• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 582
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
    ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ
    เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า
    “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ)
    นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”
    ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ

    บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้.

    (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ).

    --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน)
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน)
    ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล

    --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้
    ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว
    ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว
    ดังนี้แล.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 582 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)” ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.- #สัมมาทิฏฐิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177. http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗. http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    -ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”ดังนี้. บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 158 Views 0 Reviews
  • รู้จักใช้ เข้าใจเงิน ตอนที่ 2 ชีวิต ความสุข และเงิน
    การครองชีวิตอย่างมีกิน มีใช้เสมอกันตลอดชีวิตนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ไม่ว่าจะอยู่ในวัยทำงานหาเงินหรือวัยพ้นทำงานที่พลังในการหารายได้ลดน้อยลง หากใช้เงินในวัยทำงานอย่างไม่มีการวางแผนเพื่ออนาคตอย่างดีแล้ว ชีวิตในวัยบั้นปลายก็จะลำบาก
    .
    แผนการอดออมในช่วงวัยทำงาน เพื่อเก็บเงินไว้ใช้ เพื่อความมั่นคงในอนาคต เปรียบเสทอนการ “ยอมจน (วันนี้) เพื่อรวย (วันข้างหน้า)” ในขณะที่หากไม่มีแผนอดออมเพื่ออนาคต มีเงินเท่าใดใช้ไปอย่างสนุกในวัยทำงาน จะเปรียบเสมือนกับการ ราย (วันนี้) เพื่อจน (วันข้างหน้า)
    .
    มนุษย์ทุกคนสามารถเลือกชีวิตของตนเองได้ว่าจะสนุกสนานในการใช้เงินในวันนี้แต่ไม่มีอนาคตที่มั่นคง หรือจะยอมทนลำบากด้านเงินทองในวันนี้ เพื่ออนาคตที่มั่นคงในวันข้างหน้า อย่าลืมว่าชีวิตเป็นเรื่องของการเลือก และการยอมรับผล จากการเลือกนั่น
    .
    อย่างไรที่เรียกว่า “รวย” รายได้แบ่งออกเป็น 2 ชนิดตามลักษณะของแหล่งที่มา อย่างแรกต้องออกแรงทำงาน เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง อย่างที่ 2 ไม่ต้องออกแรงทำงาน เช่น ดอกเบี้ย เงินปันผล ค่าเช่า ฯลฯ เมื่อใดที่มาตราฐานการครองชีพอยู่ในระดับสุขสบาย มีปัจจัยสี่ และความสะดวกสบายอื่นๆ อย่างครบถ้วนในระดับหนึ่ง และมีรายได้จากการไม่ต้องทำงานสูงกว่าค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน ก็เรียกได้ว่าเป็น “คนรวย” แล้ว
    .
    การทำงานก่อให้เกิดรายได้ และรายได้นั้นก็ต้องจ่ายออกไปเป็นค่าอาหาร ค่าที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า ค่าเดินทาง ค่าบันเทิงหย่อนใจ ฯลฯ เดือนแล้วเดือนเล่า ปีแล้วปีเล่า หากไม่ระวัง รายได้ทั้งเดือนจะหมดสิ้นไป หรืออาจต้องขอจากพ่อแม่ หรือผู้ใหญ่เพิ่มเติม หรืออาจต้องกู้ยิมเพิ่มเติมจนเป็นหนี้เป็นสิน อย่างนี้เรียกว่าไม่มีเงินออม
    .
    The Richest Man in Babylon ซึ่งเขียนโดย G.S. Clason เมื่อ 100 ปีก่อน เป็นหนังสือที่มียอดขายรวมมากกว่า 1.5 ล้านเล่ม หนังสือเล่มนี้สอนเรื่องการสร้างความร่ำรวยด้วยการออม และการลงทุนที่ชาญฉลาดในรูปแบบของนิทาน สถานที่คือ เมืองบาบิโลนของอณาจักรเมโสโปเตเมีย แหล่งวัฒนธรรมเก่าแก่ของโลกเมื่อประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว
    .
    เรื่องมีอยู่ว่า... 2 หนุ่มช่างซ่อมล้อรถ และนักดนตรีของเมืองนี้มีภรรยาและลูกที่ต้องเลี้ยงดู ทำให้เขาทั้ง 2 ต้องดิ้นรนทำงานหาเงินอย่างหนักเพื่อให้ชีวิตอยู่รอด ทั้งสองหารือกันว่า ทำอย่างไรจึงจะรวย จึงพากันไปถามอาร์กอด คนรวยที่สุดในบาบิโลน ทั้งคู่ถามว่าเขามีโชคอย่างไรจึงร่ำรวยเช่นนี้ได้ อาร์กอดตอบว่า การคิดว่าโชคคือตัวการสำคัญที่ทำให้คนร่ำรวยนั้นผิดถนัด เหตุที่ทั้ง 2 ยากจนก็เพราะไม่รู้กฏเกี่ยวกับการสร้างความมั่งคั่ง ตัวเขาได้เรียนรู้ความลับของการเป็นคนรวย จากคนให้กู้เงินที่ว่า “ส่วนหนึ่งของเงินที่หามาได้จะต้องเก็บไว้ให้มันเป็นของเราเสมอ
    .
    ทั้งสองจึงถามต่อว่า “ก็เงินที่เราหามาได้ มันไม่ใช่ของเราทั้งหมดหรอกหรือ” อาร์กอดตอบว่า ไม่ใช่ เพราะเมื่อมีรายได้ ค่าใช้จ่ายเพื่อการครองชีพและหาความสุขก็จะกินมันไปหมด ตัวเราจะกลายเป็นทาสของงาน มีชีวิตและความสุขบ้างไปวัน ๆ เท่านั้น ถ้าจะให้รายได้บางส่วนเป็นของเราเองอย่างแท้จริงแล้ว ต้องกันส่วนหนึ่งออกมาต่างหาก โดยไม่นำไปใช้จ่าย เงินที่กันออกไปนี้ ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของรายได้
    .
    เงินที่กันไว้นี้ เมื่อสะสมหลายปีเข้า ก็จะเป็นก้อนใหญ่และสร้างรายได้ให้เราได้ ( เช่น เอาไปให้คนกู้ หรือปลูกบ้านเช่า) โดยเราไม่ต้องทำงาน เมื่อเริ่มต้นอาจมีไม่มาก แต่นั่นไม่ใช่เรื่องสำคัญ ที่สำคัญต้องยึดกฏที่ว่า “ต้องจ่ายเงินให้ตัวเราเองก่อนเสมอ” กล่าวคือ ทำให้ส่วนหนึ่งของรายได้มาเป็นของเรา ทั้งนี้ไม่ว่าจะหามาได้มากหรือน้อยเพียงใด
    .
    สิ่งที่ อาร์กอด พูดถึงนี้ก็คือ “เงินออม” นั่นเอง ถ้าคนทำงานปล่อยให้เงินที่หามาได้ ถูกใช้จ่ายไปตามยถากรรมแล้ว ก็ถือได้ว่าเขาไม่ได้เป็นเจ้าของเงินที่หามาได้เลย เพราะเขาไม่ได้จ่ายเงินเป็นรางวัลให้ตัวเอง และเก็บไว้เป็นของเขาเอง. เงินออมเป็นรางวัลที่ผู้ทำงานต้องกันไว้ให้ตนเองเสมอ ปัจจุบันอัตราที่ควรกันไว้นี้เข้มข้นกว่าสมัย บาบิโลน อาร์กอดสมัยใหม่แนะนำว่า ให้กันเงินไว้อย่างต่ำร้อยละ 15 ของรายได้
    .
    ความสำคัญของการออมสรุปได้ดังนี้
    ประการแรก : การออมสม่ำเสมอเป็นการสะสมเงินรางวัลของผู้ทำงาน เพื่อให้เป็นเงินก้อนไปลงทุนในกิจกรรมซึ่งจะนำผลตอบแทนในรูปอื่นที่มิได้มาจากการตรากตรำออกแรงหาเงินมาให้เจ้าของ เช่น ดอกเบี้ยค่าเช่า
    ประการที่สอง : การออมเงินทำให้เกิดกระบวนการ “เงินทำงานรับใช้” ขึ้น โดยเจ้าของไม่ต้องออกแรงก็ได้ผลตอบแทนดังกล่าวแล้วในข้อแรก
    ประการที่สาม : การออมเป็นการสร้างนิสัยให้รู้จักประหยัด เพราะยิ่งใช้จ่ายน้อยเท่าใดก็สามารถออมได้มากเพียงนั้น
    ประการสุดท้าย : ถ้าไม่มีการออม ก็ไม่มีการลงทุนในอนาคต เพราะการขยายกิจการเดิมหรือลงทุนใหม่ล้วนต้องการเงินลงทุนเพิ่มทั้งสิ้น และเงินลงทุนนั้นต้องมาจากที่ใดสักแห่ง ถ้าไม่มาจากเงินออมที่เกิดจากการกันส่วนหนึ่งของรายได้ไว้ ก็ต้องมาจากเงินกู้ยืม ซึ่งเงินกู้ยืมนั้น วันหนึ่งก็ต้องใช้คืนเจ้าของพร้อมด้วยดอกเบี้ย การออมจึงเป็นแหล่งเงินของการลงทุนที่ถูกกว่าการกู้ยืม
    .
    เศรษฐศาสตร์ให้คำจำกัดความว่า เงินออมคือส่วนของรายได้ที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ในกรณีของรายได้ที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ในกรณีของอาร์กอดที่ให้กันเงินออมไว้ร้อยละ 10 ของรายได้เลยนั้น มีความหมายว่าบังคับให้บริโภคเพียงร้อยละ 90 ของรายได้เท่านั้น
    .
    ตราบใดที่สามารถควบคุมการใช้จ่ายจนมีเงินเหลือออมแล้ว อานุภาพอันเกิดจากการมีวินัยบังคับใจตนเองนี้จะทำให้เงินออมเติบโตขึ้นได้อย่างเหลือเชื่อด้วย “ดีเอ็นเอ” ที่ฝังตัวอยู่ในเงินออมที่มีชื่อว่า “ดอกเบี้ยทบต้น”
    รู้จักใช้ เข้าใจเงิน ตอนที่ 2 ชีวิต ความสุข และเงิน การครองชีวิตอย่างมีกิน มีใช้เสมอกันตลอดชีวิตนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ไม่ว่าจะอยู่ในวัยทำงานหาเงินหรือวัยพ้นทำงานที่พลังในการหารายได้ลดน้อยลง หากใช้เงินในวัยทำงานอย่างไม่มีการวางแผนเพื่ออนาคตอย่างดีแล้ว ชีวิตในวัยบั้นปลายก็จะลำบาก . แผนการอดออมในช่วงวัยทำงาน เพื่อเก็บเงินไว้ใช้ เพื่อความมั่นคงในอนาคต เปรียบเสทอนการ “ยอมจน (วันนี้) เพื่อรวย (วันข้างหน้า)” ในขณะที่หากไม่มีแผนอดออมเพื่ออนาคต มีเงินเท่าใดใช้ไปอย่างสนุกในวัยทำงาน จะเปรียบเสมือนกับการ ราย (วันนี้) เพื่อจน (วันข้างหน้า) . มนุษย์ทุกคนสามารถเลือกชีวิตของตนเองได้ว่าจะสนุกสนานในการใช้เงินในวันนี้แต่ไม่มีอนาคตที่มั่นคง หรือจะยอมทนลำบากด้านเงินทองในวันนี้ เพื่ออนาคตที่มั่นคงในวันข้างหน้า อย่าลืมว่าชีวิตเป็นเรื่องของการเลือก และการยอมรับผล จากการเลือกนั่น . อย่างไรที่เรียกว่า “รวย” รายได้แบ่งออกเป็น 2 ชนิดตามลักษณะของแหล่งที่มา อย่างแรกต้องออกแรงทำงาน เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง อย่างที่ 2 ไม่ต้องออกแรงทำงาน เช่น ดอกเบี้ย เงินปันผล ค่าเช่า ฯลฯ เมื่อใดที่มาตราฐานการครองชีพอยู่ในระดับสุขสบาย มีปัจจัยสี่ และความสะดวกสบายอื่นๆ อย่างครบถ้วนในระดับหนึ่ง และมีรายได้จากการไม่ต้องทำงานสูงกว่าค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน ก็เรียกได้ว่าเป็น “คนรวย” แล้ว . การทำงานก่อให้เกิดรายได้ และรายได้นั้นก็ต้องจ่ายออกไปเป็นค่าอาหาร ค่าที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า ค่าเดินทาง ค่าบันเทิงหย่อนใจ ฯลฯ เดือนแล้วเดือนเล่า ปีแล้วปีเล่า หากไม่ระวัง รายได้ทั้งเดือนจะหมดสิ้นไป หรืออาจต้องขอจากพ่อแม่ หรือผู้ใหญ่เพิ่มเติม หรืออาจต้องกู้ยิมเพิ่มเติมจนเป็นหนี้เป็นสิน อย่างนี้เรียกว่าไม่มีเงินออม . The Richest Man in Babylon ซึ่งเขียนโดย G.S. Clason เมื่อ 100 ปีก่อน เป็นหนังสือที่มียอดขายรวมมากกว่า 1.5 ล้านเล่ม หนังสือเล่มนี้สอนเรื่องการสร้างความร่ำรวยด้วยการออม และการลงทุนที่ชาญฉลาดในรูปแบบของนิทาน สถานที่คือ เมืองบาบิโลนของอณาจักรเมโสโปเตเมีย แหล่งวัฒนธรรมเก่าแก่ของโลกเมื่อประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว . เรื่องมีอยู่ว่า... 2 หนุ่มช่างซ่อมล้อรถ และนักดนตรีของเมืองนี้มีภรรยาและลูกที่ต้องเลี้ยงดู ทำให้เขาทั้ง 2 ต้องดิ้นรนทำงานหาเงินอย่างหนักเพื่อให้ชีวิตอยู่รอด ทั้งสองหารือกันว่า ทำอย่างไรจึงจะรวย จึงพากันไปถามอาร์กอด คนรวยที่สุดในบาบิโลน ทั้งคู่ถามว่าเขามีโชคอย่างไรจึงร่ำรวยเช่นนี้ได้ อาร์กอดตอบว่า การคิดว่าโชคคือตัวการสำคัญที่ทำให้คนร่ำรวยนั้นผิดถนัด เหตุที่ทั้ง 2 ยากจนก็เพราะไม่รู้กฏเกี่ยวกับการสร้างความมั่งคั่ง ตัวเขาได้เรียนรู้ความลับของการเป็นคนรวย จากคนให้กู้เงินที่ว่า “ส่วนหนึ่งของเงินที่หามาได้จะต้องเก็บไว้ให้มันเป็นของเราเสมอ . ทั้งสองจึงถามต่อว่า “ก็เงินที่เราหามาได้ มันไม่ใช่ของเราทั้งหมดหรอกหรือ” อาร์กอดตอบว่า ไม่ใช่ เพราะเมื่อมีรายได้ ค่าใช้จ่ายเพื่อการครองชีพและหาความสุขก็จะกินมันไปหมด ตัวเราจะกลายเป็นทาสของงาน มีชีวิตและความสุขบ้างไปวัน ๆ เท่านั้น ถ้าจะให้รายได้บางส่วนเป็นของเราเองอย่างแท้จริงแล้ว ต้องกันส่วนหนึ่งออกมาต่างหาก โดยไม่นำไปใช้จ่าย เงินที่กันออกไปนี้ ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ . เงินที่กันไว้นี้ เมื่อสะสมหลายปีเข้า ก็จะเป็นก้อนใหญ่และสร้างรายได้ให้เราได้ ( เช่น เอาไปให้คนกู้ หรือปลูกบ้านเช่า) โดยเราไม่ต้องทำงาน เมื่อเริ่มต้นอาจมีไม่มาก แต่นั่นไม่ใช่เรื่องสำคัญ ที่สำคัญต้องยึดกฏที่ว่า “ต้องจ่ายเงินให้ตัวเราเองก่อนเสมอ” กล่าวคือ ทำให้ส่วนหนึ่งของรายได้มาเป็นของเรา ทั้งนี้ไม่ว่าจะหามาได้มากหรือน้อยเพียงใด . สิ่งที่ อาร์กอด พูดถึงนี้ก็คือ “เงินออม” นั่นเอง ถ้าคนทำงานปล่อยให้เงินที่หามาได้ ถูกใช้จ่ายไปตามยถากรรมแล้ว ก็ถือได้ว่าเขาไม่ได้เป็นเจ้าของเงินที่หามาได้เลย เพราะเขาไม่ได้จ่ายเงินเป็นรางวัลให้ตัวเอง และเก็บไว้เป็นของเขาเอง. เงินออมเป็นรางวัลที่ผู้ทำงานต้องกันไว้ให้ตนเองเสมอ ปัจจุบันอัตราที่ควรกันไว้นี้เข้มข้นกว่าสมัย บาบิโลน อาร์กอดสมัยใหม่แนะนำว่า ให้กันเงินไว้อย่างต่ำร้อยละ 15 ของรายได้ . ความสำคัญของการออมสรุปได้ดังนี้ ประการแรก : การออมสม่ำเสมอเป็นการสะสมเงินรางวัลของผู้ทำงาน เพื่อให้เป็นเงินก้อนไปลงทุนในกิจกรรมซึ่งจะนำผลตอบแทนในรูปอื่นที่มิได้มาจากการตรากตรำออกแรงหาเงินมาให้เจ้าของ เช่น ดอกเบี้ยค่าเช่า ประการที่สอง : การออมเงินทำให้เกิดกระบวนการ “เงินทำงานรับใช้” ขึ้น โดยเจ้าของไม่ต้องออกแรงก็ได้ผลตอบแทนดังกล่าวแล้วในข้อแรก ประการที่สาม : การออมเป็นการสร้างนิสัยให้รู้จักประหยัด เพราะยิ่งใช้จ่ายน้อยเท่าใดก็สามารถออมได้มากเพียงนั้น ประการสุดท้าย : ถ้าไม่มีการออม ก็ไม่มีการลงทุนในอนาคต เพราะการขยายกิจการเดิมหรือลงทุนใหม่ล้วนต้องการเงินลงทุนเพิ่มทั้งสิ้น และเงินลงทุนนั้นต้องมาจากที่ใดสักแห่ง ถ้าไม่มาจากเงินออมที่เกิดจากการกันส่วนหนึ่งของรายได้ไว้ ก็ต้องมาจากเงินกู้ยืม ซึ่งเงินกู้ยืมนั้น วันหนึ่งก็ต้องใช้คืนเจ้าของพร้อมด้วยดอกเบี้ย การออมจึงเป็นแหล่งเงินของการลงทุนที่ถูกกว่าการกู้ยืม . เศรษฐศาสตร์ให้คำจำกัดความว่า เงินออมคือส่วนของรายได้ที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ในกรณีของรายได้ที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ในกรณีของอาร์กอดที่ให้กันเงินออมไว้ร้อยละ 10 ของรายได้เลยนั้น มีความหมายว่าบังคับให้บริโภคเพียงร้อยละ 90 ของรายได้เท่านั้น . ตราบใดที่สามารถควบคุมการใช้จ่ายจนมีเงินเหลือออมแล้ว อานุภาพอันเกิดจากการมีวินัยบังคับใจตนเองนี้จะทำให้เงินออมเติบโตขึ้นได้อย่างเหลือเชื่อด้วย “ดีเอ็นเอ” ที่ฝังตัวอยู่ในเงินออมที่มีชื่อว่า “ดอกเบี้ยทบต้น”
    0 Comments 0 Shares 208 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​กหัดศึกษาว่าปราศจากความยึดถือว่าตัวตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    ชื่อบทธรรม :- ปราศจากความยึดถือว่าตัวตน อันเป็นมานะเครื่องถือตัวตน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ;
    รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้
    พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !”
    --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ(สิ่งทั้งหมด) เหล่าใด
    ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
    อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี
    เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี
    อริยสาวก

