• สตง.มาแปลกบี้ EXIM BANK สอบจ่ายเงินแม่บ้าน-คนขับรถ

    องค์กรที่ถูกสังคมเคลือบแคลงสงสัยถึงความโปร่งใส หลังโครงการอาคารสำนักงานถล่ม คนงานเสียชีวิตเกือบ 100 ศพ เฉกเช่นสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หลังส่งหนังสือถึงผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) ขอตรวจสอบการใช้เงินงบประมาณของกองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบคดีตึก สตง.ถล่มไปก่อนหน้านี้ ล่าสุดเกิดเรื่องวุ่นวายกับธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) หรือเอ็กซิมแบงก์ (EXIM BANK) เมื่อ สตง. สั่งให้เอ็กซิมแบงก์แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนความผิดทางวินัย และคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด แก่พนักงาน 22 คน (ไม่รวมกรรมการผู้จัดการใหญ่) กรณีจ่ายเงินช่วยเหลือรายเดือนให้กับบุคคลที่มิใช่พนักงานของเอ็กซิมแบงก์ ประกอบด้วย ผู้จัดการสาขาสำนักงานใหญ่ สาขาทั้งในกรุงเทพฯ ต่างจังหวัด รวม 9 แห่ง และพนักงานธุรการที่เกี่ยวข้อง

    สืบเนื่องมาจากในอดีต ธนาคารฯ มีการจ้างพนักงานภายนอก หรือเอาต์ซอร์ส (Outsource) บางกลุ่ม เช่น พนักงานทำความสะอาด พนักงานเดินเอกสารภายในสำนักงาน พนักงานรับ-ส่งเอกสาร และพนักงานขับรถ ผ่านทางบริษัทภายนอก แต่ทางธนาคารฯ ในยุคนั้นมีความเห็นใจว่า พนักงานกลุ่มนี้ได้เงินค่าตอบแทนน้อย หากจะจ่ายผ่านบริษัทฯ จะไม่ถึงมือพนักงาน ทำให้ในสมัยที่ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการเอ็กซิมแบงก์ ได้มีการอนุมัติให้จ่ายเงินช่วยเหลือแก่พนักงานกลุ่มนี้โดยตรงมาตั้งแต่ปี 2537 เดือนละประมาณ 800 ถึง 1,500 บาท โดยทางธนาคารฯ จะออกคำสั่งให้ผู้จัดการธนาคารแต่ละสาขาดำเนินการจ่ายเงินก้อนนี้มาทุกปี และมีการทำเช่นนี้เป็นธรรมเนียมเรื่อยมา

    ผ่านมาเกือบ 30 ปี เมื่อปี 2567 สตง. ตรวจสอบบัญชีเอ็กซิมแบงก์ ก่อนระบุว่าการจ่ายเงินบุคคลที่มิใช่พนักงานของเอ็กซิมแบงก์ ในปีงบประมาณ 2565 ไม่เป็นไปตามกฎหมายวินัยการเงินการคลัง และสั่งการให้ธนาคารฯ เอาผิดทางวินัยกลุ่มพนักงาน 22 คน ทั้งที่ทั้งหมดทำตามบันทึกภายในที่อนุมัติโดยกรรมการผู้จัดการในอดีต และทำกันมานาน แม้ว่าเอ็กซิมแบงก์จะทำหนังสือชี้แจง แต่เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. สตง. สั่งการให้ธนาคารฯ ต้องเอาผิดพนักงานกลุ่มดังกล่าวทั้งหมด ภายใน 30 วัน อ้างว่าทำให้รัฐเสียหาย 2.87 ล้านบาท ไม่เช่นนั้นจะเสนอคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) ลงโทษทางปกครอง ทำให้ธนาคารฯ ตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริง และให้พนักงานกลุ่มดังกล่าวชี้แจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมภายใน 7 วัน ซึ่งเป็นเวลากระชั้นชิด ขณะนี้พนักงานทั้งหมดได้ทำหนังสือขอขยายเวลาชี้แจง รวมถึงขอความเป็นธรรมแล้ว

