• กาแฟ 1 ถุงต้องเข้าแล้ว!!! คอลัมนิสต์เขมรชู “ฮุนเซน” ผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบ 500 ปีนับจากยุคนครวัด
    https://www.thai-tai.tv/news/20135/
    .
    #ฮุนเซน #กัมพูชา #นิด้าโพล #FreshNews #AVI #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #ข้อพิพาทชายแดน #ผู้นำกัมพูชา #โพลสำรวจ #การเมืองไทย #แทรกแซงกิจการภายใน
    กาแฟ 1 ถุงต้องเข้าแล้ว!!! คอลัมนิสต์เขมรชู “ฮุนเซน” ผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบ 500 ปีนับจากยุคนครวัด https://www.thai-tai.tv/news/20135/ . #ฮุนเซน #กัมพูชา #นิด้าโพล #FreshNews #AVI #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #ข้อพิพาทชายแดน #ผู้นำกัมพูชา #โพลสำรวจ #การเมืองไทย #แทรกแซงกิจการภายใน
    0 Comments 0 Shares 68 Views 0 Reviews
  • หลานจะรู้ไหม!!! ‘นิด้าโพล’ สำรวจความเห็นคนไทยมอง ‘อังเคิล ฮุนเซน’ เป็นบุคคลไม่น่าไว้วางใจ
    https://www.thai-tai.tv/news/20064/
    .
    #นิด้าโพล #ฮุนเซน #ไทยกัมพูชา #ความขัดแย้งไทยกัมพูชา #การเมืองไทย #เปลี่ยนนายก #แทรกแซงกิจการภายใน #ผลประโยชน์ส่วนตน #ไม่น่าไว้วางใจ #ข่าวกรอง
    หลานจะรู้ไหม!!! ‘นิด้าโพล’ สำรวจความเห็นคนไทยมอง ‘อังเคิล ฮุนเซน’ เป็นบุคคลไม่น่าไว้วางใจ https://www.thai-tai.tv/news/20064/ . #นิด้าโพล #ฮุนเซน #ไทยกัมพูชา #ความขัดแย้งไทยกัมพูชา #การเมืองไทย #เปลี่ยนนายก #แทรกแซงกิจการภายใน #ผลประโยชน์ส่วนตน #ไม่น่าไว้วางใจ #ข่าวกรอง
    0 Comments 0 Shares 73 Views 0 Reviews
  • "ทียังงี้ยุโรปจะมาโวยวาย ทำเป็นงอแงรับไม่ได้ ทีตอนลงมติเรื่อง 112 เรื่องส่งอุยกูร์กลับจีน นั่นก็มาบีบบังคับให้ไทยต้องปฎิบัติตามเหมือนกัน สมน้ำหน้า!!!"

    .

    ยุโรปโวยวายหลังสหรัฐบีบให้บริษัทในสหภาพยุโรปยกเลิกนโยบาย DEL (นโยบายความหลากหลาย ความเท่าเทียมทางเพศ) และต้องปฏิบัติตามคำสั่งต่อต้านความหลากหลายสหรัฐ

    รัฐบาลสหรัฐส่งจดหมายผ่านสถานทูตของตนไปยังบริษัทต่างๆในยุโรปที่ทำธุรกิจกับสหรัฐ แจ้งให้แบนการทำ หรือ ส่งเสริมกิจกรรม DEI (ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการรวมเป็นหนึ่งเดียว) เพื่อให้สอดคล้องกับคำสั่งประธานาธิบดีที่ทรัมป์ได้ลงนามไปแล้ว

    "แล้วต้องลงชื่อตอบกลับด้วย!!"

    ในจดหมายมีข้อความให้ผู้รับ ต้องอ่านและทำความเข้าใจแล้วลงนามรับทราบ ยืนยันว่าบริษัทไม่มีโปรแกรมดังกล่าว ไม่มีกิจกรรมที่สนับสนุนส่งเสริม DEI

    แต่ถ้าไม่เห็นด้วยกับเนื้อหาในจดหมายก็ขอเหตุผลด้วยว่าทำไม สหรัฐจะได้พิจารณาดำเนินการขั้นต่อไป


    เบื้องต้น รัฐบาลสหรัฐจะบังคับโดยตรงให้ไปยังบริษัทในยุโรปที่ทำธุรกิจกับรัฐบาลก่อนเป็นลำดับต้นๆ โดยเฉพาะกลุ่มที่ทำธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานรัฐบาลสหรัฐ จะต้องปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลสหรัฐ

    แน่นอนว่างานนี้ชาวยุโรปไม่ถูกใจอย่างแรง เพราะคงไม่มีใครชอบถูกคนอื่นไปบังคับให้ปฎิบัติตาม (เพราะเคยชินกับการบังคับผู้อื่น)