    "ได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า
    นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้
    แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ" ;

    "สพฺพงฺ วิญฺญาณงฺ
    เนตัง มม เนโสหมัสมิ น เมโส อตฺตาติ
    เอวเมตงฺ ยถาภูตงฺ สมฺมปฺปญฺญาย ทิสฺวา
    อนุปาทา วิมุตฺโต โหติ" ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/208/?keywords=วิญฺญาณํ+สมฺมปฺปญฺญาย+วิมุตฺโต

    --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตจึงจะเป็นธรรมชาติ
    ปราศจากความยึดถือว่าเรา #ปราศจากความยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้
    และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้,
    และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/164/319.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/164/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๗/๓๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=579
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​กหัดศึกษาว่าปราศจากความยึดถือว่าตัวตน สัทธรรมลำดับที่ : 579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 ชื่อบทธรรม :- ปราศจากความยึดถือว่าตัวตน อันเป็นมานะเครื่องถือตัวตน เนื้อความทั้งหมด :- --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !” --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ(สิ่งทั้งหมด) เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวก "ได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้ แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ" ; "สพฺพงฺ วิญฺญาณงฺ เนตัง มม เนโสหมัสมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตงฺ ยถาภูตงฺ สมฺมปฺปญฺญาย ทิสฺวา อนุปาทา วิมุตฺโต โหติ" ; http://etipitaka.com/read/pali/17/208/?keywords=วิญฺญาณํ+สมฺมปฺปญฺญาย+วิมุตฺโต --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตจึงจะเป็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา #ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้, และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/164/319. http://etipitaka.com/read/thai/17/164/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๗/๓๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=579 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีอวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !”
    -“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีอวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !” กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ ; กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตใจจึงจะเป็นธรรมชาติปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้, และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 225 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    สัทธรรมลำดับที่ : 560
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    ...
    --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก
    เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา
    เป็นผู้รับใช้พระราชา
    ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม.
    ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ
    ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล
    ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ
    ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ
    ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ว่า
    “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น
    ภายในหรือภายนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี
    ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น
    #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ ;

    (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้ทุกขสมุทัย
    นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น :
    อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ
    ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สัทธรรมลำดับที่ : 560 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร ... --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.- #สัมมาทิฏฐิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196. http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    -ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ เป็นผู้ยิงได้ไกล เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกลเป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่อัตตาของเรา” ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำเป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มีสัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.
    0 Comments 0 Shares 545 Views 0 Reviews
  • 📌 ความจริงของชีวิต : เรามีอะไรอยู่จริงหรือไม่?

    (วิเคราะห์จากหลักพุทธศาสนา และการเจริญสติ)


    ---

    🔍 1️⃣ ตั้งแต่เกิดมา เรามีอะไรอยู่จริงหรือไม่?