    #Newskit
    สตง.มาแปลกบี้ EXIM BANK สอบจ่ายเงินแม่บ้าน-คนขับรถ องค์กรที่ถูกสังคมเคลือบแคลงสงสัยถึงความโปร่งใส หลังโครงการอาคารสำนักงานถล่ม คนงานเสียชีวิตเกือบ 100 ศพ เฉกเช่นสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หลังส่งหนังสือถึงผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) ขอตรวจสอบการใช้เงินงบประมาณของกองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบคดีตึก สตง.ถล่มไปก่อนหน้านี้ ล่าสุดเกิดเรื่องวุ่นวายกับธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) หรือเอ็กซิมแบงก์ (EXIM BANK) เมื่อ สตง. สั่งให้เอ็กซิมแบงก์แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนความผิดทางวินัย และคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด แก่พนักงาน 22 คน (ไม่รวมกรรมการผู้จัดการใหญ่) กรณีจ่ายเงินช่วยเหลือรายเดือนให้กับบุคคลที่มิใช่พนักงานของเอ็กซิมแบงก์ ประกอบด้วย ผู้จัดการสาขาสำนักงานใหญ่ สาขาทั้งในกรุงเทพฯ ต่างจังหวัด รวม 9 แห่ง และพนักงานธุรการที่เกี่ยวข้อง สืบเนื่องมาจากในอดีต ธนาคารฯ มีการจ้างพนักงานภายนอก หรือเอาต์ซอร์ส (Outsource) บางกลุ่ม เช่น พนักงานทำความสะอาด พนักงานเดินเอกสารภายในสำนักงาน พนักงานรับ-ส่งเอกสาร และพนักงานขับรถ ผ่านทางบริษัทภายนอก แต่ทางธนาคารฯ ในยุคนั้นมีความเห็นใจว่า พนักงานกลุ่มนี้ได้เงินค่าตอบแทนน้อย หากจะจ่ายผ่านบริษัทฯ จะไม่ถึงมือพนักงาน ทำให้ในสมัยที่ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการเอ็กซิมแบงก์ ได้มีการอนุมัติให้จ่ายเงินช่วยเหลือแก่พนักงานกลุ่มนี้โดยตรงมาตั้งแต่ปี 2537 เดือนละประมาณ 800 ถึง 1,500 บาท โดยทางธนาคารฯ จะออกคำสั่งให้ผู้จัดการธนาคารแต่ละสาขาดำเนินการจ่ายเงินก้อนนี้มาทุกปี และมีการทำเช่นนี้เป็นธรรมเนียมเรื่อยมา ผ่านมาเกือบ 30 ปี เมื่อปี 2567 สตง. ตรวจสอบบัญชีเอ็กซิมแบงก์ ก่อนระบุว่าการจ่ายเงินบุคคลที่มิใช่พนักงานของเอ็กซิมแบงก์ ในปีงบประมาณ 2565 ไม่เป็นไปตามกฎหมายวินัยการเงินการคลัง และสั่งการให้ธนาคารฯ เอาผิดทางวินัยกลุ่มพนักงาน 22 คน ทั้งที่ทั้งหมดทำตามบันทึกภายในที่อนุมัติโดยกรรมการผู้จัดการในอดีต และทำกันมานาน แม้ว่าเอ็กซิมแบงก์จะทำหนังสือชี้แจง แต่เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. สตง. สั่งการให้ธนาคารฯ ต้องเอาผิดพนักงานกลุ่มดังกล่าวทั้งหมด ภายใน 30 วัน อ้างว่าทำให้รัฐเสียหาย 2.87 ล้านบาท ไม่เช่นนั้นจะเสนอคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) ลงโทษทางปกครอง ทำให้ธนาคารฯ ตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริง และให้พนักงานกลุ่มดังกล่าวชี้แจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมภายใน 7 วัน ซึ่งเป็นเวลากระชั้นชิด ขณะนี้พนักงานทั้งหมดได้ทำหนังสือขอขยายเวลาชี้แจง รวมถึงขอความเป็นธรรมแล้ว #Newskit
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • เงินเฟ้อช่วยลดหนี้ได้จริงเหรอ ?
    เงินเฟ้อช่วยลดหนี้ได้จริงเหรอ ?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 11 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • นอกจากความหิวโหย โดนคำสั่งให้อพยพย้ายถิ่นฐานไปเรื่อยๆ นี่คืออีกหนึ่งความเลวร้ายที่ชีวิตของชาวปาเลสไตน์ต้องเจอในทุกๆวัน

    ทหารอิสราเอลยืนดูด้วยความสนุกสนานขณะที่ชาวปาเลสไตน์ที่หิวโหย กำลังเข้าไปแย่งอาหารจากรถบรรทุกความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

    ใครที่แข็งแกร่งก็สามารถแย่งอาหารเหล่านั้นมาได้ ส่วนใครที่อ่อนแอจะถูกทำร้าย บ้างก็ถูกเหยียบย่ำจนตาย
    นอกจากความหิวโหย โดนคำสั่งให้อพยพย้ายถิ่นฐานไปเรื่อยๆ นี่คืออีกหนึ่งความเลวร้ายที่ชีวิตของชาวปาเลสไตน์ต้องเจอในทุกๆวัน ทหารอิสราเอลยืนดูด้วยความสนุกสนานขณะที่ชาวปาเลสไตน์ที่หิวโหย กำลังเข้าไปแย่งอาหารจากรถบรรทุกความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ใครที่แข็งแกร่งก็สามารถแย่งอาหารเหล่านั้นมาได้ ส่วนใครที่อ่อนแอจะถูกทำร้าย บ้างก็ถูกเหยียบย่ำจนตาย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • 1/
    เทคโนโลยีโดรนก้าวหน้าไปอีกขั้น