    ฝรั่งเศสดูท่าจะเดือดร้อนกว่าใคร หลังจาก รมต.ความเท่าเทียมระหว่างชายหญิงและการเลือกปฎิบัติของฝรั่งเศส โวยว่า เป็นการแทรกแซงกิจการภายในอย่างชัดเจน เป็นการบังคับสั่งการการดำเนินกิจการของฝรั่งเศสโดยที่เราไม่เต็มใจ
    "ทียังงี้ยุโรปจะมาโวยวาย ทำเป็นงอแงรับไม่ได้ ทีตอนลงมติเรื่อง 112 เรื่องส่งอุยกูร์กลับจีน นั่นก็มาบีบบังคับให้ไทยต้องปฎิบัติตามเหมือนกัน สมน้ำหน้า!!!" . ยุโรปโวยวายหลังสหรัฐบีบให้บริษัทในสหภาพยุโรปยกเลิกนโยบาย DEL (นโยบายความหลากหลาย ความเท่าเทียมทางเพศ) และต้องปฏิบัติตามคำสั่งต่อต้านความหลากหลายสหรัฐ รัฐบาลสหรัฐส่งจดหมายผ่านสถานทูตของตนไปยังบริษัทต่างๆในยุโรปที่ทำธุรกิจกับสหรัฐ แจ้งให้แบนการทำ หรือ ส่งเสริมกิจกรรม DEI (ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการรวมเป็นหนึ่งเดียว) เพื่อให้สอดคล้องกับคำสั่งประธานาธิบดีที่ทรัมป์ได้ลงนามไปแล้ว "แล้วต้องลงชื่อตอบกลับด้วย!!" ในจดหมายมีข้อความให้ผู้รับ ต้องอ่านและทำความเข้าใจแล้วลงนามรับทราบ ยืนยันว่าบริษัทไม่มีโปรแกรมดังกล่าว ไม่มีกิจกรรมที่สนับสนุนส่งเสริม DEI แต่ถ้าไม่เห็นด้วยกับเนื้อหาในจดหมายก็ขอเหตุผลด้วยว่าทำไม สหรัฐจะได้พิจารณาดำเนินการขั้นต่อไป เบื้องต้น รัฐบาลสหรัฐจะบังคับโดยตรงให้ไปยังบริษัทในยุโรปที่ทำธุรกิจกับรัฐบาลก่อนเป็นลำดับต้นๆ โดยเฉพาะกลุ่มที่ทำธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานรัฐบาลสหรัฐ จะต้องปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลสหรัฐ แน่นอนว่างานนี้ชาวยุโรปไม่ถูกใจอย่างแรง เพราะคงไม่มีใครชอบถูกคนอื่นไปบังคับให้ปฎิบัติตาม (เพราะเคยชินกับการบังคับผู้อื่น) ฝรั่งเศสดูท่าจะเดือดร้อนกว่าใคร หลังจาก รมต.ความเท่าเทียมระหว่างชายหญิงและการเลือกปฎิบัติของฝรั่งเศส โวยว่า เป็นการแทรกแซงกิจการภายในอย่างชัดเจน เป็นการบังคับสั่งการการดำเนินกิจการของฝรั่งเศสโดยที่เราไม่เต็มใจ
    0 Comments 0 Shares 332 Views 0 Reviews
  • มาตรการภาษีตอบโต้ที่ทรัมป์ประกาศ เป็นเพียงหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงระเบียบโลก ไทยและอาเซียนกำลังเผชิญกับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ต่อจากมิติการค้าการลงทุนซึ่งเป็นเรื่องเร่งด่วน (แต่ผู้นำไทยก็ยังล่าช้า ไม่เท่าทัน) ในระยะกลาง มิติความมั่นคงจะกลายเป็นอีกหนึ่งความท้าทายที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น และไทยต้องชิงเล่นบทบาทนำ เพื่อชดเชยกับความล่าช้าล้าหลังที่เราเสียตำแหน่งผู้นำอาเซียนไปในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
    .
    ASEAN ZOPFAN และ Bangkok Treaty of 1995 ที่ประกาศให้อาเซียนเป็นเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ต้องได้รับการ upgrade
    .
    “ในขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปรากฎการณ์ ‘กฎแห่งป่า’ (Law of the Jungle) อำนาจกลายเป็นความถูกต้องในการกำหนดกติกา (Might is Right) รัฐที่มีพลังอำนาจเหนือกว่าสามารถเข้ายึดครอง ครอบครอง และกำหนดชะตากรรมของรัฐที่มีพลังอำนาจอ่อนด้อยกว่า และเมื่อกลไกสถาบันระหว่างประเทศไม่สามารถทำงานได้อย่างที่ควรจะเป็น ประชาคมอาเซียนที่รัฐสมาชิกส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็กและขนาดกลางมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพึ่งพากฎกติกาแบบเสรีนิยม”
    .
    ในวันที่โลกเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระเบียบโลกใหม่ ปิติ ศรีแสงนาม ชวนหาที่ทางของประชาคมอาเซียนในมิติความเป็นศูนย์กลางด้านความมั่นคงในภูมิภาค
    .
    อ่านได้ที่: https://www.the101.world/amidst-the-two-oceans-3/
    .
    “แน่นอนว่า เมื่อกฎแห่งป่าและพลังอำนาจกลายเป็นความถูกต้องในการกำหนดกติกา ฉากทัศน์ที่น่าห่วงกังวลมากที่สุดคือ แต่ละประเทศมุ่งหน้าพัฒนา ผลิต และสะสมเทคโนโลยีนิวเคลียร์ที่มีศักยภาพทางการทหาร เพราะนี่คือแนวทางที่พิสูจน์มาแล้วในทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศว่าเป็นสิ่งที่มีพลังอำนาจในการต่อรองสูงสุด โดยเฉพาะเมื่อต้องต่อรองกับมหาอำนาจ”
    .
    “อาเซียนเองมีการลงนามและบังคับใช้ปฏิญญาว่าด้วยเขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง (Declaration on the Zone of Peace, Freedom, and Neutrality: ZOPFAN) มาตั้งแต่ปี 1971 เมื่อไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ (สมาชิกอาเซียน ณ ขณะนั้น) เห็นการแทรกแซงกิจการภายในของ เวียดนาม ลาว และกัมพูชา โดยมหาอำนาจภายนอก ไม่ว่าจะเป็นสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน และหลายประเทศในยุโรป จนลุกลามใหญ่โตกลายเป็นสงครามที่ล้างผลาญชีวิตคนจำนวนมาก และเมื่อการสะสมอาวุธนิวเคลียร์กลายเป็นปรากฏการณ์ที่นำความสุ่มเสี่ยงไปทั่วโลก อาเซียนโดยการผลักดันของประเทศไทยก็สามารถลงนามในสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone: SEANWFZ) ได้สำเร็จในปี 1995”
    .
    “ข้อตกลงที่เอ่ยถึงนี้ถือเป็นความสำเร็จในอดีตที่อาเซียนต้องทบทวน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันที่ประเทศเพื่อนบ้านของไทยกำลังเดินหน้าเพื่อครอบครองเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เมียนมาและเวียดนามกำลังเดินหน้าเพื่อการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 2 แห่งแรกในภูมิภาค แน่นอนว่าด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสันติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงาน และคาดว่าทั้ง 2 ประเทศจะได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากรัสเซีย”
    .
    “แน่นอนว่าเมื่อพิจารณามิติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติร่วมกับการสร้างและใช้งานโครงข่ายพลังงานอาเซียน (ASEAN Power Grid) อาเซียนจะมีความมั่นคงทางพลังงานสูงขึ้น แต่การมีเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เตาปฏิกรณ์ และการเสริมสร้างสารตั้งต้นของปฏิกิริยานิวเคลียร์ ล้วนแล้วแต่ทำให้ศักย์สงคราม (War Capability) ของประเทศนั้นๆ สูงขึ้น”
    .