    🌱 ความรู้สึกว่า "เราได้อะไร" หรือ "เรามีอะไร"

    เป็นเพียง "กระบวนการของจิต"

    ไม่ใช่ของที่แท้จริง ไม่ใช่สิ่งที่เป็นของเราเสมอไป


    📌 ตั้งแต่เกิดมา จิตของเราถูกฝึกให้ยึดมั่นถือมั่น
    ✅ เด็กแรกเกิด = หิวนม → ได้กิน → รู้สึกมีความสุข
    ✅ โตขึ้น = ได้ของเล่น → เล่นจนเบื่อ → เปลี่ยนของเล่นใหม่
    ✅ เป็นวัยรุ่น = มีมือถือ → พอเก่าแล้วต้องซื้อใหม่
    ✅ เป็นผู้ใหญ่ = มีแฟน → เปลี่ยนแฟน → แต่งงาน → เลิกกัน
    ✅ มีงาน มีธุรกิจ → สูญเสีย → เริ่มใหม่

    💡 ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ

    ความรู้สึกว่า "มี" → เป็นเพียงภาพลวงของจิต

    ความจริงคือ "ไม่มีอะไรอยู่กับเราตลอดไป"



    ---

    🔍 2️⃣ ทำไมเราถึงคิดว่า "ตัวเรา" มีอยู่จริง?

    📌 พระพุทธเจ้าสอนว่า "เราไม่มีตัวตนที่แท้จริง"
    สิ่งที่เราเรียกว่า "ตัวเรา" เกิดจาก
    ✅ กาย (ร่างกาย) → มีความเสื่อมไปเรื่อยๆ
    ✅ เวทนา (ความรู้สึก) → มีสุข ทุกข์ และเฉยๆ ไม่คงที่
    ✅ สัญญา (ความจำได้หมายรู้) → ลืมแล้วลืมอีก
    ✅ สังขาร (การปรุงแต่งทางจิต) → คิดเปลี่ยนไปตลอด
    ✅ วิญญาณ (ความรับรู้) → รับรู้แล้วก็เปลี่ยนแปลงเสมอ

    💡 สรุป : "ตัวตนของเรา" = เป็นเพียงการปรุงแต่งชั่วคราว

    ไม่มีอะไรในชีวิตที่ "ของเรา" จริงๆ

    แม้แต่ร่างกาย ยังต้องคืนให้ธรรมชาติ



    ---

    🔍 3️⃣ เราจะเข้าใจ "ความว่าง" ของชีวิตได้อย่างไร?

    📌 "ความไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ไม่ใช่แค่แนวคิด
    แต่คือ ความจริงที่เห็นได้จากการเจริญสติ

    📌 วิธีฝึกให้เห็นความว่างจริงๆ
    ✅ หายใจเข้า-ออก แล้วสังเกต → ลมหายใจไม่เที่ยง
    ✅ พิจารณาร่างกาย → เคยเด็ก เคยหนุ่มสาว แล้วก็เปลี่ยนไป
    ✅ พิจารณาอารมณ์ → เดี๋ยวโกรธ เดี๋ยวหาย ไม่แน่นอน
    ✅ พิจารณาความคิด → คิดเรื่องหนึ่งแค่แป๊บเดียว เดี๋ยวก็เปลี่ยน

    💡 สุดท้ายจะเห็นว่า

    ทุกอย่างที่เราเคยยึดมั่น → ล้วนเปลี่ยนแปลงหมด

    ไม่มีอะไรที่ "ของเรา" ตลอดไป



    ---

    🔍 4️⃣ เมื่อเข้าใจ "ความไม่มีอะไรเป็นของเรา" แล้วควรทำอย่างไร?

    🌿 "ชีวิตเป็นเพียงการยืมใช้ชั่วคราว"
    📌 ดังนั้น เราควร…
    ✅ ใช้ชีวิตให้มีประโยชน์กับตัวเองและผู้อื่น
    ✅ ไม่ยึดติดกับสิ่งใดเกินไป
    ✅ ฝึกให้จิตใจเป็นอิสระจากความทุกข์

    📌 สิ่งที่ควรฝึกในชีวิตประจำวัน
    ✅ เจริญสติ : อยู่กับปัจจุบัน ไม่จมกับอดีต ไม่หลงอนาคต
    ✅ ฝึกปล่อยวาง : อะไรที่ไม่ใช่ของเรา ก็คืนให้ธรรมชาติ
    ✅ ทำบุญ ทำทาน : ให้สิ่งดีๆ ออกไป ไม่ใช่เพื่อยึดถือ แต่เพื่อช่วยผู้อื่น

    💡 "เรามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร?"
    ไม่ใช่เพื่อสะสมสิ่งของ
    ไม่ใช่เพื่อยึดติดกับความสัมพันธ์
    แต่เพื่อ เรียนรู้ และปล่อยวาง


    ---

    ✅ สรุป : ความจริงของชีวิตที่เราต้องเข้าใจ

    📌 1. ไม่มีอะไรเป็นของเราจริงๆ ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงเสมอ
    📌 2. "ตัวเรา" เป็นเพียงการปรุงแต่งของจิต
    📌 3. ความว่าง ไม่ใช่ความสูญเปล่า แต่เป็นอิสระจากการยึดติด
    📌 4. ใช้ชีวิตให้มีคุณค่า แต่ไม่ต้องยึดติดกับสิ่งใด

    🌿 "สุดท้ายแล้ว แม้แต่ร่างกายเราก็ต้องคืนให้โลก"
    🌿 "อยู่กับปัจจุบัน ทำสิ่งดี แล้วปล่อยวาง"

    💙 นี่คือหนทางสู่ความสุขที่แท้จริง 💙

    📌 ความจริงของชีวิต : เรามีอะไรอยู่จริงหรือไม่? (วิเคราะห์จากหลักพุทธศาสนา และการเจริญสติ) --- 🔍 1️⃣ ตั้งแต่เกิดมา เรามีอะไรอยู่จริงหรือไม่? 🌱 ความรู้สึกว่า "เราได้อะไร" หรือ "เรามีอะไร" เป็นเพียง "กระบวนการของจิต" ไม่ใช่ของที่แท้จริง ไม่ใช่สิ่งที่เป็นของเราเสมอไป 📌 ตั้งแต่เกิดมา จิตของเราถูกฝึกให้ยึดมั่นถือมั่น ✅ เด็กแรกเกิด = หิวนม → ได้กิน → รู้สึกมีความสุข ✅ โตขึ้น = ได้ของเล่น → เล่นจนเบื่อ → เปลี่ยนของเล่นใหม่ ✅ เป็นวัยรุ่น = มีมือถือ → พอเก่าแล้วต้องซื้อใหม่ ✅ เป็นผู้ใหญ่ = มีแฟน → เปลี่ยนแฟน → แต่งงาน → เลิกกัน ✅ มีงาน มีธุรกิจ → สูญเสีย → เริ่มใหม่ 💡 ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ความรู้สึกว่า "มี" → เป็นเพียงภาพลวงของจิต ความจริงคือ "ไม่มีอะไรอยู่กับเราตลอดไป" --- 🔍 2️⃣ ทำไมเราถึงคิดว่า "ตัวเรา" มีอยู่จริง? 📌 พระพุทธเจ้าสอนว่า "เราไม่มีตัวตนที่แท้จริง" สิ่งที่เราเรียกว่า "ตัวเรา" เกิดจาก ✅ กาย (ร่างกาย) → มีความเสื่อมไปเรื่อยๆ ✅ เวทนา (ความรู้สึก) → มีสุข ทุกข์ และเฉยๆ ไม่คงที่ ✅ สัญญา (ความจำได้หมายรู้) → ลืมแล้วลืมอีก ✅ สังขาร (การปรุงแต่งทางจิต) → คิดเปลี่ยนไปตลอด ✅ วิญญาณ (ความรับรู้) → รับรู้แล้วก็เปลี่ยนแปลงเสมอ 💡 สรุป : "ตัวตนของเรา" = เป็นเพียงการปรุงแต่งชั่วคราว ไม่มีอะไรในชีวิตที่ "ของเรา" จริงๆ แม้แต่ร่างกาย ยังต้องคืนให้ธรรมชาติ --- 🔍 3️⃣ เราจะเข้าใจ "ความว่าง" ของชีวิตได้อย่างไร? 📌 "ความไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ไม่ใช่แค่แนวคิด แต่คือ ความจริงที่เห็นได้จากการเจริญสติ 📌 วิธีฝึกให้เห็นความว่างจริงๆ ✅ หายใจเข้า-ออก แล้วสังเกต → ลมหายใจไม่เที่ยง ✅ พิจารณาร่างกาย → เคยเด็ก เคยหนุ่มสาว แล้วก็เปลี่ยนไป ✅ พิจารณาอารมณ์ → เดี๋ยวโกรธ เดี๋ยวหาย ไม่แน่นอน ✅ พิจารณาความคิด → คิดเรื่องหนึ่งแค่แป๊บเดียว เดี๋ยวก็เปลี่ยน 💡 สุดท้ายจะเห็นว่า ทุกอย่างที่เราเคยยึดมั่น → ล้วนเปลี่ยนแปลงหมด ไม่มีอะไรที่ "ของเรา" ตลอดไป --- 🔍 4️⃣ เมื่อเข้าใจ "ความไม่มีอะไรเป็นของเรา" แล้วควรทำอย่างไร? 🌿 "ชีวิตเป็นเพียงการยืมใช้ชั่วคราว" 📌 ดังนั้น เราควร… ✅ ใช้ชีวิตให้มีประโยชน์กับตัวเองและผู้อื่น ✅ ไม่ยึดติดกับสิ่งใดเกินไป ✅ ฝึกให้จิตใจเป็นอิสระจากความทุกข์ 📌 สิ่งที่ควรฝึกในชีวิตประจำวัน ✅ เจริญสติ : อยู่กับปัจจุบัน ไม่จมกับอดีต ไม่หลงอนาคต ✅ ฝึกปล่อยวาง : อะไรที่ไม่ใช่ของเรา ก็คืนให้ธรรมชาติ ✅ ทำบุญ ทำทาน : ให้สิ่งดีๆ ออกไป ไม่ใช่เพื่อยึดถือ แต่เพื่อช่วยผู้อื่น 💡 "เรามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร?" ไม่ใช่เพื่อสะสมสิ่งของ ไม่ใช่เพื่อยึดติดกับความสัมพันธ์ แต่เพื่อ เรียนรู้ และปล่อยวาง --- ✅ สรุป : ความจริงของชีวิตที่เราต้องเข้าใจ 📌 1. ไม่มีอะไรเป็นของเราจริงๆ ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงเสมอ 📌 2. "ตัวเรา" เป็นเพียงการปรุงแต่งของจิต 📌 3. ความว่าง ไม่ใช่ความสูญเปล่า แต่เป็นอิสระจากการยึดติด 📌 4. ใช้ชีวิตให้มีคุณค่า แต่ไม่ต้องยึดติดกับสิ่งใด 🌿 "สุดท้ายแล้ว แม้แต่ร่างกายเราก็ต้องคืนให้โลก" 🌿 "อยู่กับปัจจุบัน ทำสิ่งดี แล้วปล่อยวาง" 💙 นี่คือหนทางสู่ความสุขที่แท้จริง 💙
    0 Comments 0 Shares 630 Views 0 Reviews
  • 📌 วิธีปล่อยวางความรัก 10 ปี เลือกทางไหนดีที่สุด?

    หากเคยชินกับการ ยึดติดความสัมพันธ์มา 10 ปี
    ตอนนี้มี 4 ทางเลือก ที่จะช่วยให้ใจคลี่คลายจากอดีต

    ---

    🎯 ทางเลือกที่ 1: ปล่อยเลยตามเลย (จมอยู่กับอดีต)

    > "จะเสียเวลากับความเศร้าไปกี่สิบปีก็ช่างมัน"
    "จมกับอดีตต่อไปแบบไม่ต้องทำอะไรเลย"

    ❌ ผลลัพธ์:

    ความคิดแบบนี้เป็น บ่อเกิดของโรคย้ำคิดย้ำทำ

    มีแต่จะ วนเวียนจมอยู่กับอดีตไปเรื่อยๆ

    เวลา 10 ปีที่ผ่านมา กลายเป็นกำแพงขังใจ

    ทุกข์ไม่มีวันจบ เพราะ ไม่มีความพยายามปล่อยวางเลย

    👉 สรุป: ทางเลือกที่แย่ที่สุด!