    วิดีโอ 1 - ในประเทศจีนสามารถสร้างโดรนที่สามารถบินได้ในทุกสภาพภูมิประเทศทั้งผิวน้ำ ใต้น้ำ บินในอากาศ และบนบกได้

    วิดีโอ 2 - อันเดรย์ โคปาซี (Andrei Copaci) นักศึกษาระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยอัลบอร์ก ประเทศเดนมาร์ก ได้สร้างโดรนไฮบริดที่สามารถบินได้ทั้งใต้น้ำและบนอากาศ โคปาซีใช้เพียงแค่คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปในการเขียนโค้ดคำสั่ง ร่วมกับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เขาทำงานร่วมกับศาสตราจารย์เปตาร์ ดูร์เดวิช (Petar Durdevic) อาจารย์ที่ปรึกษา โดยกล่าวว่าแบบของโดรนจะถูกเปิดเผยต่อสาธารณะหลังจากรายละเอียดในขั้นตอนสุดท้ายบางส่วนเสร็จสิ้นแล้ว
    1/ เทคโนโลยีโดรนก้าวหน้าไปอีกขั้น วิดีโอ 1 - ในประเทศจีนสามารถสร้างโดรนที่สามารถบินได้ในทุกสภาพภูมิประเทศทั้งผิวน้ำ ใต้น้ำ บินในอากาศ และบนบกได้ วิดีโอ 2 - อันเดรย์ โคปาซี (Andrei Copaci) นักศึกษาระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยอัลบอร์ก ประเทศเดนมาร์ก ได้สร้างโดรนไฮบริดที่สามารถบินได้ทั้งใต้น้ำและบนอากาศ โคปาซีใช้เพียงแค่คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปในการเขียนโค้ดคำสั่ง ร่วมกับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เขาทำงานร่วมกับศาสตราจารย์เปตาร์ ดูร์เดวิช (Petar Durdevic) อาจารย์ที่ปรึกษา โดยกล่าวว่าแบบของโดรนจะถูกเปิดเผยต่อสาธารณะหลังจากรายละเอียดในขั้นตอนสุดท้ายบางส่วนเสร็จสิ้นแล้ว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • 2/
    เทคโนโลยีโดรนก้าวหน้าไปอีกขั้น

    วิดีโอ 1 - ในประเทศจีนสามารถสร้างโดรนที่สามารถบินได้ในทุกสภาพภูมิประเทศทั้งผิวน้ำ ใต้น้ำ บินในอากาศ และบนบกได้

    วิดีโอ 2 - อันเดรย์ โคปาซี (Andrei Copaci) นักศึกษาระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยอัลบอร์ก ประเทศเดนมาร์ก ได้สร้างโดรนไฮบริดที่สามารถบินได้ทั้งใต้น้ำและบนอากาศ โคปาซีใช้เพียงแค่คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปในการเขียนโค้ดคำสั่ง ร่วมกับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เขาทำงานร่วมกับศาสตราจารย์เปตาร์ ดูร์เดวิช (Petar Durdevic) อาจารย์ที่ปรึกษา โดยกล่าวว่าแบบของโดรนจะถูกเปิดเผยต่อสาธารณะหลังจากรายละเอียดในขั้นตอนสุดท้ายบางส่วนเสร็จสิ้นแล้ว
    2/ เทคโนโลยีโดรนก้าวหน้าไปอีกขั้น วิดีโอ 1 - ในประเทศจีนสามารถสร้างโดรนที่สามารถบินได้ในทุกสภาพภูมิประเทศทั้งผิวน้ำ ใต้น้ำ บินในอากาศ และบนบกได้ วิดีโอ 2 - อันเดรย์ โคปาซี (Andrei Copaci) นักศึกษาระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยอัลบอร์ก ประเทศเดนมาร์ก ได้สร้างโดรนไฮบริดที่สามารถบินได้ทั้งใต้น้ำและบนอากาศ โคปาซีใช้เพียงแค่คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปในการเขียนโค้ดคำสั่ง ร่วมกับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เขาทำงานร่วมกับศาสตราจารย์เปตาร์ ดูร์เดวิช (Petar Durdevic) อาจารย์ที่ปรึกษา โดยกล่าวว่าแบบของโดรนจะถูกเปิดเผยต่อสาธารณะหลังจากรายละเอียดในขั้นตอนสุดท้ายบางส่วนเสร็จสิ้นแล้ว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • โจห์ โลว์ นักธุรกิจผู้อื้อฉาว ซุกเชี่ยงไฮ้-ใช้ชื่อปลอม

