• https://youtu.be/9ofpVRB6p8U?si=DgxqK2Mg1OhvznXb
    https://youtu.be/9ofpVRB6p8U?si=DgxqK2Mg1OhvznXb
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/_Do5CzIWH5I?si=WV2V_JA6BjpotcV2
    https://youtu.be/_Do5CzIWH5I?si=WV2V_JA6BjpotcV2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/iBvOuv-ERCY?si=R-6pC4vvqZWZtBc5
    https://youtu.be/iBvOuv-ERCY?si=R-6pC4vvqZWZtBc5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/xfu29yw5XG8?si=pOvqtTemWMp8btT2
    https://youtu.be/xfu29yw5XG8?si=pOvqtTemWMp8btT2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/QpVX3gHwCaQ?si=dezzbDyDaGJniZOe
    https://youtube.com/shorts/QpVX3gHwCaQ?si=dezzbDyDaGJniZOe
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 42 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/RgGOW-A90bU?si=BrWItaq8maq1mT1Z
    https://youtu.be/RgGOW-A90bU?si=BrWItaq8maq1mT1Z
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวัสดี
    สวัสดี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 139
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด
    ซึ่งเวทนา
    ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา
    ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา
    ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา),
    --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท.
    -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่
    เป็นสุขก็ตาม
    เป็นทุกข์ก็ตาม
    เป็นอทุกขมสุขก็ตาม
    เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์
    มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว
    เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา
    : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ.
    -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข
    อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่.
    --เมื่อใดภิกษุ
    มีความเพียรเผากิเลส
    ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ
    ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง
    --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร.
    -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ;
    -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ;
    -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ผู้ใด
    เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์
    เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร
    เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง ;
    --ผู้นั้นเป็นภิกษุ
    ผู้รู้เห็นโดยชอบ
    ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา
    เพราะรอบรู้เวทนา
    จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร,

    -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90

    --วิภาคแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย,
    พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สามอย่างนั้น คือ
    สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข)
    ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์)
    และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข).
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา หกอย่างนั้น คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย,
    และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง,
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง,
    และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง.
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง,
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ
    เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต,
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 139 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด ซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม เป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. --เมื่อใดภิกษุ มีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. -ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; --ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90 --วิภาคแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7. http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัดซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตามเป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุขอันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. เมื่อใดภิกษุมีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึง เป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. วิภาคแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนาแม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่างเราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัสหกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัสหกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่ เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และอุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และเวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์
    สัทธรรมลำดับที่ : 574
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้.
    --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต
    พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส !
    ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่,
    --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยปริยาย.

    --(ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ;
    อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย.
    ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น
    กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์
    โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-
    )​

    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ :
    ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
    --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์ สัทธรรมลำดับที่ : 574 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. --(ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ; อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :- )​ --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257. http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. อาวุโส ! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 129 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 138 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • เห็นภาพพระธาตุที่เมียนมา เตือนสติอันตรธานแห่งพระธาตุ เกิดได้จากทั้งธรรมชาติและมนุษย์
    เห็นภาพพระธาตุที่เมียนมา เตือนสติอันตรธานแห่งพระธาตุ เกิดได้จากทั้งธรรมชาติและมนุษย์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • อย่างไร?....ถูกต้อง
    อย่างไร? ....ผิด
    พิจารณา นะคะ
    อย่างไร?....ถูกต้อง อย่างไร? ....ผิด พิจารณา นะคะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 55 มุมมอง 2 0 รีวิว
  • ไอเดีย..บรรเจิด
    ต้องทำเล่นเองบ้าง แล้ว
    ไอเดีย..บรรเจิด ต้องทำเล่นเองบ้าง แล้ว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 50 มุมมอง 1 0 รีวิว
  • นิ้วเท้า(ขนาน)ได้หลังล่าง
    นิ้วเท้า(แบะออก)ได้กล้ามก้น
    นิ้วเท้า(ขนาน)ได้หลังล่าง นิ้วเท้า(แบะออก)ได้กล้ามก้น
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 2 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันอังคารที่ 1 เดือนเมษายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันอังคารที่ 1 เดือนเมษายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 55 มุมมอง 0 รีวิว
  • การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริง เริ่มจากภายในจิตใจของตัวเอง ไม่ใช่แค่การไปทำบุญภายนอก แต่คือการ "ฝึกใจ" ให้คิดดี ทำดี อดทน และไม่โต้ตอบความชั่วด้วยความชั่ว

    การฝึกใจแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเนื้อหา:

    กลุ่มแรก: ฝึกใจเพื่อไม่ตกเป็นเหยื่อของความร้าย

    กำจัดนิสัยเสียของตน สำคัญกว่าการทำบุญภายนอก

    แม้พบคนเลว ก็เลือกได้ว่าจะไม่เลวตาม

    คนไม่ดีทำให้คุณอยากคิดไม่ดี แต่คุณมีสิทธิ์เลือกจะคิดดี

    ถ้าไม่ระวัง เรื่องร้ายจะเปลี่ยนคุณให้ร้ายตาม

    เรื่องดีหรือร้ายรอบตัวไม่สำคัญเท่าคุณดีหรือร้ายในใจ

    กลุ่มที่สอง: ฝึกใจให้พร้อมทำบุญทุกวัน

    บุญเริ่มที่ "ใจ" ไม่ใช่แค่เงิน

    ใจที่ให้อภัย ใจที่อดทน ใจที่มีเมตตา คือการทำบุญตลอดวัน

    ชีวิตประจำวันคือบทฝึกใจ ให้กลับบ้านได้เหมือนไปวัดมา

    มีเงินแต่ไม่มีใจทำบุญก็ไร้ค่า

    ใจที่คิดให้ คือกุญแจสู่บุญตลอดเวลา

    ---

    ฝึกใจคือบุญที่แท้จริง: ไม่ต้องรอวันพระ ไม่ต้องรอเวลาว่าง แค่มีเจตนาดีก็เป็นบุญได้