    ---

    🎯 ทางเลือกที่ 2: ใช้เวลา 10 ปีสร้างความเคยชินใหม่

    > "ใช้เวลา 10 ปีสร้างนิสัยใหม่"
    "ค่อยๆ ฝึกคิดว่า เขาไม่เคยเป็นของเรา"
    "เวลาจะค่อยๆ ทำให้ทุกอย่างดีขึ้นเอง"

    ✅ ผลลัพธ์:

    ค่อยๆ ปรับจิตให้ ยอมรับความจริง ว่าเขาไม่ใช่ของเรา

    ทำให้ ใช้ชีวิตโดยไม่มีเขาได้ง่ายขึ้น

    อาจต้องใช้เวลานาน แต่ในที่สุดจะทำใจได้

    ❌ ข้อเสีย:

    ใช้เวลานาน กว่าจิตจะคุ้นชิน

    หากยัง "คิดถึงเขาทุกวัน" จะวนอยู่ในอดีตไปอีก 10 ปี

    👉 สรุป: ทางเลือกแบบทั่วไปที่คนส่วนใหญ่ใช้ (แต่ช้า)

    ---

    🎯 ทางเลือกที่ 3: ใช้เวลา 10 เดือนฝึกจิตให้สงบ

    > "ใช้เวลา 10 เดือนสวดมนต์ นั่งสมาธิ"
    "ฝึกให้จิตมีความสุขกับความวิเวก"
    "เปลี่ยนจากความสุขแบบพึ่งพา → เป็นสุขที่อยู่กับตัวเอง"

    ✅ ผลลัพธ์:

    ช่วยให้ใจสงบเร็วขึ้น กว่าการรอให้เวลาเยียวยา

    สร้าง ความสุขจากข้างใน ไม่ต้องพึ่งพาความรักจากคนอื่น

    ทำให้ ปล่อยวางเร็วขึ้น และมี ความสงบเป็นที่พึ่ง

    ❌ ข้อเสีย:

    อาจมีบางช่วงที่ จิตยังเผลอกลับไปคิดถึงเขา

    ต้อง มีวินัยในการปฏิบัติธรรม (หากทำๆ หยุดๆ จะไม่เห็นผล)

    👉 สรุป: ทางเลือกที่ดีมาก หากฝึกอย่างต่อเนื่อง

    ---

    🎯 ทางเลือกที่ 4: ใช้เวลา 10 วันฝึก "สติรู้ทันความยึดติด" (เร็วที่สุด!)

    > "ฝึกสังเกตอารมณ์ตัวเองวันละลมหายใจ"
    "เห็นว่าความเศร้าไม่คงที่ แปรเปลี่ยนตลอดเวลา"
    "เมื่อจิตเห็นความจริงของอารมณ์ ความยึดมั่นจะหายไปเอง"

    ✅ ผลลัพธ์:

    ช่วยปล่อยวางได้เร็วที่สุด

    ทำให้ เข้าใจธรรมชาติของอารมณ์ และเห็นว่ามันไม่เที่ยง

    ลดความยึดมั่นว่า "ฉันเป็นเจ้าของเขา" → "เขาไม่ใช่ของฉัน"

    ❌ ข้อเสีย:

    ต้องใช้ สติสูงมาก และต้อง ฝึกอย่างจริงจัง

    ต้องยอมรับว่า "เราควบคุมความคิดไม่ได้ แต่เราดูมันได้"

    👉 สรุป: ทางเลือกที่เร็วและมีประสิทธิภาพที่สุด

    ---

    🎯 สรุป: อยากพ้นทุกข์เร็ว ควรเลือกทางไหน?

    ✅ ถ้าอยากพ้นทุกข์เร็ว → เลือกทางที่ 4 (ฝึกสติรู้ทัน)
    ✅ ถ้าอยากใช้เวลาปรับตัวให้คุ้นชิน → เลือกทางที่ 2 (ใช้เวลา 10 ปี)
    ✅ ถ้าอยากให้จิตสงบเป็นสุข → เลือกทางที่ 3 (ฝึกสมาธิ 10 เดือน)
    ❌ ห้ามเลือกทางที่ 1 เด็ดขาด เพราะมันจะทำให้จมอยู่กับอดีตไปเรื่อยๆ

    ---

    💡 วิธีฝึก "สติรู้ทัน" เพื่อปล่อยวางเร็วที่สุด

    1️⃣ หายใจเข้า-ออกช้าๆ แล้วดูว่า "อารมณ์เปลี่ยนแปลงทุกลมหายใจ"
    2️⃣ สังเกตว่า "ความเศร้าแปรเปลี่ยนตลอดเวลา" มันไม่ได้อยู่คงที่
    3️⃣ บอกตัวเองว่า "ฉันไม่ใช่ความเศร้า ความเศร้าก็ไม่ใช่ฉัน"
    4️⃣ เมื่อเห็นว่า "อารมณ์ไม่เที่ยง" ใจก็จะคลายจากการยึดติดไปเอง

    📌 "เมื่อจิตเห็นความจริงของอารมณ์ ใจก็เป็นอิสระจากอดีต" 🔥
    📌 วิธีปล่อยวางความรัก 10 ปี เลือกทางไหนดีที่สุด? หากเคยชินกับการ ยึดติดความสัมพันธ์มา 10 ปี ตอนนี้มี 4 ทางเลือก ที่จะช่วยให้ใจคลี่คลายจากอดีต --- 🎯 ทางเลือกที่ 1: ปล่อยเลยตามเลย (จมอยู่กับอดีต) > "จะเสียเวลากับความเศร้าไปกี่สิบปีก็ช่างมัน" "จมกับอดีตต่อไปแบบไม่ต้องทำอะไรเลย" ❌ ผลลัพธ์: ความคิดแบบนี้เป็น บ่อเกิดของโรคย้ำคิดย้ำทำ มีแต่จะ วนเวียนจมอยู่กับอดีตไปเรื่อยๆ เวลา 10 ปีที่ผ่านมา กลายเป็นกำแพงขังใจ ทุกข์ไม่มีวันจบ เพราะ ไม่มีความพยายามปล่อยวางเลย 👉 สรุป: ทางเลือกที่แย่ที่สุด! --- 🎯 ทางเลือกที่ 2: ใช้เวลา 10 ปีสร้างความเคยชินใหม่ > "ใช้เวลา 10 ปีสร้างนิสัยใหม่" "ค่อยๆ ฝึกคิดว่า เขาไม่เคยเป็นของเรา" "เวลาจะค่อยๆ ทำให้ทุกอย่างดีขึ้นเอง" ✅ ผลลัพธ์: ค่อยๆ ปรับจิตให้ ยอมรับความจริง ว่าเขาไม่ใช่ของเรา ทำให้ ใช้ชีวิตโดยไม่มีเขาได้ง่ายขึ้น อาจต้องใช้เวลานาน แต่ในที่สุดจะทำใจได้ ❌ ข้อเสีย: ใช้เวลานาน กว่าจิตจะคุ้นชิน หากยัง "คิดถึงเขาทุกวัน" จะวนอยู่ในอดีตไปอีก 10 ปี 👉 สรุป: ทางเลือกแบบทั่วไปที่คนส่วนใหญ่ใช้ (แต่ช้า) --- 🎯 ทางเลือกที่ 3: ใช้เวลา 10 เดือนฝึกจิตให้สงบ > "ใช้เวลา 10 เดือนสวดมนต์ นั่งสมาธิ" "ฝึกให้จิตมีความสุขกับความวิเวก" "เปลี่ยนจากความสุขแบบพึ่งพา → เป็นสุขที่อยู่กับตัวเอง" ✅ ผลลัพธ์: ช่วยให้ใจสงบเร็วขึ้น กว่าการรอให้เวลาเยียวยา สร้าง ความสุขจากข้างใน ไม่ต้องพึ่งพาความรักจากคนอื่น ทำให้ ปล่อยวางเร็วขึ้น และมี ความสงบเป็นที่พึ่ง ❌ ข้อเสีย: อาจมีบางช่วงที่ จิตยังเผลอกลับไปคิดถึงเขา ต้อง มีวินัยในการปฏิบัติธรรม (หากทำๆ หยุดๆ จะไม่เห็นผล) 👉 สรุป: ทางเลือกที่ดีมาก หากฝึกอย่างต่อเนื่อง --- 🎯 ทางเลือกที่ 4: ใช้เวลา 10 วันฝึก "สติรู้ทันความยึดติด" (เร็วที่สุด!) > "ฝึกสังเกตอารมณ์ตัวเองวันละลมหายใจ" "เห็นว่าความเศร้าไม่คงที่ แปรเปลี่ยนตลอดเวลา" "เมื่อจิตเห็นความจริงของอารมณ์ ความยึดมั่นจะหายไปเอง" ✅ ผลลัพธ์: ช่วยปล่อยวางได้เร็วที่สุด ทำให้ เข้าใจธรรมชาติของอารมณ์ และเห็นว่ามันไม่เที่ยง ลดความยึดมั่นว่า "ฉันเป็นเจ้าของเขา" → "เขาไม่ใช่ของฉัน" ❌ ข้อเสีย: ต้องใช้ สติสูงมาก และต้อง ฝึกอย่างจริงจัง ต้องยอมรับว่า "เราควบคุมความคิดไม่ได้ แต่เราดูมันได้" 👉 สรุป: ทางเลือกที่เร็วและมีประสิทธิภาพที่สุด --- 🎯 สรุป: อยากพ้นทุกข์เร็ว ควรเลือกทางไหน? ✅ ถ้าอยากพ้นทุกข์เร็ว → เลือกทางที่ 4 (ฝึกสติรู้ทัน) ✅ ถ้าอยากใช้เวลาปรับตัวให้คุ้นชิน → เลือกทางที่ 2 (ใช้เวลา 10 ปี) ✅ ถ้าอยากให้จิตสงบเป็นสุข → เลือกทางที่ 3 (ฝึกสมาธิ 10 เดือน) ❌ ห้ามเลือกทางที่ 1 เด็ดขาด เพราะมันจะทำให้จมอยู่กับอดีตไปเรื่อยๆ --- 💡 วิธีฝึก "สติรู้ทัน" เพื่อปล่อยวางเร็วที่สุด 1️⃣ หายใจเข้า-ออกช้าๆ แล้วดูว่า "อารมณ์เปลี่ยนแปลงทุกลมหายใจ" 2️⃣ สังเกตว่า "ความเศร้าแปรเปลี่ยนตลอดเวลา" มันไม่ได้อยู่คงที่ 3️⃣ บอกตัวเองว่า "ฉันไม่ใช่ความเศร้า ความเศร้าก็ไม่ใช่ฉัน" 4️⃣ เมื่อเห็นว่า "อารมณ์ไม่เที่ยง" ใจก็จะคลายจากการยึดติดไปเอง 📌 "เมื่อจิตเห็นความจริงของอารมณ์ ใจก็เป็นอิสระจากอดีต" 🔥
    0 Comments 0 Shares 388 Views 0 Reviews
  • ความอยากรู้อยากเห็นเรื่องชาวบ้าน : กับดักที่ดึงจิตลงเหว