    โจห์ โลว์ (Jho Low) หรือ โลว์ เต็ก โจห์ (Low Taek Jho) นักธุรกิจชาวปีนัง ประเทศมาเลเซียวัย 43 ปี ในฐานะผู้ต้องหาหลบหนีคดีทุจริตยักยอกเงินกองทุนวันเอ็มดีบี (1MDB) กองทุนพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาวของมาเลเซีย 4,500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่ตำรวจสากล (Interpol) ต้องการตัวมาตั้งแต่ปี 2561 ล่าสุดสองนักข่าวสายสืบสวนอย่าง แบรดลีย์ โฮป (Bradley Hope) และ ทอม ไรต์ (Tom Wright) เปิดเผยผ่านพอดแคสต์ Finding Jho Low เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (18 ก.ค.) ว่ายังคงใช้ชีวิตอย่างหรูหราในเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน และใช้หนังสือเดินทางปลอมของออสเตรเลีย

    ทั้งสองอ้างว่า อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย นาจิบ ราซัค แนะนำให้โลว์หลบหนีออกนอกประเทศเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ แม้จะเป็นผู้ต้องหาหลบหนีคดี แต่ก็ใช้ชีวิตอย่างสุขสบายในย่านกรีนฮิลล์ (Green Hills) ซึ่งเป็นย่านเศรษฐี มีบ้านสไตล์อเมริกันและเป็นที่นิยมในหมู่ชาวต่างชาติ รวมทั้งขับรถยนต์หรู และมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยชาวจีน 2 คนคอยดูแล นอกจากนี้ ยังเปิดเผยเอกสารที่ได้รับมาใหม่ เป็นหนังสือเดินทางปลอมของออสเตรเลีย ใช้ชื่อภาษากรีกว่า คอนสเตนติโนส อคิลลีส (Constantinos Achilles) อีกด้วย

    อย่างไรก็ตาม รายงานข่าวของสำนักข่าวเบอร์นามา ระบุว่า นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย อันวาร์ อิบราฮิม ไม่ทราบอย่างเป็นทางการว่า โจห์ โลว์ หนีไปประเทศจีน ต้องตรวจสอบกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก่อน ส่วนสำนักข่าวเอบีซีนิวส์ของออสเตรเลีย ติดต่อไปยังกระทรวงการต่างประเทศและการค้า (DFAT) และตำรวจสหพันธรัฐออสเตรเลียเพื่อสอบถามเพิ่มเติม กลับไม่ยืนยันว่าทราบเรื่องนี้หรือไม่ ซึ่งที่ผ่านมาออสเตรเลียเคยขับไล่ทูตอิสราเอลออกไปเมื่อปี 2553 เพราะหน่วยข่าวกรองของอิสราเอล (Mossad) ใช้หนังสือเดินทางออสเตรเลียปลอมลอบ สังหารผู้นำระดับสูงของกลุ่มฮามาสในดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

    สำหรับโจห์ โลว์ ได้ชื่อว่าเป็นนักธุรกิจเพลย์บอยคนหนึ่งในมาเลเซีย ยักยอกเงินกองทุนวันเอ็มดีบีไปซื้ออสังหาริมทรัพย์หรูหราในสหรัฐฯ รวมถึงงานศิลปะ เครื่องบินเจ็ตส่วนตัว และเรือยอทช์สุดหรูที่ชื่อว่า อีควลนิมิตี (Equanimity) ซึ่งถูกทางการอินโดนีเซียกักบริเวณนอกชายฝั่งเกาะบาหลี ก่อนขายทอดตลาดและนำเงินคืนรัฐบาลมาเลเซีย รวมทั้งสนับสนุนการสร้างภาพยนตร์ The Wolf of Wall Street (คนจะรวย ช่วยไม่ได้) ในปี 2556 นำแสดงโดย ลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ ซึ่งต่อมากระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ อ้างว่าได้รับเงินทุนจากเงินมาเลเซียที่ยักยอกมา ปัจจุบันยังคงถูกทางการมาเลเซีย สิงคโปร์ และสหรัฐฯ ออกหมายจับ