    “ลองนึกถึงข้อจำกัดทางทรัพยากรมนุษย์ที่อาจต้องทำให้โรงงานเหล่านี้ดำเนินการโดยวิศวกรและทีมเทคนิคต่างชาติ ลงทุนโดยต่างชาติ และควบคุมตรวจสอบโดยต่างชาติ ร่วมกับเงินทุนที่มีจำกัด เช่น อาจสร้างเตาปฏิกรณ์ในประเทศ และระบบกำจัดกากของเสียจากเตาปฏิกรณ์ต้องส่งออกไปทำลายในต่างประเทศ เหล่านี้ล้วนทำให้เกิดความไม่สบายใจได้ว่า ประเทศอาเซียนจะกลายเป็นแหล่งส่งออกวัตถุดิบต้นน้ำสำหรับการประกอบอาวุธนิวเคลียร์ได้หรือไม่”
    .
    “ในวันที่ระเบียบโลกกำลังมีความซัดส่ายอย่างยิ่ง สิ่งหนึ่งที่ประเทศไทยเคยทำสำเร็จมาแล้วและต้องเร่งผลักดัน คือการคำนึงถึงว่าจะเป็นการดีหรือไม่ หากต้องมีการปรับปรุงแก้ไขสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia: TAC) ให้ประเทศคู่เจรจาที่ต้องการเป็นมิตรและแสวงหาประโยชร์ร่วมกันอย่างยั่งยืนกับอาเซียนต้องยอมรับเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ของอาเซียนด้วย”
    .
    ภาพประกอบ: พิรุฬพร นามมูลน้อย
    มาตรการภาษีตอบโต้ที่ทรัมป์ประกาศ เป็นเพียงหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงระเบียบโลก ไทยและอาเซียนกำลังเผชิญกับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ต่อจากมิติการค้าการลงทุนซึ่งเป็นเรื่องเร่งด่วน (แต่ผู้นำไทยก็ยังล่าช้า ไม่เท่าทัน) ในระยะกลาง มิติความมั่นคงจะกลายเป็นอีกหนึ่งความท้าทายที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น และไทยต้องชิงเล่นบทบาทนำ เพื่อชดเชยกับความล่าช้าล้าหลังที่เราเสียตำแหน่งผู้นำอาเซียนไปในช่วงหลายปีที่ผ่านมา . ASEAN ZOPFAN และ Bangkok Treaty of 1995 ที่ประกาศให้อาเซียนเป็นเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ต้องได้รับการ upgrade . “ในขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปรากฎการณ์ ‘กฎแห่งป่า’ (Law of the Jungle) อำนาจกลายเป็นความถูกต้องในการกำหนดกติกา (Might is Right) รัฐที่มีพลังอำนาจเหนือกว่าสามารถเข้ายึดครอง ครอบครอง และกำหนดชะตากรรมของรัฐที่มีพลังอำนาจอ่อนด้อยกว่า และเมื่อกลไกสถาบันระหว่างประเทศไม่สามารถทำงานได้อย่างที่ควรจะเป็น ประชาคมอาเซียนที่รัฐสมาชิกส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็กและขนาดกลางมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพึ่งพากฎกติกาแบบเสรีนิยม” . ในวันที่โลกเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระเบียบโลกใหม่ ปิติ ศรีแสงนาม ชวนหาที่ทางของประชาคมอาเซียนในมิติความเป็นศูนย์กลางด้านความมั่นคงในภูมิภาค . อ่านได้ที่: https://www.the101.world/amidst-the-two-oceans-3/ . “แน่นอนว่า เมื่อกฎแห่งป่าและพลังอำนาจกลายเป็นความถูกต้องในการกำหนดกติกา ฉากทัศน์ที่น่าห่วงกังวลมากที่สุดคือ แต่ละประเทศมุ่งหน้าพัฒนา ผลิต และสะสมเทคโนโลยีนิวเคลียร์ที่มีศักยภาพทางการทหาร เพราะนี่คือแนวทางที่พิสูจน์มาแล้วในทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศว่าเป็นสิ่งที่มีพลังอำนาจในการต่อรองสูงสุด โดยเฉพาะเมื่อต้องต่อรองกับมหาอำนาจ” . “อาเซียนเองมีการลงนามและบังคับใช้ปฏิญญาว่าด้วยเขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง (Declaration on the Zone of Peace, Freedom, and Neutrality: ZOPFAN) มาตั้งแต่ปี 1971 เมื่อไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ (สมาชิกอาเซียน ณ ขณะนั้น) เห็นการแทรกแซงกิจการภายในของ เวียดนาม ลาว และกัมพูชา โดยมหาอำนาจภายนอก ไม่ว่าจะเป็นสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน และหลายประเทศในยุโรป จนลุกลามใหญ่โตกลายเป็นสงครามที่ล้างผลาญชีวิตคนจำนวนมาก และเมื่อการสะสมอาวุธนิวเคลียร์กลายเป็นปรากฏการณ์ที่นำความสุ่มเสี่ยงไปทั่วโลก อาเซียนโดยการผลักดันของประเทศไทยก็สามารถลงนามในสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone: SEANWFZ) ได้สำเร็จในปี 1995” . “ข้อตกลงที่เอ่ยถึงนี้ถือเป็นความสำเร็จในอดีตที่อาเซียนต้องทบทวน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันที่ประเทศเพื่อนบ้านของไทยกำลังเดินหน้าเพื่อครอบครองเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เมียนมาและเวียดนามกำลังเดินหน้าเพื่อการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 2 แห่งแรกในภูมิภาค แน่นอนว่าด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสันติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงาน และคาดว่าทั้ง 2 ประเทศจะได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากรัสเซีย” . “แน่นอนว่าเมื่อพิจารณามิติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติร่วมกับการสร้างและใช้งานโครงข่ายพลังงานอาเซียน (ASEAN Power Grid) อาเซียนจะมีความมั่นคงทางพลังงานสูงขึ้น แต่การมีเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เตาปฏิกรณ์ และการเสริมสร้างสารตั้งต้นของปฏิกิริยานิวเคลียร์ ล้วนแล้วแต่ทำให้ศักย์สงคราม (War Capability) ของประเทศนั้นๆ สูงขึ้น” . “ลองนึกถึงข้อจำกัดทางทรัพยากรมนุษย์ที่อาจต้องทำให้โรงงานเหล่านี้ดำเนินการโดยวิศวกรและทีมเทคนิคต่างชาติ ลงทุนโดยต่างชาติ และควบคุมตรวจสอบโดยต่างชาติ ร่วมกับเงินทุนที่มีจำกัด เช่น อาจสร้างเตาปฏิกรณ์ในประเทศ และระบบกำจัดกากของเสียจากเตาปฏิกรณ์ต้องส่งออกไปทำลายในต่างประเทศ เหล่านี้ล้วนทำให้เกิดความไม่สบายใจได้ว่า ประเทศอาเซียนจะกลายเป็นแหล่งส่งออกวัตถุดิบต้นน้ำสำหรับการประกอบอาวุธนิวเคลียร์ได้หรือไม่” . “ในวันที่ระเบียบโลกกำลังมีความซัดส่ายอย่างยิ่ง สิ่งหนึ่งที่ประเทศไทยเคยทำสำเร็จมาแล้วและต้องเร่งผลักดัน คือการคำนึงถึงว่าจะเป็นการดีหรือไม่ หากต้องมีการปรับปรุงแก้ไขสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia: TAC) ให้ประเทศคู่เจรจาที่ต้องการเป็นมิตรและแสวงหาประโยชร์ร่วมกันอย่างยั่งยืนกับอาเซียนต้องยอมรับเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ของอาเซียนด้วย” . ภาพประกอบ: พิรุฬพร นามมูลน้อย
    WWW.THE101.WORLD
    Amidst the Two Oceans ตอนที่ 3: ประชาคมอาเซียนในระเบียบโลกใหม่
    ปิติ ศรีแสงนาม ชวนหาที่ทางของประชาคมอาเซียนในมิติความเป็นศูนย์กลางด้านความมั่นคงในภูมิภาค ในวันที่โลกเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระเบียบโลกใหม่
    0 Comments 0 Shares 944 Views 0 Reviews
  • ทรัมป์ระบุเหตุผลการขึ้นภาษีว่า ที่ผ่านมาสหรัฐเสียผลประโยชน์มาตลอด 50 ปี แต่เขาไม่ยอมพูดถึงสิ่งที่สหรัฐได้รับ นั่นคือการมีอิทธิพลครอบครองโลก รวมทั้งการใช้อำนาจแทรกแซงกิจการภายในหลายประเทศ