    การเสพติดข่าวสารเรื่องของคนอื่น เป็น "กับดักจิต" ที่ดูดพลังงานมหาศาลโดยไม่รู้ตัว

    🌀 ดูดความคิด → ทำให้สมองยุ่งเหยิง คิดไปเอง ตีความผิดเพี้ยน

    ⏳ ดูดเวลา → แทนที่จะใช้เวลาพัฒนาตัวเอง กลับหมดไปกับเรื่องไร้สาระ

    🔋 ดูดพลังจิต → จากที่จะใช้พลังงานกับสิ่งที่สร้างสรรค์ กลับไปจมอยู่กับเรื่องชาวบ้าน

    ---

    📌 3 กับดักใหญ่ของ "การเผือก" เรื่องชาวบ้าน

    1️⃣ หลงคิดว่าการรู้เรื่องชาวบ้าน = ฉลาดรอบตัว

    แท้จริงแล้วเป็นการ สะสมความเชื่อผิดๆ

    การรู้เยอะ แต่ไม่รู้จริง = เพิ่มอัตตา ลดปัญญา

    2️⃣ หลงคิดว่าการเผือก = ได้เปรียบ

    คิดว่ารู้เรื่องคนอื่นจะทำให้เรา มีอำนาจ

    สุดท้ายกลายเป็น ขี้เมาท์ ไร้สาระ คนไม่เชื่อถือ

    3️⃣ หลงคิดว่าความจริงต้องเป็นไปตามที่เราเชื่อ

    สร้าง "อุปาทาน" และ "มายาคติ" ขึ้นมาเอง

    ทำให้ ใจฟุ้งซ่าน กังวลไปกับเรื่องที่ไม่ใช่ของเรา

    ---

    📌 วิธีเลิกเสพติดเรื่องชาวบ้าน (หยุดเผือก = จิตเบิกบาน)

    ✔ 1. หันมาสังเกตใจตัวเองแทนที่จะสังเกตชีวิตคนอื่น

    ถามตัวเองว่า "เรื่องที่กำลังสนใจ มันมีผลอะไรกับชีวิตฉันไหม?"

    ถ้ารู้แล้วไม่ได้พัฒนาตัวเอง → ไม่ต้องรู้

    ✔ 2. ฝึกสติ → ทุกครั้งที่อยากรู้เรื่องชาวบ้าน ให้ย้อนถามตัวเอง

    "ฉันกำลังจะรู้อะไร?" → เป็นเรื่องจริง หรือ แค่ข่าวลือ?

    "ฉันได้อะไรจากการรู้?" → ได้บุญหรือได้บาป?

    ✔ 3. ฝึกใจให้มีความสุขกับ "เรื่องของตัวเอง"

    ชีวิตคุณมีอะไรต้องพัฒนาอีกมาก ทำไมต้องเสียเวลาไปกับเรื่องที่ไม่ใช่ของเรา?

    ใช้พลังไปกับ "การเรียนรู้" และ "การพัฒนาตัวเอง" ดีกว่า

    ---

    📌 สรุป : เลิกเผือก → ใจเบาสบาย → จิตเตรียมเบ่งบานเป็นพุทธแท้!

    เผือก = ฟุ้งซ่าน = เสียเวลา

    หยุดเผือก = มีสติ = ชีวิตดีขึ้น

    รู้เรื่องตัวเอง = พัฒนาได้

    รู้เรื่องชาวบ้าน = ได้อะไร?

    ✨ เลือกให้ดี ว่าจะเอาสติ หรือเอาอุปาทาน
    ✨ ถ้ารู้แล้วไม่มีประโยชน์ = ไม่ต้องรู้!
    ความอยากรู้อยากเห็นเรื่องชาวบ้าน : กับดักที่ดึงจิตลงเหว การเสพติดข่าวสารเรื่องของคนอื่น เป็น "กับดักจิต" ที่ดูดพลังงานมหาศาลโดยไม่รู้ตัว 🌀 ดูดความคิด → ทำให้สมองยุ่งเหยิง คิดไปเอง ตีความผิดเพี้ยน ⏳ ดูดเวลา → แทนที่จะใช้เวลาพัฒนาตัวเอง กลับหมดไปกับเรื่องไร้สาระ 🔋 ดูดพลังจิต → จากที่จะใช้พลังงานกับสิ่งที่สร้างสรรค์ กลับไปจมอยู่กับเรื่องชาวบ้าน --- 📌 3 กับดักใหญ่ของ "การเผือก" เรื่องชาวบ้าน 1️⃣ หลงคิดว่าการรู้เรื่องชาวบ้าน = ฉลาดรอบตัว แท้จริงแล้วเป็นการ สะสมความเชื่อผิดๆ การรู้เยอะ แต่ไม่รู้จริง = เพิ่มอัตตา ลดปัญญา 2️⃣ หลงคิดว่าการเผือก = ได้เปรียบ คิดว่ารู้เรื่องคนอื่นจะทำให้เรา มีอำนาจ สุดท้ายกลายเป็น ขี้เมาท์ ไร้สาระ คนไม่เชื่อถือ 3️⃣ หลงคิดว่าความจริงต้องเป็นไปตามที่เราเชื่อ สร้าง "อุปาทาน" และ "มายาคติ" ขึ้นมาเอง ทำให้ ใจฟุ้งซ่าน กังวลไปกับเรื่องที่ไม่ใช่ของเรา --- 📌 วิธีเลิกเสพติดเรื่องชาวบ้าน (หยุดเผือก = จิตเบิกบาน) ✔ 1. หันมาสังเกตใจตัวเองแทนที่จะสังเกตชีวิตคนอื่น ถามตัวเองว่า "เรื่องที่กำลังสนใจ มันมีผลอะไรกับชีวิตฉันไหม?" ถ้ารู้แล้วไม่ได้พัฒนาตัวเอง → ไม่ต้องรู้ ✔ 2. ฝึกสติ → ทุกครั้งที่อยากรู้เรื่องชาวบ้าน ให้ย้อนถามตัวเอง "ฉันกำลังจะรู้อะไร?" → เป็นเรื่องจริง หรือ แค่ข่าวลือ? "ฉันได้อะไรจากการรู้?" → ได้บุญหรือได้บาป? ✔ 3. ฝึกใจให้มีความสุขกับ "เรื่องของตัวเอง" ชีวิตคุณมีอะไรต้องพัฒนาอีกมาก ทำไมต้องเสียเวลาไปกับเรื่องที่ไม่ใช่ของเรา? ใช้พลังไปกับ "การเรียนรู้" และ "การพัฒนาตัวเอง" ดีกว่า --- 📌 สรุป : เลิกเผือก → ใจเบาสบาย → จิตเตรียมเบ่งบานเป็นพุทธแท้! เผือก = ฟุ้งซ่าน = เสียเวลา หยุดเผือก = มีสติ = ชีวิตดีขึ้น รู้เรื่องตัวเอง = พัฒนาได้ รู้เรื่องชาวบ้าน = ได้อะไร? ✨ เลือกให้ดี ว่าจะเอาสติ หรือเอาอุปาทาน ✨ ถ้ารู้แล้วไม่มีประโยชน์ = ไม่ต้องรู้!
    0 Comments 0 Shares 360 Views 0 Reviews
  • การลดกรรมกับคนที่มีเวรพัวพันกัน

    ทำความเข้าใจกรรมที่ผูกพัน

    1. ถามระดับความทุกข์ในใจ

    รู้สึกบีบคั้นแค่ไหน?

    ทุกข์ที่เผชิญอยู่เข้มข้น เบาบาง หรือหนักหน่วงถึงขั้นแทบเป็นแทบตาย?

    2. ตรวจสอบว่าความทุกข์เลี่ยงได้หรือไม่

    เลี่ยงไม่ได้: แม้พยายามหลบหลีก หรือทำดีแค่ไหน แต่สถานการณ์ไม่ดีขึ้นเลย

    เลี่ยงได้แต่ไม่ยอมเลี่ยง: เรายังคงยึดติดหรือเอาใจไปผูกพันกับสถานการณ์เอง

    3. สันนิษฐานต้นเหตุ

    เราอาจเคยบีบคั้นเขาให้ทุกข์ในลักษณะเดียวกันในอดีต

    ถ้าเคยบีบคั้นเขาแบบไม่เปิดโอกาสให้หลบเลี่ยง เราก็จะได้รับผลกรรมแบบเดียวกัน

    ---

    วิธีลดกรรม

    1. คลี่คลายใจตัวเองก่อน

    อย่าตั้งความหวังว่าเขาจะมาดีกับเรา เพราะการคาดหวังเกินตัวจะเพิ่มทุกข์

    ตั้งเป้าหมายลดทุกข์ในใจของตัวเองก่อน โดย เจริญสติ และฝึกมองเห็นความไม่เที่ยงของใจ