    #Newskit
    โจห์ โลว์ นักธุรกิจผู้อื้อฉาว ซุกเชี่ยงไฮ้-ใช้ชื่อปลอม โจห์ โลว์ (Jho Low) หรือ โลว์ เต็ก โจห์ (Low Taek Jho) นักธุรกิจชาวปีนัง ประเทศมาเลเซียวัย 43 ปี ในฐานะผู้ต้องหาหลบหนีคดีทุจริตยักยอกเงินกองทุนวันเอ็มดีบี (1MDB) กองทุนพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาวของมาเลเซีย 4,500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่ตำรวจสากล (Interpol) ต้องการตัวมาตั้งแต่ปี 2561 ล่าสุดสองนักข่าวสายสืบสวนอย่าง แบรดลีย์ โฮป (Bradley Hope) และ ทอม ไรต์ (Tom Wright) เปิดเผยผ่านพอดแคสต์ Finding Jho Low เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (18 ก.ค.) ว่ายังคงใช้ชีวิตอย่างหรูหราในเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน และใช้หนังสือเดินทางปลอมของออสเตรเลีย ทั้งสองอ้างว่า อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย นาจิบ ราซัค แนะนำให้โลว์หลบหนีออกนอกประเทศเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ แม้จะเป็นผู้ต้องหาหลบหนีคดี แต่ก็ใช้ชีวิตอย่างสุขสบายในย่านกรีนฮิลล์ (Green Hills) ซึ่งเป็นย่านเศรษฐี มีบ้านสไตล์อเมริกันและเป็นที่นิยมในหมู่ชาวต่างชาติ รวมทั้งขับรถยนต์หรู และมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยชาวจีน 2 คนคอยดูแล นอกจากนี้ ยังเปิดเผยเอกสารที่ได้รับมาใหม่ เป็นหนังสือเดินทางปลอมของออสเตรเลีย ใช้ชื่อภาษากรีกว่า คอนสเตนติโนส อคิลลีส (Constantinos Achilles) อีกด้วย อย่างไรก็ตาม รายงานข่าวของสำนักข่าวเบอร์นามา ระบุว่า นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย อันวาร์ อิบราฮิม ไม่ทราบอย่างเป็นทางการว่า โจห์ โลว์ หนีไปประเทศจีน ต้องตรวจสอบกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก่อน ส่วนสำนักข่าวเอบีซีนิวส์ของออสเตรเลีย ติดต่อไปยังกระทรวงการต่างประเทศและการค้า (DFAT) และตำรวจสหพันธรัฐออสเตรเลียเพื่อสอบถามเพิ่มเติม กลับไม่ยืนยันว่าทราบเรื่องนี้หรือไม่ ซึ่งที่ผ่านมาออสเตรเลียเคยขับไล่ทูตอิสราเอลออกไปเมื่อปี 2553 เพราะหน่วยข่าวกรองของอิสราเอล (Mossad) ใช้หนังสือเดินทางออสเตรเลียปลอมลอบ สังหารผู้นำระดับสูงของกลุ่มฮามาสในดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สำหรับโจห์ โลว์ ได้ชื่อว่าเป็นนักธุรกิจเพลย์บอยคนหนึ่งในมาเลเซีย ยักยอกเงินกองทุนวันเอ็มดีบีไปซื้ออสังหาริมทรัพย์หรูหราในสหรัฐฯ รวมถึงงานศิลปะ เครื่องบินเจ็ตส่วนตัว และเรือยอทช์สุดหรูที่ชื่อว่า อีควลนิมิตี (Equanimity) ซึ่งถูกทางการอินโดนีเซียกักบริเวณนอกชายฝั่งเกาะบาหลี ก่อนขายทอดตลาดและนำเงินคืนรัฐบาลมาเลเซีย รวมทั้งสนับสนุนการสร้างภาพยนตร์ The Wolf of Wall Street (คนจะรวย ช่วยไม่ได้) ในปี 2556 นำแสดงโดย ลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ ซึ่งต่อมากระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ อ้างว่าได้รับเงินทุนจากเงินมาเลเซียที่ยักยอกมา ปัจจุบันยังคงถูกทางการมาเลเซีย สิงคโปร์ และสหรัฐฯ ออกหมายจับ #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว
  • หนึ่งในใบหน้าที่คนเห็นมากที่สุดในประวัติศาสตร์

    เจนนี โจเซฟ (Jenny Joseph) ศิลปินกราฟิกวัย 28 ปีของ The Times-Picayune (หนังสือพิมพ์อเมริกันที่ตีพิมพ์ในนิวออร์ลีนส์ รัฐลุยเซียนา) ในช่วงเวลาที่ Columbia Pictures ต้องการนางแบบโลโก้ใหม่ในปี 1992 (พ.ศ.2535) แม้เธอไม่เคยเป็นนางแบบมาก่อน แต่ตกลงช่วยในช่วงพักกลางวัน

    ทีมงานคลุมผ้าให้เธอ และให้ถือโคมไฟตั้งโต๊ะธรรมดา แล้วโพสท่าถ่ายรูป จากนั้นศิลปินก็ใช้ภาพอ้างอิงเหล่านั้นมาวาดเป็นโลโก้ นับเป็นครั้งแรกและครั้งสุดท้ายที่เธอได้เป็นนางแบบ