    ที่ผ่านมามันเราทรสบกันดีว่า สหรัฐมักใช้วิธีการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน เพื่อยังคงรักษาอำนาจของตนเองไว้

    "สหรัฐไม่เคยเป็นผู้เสียผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาใด"
    ทรัมป์ระบุเหตุผลการขึ้นภาษีว่า ที่ผ่านมาสหรัฐเสียผลประโยชน์มาตลอด 50 ปี แต่เขาไม่ยอมพูดถึงสิ่งที่สหรัฐได้รับ นั่นคือการมีอิทธิพลครอบครองโลก รวมทั้งการใช้อำนาจแทรกแซงกิจการภายในหลายประเทศ ที่ผ่านมามันเราทรสบกันดีว่า สหรัฐมักใช้วิธีการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน เพื่อยังคงรักษาอำนาจของตนเองไว้ "สหรัฐไม่เคยเป็นผู้เสียผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาใด"
    0 Comments 0 Shares 158 Views 0 Reviews
  • 'ไพศาล' ประณามรัฐสภายุโรป แทรกแซงกิจการภายในของไทย พ่วงคนไทยขายชาติ
    https://www.thai-tai.tv/news/17636/
    'ไพศาล' ประณามรัฐสภายุโรป แทรกแซงกิจการภายในของไทย พ่วงคนไทยขายชาติ https://www.thai-tai.tv/news/17636/
    0 Comments 0 Shares 139 Views 0 Reviews
  • มาร์โค รูบิโอ จากอดีตเส้นทางวุฒิสมาชิกจากรัฐฟลอริด้าเป็นเวลานานถึง 14 ปี วันนี้ก้าวสู่ตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศยุคทรัมป์ 2.0 ตอบยืนยันหนักแน่นว่า คลองปานามาต้องเป็นไปตามสนธิสัญญาความมั่นคงระหว่างสหรัฐอเมริกากับปานามาที่ร่วมกันขุดมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 ในยุคประธานาธิบดี จิมมี่ คาร์เตอร์ เท่านั้น ไม่ใช่ต้องตกเป็นของจีนที่จะเข้ามาผูกขาดในวันนี้ สหรัฐจะไม่จ่ายค่าธรรมเนียมการผ่านคลองให้กับหน่วยงานอิสระที่เก็บค่าต๋ง ซึ่งมิได้อยู่ในอำนาจของประเทศปานามาแต่อย่างใด...ชัดเจนนะ...พูดถึงหน่วยงาน USAID ของรัฐบาลกลาง รูบิโอเห็นด้วยกับหน่วยงานของ DOGE ที่มีนายอีลอน มัสค์ เป็นหัวหน้า และถูกยุบไปไม่กี่วันนี้ เพราะถูกกล่าวหาว่าทำงานผิดประเภทไม่ตรงกับภาระกิจที่เป็นหน่วยงานภายใต้เงินภาษีของคนอเมริกัน และบอกว่าที่ผ่านมาทำตัวเหนือกฏหมายชอบเข้าไปวุ่นวายแทรกแซงกิจการภายในระหว่างประเทศ ซึ่งแท้จริงแล้วกิจการระหว่างประเทศต้องเป็นหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศที่เขากำลังดำเนินการอยู่..แปลให้ชัดคือ USAID อย่าเข้ามายุ่ง อย่าทำตัวเป็น DEEP STATE...ส่วนการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมนั้นปล่อยให้คนรวยอเมริกันเขาทำกัน...(แบบที่เศรษฐียิวช่วย NGO ในไทยอยู่ทุกวันนี้)...จิงป๊ะ!
    มาร์โค รูบิโอ จากอดีตเส้นทางวุฒิสมาชิกจากรัฐฟลอริด้าเป็นเวลานานถึง 14 ปี วันนี้ก้าวสู่ตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศยุคทรัมป์ 2.0 ตอบยืนยันหนักแน่นว่า คลองปานามาต้องเป็นไปตามสนธิสัญญาความมั่นคงระหว่างสหรัฐอเมริกากับปานามาที่ร่วมกันขุดมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 ในยุคประธานาธิบดี จิมมี่ คาร์เตอร์ เท่านั้น ไม่ใช่ต้องตกเป็นของจีนที่จะเข้ามาผูกขาดในวันนี้ สหรัฐจะไม่จ่ายค่าธรรมเนียมการผ่านคลองให้กับหน่วยงานอิสระที่เก็บค่าต๋ง ซึ่งมิได้อยู่ในอำนาจของประเทศปานามาแต่อย่างใด...ชัดเจนนะ...พูดถึงหน่วยงาน USAID ของรัฐบาลกลาง รูบิโอเห็นด้วยกับหน่วยงานของ DOGE ที่มีนายอีลอน มัสค์ เป็นหัวหน้า และถูกยุบไปไม่กี่วันนี้ เพราะถูกกล่าวหาว่าทำงานผิดประเภทไม่ตรงกับภาระกิจที่เป็นหน่วยงานภายใต้เงินภาษีของคนอเมริกัน และบอกว่าที่ผ่านมาทำตัวเหนือกฏหมายชอบเข้าไปวุ่นวายแทรกแซงกิจการภายในระหว่างประเทศ ซึ่งแท้จริงแล้วกิจการระหว่างประเทศต้องเป็นหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศที่เขากำลังดำเนินการอยู่..แปลให้ชัดคือ USAID อย่าเข้ามายุ่ง อย่าทำตัวเป็น DEEP STATE...ส่วนการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมนั้นปล่อยให้คนรวยอเมริกันเขาทำกัน...(แบบที่เศรษฐียิวช่วย NGO ในไทยอยู่ทุกวันนี้)...จิงป๊ะ!
    0 Comments 0 Shares 496 Views 0 Reviews
  • หน้าเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้ลบข้อความประณามและไม่รับรองผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีเบลารุส ที่ออกโดย "บลิงเคน" และแสดงข้อความว่า "ขออภัยในความไม่สะดวก" เข้ามาแทน