    2. ฝึกใจให้วางลง

    เปรียบเสมือนเชือกที่ตึงจากแรงดึงของทั้งสองขั้ว

    ถ้าเราผ่อนความคาดหวัง ลดทิฐิมานะ ความตึงเครียดจะลดลง

    3. เจริญสติอย่างถูกวิธี

    การเจริญสติช่วยให้เราเห็นว่า ใจไม่เที่ยงและคลายการยึดมั่นในตนเอง

    เมื่อเกิดปัญญาเห็นตามจริงว่า "เวร" ไม่ใช่ของเรา ใจก็จะเบาลง

    4. ใช้ศีลเป็นเครื่องค้ำจุน

    การถือศีลช่วยควบคุมการกระทำไม่ให้สร้างเวรกรรมใหม่

    แม้ไม่ได้ลดทุกข์ทันที แต่ช่วยเตรียมใจให้สงบและพร้อมสำหรับการเจริญสติ

    ---

    ผลของการลดกรรม

    เมื่อจิตใจเบาลงและคลี่คลายจากความยึดมั่นในเวร

    ความสัมพันธ์กับคนที่มีเวรพัวพันจะเริ่มผ่อนคลาย

    เหตุการณ์ที่เคยสร้างทุกข์ให้กันจะค่อยๆจางหาย

    สุดท้ายคุณจะพบความสงบและอิสระจากพันธนาการของกรรม!
    การลดกรรมกับคนที่มีเวรพัวพันกัน ทำความเข้าใจกรรมที่ผูกพัน 1. ถามระดับความทุกข์ในใจ รู้สึกบีบคั้นแค่ไหน? ทุกข์ที่เผชิญอยู่เข้มข้น เบาบาง หรือหนักหน่วงถึงขั้นแทบเป็นแทบตาย? 2. ตรวจสอบว่าความทุกข์เลี่ยงได้หรือไม่ เลี่ยงไม่ได้: แม้พยายามหลบหลีก หรือทำดีแค่ไหน แต่สถานการณ์ไม่ดีขึ้นเลย เลี่ยงได้แต่ไม่ยอมเลี่ยง: เรายังคงยึดติดหรือเอาใจไปผูกพันกับสถานการณ์เอง 3. สันนิษฐานต้นเหตุ เราอาจเคยบีบคั้นเขาให้ทุกข์ในลักษณะเดียวกันในอดีต ถ้าเคยบีบคั้นเขาแบบไม่เปิดโอกาสให้หลบเลี่ยง เราก็จะได้รับผลกรรมแบบเดียวกัน --- วิธีลดกรรม 1. คลี่คลายใจตัวเองก่อน อย่าตั้งความหวังว่าเขาจะมาดีกับเรา เพราะการคาดหวังเกินตัวจะเพิ่มทุกข์ ตั้งเป้าหมายลดทุกข์ในใจของตัวเองก่อน โดย เจริญสติ และฝึกมองเห็นความไม่เที่ยงของใจ 2. ฝึกใจให้วางลง เปรียบเสมือนเชือกที่ตึงจากแรงดึงของทั้งสองขั้ว ถ้าเราผ่อนความคาดหวัง ลดทิฐิมานะ ความตึงเครียดจะลดลง 3. เจริญสติอย่างถูกวิธี การเจริญสติช่วยให้เราเห็นว่า ใจไม่เที่ยงและคลายการยึดมั่นในตนเอง เมื่อเกิดปัญญาเห็นตามจริงว่า "เวร" ไม่ใช่ของเรา ใจก็จะเบาลง 4. ใช้ศีลเป็นเครื่องค้ำจุน การถือศีลช่วยควบคุมการกระทำไม่ให้สร้างเวรกรรมใหม่ แม้ไม่ได้ลดทุกข์ทันที แต่ช่วยเตรียมใจให้สงบและพร้อมสำหรับการเจริญสติ --- ผลของการลดกรรม เมื่อจิตใจเบาลงและคลี่คลายจากความยึดมั่นในเวร ความสัมพันธ์กับคนที่มีเวรพัวพันจะเริ่มผ่อนคลาย เหตุการณ์ที่เคยสร้างทุกข์ให้กันจะค่อยๆจางหาย สุดท้ายคุณจะพบความสงบและอิสระจากพันธนาการของกรรม!
    0 Comments 0 Shares 320 Views 0 Reviews
  • ข้อความนี้ชี้ให้เห็นถึงอำนาจของความคิดที่มีต่อชีวิตของเรา โดยเฉพาะความคิดในแง่ลบที่อาจทำให้เรารู้สึกเจ็บปวด สับสน และหลงทางได้มากกว่าสิ่งอื่นใด การที่เราไม่สามารถบังคับความคิดหรือกำจัดความคิดร้ายๆ ให้หายไปได้ตามใจต้องการ ทำให้เรามองเห็นสัจธรรมข้อหนึ่งของพุทธศาสนา นั่นคือ "อนัตตา" ความคิดไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวเรา และไม่อาจควบคุมได้อย่างแท้จริง

    เมื่อเรารู้จักตามดูความคิด โดยไม่ไปสู้หรือเล่นกับมัน เราจะสังเกตได้ว่าความคิดเหล่านั้นค่อยๆ รบกวนจิตใจน้อยลง การเฝ้าดูโดยไม่ตัดสินหรือพยายามบังคับให้มันหายไปทำให้เราได้เข้าใจธรรมชาติของความคิดว่าเป็นเพียงสิ่งชั่วคราว เป็นสิ่งที่มาแล้วก็ไป

    การฝึกยอมรับความคิดตามที่มันเป็นจะช่วยให้เรามองเห็นธรรมชาติที่ไม่แน่นอนและไร้ตัวตนของมันได้ชัดเจนขึ้น นี่คือทางหนึ่งที่พุทธศาสนาชี้ให้เราเห็นถึงการปล่อยวาง เมื่อเรายอมรับความคิดอย่างที่มันเป็น เราจะรู้สึกเบาขึ้น และไม่ถูกความคิดร้ายๆ ควบคุมใจให้มืดมนอีกต่อไป
    ข้อความนี้ชี้ให้เห็นถึงอำนาจของความคิดที่มีต่อชีวิตของเรา โดยเฉพาะความคิดในแง่ลบที่อาจทำให้เรารู้สึกเจ็บปวด สับสน และหลงทางได้มากกว่าสิ่งอื่นใด การที่เราไม่สามารถบังคับความคิดหรือกำจัดความคิดร้ายๆ ให้หายไปได้ตามใจต้องการ ทำให้เรามองเห็นสัจธรรมข้อหนึ่งของพุทธศาสนา นั่นคือ "อนัตตา" ความคิดไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวเรา และไม่อาจควบคุมได้อย่างแท้จริง เมื่อเรารู้จักตามดูความคิด โดยไม่ไปสู้หรือเล่นกับมัน เราจะสังเกตได้ว่าความคิดเหล่านั้นค่อยๆ รบกวนจิตใจน้อยลง การเฝ้าดูโดยไม่ตัดสินหรือพยายามบังคับให้มันหายไปทำให้เราได้เข้าใจธรรมชาติของความคิดว่าเป็นเพียงสิ่งชั่วคราว เป็นสิ่งที่มาแล้วก็ไป การฝึกยอมรับความคิดตามที่มันเป็นจะช่วยให้เรามองเห็นธรรมชาติที่ไม่แน่นอนและไร้ตัวตนของมันได้ชัดเจนขึ้น นี่คือทางหนึ่งที่พุทธศาสนาชี้ให้เราเห็นถึงการปล่อยวาง เมื่อเรายอมรับความคิดอย่างที่มันเป็น เราจะรู้สึกเบาขึ้น และไม่ถูกความคิดร้ายๆ ควบคุมใจให้มืดมนอีกต่อไป
    0 Comments 0 Shares 370 Views 0 Reviews
  • ดร. นพ. ฮิเดกิ วาดะ แนะนำ ให้ผู้ที่มีอายุ 70 ขึ้นไป มีพฤติกรรมดังนี้ จะมีอายุยืนยาวเกิน 90 ปีแน่ๆ คือ

    1. ต้องเดินทุกวัน พยายามเดินให้ได้วันละ ไม่น้อยกว่า 15 นาที
    2. เมื่อนึกขึ้นได้เมื่อไร ให้หายใจยาวๆลึกๆ ให้ออกซิเจนไปเลี้ยงสมอง
    3. พยายามยืดเส้น ยืดกล้ามเนื้อ บิดเนื้อ บิดตัวเป็นครั้งคราว
    4. จิบน้ำบ่อยๆ แม้จะไม่กระหายน้ำก็ตาม พยายามจิบน้ำให้ได้มากขึ้น
    5. อายุมากแล้ว อย่าปล่อยให้ท้องผูก กินอหารมีกากใย ลดโปรตีนจากเนื้อสัตว์ให้น้อยลง
    6. พยายามขยับปาก จะเคี้ยว จะพูด จะร้องเหลง เป็นสิ่งที่ควรทำ
    7. ความจำเสื่อมไม่ใช่เพราะอายุมาก แต่ เพราะไม่ใช้สมองเลยนั่นเอง
    8. ไม่ต้องกินยาเยอะ กินเท่าที่จำเป็น
    9. พยายามวัดความดันเลือดบ่อยๆ เพื่อคุมไม่ให้ความดันสวิง
    10. ทำอารมณ์ให้แจ่มใสเป็นนิจ
    11. พบปะ สังสรรค์กับเพื่อนผู้รู้ใจอยู่เนืองๆ
    12. ท่องเที่ยวอย่างสบายๆ ไม่โลดโผนตามโอกาส
    13. ทำในสิ่งที่ชอบ ปิดหู ปิดตา ไม่รับรู้สิ่งที่ไม่ชอบ หรือปัดทิ้งให้มากขึ้น
    14. ฝึกร้องเพลงจากระดับอนุบาล จนเข้าขั้นมหาลัย….ปอดจะแข็งแรงจนน่าทึ่ง ลดอาการเหนื่อยง่ายลงได้อย่างน่าแปลกใจ
    15.อย่านั่งนอนตลอดเวลา ให้ขยับตัวลุกเดินให้บ่อยขึ้น
    16. กินอะไรก็ได้ ที่ชอบ แต่ อย่าให้เกิดโทษต่อร่างกายนัก
    17. ทำทุกอย่าง ที่ทำให้ใจสบาย มีความสุข
    18. ปล่อยวาง ให้อภัยให้มากขึ้น
    19. รู้จักการแบ่งปันให้ผู้ขาดแคลน ด้อยโอกาส
    20. เป็นโรคอะไรอยู่ก็ตาม เรียนรู้ที่อยู่กับมัน จนคุ้นเคยจักดีกว่า
    21. มองสิ่งรอบตัวในแง่บวกเข้าไว้ เห็นอะไร ก็ดีนะ ดีที่มี ดีที่เป็น
    22. ลดความริษยา อาฆาต มาดร้าย ปลงให้เป็น เย็นให้ได้ เด๋วก็ตายจากกันแล้วววววว
    23. เคยไม่ชอบหน้าใคร ให้ลดละเลิก โดยเฉพาะเรื่องหนักๆของนักการเมืองที่ไม่ถูกใจเรา เด๋วกรรมจะจัดการมันเอง อย่าไปเครียด ประเทศไม่ใช่ของเราคนเดียว อย่าไปแบกไว้บนบ่า มันหนัก
    24. ถ้าเผลอหลับ ห้ามฝืน งีบเลย
    25. เห็นสิ่งใดดี ทำเลย สิ่งใดไม่ดี เลิกทำ ช่วยใครได้ ช่วยเลย ตายไปก็เอาอะไรไปไม่ได้ แม้แต่สลึงเดียว
    26. ให้อยู่ท่ามกลางคนดี มีจิตสาธารณะ จะมองโลกสวยงามขึ้น
    27. หา "หมอครอบครัว" อย่าเชื่อหมอที่โรงพยาบาลมากนัก
    28. อย่าบังคับตัวเองมากเกินไป ทำสิ่งที่สบายใจก่อนดีกว่า
    29.แก่แล้ว ไม่ต้องโลภ ตายแล้ว เอาอะไรไปด้วยไม่ได้ พอใจในสิ่งที่มี มีแล้วรู้จักการแบ่งปัน
    30. สิ่งใดเป็นประโยชน์ต่อผู้อิ่น ถ้าทำได้ ให้ทำทันที
    31.มองสิ่งรอบตัว ให้มีความสุข จิตเบิกบาน
    32.มีเมตตา ช่วยเหลือเกื้อกูลคน หรือ สัตว์ใดได้ ให้ทำทันที
    33. มีอะไรที่เกิดขึ้น ยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้นว่า มันเป็นเช่นนั้นเอง
    34. พยายามช่วยตัวเองให้ได้มากที่สุด ไม่ทำตัวให้เป็นภาระแก่ผู้อื่น
    35. ยอมรับความจริงว่า เมื่อมีสิ่งใดเกิดขึ้น มันจะอยู่ไม่นาน จะเป็นอยู่ชั่วคราว แล้วก็เปลี่ยนไป ในที่สุด ก็จะหมดไป ดับไป เป็นธรรมดา !!!!!