    ตอนนี้ผู้คนหลายพันล้านคนได้เห็นใบหน้าของเธอก่อนชมภาพยนตร์ทุกเรื่องของโคลัมเบียพิคเจอร์ส เป็นภาพประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงพักกลางวันที่แสนธรรมดา

    ภาพ : Project Nightfall
    ข้อมูล : Columbia Pictures
    ถอดความ : เรื่อย เปื่อย เดย์
    #ภาพประวัติศาสตร์ #ColumbiaPictures
    หนึ่งในใบหน้าที่คนเห็นมากที่สุดในประวัติศาสตร์ เจนนี โจเซฟ (Jenny Joseph) ศิลปินกราฟิกวัย 28 ปีของ The Times-Picayune (หนังสือพิมพ์อเมริกันที่ตีพิมพ์ในนิวออร์ลีนส์ รัฐลุยเซียนา) ในช่วงเวลาที่ Columbia Pictures ต้องการนางแบบโลโก้ใหม่ในปี 1992 (พ.ศ.2535) แม้เธอไม่เคยเป็นนางแบบมาก่อน แต่ตกลงช่วยในช่วงพักกลางวัน ทีมงานคลุมผ้าให้เธอ และให้ถือโคมไฟตั้งโต๊ะธรรมดา แล้วโพสท่าถ่ายรูป จากนั้นศิลปินก็ใช้ภาพอ้างอิงเหล่านั้นมาวาดเป็นโลโก้ นับเป็นครั้งแรกและครั้งสุดท้ายที่เธอได้เป็นนางแบบ ตอนนี้ผู้คนหลายพันล้านคนได้เห็นใบหน้าของเธอก่อนชมภาพยนตร์ทุกเรื่องของโคลัมเบียพิคเจอร์ส เป็นภาพประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงพักกลางวันที่แสนธรรมดา 📸ภาพ : Project Nightfall 🙏ข้อมูล : Columbia Pictures 🖋️ถอดความ : เรื่อย เปื่อย เดย์ #ภาพประวัติศาสตร์ #ColumbiaPictures
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/C_kz_1hMNHM?si=TVnm3yFTF_sAzR5P
    https://youtu.be/C_kz_1hMNHM?si=TVnm3yFTF_sAzR5P
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/W_pokEDjgmg?si=qRMrJe6SUuB59NEV
    https://youtu.be/W_pokEDjgmg?si=qRMrJe6SUuB59NEV
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/eL7nWNpwlk4?si=w_ioIIUvPkBOS5EB
    https://youtu.be/eL7nWNpwlk4?si=w_ioIIUvPkBOS5EB
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/yU1YVpsTFoQ?si=3CBep9P-HRHNsRW4
    https://youtu.be/yU1YVpsTFoQ?si=3CBep9P-HRHNsRW4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/narCG1Ci5q8?si=CAiqChgAeXE7v4QX
    https://youtu.be/narCG1Ci5q8?si=CAiqChgAeXE7v4QX
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 11 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/J1C83cltWiQ?si=qYJOLbhVtoaAzn5M
    https://youtu.be/J1C83cltWiQ?si=qYJOLbhVtoaAzn5M
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/MFKo2RdQLlk?si=R1OysEWkZWtJ44Kl
    https://youtu.be/MFKo2RdQLlk?si=R1OysEWkZWtJ44Kl
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/7-yKijeM-go?si=mTtEcnjaUlJcWGCo
    https://youtube.com/shorts/7-yKijeM-go?si=mTtEcnjaUlJcWGCo
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าในทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล(โลภะ โทสะ​และโมหะ)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 323
    ชื่อบทธรรม :- ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    --ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ
    โลภะ เป็น อกุศลมูล
    โทสะ เป็น อกุศลมูล
    โมหะ เป็น อกุศลมูล.
    --ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว
    ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล.
    คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว
    ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง
    ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง
    โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้
    แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล
    : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ
    มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย(เหตุ)​ มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้
    ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกัน
    อย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่า เป็น
    อกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง.
    เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง
    ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ;
    และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ;
    เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด
    ออกไปว่านั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ.
    เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็น
    อกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว
    มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์
    มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว,
    ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ.
    (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน
    อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี
    ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย,
    ฉันใดก็ฉันนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง.