    นี่อาจเป็นสัญญาณที่ดีของอเมริกาในการ "หยุดแทรกแซงกิจการภายในของทุกประเทศ"
    หน้าเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้ลบข้อความประณามและไม่รับรองผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีเบลารุส ที่ออกโดย "บลิงเคน" และแสดงข้อความว่า "ขออภัยในความไม่สะดวก" เข้ามาแทน นี่อาจเป็นสัญญาณที่ดีของอเมริกาในการ "หยุดแทรกแซงกิจการภายในของทุกประเทศ"
    0 Comments 0 Shares 334 Views 0 Reviews
  • กระทรวงการต่างประเทศจีนได้ประกาศการคว่ำบาตรบริษัททหารของสหรัฐฯ จำนวน 13 แห่ง เพื่อเป็นการตอบโต้การขายอาวุธของสหรัฐฯ ให้กับไต้หวัน ซึ่งจีนมองว่าเป็นการแทรกแซงกิจการภายในของจีนและทำลายอธิปไตยของตนอย่างรุนแรง โดยการคว่ำบาตรนี้เกิดขึ้นหลังจากที่จีนคัดค้านอย่างหนักต่อการที่สหรัฐฯ อนุมัติการขายชิ้นส่วนอะไหล่และการสนับสนุนเครื่องบิน F-16 และเรดาร์ให้กับไต้หวัน มูลค่ากว่า 385 ล้านเหรียญสหรัฐฯบริษัทที่ถูกคว่ำบาตร ได้แก่ Teledyne Brown Engineering, Brinc Drones, Shield AI การคว่ำบาตรบริษัทดังกล่าวยังส่งผลให้บริษัทอื่น ๆ ที่ได้รับผลกระทบในฐานะไม่สามารถจัดหาวัตถุดิบในการผลิตได้ อาทิ Rapid Flight, Red Six Solutions, Synexxus, Firestorm Labs, Kratos Unmanned Aerial Systems, HavocAI, Neros Technologies, Cyberlux Corporation, Domo Tactical Communications และ Group Wนอกจากนี้ จีนยังได้อายัดทรัพย์สินของผู้บริหารระดับสูงจาก 5 บริษัท รวมทั้ง Raytheon, BAE Systems และ United Technologies ที่ดำเนินธุรกิจในจีน และห้ามไม่ให้บุคคลเหล่านี้เข้าประเทศจีน พร้อมทั้งห้ามองค์กรและบุคคลในจีนทำธุรกิจกับพวกเขาด้วยที่มา: https://www.reuters.com/world/china-slaps-sanctions-13-us-military-firms-over-taiwan-arms-sale-2024-12-05/
    กระทรวงการต่างประเทศจีนได้ประกาศการคว่ำบาตรบริษัททหารของสหรัฐฯ จำนวน 13 แห่ง เพื่อเป็นการตอบโต้การขายอาวุธของสหรัฐฯ ให้กับไต้หวัน ซึ่งจีนมองว่าเป็นการแทรกแซงกิจการภายในของจีนและทำลายอธิปไตยของตนอย่างรุนแรง โดยการคว่ำบาตรนี้เกิดขึ้นหลังจากที่จีนคัดค้านอย่างหนักต่อการที่สหรัฐฯ อนุมัติการขายชิ้นส่วนอะไหล่และการสนับสนุนเครื่องบิน F-16 และเรดาร์ให้กับไต้หวัน มูลค่ากว่า 385 ล้านเหรียญสหรัฐฯบริษัทที่ถูกคว่ำบาตร ได้แก่ Teledyne Brown Engineering, Brinc Drones, Shield AI การคว่ำบาตรบริษัทดังกล่าวยังส่งผลให้บริษัทอื่น ๆ ที่ได้รับผลกระทบในฐานะไม่สามารถจัดหาวัตถุดิบในการผลิตได้ อาทิ Rapid Flight, Red Six Solutions, Synexxus, Firestorm Labs, Kratos Unmanned Aerial Systems, HavocAI, Neros Technologies, Cyberlux Corporation, Domo Tactical Communications และ Group Wนอกจากนี้ จีนยังได้อายัดทรัพย์สินของผู้บริหารระดับสูงจาก 5 บริษัท รวมทั้ง Raytheon, BAE Systems และ United Technologies ที่ดำเนินธุรกิจในจีน และห้ามไม่ให้บุคคลเหล่านี้เข้าประเทศจีน พร้อมทั้งห้ามองค์กรและบุคคลในจีนทำธุรกิจกับพวกเขาด้วยที่มา: https://www.reuters.com/world/china-slaps-sanctions-13-us-military-firms-over-taiwan-arms-sale-2024-12-05/
    0 Comments 0 Shares 486 Views 0 Reviews
  • 5/
    ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    5/ ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    0 Comments 0 Shares 340 Views 1 0 Reviews
  • 4/
    ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    4/ ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    0 Comments 0 Shares 322 Views 2 0 Reviews
  • 3/
    ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    3/ ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    0 Comments 0 Shares 315 Views 3 0 Reviews
  • 2/
    ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    2/ ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    0 Comments 0 Shares 303 Views 3 0 Reviews
  • 1/
    ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    1/ ย้อนดูเจ้าหน้าที่ตัวแทนจากประเทศยุโรป เยอรมนี ฝรั่งเศส โปแลนด์ เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สวีเดน และฟินแลนด์ ที่พยายามเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจอร์เจีย โดยเข้าร่วมกับกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงขึ้นเวทีปราศรัยโจมตีรัฐบาลจอร์เจีย และถ่ายรูปร่วมกับนักการเมืองจอร์เจียที่ฝักใฝ่ยุโรปและอเมริกา
    0 Comments 0 Shares 243 Views 0 Reviews
  • 2/