    ใครมีพฤติกรรมเช่นนี้ได้…..มีอายุยืนกว่า 90 ปี เป็นอย่างน้อย……แน่นอน❣️❣️❣️❣️❣️
    ดร. นพ. ฮิเดกิ วาดะ แนะนำ ให้ผู้ที่มีอายุ 70 ขึ้นไป มีพฤติกรรมดังนี้ จะมีอายุยืนยาวเกิน 90 ปีแน่ๆ คือ 1. ต้องเดินทุกวัน พยายามเดินให้ได้วันละ ไม่น้อยกว่า 15 นาที 2. เมื่อนึกขึ้นได้เมื่อไร ให้หายใจยาวๆลึกๆ ให้ออกซิเจนไปเลี้ยงสมอง 3. พยายามยืดเส้น ยืดกล้ามเนื้อ บิดเนื้อ บิดตัวเป็นครั้งคราว 4. จิบน้ำบ่อยๆ แม้จะไม่กระหายน้ำก็ตาม พยายามจิบน้ำให้ได้มากขึ้น 5. อายุมากแล้ว อย่าปล่อยให้ท้องผูก กินอหารมีกากใย ลดโปรตีนจากเนื้อสัตว์ให้น้อยลง 6. พยายามขยับปาก จะเคี้ยว จะพูด จะร้องเหลง เป็นสิ่งที่ควรทำ 7. ความจำเสื่อมไม่ใช่เพราะอายุมาก แต่ เพราะไม่ใช้สมองเลยนั่นเอง 8. ไม่ต้องกินยาเยอะ กินเท่าที่จำเป็น 9. พยายามวัดความดันเลือดบ่อยๆ เพื่อคุมไม่ให้ความดันสวิง 10. ทำอารมณ์ให้แจ่มใสเป็นนิจ 11. พบปะ สังสรรค์กับเพื่อนผู้รู้ใจอยู่เนืองๆ 12. ท่องเที่ยวอย่างสบายๆ ไม่โลดโผนตามโอกาส 13. ทำในสิ่งที่ชอบ ปิดหู ปิดตา ไม่รับรู้สิ่งที่ไม่ชอบ หรือปัดทิ้งให้มากขึ้น 14. ฝึกร้องเพลงจากระดับอนุบาล จนเข้าขั้นมหาลัย….ปอดจะแข็งแรงจนน่าทึ่ง ลดอาการเหนื่อยง่ายลงได้อย่างน่าแปลกใจ 15.อย่านั่งนอนตลอดเวลา ให้ขยับตัวลุกเดินให้บ่อยขึ้น 16. กินอะไรก็ได้ ที่ชอบ แต่ อย่าให้เกิดโทษต่อร่างกายนัก 17. ทำทุกอย่าง ที่ทำให้ใจสบาย มีความสุข 18. ปล่อยวาง ให้อภัยให้มากขึ้น 19. รู้จักการแบ่งปันให้ผู้ขาดแคลน ด้อยโอกาส 20. เป็นโรคอะไรอยู่ก็ตาม เรียนรู้ที่อยู่กับมัน จนคุ้นเคยจักดีกว่า 21. มองสิ่งรอบตัวในแง่บวกเข้าไว้ เห็นอะไร ก็ดีนะ ดีที่มี ดีที่เป็น 22. ลดความริษยา อาฆาต มาดร้าย ปลงให้เป็น เย็นให้ได้ เด๋วก็ตายจากกันแล้วววววว 23. เคยไม่ชอบหน้าใคร ให้ลดละเลิก โดยเฉพาะเรื่องหนักๆของนักการเมืองที่ไม่ถูกใจเรา เด๋วกรรมจะจัดการมันเอง อย่าไปเครียด ประเทศไม่ใช่ของเราคนเดียว อย่าไปแบกไว้บนบ่า มันหนัก 24. ถ้าเผลอหลับ ห้ามฝืน งีบเลย 25. เห็นสิ่งใดดี ทำเลย สิ่งใดไม่ดี เลิกทำ ช่วยใครได้ ช่วยเลย ตายไปก็เอาอะไรไปไม่ได้ แม้แต่สลึงเดียว 26. ให้อยู่ท่ามกลางคนดี มีจิตสาธารณะ จะมองโลกสวยงามขึ้น 27. หา "หมอครอบครัว" อย่าเชื่อหมอที่โรงพยาบาลมากนัก 28. อย่าบังคับตัวเองมากเกินไป ทำสิ่งที่สบายใจก่อนดีกว่า 29.แก่แล้ว ไม่ต้องโลภ ตายแล้ว เอาอะไรไปด้วยไม่ได้ พอใจในสิ่งที่มี มีแล้วรู้จักการแบ่งปัน 30. สิ่งใดเป็นประโยชน์ต่อผู้อิ่น ถ้าทำได้ ให้ทำทันที 31.มองสิ่งรอบตัว ให้มีความสุข จิตเบิกบาน 32.มีเมตตา ช่วยเหลือเกื้อกูลคน หรือ สัตว์ใดได้ ให้ทำทันที 33. มีอะไรที่เกิดขึ้น ยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้นว่า มันเป็นเช่นนั้นเอง 34. พยายามช่วยตัวเองให้ได้มากที่สุด ไม่ทำตัวให้เป็นภาระแก่ผู้อื่น 35. ยอมรับความจริงว่า เมื่อมีสิ่งใดเกิดขึ้น มันจะอยู่ไม่นาน จะเป็นอยู่ชั่วคราว แล้วก็เปลี่ยนไป ในที่สุด ก็จะหมดไป ดับไป เป็นธรรมดา !!!!! ใครมีพฤติกรรมเช่นนี้ได้…..มีอายุยืนกว่า 90 ปี เป็นอย่างน้อย……แน่นอน❣️❣️❣️❣️❣️
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 628 Views 0 Reviews
  • รูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงสิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นเป็นอนัตตาสิ่งใดเป็นหน้าตาสิ่งนั้นไม่ใช่ของเราไม่ใช่เป็นเราไม่ใช่ตัวตนของเรา
    รูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงสิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นเป็นอนัตตาสิ่งใดเป็นหน้าตาสิ่งนั้นไม่ใช่ของเราไม่ใช่เป็นเราไม่ใช่ตัวตนของเรา
    Like
    Love
    2
    0 Comments 1 Shares 335 Views 0 Reviews
  • รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง
    สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวของเรา
    เมื่อสักกายทิฐิ เราสิ้นแล้ว ความตายต้องตายอย่างแน่นอน ไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้าพระธรรม พระสงฆ์ ศรัทธาในคำสอนของพระศาสดาและมั่นใจในคำสอนของพุทธองค์อย่างไม่มีข้อสงสัย มีความเคารพในพระสงฆ์อย่างใจจริง น้อมกายน้อมใจเคารพพระสงฆ์ สรุปคือนับถือพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์อย่างเต็มใจ และถือศีล 5 อย่างเคร่งครัดตามคำสอนของศาสดา เพื่อประโยชน์ของตนในอันที่จะได้รับธรรมอันสูงสุด
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวของเรา เมื่อสักกายทิฐิ เราสิ้นแล้ว ความตายต้องตายอย่างแน่นอน ไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้าพระธรรม พระสงฆ์ ศรัทธาในคำสอนของพระศาสดาและมั่นใจในคำสอนของพุทธองค์อย่างไม่มีข้อสงสัย มีความเคารพในพระสงฆ์อย่างใจจริง น้อมกายน้อมใจเคารพพระสงฆ์ สรุปคือนับถือพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์อย่างเต็มใจ และถือศีล 5 อย่างเคร่งครัดตามคำสอนของศาสดา เพื่อประโยชน์ของตนในอันที่จะได้รับธรรมอันสูงสุด
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 343 Views 0 Reviews
  • ทุกคนจงมีความสุขทำใจให้ว่างเปล่าบริจาคทุกข์พิจารณาตามความเป็นจริง ว่ารักโลภโกรธหลงในกามคุณทั้ง 5 และปฏิฆะคือความไม่พอใจ กระทบกระทั่งในใจ ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทและเบียดเบียน ค่อยๆขัดเกลาให้เบาลงโกรธได้แต่อย่าพยาบาทอาฆาต ปล่อยวางไปเพราะว่าทุกคนก็ต้องตาย คนด่าว่านินทาเราก็ต้องตาย เราด่าว่านินทาเขาเราก็ต้องตายตายหมดไม่มีเหลือ รู้ถึงสกยะทิฐิ รู้ว่าเราตายทุกคนแน่นอน และขันธ์ 5 นั้น ก็ไม่ใช่ตัวตนไม่ใช่ของเราไม่ใช่เป็นเรา จนสามารถเข้าถึงสภาวะนิพพานได้ สาธุสาธุสาธุ
    ทุกคนจงมีความสุขทำใจให้ว่างเปล่าบริจาคทุกข์พิจารณาตามความเป็นจริง ว่ารักโลภโกรธหลงในกามคุณทั้ง 5 และปฏิฆะคือความไม่พอใจ กระทบกระทั่งในใจ ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทและเบียดเบียน ค่อยๆขัดเกลาให้เบาลงโกรธได้แต่อย่าพยาบาทอาฆาต ปล่อยวางไปเพราะว่าทุกคนก็ต้องตาย คนด่าว่านินทาเราก็ต้องตาย เราด่าว่านินทาเขาเราก็ต้องตายตายหมดไม่มีเหลือ รู้ถึงสกยะทิฐิ รู้ว่าเราตายทุกคนแน่นอน และขันธ์ 5 นั้น ก็ไม่ใช่ตัวตนไม่ใช่ของเราไม่ใช่เป็นเรา จนสามารถเข้าถึงสภาวะนิพพานได้ สาธุสาธุสาธุ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 342 Views 0 Reviews
  • เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์

    โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ

    🌷 สังโยชน์ ๑๐ 🌷

    ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้
    เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้
    แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ..

    ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก..

    ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด..

    ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง..

    ⚜️ พระโสดาบัน ⚜️

    ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ
    จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ..

    ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี..

    ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด..

    ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย..

    ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด
    เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน..

    ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ..

    ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ
    ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ..

    ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์..

    ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน..
    คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน..
    เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน..

    💛 พระสกิทาคามี 💛

    ๑. พระสกิทาคามี อารมณ์ทุกอย่างเหมือนพระโสดาบันทั้งหมด ตัดสังโยชน์ ๓ เหมือนกัน แต่ว่า มีการบรรเทาความรักในระหว่างเพศ บรรเทาความร่ำรวย บรรเทาความโกรธ..

    ~ สิ่งที่เราจะสังเกตได้ง่าย สำหรับพระสกิทาคามี นั่น
    ก็คือ กำลังความโกรธลดลงมาก การถูกด่า ถูกนินทา โกรธเบา บางทีก็โกรธช้าไป..

    🌹 พระอนาคามี 🌹

    ๑. ถ้าจิตของบรรดาท่านพุทธบริษัทอยู่พระอนาคามีมรรคได้ มันเข้ามาเอง ทำไป ๆ จิตมันก็โทรมลงมา คือว่า จิตหมดกำลังใจด้านความชั่ว ทรงความดีมากขึ้น..

    ~ มีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ มีความสลดใจ
    คือ ถ้าจิตไม่มีความรู้สึกระหว่างเพศ อย่างนี้ท่านเรียกว่า.. พระอนาคามี มรรค..

    ~ ถ้าหากว่า จิตเราไม่พอใจในศีล ๕ มีความพอใจในศีล ๘ แล้วก็มีความมั่นคงในศีล ๘ อย่างนี้.. ท่านถือว่า เริ่มเข้าอนาคามี มรรค.. เรียกว่า เดินทางเข้าหาพระอนาคามีต่อไป..

    ~ ถ้าจิตมีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ คือ ถ้าหมดความรู้สึกก็ถือว่า เป็น พระอนาคามี ผล..

    ~ และต่อมา ถ้าจิตลดจากความโกรธ ความไม่พอใจ.. "ปฏิฆะ" คือ อารมณ์กระทบกระทั่งใจนิด ๆ หน่อย ๆ

    ~ ความไม่พอใจการแสดงออก น่าจะมีสำหรับคนในปกครอง ถ้าทำไม่ดี ต้องดุ ต้องด่า ต้องว่า ต้องลงโทษ อันนี้เป็นธรรมดา
    เป็นการหวังดี..

    ~ แต่ว่าเนื้อแท้จริง ๆ จิตคิดประทุษร้ายไม่มี เป็นการหวังดีแก่คนทุกคน คือ ตัดตัว "ปฏิฆะ" ถ้าเป็นอย่างนี้ ก็ถือว่าเต็มภาคภูมิของ พระอนาคามีผล..

    * รวมความว่า.. จากพระสกิทาคามี แล้วจะเป็นพระอนาคามี ก็คือ.. สังเกตว่า ใจเราพอใจในศีล ๘ รักษาศีล ๘ ได้ครบถ้วนจริง ๆ จิตตัดอารมณ์ในกามารมณ์ได้เด็ดขาด ไม่มีความรู้ ตัดความโกรธ ความพยาบาทได้เด็ดขาด อย่างนี้เป็น พระอนาคามี ผล..