    ไม่เอาความเลวมาเป็นข้ออ้าง: คนเลวกระตุ้นคุณไม่ได้ ถ้าใจคุณมั่นคงในความดี

    ขับเคลื่อนชีวิตด้วยใจสว่าง: ออกจากบ้านเพื่อฝึกใจ ไม่ใช่เพื่อหนีปัญหา

    "เปลี่ยนตัวเองให้ดีขึ้นวันละนิด คือบุญที่มั่นคงยิ่งกว่าการเดินสายทำบุญ และใจที่ไม่เลวตามโลก คือใจที่พร้อมจะมีบุญอยู่เสมอ"
    การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริง เริ่มจากภายในจิตใจของตัวเอง ไม่ใช่แค่การไปทำบุญภายนอก แต่คือการ "ฝึกใจ" ให้คิดดี ทำดี อดทน และไม่โต้ตอบความชั่วด้วยความชั่ว การฝึกใจแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเนื้อหา: กลุ่มแรก: ฝึกใจเพื่อไม่ตกเป็นเหยื่อของความร้าย กำจัดนิสัยเสียของตน สำคัญกว่าการทำบุญภายนอก แม้พบคนเลว ก็เลือกได้ว่าจะไม่เลวตาม คนไม่ดีทำให้คุณอยากคิดไม่ดี แต่คุณมีสิทธิ์เลือกจะคิดดี ถ้าไม่ระวัง เรื่องร้ายจะเปลี่ยนคุณให้ร้ายตาม เรื่องดีหรือร้ายรอบตัวไม่สำคัญเท่าคุณดีหรือร้ายในใจ กลุ่มที่สอง: ฝึกใจให้พร้อมทำบุญทุกวัน บุญเริ่มที่ "ใจ" ไม่ใช่แค่เงิน ใจที่ให้อภัย ใจที่อดทน ใจที่มีเมตตา คือการทำบุญตลอดวัน ชีวิตประจำวันคือบทฝึกใจ ให้กลับบ้านได้เหมือนไปวัดมา มีเงินแต่ไม่มีใจทำบุญก็ไร้ค่า ใจที่คิดให้ คือกุญแจสู่บุญตลอดเวลา --- ฝึกใจคือบุญที่แท้จริง: ไม่ต้องรอวันพระ ไม่ต้องรอเวลาว่าง แค่มีเจตนาดีก็เป็นบุญได้ ไม่เอาความเลวมาเป็นข้ออ้าง: คนเลวกระตุ้นคุณไม่ได้ ถ้าใจคุณมั่นคงในความดี ขับเคลื่อนชีวิตด้วยใจสว่าง: ออกจากบ้านเพื่อฝึกใจ ไม่ใช่เพื่อหนีปัญหา "เปลี่ยนตัวเองให้ดีขึ้นวันละนิด คือบุญที่มั่นคงยิ่งกว่าการเดินสายทำบุญ และใจที่ไม่เลวตามโลก คือใจที่พร้อมจะมีบุญอยู่เสมอ"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 61 มุมมอง 0 รีวิว
  • คิดว่าดีมันก็ดีอยู่ที่คิด
    เห็นว่าผิดมันก็ผิดตามคิดเห็น
    เป็นอย่างไรอยู่ที่ใจจะให้เป็น
    ใจมันเต้นเราจึงเต้นเต้นตามใจ
    สรรพสิ่งลมลมเพียงสมมุติ
    พอสูงสุดแล้วสามัญเช่นนั้นไหม
    เหมือนจะต่างแต่ไม่ต่างแต่อย่างใด
    มันแค่ใจจะคิดไปอย่างไรกัน
    สิ่งเลวร้ายจะกลายกลับนับเป็นโชค
    ความเศร้าโศกจะกลายกลับนับเป็นขวัญ
    แค่รู้เท่าจิตใจคิดให้ทัน
    ก็เท่านั้นก็เท่านั้นเท่านั้นเอง
    คิดว่าดีมันก็ดีอยู่ที่คิด เห็นว่าผิดมันก็ผิดตามคิดเห็น เป็นอย่างไรอยู่ที่ใจจะให้เป็น ใจมันเต้นเราจึงเต้นเต้นตามใจ สรรพสิ่งลมลมเพียงสมมุติ พอสูงสุดแล้วสามัญเช่นนั้นไหม เหมือนจะต่างแต่ไม่ต่างแต่อย่างใด มันแค่ใจจะคิดไปอย่างไรกัน สิ่งเลวร้ายจะกลายกลับนับเป็นโชค ความเศร้าโศกจะกลายกลับนับเป็นขวัญ แค่รู้เท่าจิตใจคิดให้ทัน ก็เท่านั้นก็เท่านั้นเท่านั้นเอง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
  • วิศวกรอาสา พบเหล็กเส้น เป็นดังรายละเอียด https://liff.line.me/1454988218-NjbXbq18/v2/article/LXY3Xan?utm_source=copyshare
    วิศวกรอาสา พบเหล็กเส้น เป็นดังรายละเอียด https://liff.line.me/1454988218-NjbXbq18/v2/article/LXY3Xan?utm_source=copyshare
    LIFF.LINE.ME
    Today
    แตะที่นี่เพื่อเปิดลิงก์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผ่านไปไตรมาสแรกยังขนาดนี้
    ผ่านไปไตรมาสแรกยังขนาดนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • เฝ้ามองรอบทุ่ง ทางเดินที่ลูก้าเคยเดินมา แต่....ไร้น้อง
    เฝ้ามองรอบทุ่ง ทางเดินที่ลูก้าเคยเดินมา แต่....ไร้น้อง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 0 รีวิว