    นายกรัฐมนตรีอิรักลี โคบาคิดเซ ของจอร์เจีย เตือนว่ารัฐบาลจะใช้มาตรการทางการทูต หากนายพาเวล เฮอร์ชินสกี เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรป ไม่หยุดแทรกแซงกิจการภายในของประเทศหรือเปลี่ยนวาทกรรมของตน

    นายโคบาคิดเซ กล่าวหาเอกอัครราชทูตว่าออกแถลงการณ์สนับสนุนกลุ่มผู้ชุมนุมและวิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอร์เจียอย่างต่อเนื่อง

    ที่ผ่านมารัฐบาลของนายโคบาคิดเซ ได้รับข้อมูลมาตลอดว่าเจ้าหน้าที่ต่างชาติกลุ่มหนึ่งสนับสนุนประชาชนในเหตุการณ์การชุมนุมไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง และพยายามยั่วยุเจ้าหน้าที่ให้เข้าสลายการชุมนุม เพื่อให้เกิดภาพความรุนแแรง เพื่อสร้างเหตุผลในการวิจารณ์และคว่ำบาตรจอร์เจีย

    ก่อนหน้านี้ รัฐบาลจอร์เจียประกาศระงับการเจรจาเข้าร่วมสหภาพยุโรปจนถึงปี 2028
    2/ นายกรัฐมนตรีอิรักลี โคบาคิดเซ ของจอร์เจีย เตือนว่ารัฐบาลจะใช้มาตรการทางการทูต หากนายพาเวล เฮอร์ชินสกี เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรป ไม่หยุดแทรกแซงกิจการภายในของประเทศหรือเปลี่ยนวาทกรรมของตน นายโคบาคิดเซ กล่าวหาเอกอัครราชทูตว่าออกแถลงการณ์สนับสนุนกลุ่มผู้ชุมนุมและวิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอร์เจียอย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมารัฐบาลของนายโคบาคิดเซ ได้รับข้อมูลมาตลอดว่าเจ้าหน้าที่ต่างชาติกลุ่มหนึ่งสนับสนุนประชาชนในเหตุการณ์การชุมนุมไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง และพยายามยั่วยุเจ้าหน้าที่ให้เข้าสลายการชุมนุม เพื่อให้เกิดภาพความรุนแแรง เพื่อสร้างเหตุผลในการวิจารณ์และคว่ำบาตรจอร์เจีย ก่อนหน้านี้ รัฐบาลจอร์เจียประกาศระงับการเจรจาเข้าร่วมสหภาพยุโรปจนถึงปี 2028
    0 Comments 0 Shares 460 Views 7 0 Reviews
  • 1/

    นายกรัฐมนตรีอิรักลี โคบาคิดเซ ของจอร์เจีย เตือนว่ารัฐบาลจะใช้มาตรการทางการทูต หากนายพาเวล เฮอร์ชินสกี เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรป ไม่หยุดแทรกแซงกิจการภายในของประเทศหรือเปลี่ยนวาทกรรมของตน

    นายโคบาคิดเซ กล่าวหาเอกอัครราชทูตว่าออกแถลงการณ์สนับสนุนกลุ่มผู้ชุมนุมและวิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอร์เจียอย่างต่อเนื่อง

