไรเล่า เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์ ? มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “โลกเที่ยง” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “โลกไม่เที่ยง” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “โลกมีที่สิ้นสุด” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “โลกไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีก” ดังนี้เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมไม่มีอีก” ดังนี้เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็มี ไม่มีอีกก็มี” ดังนี้ เป็นสิ่งเราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! ทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็หามิได้ ไม่มีอีกก็หามิได้” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! เพราะเหตุไร นั่นจึงเป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์ ? เพราะเหตุว่า นั่นไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปพร้อมเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับ ความระงับ ความรู้ยิ่งความรู้พร้อม และนิพพาน, เหตุนั้น นั่นจึงเป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! อะไรเล่า เป็นสิ่งที่เราพยากรณ์ ? มาลุงก๎ยบุตร ! สัจจะว่า “นี้ ความทุกข์” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราพยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! สัจจะว่า “นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราพยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! สัจจะว่า “นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราพยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! สัจจะว่า “นี้ ทางเดินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” ดังนี้ เป็นสิ่งที่เราพยากรณ์. มาลุงก๎ยบุตร ! เพราะเหตุไร นั่นจึงเป็นสิ่งที่เราพยากรณ์ ? เพราะเหตุว่า นั่น ประกอบด้วยประโยชน์ นั่น เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ นั่นเป็นไปพร้อมเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับไม่เหลือ ความระงับความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม และนิพพาน, เหตุนั้น นั่นเราจึงพยากรณ์. มาลุงกย๎บุตร ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ เธอจงถือเอาสิ่งที่เราไม่พยากรณ์ โดยความเป็นสิ่งที่เราไม่พยากรณ์ และสิ่งที่เราพยากรณ์โดยความเป็นสิ่งที่เราพยากรณ์ ดังนี้เถิด. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า “โลกเที่ยง” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้ ; เมื่อทิฏฐิว่า “โลกไม่เที่ยง” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้อีกนั่นเอง. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า โลกเที่ยง หรือว่า โลกไม่เที่ยง ก็ตาม มีอยู่ ; ชาติก็ยังมี ชราก็ยังมีมรณะก็ยังมี, โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย ก็ยังมี, อันเป็น สิ่งที่เราบัญญัติการกำจัดมันเสียในทิฏฐธรรมนี้. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า “โลกมีที่สิ้นสุด” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้ ; เมื่อทิฏฐิว่า “โลกไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้อีกนั่นเอง. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า โลกมีที่สิ้นสุด หรือว่า โลกไม่มีที่สิ้นสุด ก็ตาม มีอยู่ ; ชาติก็ยังมี ชราก็ยังมี มรณะก็ยังมี, โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลายก็ยังมี, อันเป็นสิ่งที่เราบัญญัติการกำจัดมันเสียในทิฏฐธรรมนี้. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า “ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้ ; เมื่อทิฏฐิว่า “ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้อีกนั่นเอง. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า ชีวะก็อันนั้นสรีระก็อันนั้น หรือว่าชีวะก็ อันอื่น สรีระก็อันอื่น ก็ตาม มีอยู่, ชาติก็ยังมี ชราก็ยังมี มรณะก็ยังมี, โสกะปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย ก็ยังมี, อันเป็นสิ่งที่เราบัญญัติการ กำจัดมันเสียในทิฏฐธรรมนี้. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้ ; เมื่อทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมไม่มีอีก” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้อีกนั่นเอง. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก หรือว่า ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมไม่มีอีก ก็ตามมีอยู่ ; ชาติก็ยังมี ชราก็ยังมี มรณะก็ยังมี, โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย ก็ยังมี, อันเป็นสิ่งที่เราบัญญัติการกำจัดมันเสียในทิฏฐธรรมนี้. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีก ก็มีไม่มีอีกก็มี” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้ ;nเมื่อทิฏฐิว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้” ดังนี้ มีอยู่, มันจะเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ขึ้นมาก็หามิได้อยู่นั่นเอง. มาลุงก๎ยบุตร ! เมื่อทิฏฐิว่า ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีกก็มีไม่มีอีกก็มี หรือว่า ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีกก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้ ก็ตาม มีอยู่ ; ชาติก็ยังมี ชราก็ยังมี มรณะก็ยังมี, โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย ก็ยังมี, อันเป็นสิ่งที่เราบัญญัติการกำจัดมันเสียในทิฏฐธรรมนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 216
    ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์,
    และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์”
    ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง
    ความเกิด เป็นทุกข์,
    ความแก่ เป็นทุกข์,
    ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์,
    ความตาย เป็นทุกข์,
    ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์,
    ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ;
    กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่,
    ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่,
    ที่คลายช้า มีอยู่,
    และที่คลายเร็ว มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้
    ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว
    ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ;
    หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า
    “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น
    ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 216 ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 เนื้อความทั้งหมด :- ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒
    -นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์ จบ นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ (มี ๑๘ เรื่อง) หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ความเป็นต่างกันของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ผลของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 352 มุมมอง 0 รีวิว