    💠 พระอรหันต์ 💠

    ๑. อารมณ์พระอรหันต์ นั่นคือ.. จิตคิดว่าไม่หลงในรูปฌาน และอรูปฌาน จิตไม่มีมานะการถือตัวถือตน จิตไม่มีอารมณ์ฟุ้งซ่านออกนอกรีดนอกรอย จิตไม่ติดในอวิชชา คือ ฉันทะกับราคะ..

    ~ ฉันทะ .. ความพอใจในมนุษย์โลก เทวโลกไม่มี.. ราคะ .. จิตเห็นมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก สวย ไม่มี.. ไม่พอใจใน ๓ โลก จิตพอใจจุดเดียว คือ นิพพาน.. นี่ เป็นอารมณ์พระอรหันต์..

    * โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อารมณ์พระอรหันต์ คือ ยอมรับนับถือ กฎของธรรมดา.. ไล่ลงมาอีกทีนะ จิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ว่า.. ธรรมดาคนเกิดมาแล้ว ต้องแก่ ต้องป่วย ต้องมีการพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ
    คนเกิดมาแล้วต้องตาย
    ความปรารถนาไม่สมหวังย่อมมีแก่ทุกคน..

    ~ ถ้าทุกอย่างมันเกิดขึ้น ใจท่านไม่หวั่นไหว ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว ก็จิตคิดว่า..
    ถ้าร่างกายนี้พังเมื่อไร ฉันไปนิพพานเมื่อนั้นใจสบาย..

    ๒. ศีลเราบริสุทธิ์อยู่แล้ว สมาธิทรงตัวอยู่แล้ว วิปัสสนาญาณปลดเปลื้องร่างกายของเรา.. ร่างกายของบุคคลอื่น วัตถุธาตุ.. ขันธ์ ๕ คือ ร่างกาย
    อย่าไปเสียดายมัน มันจะพังเมื่อใดก็เชิญมันพัง เพราะใจเราพร้อมที่จะไปนิพพาน ตัวจิตบริสุทธิ์ อยู่ที่นี่..

    💎 อรหัตผล 💎
    นี่ เป็นของไม่ยาก ก็ตัดกามฉันทะ กับ ราคะ คือ ไม่สนใจกับร่างกายของเราด้วย.. ไม่สนใจกับร่างกายของบุคคลอื่นด้วย ไม่สนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดว่าสิ่งเหล่านี้ ไม่ช้ามันก็สลายตัว
    ไม่มีอะไรดีสำหรับเรา..

    ~ เราไม่ถือว่า มันเป็นสรณะ
    เป็นที่พึ่งของเรา และเราก็ไม่ถือวาทะของบุคคลอื่น.. ไม่ถืออารมณ์ของบุคคลอื่น ทำใจให้แช่มชื่นอยู่อย่างเดียว ว่า.. ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา.. ทรัพย์สินในโลก ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็นของกิเลส ตัณหา อุปาทาน..

    ~ มันพังเมื่อไร พอใจเมื่อนั้น
    ขึ้นชื่อว่าความเกิดมีขันธ์ ๕
    ร่างกายอย่างนี้ จะไม่มีสำหรับเรา.. ความเป็นเทวดาหรือพรหม จะไม่มีสำหรับเรา
    สิ่งที่เราต้องการ คือ.. นิพพาน..

    * นี่.. แค่นี้เท่านั้นแหละ ไม่เห็นมีอะไรยาก.. ถ้าพูดกันแบบง่าย ๆ แต่ความจริงพูดกันมาเยอะ ทำอารมณ์ให้มันทรงตัวเถอะ มันก็ไม่ลำบาก มันก็สำเร็จมรรค สำเร็จผล..."

    💐 ( จากหนังสือ* ธัมมวิโมกข์* โอวาท หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ ของวัดท่าซุง จ. อุทัยธานี )

    สามารถอ่านที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ 🌷 สังโยชน์ ๑๐ 🌷 ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้ เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้ แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ.. ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก.. ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด.. ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง.. ⚜️ พระโสดาบัน ⚜️ ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ.. ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี.. ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด.. ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย.. ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน.. ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ.. ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ.. ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์.. ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน.. คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน.. เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน.. 💛 พระสกิทาคามี 💛 ๑. พระสกิทาคามี อารมณ์ทุกอย่างเหมือนพระโสดาบันทั้งหมด ตัดสังโยชน์ ๓ เหมือนกัน แต่ว่า มีการบรรเทาความรักในระหว่างเพศ บรรเทาความร่ำรวย บรรเทาความโกรธ.. ~ สิ่งที่เราจะสังเกตได้ง่าย สำหรับพระสกิทาคามี นั่น ก็คือ กำลังความโกรธลดลงมาก การถูกด่า ถูกนินทา โกรธเบา บางทีก็โกรธช้าไป.. 🌹 พระอนาคามี 🌹 ๑. ถ้าจิตของบรรดาท่านพุทธบริษัทอยู่พระอนาคามีมรรคได้ มันเข้ามาเอง ทำไป ๆ จิตมันก็โทรมลงมา คือว่า จิตหมดกำลังใจด้านความชั่ว ทรงความดีมากขึ้น.. ~ มีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ มีความสลดใจ คือ ถ้าจิตไม่มีความรู้สึกระหว่างเพศ อย่างนี้ท่านเรียกว่า.. พระอนาคามี มรรค.. ~ ถ้าหากว่า จิตเราไม่พอใจในศีล ๕ มีความพอใจในศีล ๘ แล้วก็มีความมั่นคงในศีล ๘ อย่างนี้.. ท่านถือว่า เริ่มเข้าอนาคามี มรรค.. เรียกว่า เดินทางเข้าหาพระอนาคามีต่อไป.. ~ ถ้าจิตมีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ คือ ถ้าหมดความรู้สึกก็ถือว่า เป็น พระอนาคามี ผล.. ~ และต่อมา ถ้าจิตลดจากความโกรธ ความไม่พอใจ.. "ปฏิฆะ" คือ อารมณ์กระทบกระทั่งใจนิด ๆ หน่อย ๆ ~ ความไม่พอใจการแสดงออก น่าจะมีสำหรับคนในปกครอง ถ้าทำไม่ดี ต้องดุ ต้องด่า ต้องว่า ต้องลงโทษ อันนี้เป็นธรรมดา เป็นการหวังดี.. ~ แต่ว่าเนื้อแท้จริง ๆ จิตคิดประทุษร้ายไม่มี เป็นการหวังดีแก่คนทุกคน คือ ตัดตัว "ปฏิฆะ" ถ้าเป็นอย่างนี้ ก็ถือว่าเต็มภาคภูมิของ พระอนาคามีผล.. * รวมความว่า.. จากพระสกิทาคามี แล้วจะเป็นพระอนาคามี ก็คือ.. สังเกตว่า ใจเราพอใจในศีล ๘ รักษาศีล ๘ ได้ครบถ้วนจริง ๆ จิตตัดอารมณ์ในกามารมณ์ได้เด็ดขาด ไม่มีความรู้ ตัดความโกรธ ความพยาบาทได้เด็ดขาด อย่างนี้เป็น พระอนาคามี ผล.. 💠 พระอรหันต์ 💠 ๑. อารมณ์พระอรหันต์ นั่นคือ.. จิตคิดว่าไม่หลงในรูปฌาน และอรูปฌาน จิตไม่มีมานะการถือตัวถือตน จิตไม่มีอารมณ์ฟุ้งซ่านออกนอกรีดนอกรอย จิตไม่ติดในอวิชชา คือ ฉันทะกับราคะ.. ~ ฉันทะ .. ความพอใจในมนุษย์โลก เทวโลกไม่มี.. ราคะ .. จิตเห็นมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก สวย ไม่มี.. ไม่พอใจใน ๓ โลก จิตพอใจจุดเดียว คือ นิพพาน.. นี่ เป็นอารมณ์พระอรหันต์.. * โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อารมณ์พระอรหันต์ คือ ยอมรับนับถือ กฎของธรรมดา.. ไล่ลงมาอีกทีนะ จิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ว่า.. ธรรมดาคนเกิดมาแล้ว ต้องแก่ ต้องป่วย ต้องมีการพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ คนเกิดมาแล้วต้องตาย ความปรารถนาไม่สมหวังย่อมมีแก่ทุกคน.. ~ ถ้าทุกอย่างมันเกิดขึ้น ใจท่านไม่หวั่นไหว ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว ก็จิตคิดว่า.. ถ้าร่างกายนี้พังเมื่อไร ฉันไปนิพพานเมื่อนั้นใจสบาย.. ๒. ศีลเราบริสุทธิ์อยู่แล้ว สมาธิทรงตัวอยู่แล้ว วิปัสสนาญาณปลดเปลื้องร่างกายของเรา.. ร่างกายของบุคคลอื่น วัตถุธาตุ.. ขันธ์ ๕ คือ ร่างกาย อย่าไปเสียดายมัน มันจะพังเมื่อใดก็เชิญมันพัง เพราะใจเราพร้อมที่จะไปนิพพาน ตัวจิตบริสุทธิ์ อยู่ที่นี่.. 💎 อรหัตผล 💎 นี่ เป็นของไม่ยาก ก็ตัดกามฉันทะ กับ ราคะ คือ ไม่สนใจกับร่างกายของเราด้วย.. ไม่สนใจกับร่างกายของบุคคลอื่นด้วย ไม่สนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดว่าสิ่งเหล่านี้ ไม่ช้ามันก็สลายตัว ไม่มีอะไรดีสำหรับเรา.. ~ เราไม่ถือว่า มันเป็นสรณะ เป็นที่พึ่งของเรา และเราก็ไม่ถือวาทะของบุคคลอื่น.. ไม่ถืออารมณ์ของบุคคลอื่น ทำใจให้แช่มชื่นอยู่อย่างเดียว ว่า.. ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา.. ทรัพย์สินในโลก ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็นของกิเลส ตัณหา อุปาทาน.. ~ มันพังเมื่อไร พอใจเมื่อนั้น ขึ้นชื่อว่าความเกิดมีขันธ์ ๕ ร่างกายอย่างนี้ จะไม่มีสำหรับเรา.. ความเป็นเทวดาหรือพรหม จะไม่มีสำหรับเรา สิ่งที่เราต้องการ คือ.. นิพพาน.. * นี่.. แค่นี้เท่านั้นแหละ ไม่เห็นมีอะไรยาก.. ถ้าพูดกันแบบง่าย ๆ แต่ความจริงพูดกันมาเยอะ ทำอารมณ์ให้มันทรงตัวเถอะ มันก็ไม่ลำบาก มันก็สำเร็จมรรค สำเร็จผล..." 💐 ( จากหนังสือ* ธัมมวิโมกข์* โอวาท หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ ของวัดท่าซุง จ. อุทัยธานี ) สามารถอ่านที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    Like
    Love
    2
    0 Comments 0 Shares 1032 Views 0 Reviews
  • สรรพสิ่งในโลกนี้(ธรรมทั้งหลาย)ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น
    เพราะมันไม่เที่ยง(อนิจจัง) แตกดับ(ทุกขัง) ไม่มีตัวตน(อนัตตา)
    จึงเห็นด้วยปัญญา ว่า
    นั้นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนเรา
    สรรพสิ่งในโลกนี้(ธรรมทั้งหลาย)ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น เพราะมันไม่เที่ยง(อนิจจัง) แตกดับ(ทุกขัง) ไม่มีตัวตน(อนัตตา) จึงเห็นด้วยปัญญา ว่า นั้นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนเรา
    0 Comments 0 Shares 298 Views 0 Reviews