    ที่ผ่านมารัฐบาลของนายโคบาคิดเซ ได้รับข้อมูลมาตลอดว่าเจ้าหน้าที่ต่างชาติกลุ่มหนึ่งสนับสนุนประชาชนในเหตุการณ์การชุมนุมไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง และพยายามยั่วยุเจ้าหน้าที่ให้เข้าสลายการชุมนุม เพื่อให้เกิดภาพความรุนแแรง เพื่อสร้างเหตุผลในการวิจารณ์และคว่ำบาตรจอร์เจีย

    ก่อนหน้านี้ รัฐบาลจอร์เจียประกาศระงับการเจรจาเข้าร่วมสหภาพยุโรปจนถึงปี 2028
    1/ นายกรัฐมนตรีอิรักลี โคบาคิดเซ ของจอร์เจีย เตือนว่ารัฐบาลจะใช้มาตรการทางการทูต หากนายพาเวล เฮอร์ชินสกี เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรป ไม่หยุดแทรกแซงกิจการภายในของประเทศหรือเปลี่ยนวาทกรรมของตน นายโคบาคิดเซ กล่าวหาเอกอัครราชทูตว่าออกแถลงการณ์สนับสนุนกลุ่มผู้ชุมนุมและวิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอร์เจียอย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมารัฐบาลของนายโคบาคิดเซ ได้รับข้อมูลมาตลอดว่าเจ้าหน้าที่ต่างชาติกลุ่มหนึ่งสนับสนุนประชาชนในเหตุการณ์การชุมนุมไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง และพยายามยั่วยุเจ้าหน้าที่ให้เข้าสลายการชุมนุม เพื่อให้เกิดภาพความรุนแแรง เพื่อสร้างเหตุผลในการวิจารณ์และคว่ำบาตรจอร์เจีย ก่อนหน้านี้ รัฐบาลจอร์เจียประกาศระงับการเจรจาเข้าร่วมสหภาพยุโรปจนถึงปี 2028
    0 Comments 0 Shares 242 Views 0 Reviews
  • ผู้นำชาติอาหรับและมุสลิมประณามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของอิสราเอลในกาซา พร้อมเรียกร้องยิวถอนออกจากดินแดนปาเลสไตน์ทั้งหมดและสถาปนารัฐปาเลสไตน์ ทว่า รัฐมนตรีอิสราเอลดาหน้าคัดค้าน ถึงขั้นประกาศว่า จะดำเนินการเพื่อเข้าผนวกดินแดนบางส่วนในเวสต์แบงก์ปีหน้า
    .
    ในการประชุมสุดยอดที่จัดขึ้นที่กรุงริยาดของซาอุดีอาระเบีย เมื่อวันจันทร์ (11 พ.ย.) บรรดาผู้นำของกลุ่มสันนิบาตอาหรับซึ่งมีสมาชิก 22 ชาติ และขององค์การความร่วมมืออิสลาม (โอไอซี) ที่มีสมาชิก 57 ชาติ ได้แสดงจุดยืนที่เป็นหนึ่งเดียวกันเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ในตะวันออกกลาง หลังจากอิสราเอลและฮามาสทำสงครามในกาซามากว่าหนึ่งปี รวมทั้งลุกลามออกไปยังเลบานอน ตลอดจนอีกหลายชาติในภูมิภาค
    .
    ซัมมิตนี้ยังจัดขึ้นไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์หลังจากโดนัลด์ ทรัมป์ คว้าชัยในการเลือกตั้งประธานาธิบดีของสหรัฐฯ ประเทศที่เป็นผู้สนับสนุนหลักทางทหารของอิสราเอล
    .
    แถลงการณ์ปิดประชุมที่ออกมาในวันจันทร์ (11) ระบุว่า สันติภาพที่เป็นธรรมและครอบคลุมในตะวันออกกลางเป็นสิ่งที่ไม่อาจเป็นไปได้ หากอิสราเอลไม่ยุติการยึดครองดินแดนทั้งหมดที่เป็นของปาเลสไตน์ตามเขตแดน ณ วันที่ 4 มิ.ย.1967 ทั้งนี้ ดินแดนดังกล่าวหมายถึงเขตเวสต์แบงก์ เยรูซาเลมตะวันออก ฉนวนกาซา และที่ราบสูงโกลัน
    .
    ในแถลงการณ์ยังอ้างอิงมติของสหประชาชาติ ที่เรียกร้องให้อิสราเอลถอนออกจากดินแดนเหล่านั้น ตลอดจนแผนริเริ่มสันติภาพอาหรับปี 2002 ที่ประเทศอาหรับเสนอสถาปนาความสัมพันธ์ระดับปกติกับอิสราเอล แลกเปลี่ยนกับการที่อิสราเอลทำข้อตกลงสองรัฐ ซึ่งก็คือการสถาปนารัฐปาเลสไตน์ขึ้นมาตามเขตแดนในปี 1967
    .
    นอกจากนั้น แถลงการณ์ยังเรียกร้องให้นานาชาติประกาศแผนการพร้อมขั้นตอนและกำหนดเวลาที่เฉพาะเจาะจงในการสนับสนุนให้รัฐปาเลสไตน์เกิดขึ้นจริง
    .
    อย่างไรก็ตาม ทางด้านรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีเบนจามิน เนทันยาฮู แห่งอิสราเอล ได้แสดงปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรวดเร็ว คัดค้านการสถาปนารัฐปาเลสไตน์ โดยกิเดียน ซาร์ ผู้เพิ่งได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐยิวคนใหม่ วิจารณ์ว่า แนวทางดังกล่าวไม่สามารถทำได้จริง
    .
    เบซาเลล สโมทริช รัฐมนตรีคลังอิสราเอล ซึ่งสังกัดพรรคการเมืองฝ่ายขวาจัด ถึงขั้นประกาศว่า จะผลักดันให้อิสราเอลเข้าผนวกดินแดนบางส่วนในเวสต์แบงก์ในปีหน้า
    .
    สำหรับซัมมิตในริยาดคราวนี้ ยังได้แถลงประณามอาชญากรรมน่าหวาดหวั่นพรั่นพรึงของกองทัพอิสราเอลซึ่งเข้าข่ายอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