    (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก
    ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “#ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล”)​

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/192/509.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/192/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๘/๕๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/258/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=323
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าในทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล(โลภะ โทสะ​และโมหะ)​ สัทธรรมลำดับที่ : 323 ชื่อบทธรรม :- ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล --ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ โลภะ เป็น อกุศลมูล โทสะ เป็น อกุศลมูล โมหะ เป็น อกุศลมูล. --ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย(เหตุ)​ มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่า เป็น อกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง. เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ; และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ; เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด ออกไปว่านั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ. เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็น อกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง. --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์ มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ. (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย, ฉันใดก็ฉันนั้น. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง. (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “#ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล”)​ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/192/509. http://etipitaka.com/read/thai/20/192/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๘/๕๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/20/258/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=323 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    -ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ โลภะ เป็น อกุศลมูล โทสะ เป็น อกุศลมูล โมหะ เป็น อกุศลมูล. ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันอย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่าเป็นอกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง. เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ; และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ; เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด ออกไปว่า นั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ. เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็นอกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง. ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์ มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ. (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย, ฉันใดก็ฉันนั้น. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง. (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล” ในภาค ๓ แห่งหนังสือเล่มนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)
    สัทธรรมลำดับที่ : 692
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก)
    (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์
    ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ;
    เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ;
    ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ;
    การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว
    หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ;
    ดังนี้เป็นต้น.
    พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง,
    โดยพระบาลีว่า
    “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-
    )​
    --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน)
    http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน
    ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :-
    (การเกิด)​
    ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ;
    ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ;
    ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ;
    ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    (การดับ)
    ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ;
    ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง,
    มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้
    ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว
    ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ.
    ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า
    ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น
    ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก,
    แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง,
    แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ;
    มิฉะนั้นจะลำบาก).
    -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒.
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓

    --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย.
    บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย.
    วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย.
    ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย.
    นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี.
    --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ;
    เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย
    เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ
    ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ).
    ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก) สัทธรรมลำดับที่ : 692 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 เนื้อความทั้งหมด :- ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :- )​ --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :- (การเกิด)​ ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (การดับ) ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.- (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173. http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓ --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30. http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    -(มัชฌิมาปฏิปทาตามที่ทรงแสดงไว้ในสูตรนี้ เห็นได้ว่า ทรงแสดงส่วนสุดสองข้างไว้ด้วยอาฬ๎หปฏิปทา คือความตกไปในกาม และนิชฌามปฏิปทา คือ วัตรปฏิบัติของ อเจลกะซึ่งเรียกกันโดยทั่วๆ ไปว่า อัตตกิลมถานุโยค หรือตปัสสีวัตร ซึ่งมีรายละเอียดหาดูได้ในหนังสือ พุ. โอ. ที่หน้า ๕๖-๕๗. ในที่นี้จะเห็นได้ว่า โพธิปักขิยธรรมทั้งสามสิบเจ็ดข้อ นั่นแหละคือมัชฌิมาปฏิปทา ; หรือถึงกับจะกล่าวได้ว่า ข้อปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทั้งหมดในพระพุทธศาสนา ซึ่งรวมกันแล้วเรียกได้ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา หรือพรหมจรรย์ทั้งสิ้น, นั่นแหละคือ มัชฌิมาปฏิปทา). ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-) พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า : “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้. นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. รายละเอียดเกี่ยวกับสุดโต่งเป็นคู่ๆนี้ หาดูได้จากหนังสือ พุ. โอ. ตั้งแต่หน้า ๒๔๗ ถึงหน้า ๒๕๒. อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 1059
    ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    ก. เหตุภายใน
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    นี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ
    โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด.
    ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์.

    ข. เหตุภายนอก
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ
    นี้.
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ
    กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ,
    ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง
    โดยลำดับ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​ สัทธรรมลำดับที่ : 1059 ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 เนื้อความทั้งหมด :- --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195. http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรมอภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ. ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า การรู้อริยสัจนั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้อภิธรรมอภิวินัยและรวยลาภ). จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง โยนิโสมนสิการ นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำโยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือน อย่าง กัล๎ยาณมิตตตา นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2 มุมมอง 0 รีวิว
  • "เจอคนพูดฟุ้ง…เราจะไม่หลุดตาม!"

    คุณเคยรู้สึกไหม?
    เวลานั่งคุยกับบางคนทีไร…
    จากแค่จะพูดเล่นนิดๆ กลายเป็นหลุดโลกไปครึ่งชั่วโมง
    คุยจบแล้ว เหนื่อยใจ ฟุ้งซ่าน ดึงสมาธิกลับมายากสุดๆ

    บางทีอยากหลีกเลี่ยง แต่...ก็หนีไม่ได้
    เลิกคบก็ไม่ได้ ทำใจไม่ขาด ไปไหนก็เจอกันทุกวัน

    จะทำอย่างไรดี?

    ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า
    อาการ "หลุดสติ" เริ่มจากการปล่อยใจคิดไปเรื่อย
    ไม่ว่าจะตามเขา หรือจากนิสัยเราที่เคยชิน
    พูดฟุ้งจนใจแตกซ่าน สมาธิหาย คิดไม่เป็นระเบียบ

    และที่สำคัญ…
    การฝืนไม่พูด ไม่ฟัง ไม่ฟุ้ง ไม่ได้ช่วยเสมอไป
    เพราะมันคือการ “เก็บกด” ไม่ใช่ “ฝึกจิต”
    ยิ่งห้าม เหมือนยิ่งยุ

    ทางออกที่จริงจังกว่า คือ…

    ไม่ต้องหักดิบ ไม่ต้องฝืนพูดให้ช้าลง ไม่ต้องเก็บคำในใจจนอึดอัด
    พูดเหมือนเดิม แต่เปลี่ยน “วิธีวางใจ”

    จุดเปลี่ยนอยู่ที่ “การตั้งใจล่วงหน้า”

    > "วันนี้จะฟังได้นะ จะพูดด้วยก็ได้
    แต่ขอ ‘รู้ตัว’ ว่าเราจะหยุดที่ตรงไหน
    และจะไม่วนกลับมาจมกับเรื่องนั้นอีก"

    เช่น…

    ถ้าเขาชวนเม้าท์ดารา
    ให้ตั้งใจไว้ว่า... "จะพูดไปสุดแค่ประโยคว่า ‘เออ น่าอายจริงๆ’ แล้วตัดจบ"

    ถ้าเขาชวนด่าคนอื่น
    ให้ตั้งเป้าว่า… "พอใจเริ่มรู้สึกเกลียดเมื่อไหร่ จะพูดลดความร้อนทันที แล้วเปลี่ยนเรื่อง"

    การฝึกแบบนี้คือการ เล็งจิตให้เป็นเส้นตรง
    ไม่ปล่อยให้ฟุ้งเป็นวงกลมไม่รู้จบ

    ผลลัพธ์คือ…
    คุณจะควบคุมบทสนทนาได้ดีขึ้น
    รู้สึกมั่นคง ไม่เปลืองพลัง
    และสุดท้าย…สมาธิที่เคยหาย ก็จะค่อยๆ กลับมา!
    🌿 "เจอคนพูดฟุ้ง…เราจะไม่หลุดตาม!" คุณเคยรู้สึกไหม? เวลานั่งคุยกับบางคนทีไร… จากแค่จะพูดเล่นนิดๆ กลายเป็นหลุดโลกไปครึ่งชั่วโมง คุยจบแล้ว เหนื่อยใจ ฟุ้งซ่าน ดึงสมาธิกลับมายากสุดๆ บางทีอยากหลีกเลี่ยง แต่...ก็หนีไม่ได้ เลิกคบก็ไม่ได้ ทำใจไม่ขาด ไปไหนก็เจอกันทุกวัน จะทำอย่างไรดี? ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า อาการ "หลุดสติ" เริ่มจากการปล่อยใจคิดไปเรื่อย ไม่ว่าจะตามเขา หรือจากนิสัยเราที่เคยชิน พูดฟุ้งจนใจแตกซ่าน สมาธิหาย คิดไม่เป็นระเบียบ และที่สำคัญ… การฝืนไม่พูด ไม่ฟัง ไม่ฟุ้ง ไม่ได้ช่วยเสมอไป เพราะมันคือการ “เก็บกด” ไม่ใช่ “ฝึกจิต” ยิ่งห้าม เหมือนยิ่งยุ ทางออกที่จริงจังกว่า คือ… ✅ ไม่ต้องหักดิบ ไม่ต้องฝืนพูดให้ช้าลง ไม่ต้องเก็บคำในใจจนอึดอัด ✅ พูดเหมือนเดิม แต่เปลี่ยน “วิธีวางใจ” จุดเปลี่ยนอยู่ที่ “การตั้งใจล่วงหน้า” > 🧭 "วันนี้จะฟังได้นะ จะพูดด้วยก็ได้ แต่ขอ ‘รู้ตัว’ ว่าเราจะหยุดที่ตรงไหน และจะไม่วนกลับมาจมกับเรื่องนั้นอีก" เช่น… ถ้าเขาชวนเม้าท์ดารา 🗣️ ให้ตั้งใจไว้ว่า... "จะพูดไปสุดแค่ประโยคว่า ‘เออ น่าอายจริงๆ’ แล้วตัดจบ" ถ้าเขาชวนด่าคนอื่น 🧠 ให้ตั้งเป้าว่า… "พอใจเริ่มรู้สึกเกลียดเมื่อไหร่ จะพูดลดความร้อนทันที แล้วเปลี่ยนเรื่อง" การฝึกแบบนี้คือการ เล็งจิตให้เป็นเส้นตรง ไม่ปล่อยให้ฟุ้งเป็นวงกลมไม่รู้จบ ผลลัพธ์คือ… คุณจะควบคุมบทสนทนาได้ดีขึ้น รู้สึกมั่นคง ไม่เปลืองพลัง และสุดท้าย…สมาธิที่เคยหาย ก็จะค่อยๆ กลับมา!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3 มุมมอง 0 รีวิว