    .
    ขณะที่มกุฎราชกุมารโมฮัมเหม็ด บิน ซัลมาน ของซาอุดี เรียกร้องให้โลกหยุดการกระทำของอิสราเอลต่อชาวปาเลสไตน์และเลบานอน พร้อมประณามปฏิบัติการของอิสราเอลในกาซาเป็น “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” รวมทั้งยังเรียกร้องให้อิสราเอลยับยั้งการโจมตีอิหร่าน ท่าทีเช่นนี้สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างริยาดกับเตหะรานซึ่งมีการปรับปรุงกระเตื้องขึ้นมาก
    .
    ด้านนายกรัฐมนตรีนาจิบ มิคาติ ของเลบานอน เตือนว่า เลบานอนกำลังเผชิญวิกฤตความอยู่รอด และโจมตีประเทศที่แทรกแซงกิจการภายในของเลบานอน ซึ่งมีนัยหมายถึงอิหร่าน
    .
    ขณะที่รองประธานาธิบดีโมฮัมหมัด เรซา อาเรฟของอิหร่าน กล่าวว่า โลกกำลังรอให้ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีคนใหม่ของอเมริกา ยุติการประหัตประหารผู้บริสุทธิ์ในกาซาและเลบานอนทันที
    .
    นอกจากนั้น แถลงการณ์ของที่ประชุมในริยาดยังเรียกร้องให้แบนการส่งออกและการจัดส่งอาวุธให้อิสราเอล
    .
    อย่างไรก็ดี มีรายงานจากเว็บไซต์ข่าวแอกซิออสของอเมริกาว่า รอน เดอร์เมอร์ รัฐมนตรีกิจการยุทธศาสตร์ของอิสราเอล ได้เดินทางไปพบทรัมป์ที่รีสอร์ตในฟลอริดาเมื่อวันจันทร์ ก่อนที่เดอร์เมอร์จะไปพบแอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ในวันเดียวกัน
    .
    แอกซิออสรายงานเพิ่มเติมว่า เดอร์เมอร์นำข้อความจากเนทันยาฮูไปถ่ายทอดให้ทรัมป์ฟัง รวมทั้งสรุปแผนการสำหรับกาซา เลบานอน และอิหร่านในช่วง 2 เดือนข้างหน้าก่อนที่ทรัมป์จะเข้ารับตำแหน่ง
    .
    อนึ่ง เมื่อวันอาทิตย์ (10 พ.ย.) ทรัมป์เปิดเผยกับนิวยอร์กโพสต์ว่า จะเสนอชื่อ ส.ส.เอลิส สเตฟานิก ประธานของที่ประชุมพรรครีพับลิกันในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นผู้มีจุดยืนปกป้องอิสราเอลและต่อต้านอิหร่านอย่างแข็งขัน เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำยูเอ็นคนใหม่ของเขา
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000109074
    ..............
    Sondhi X
    ผู้นำชาติอาหรับและมุสลิมประณามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของอิสราเอลในกาซา พร้อมเรียกร้องยิวถอนออกจากดินแดนปาเลสไตน์ทั้งหมดและสถาปนารัฐปาเลสไตน์ ทว่า รัฐมนตรีอิสราเอลดาหน้าคัดค้าน ถึงขั้นประกาศว่า จะดำเนินการเพื่อเข้าผนวกดินแดนบางส่วนในเวสต์แบงก์ปีหน้า . ในการประชุมสุดยอดที่จัดขึ้นที่กรุงริยาดของซาอุดีอาระเบีย เมื่อวันจันทร์ (11 พ.ย.) บรรดาผู้นำของกลุ่มสันนิบาตอาหรับซึ่งมีสมาชิก 22 ชาติ และขององค์การความร่วมมืออิสลาม (โอไอซี) ที่มีสมาชิก 57 ชาติ ได้แสดงจุดยืนที่เป็นหนึ่งเดียวกันเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ในตะวันออกกลาง หลังจากอิสราเอลและฮามาสทำสงครามในกาซามากว่าหนึ่งปี รวมทั้งลุกลามออกไปยังเลบานอน ตลอดจนอีกหลายชาติในภูมิภาค . ซัมมิตนี้ยังจัดขึ้นไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์หลังจากโดนัลด์ ทรัมป์ คว้าชัยในการเลือกตั้งประธานาธิบดีของสหรัฐฯ ประเทศที่เป็นผู้สนับสนุนหลักทางทหารของอิสราเอล . แถลงการณ์ปิดประชุมที่ออกมาในวันจันทร์ (11) ระบุว่า สันติภาพที่เป็นธรรมและครอบคลุมในตะวันออกกลางเป็นสิ่งที่ไม่อาจเป็นไปได้ หากอิสราเอลไม่ยุติการยึดครองดินแดนทั้งหมดที่เป็นของปาเลสไตน์ตามเขตแดน ณ วันที่ 4 มิ.ย.1967 ทั้งนี้ ดินแดนดังกล่าวหมายถึงเขตเวสต์แบงก์ เยรูซาเลมตะวันออก ฉนวนกาซา และที่ราบสูงโกลัน . ในแถลงการณ์ยังอ้างอิงมติของสหประชาชาติ ที่เรียกร้องให้อิสราเอลถอนออกจากดินแดนเหล่านั้น ตลอดจนแผนริเริ่มสันติภาพอาหรับปี 2002 ที่ประเทศอาหรับเสนอสถาปนาความสัมพันธ์ระดับปกติกับอิสราเอล แลกเปลี่ยนกับการที่อิสราเอลทำข้อตกลงสองรัฐ ซึ่งก็คือการสถาปนารัฐปาเลสไตน์ขึ้นมาตามเขตแดนในปี 1967 . นอกจากนั้น แถลงการณ์ยังเรียกร้องให้นานาชาติประกาศแผนการพร้อมขั้นตอนและกำหนดเวลาที่เฉพาะเจาะจงในการสนับสนุนให้รัฐปาเลสไตน์เกิดขึ้นจริง . อย่างไรก็ตาม ทางด้านรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีเบนจามิน เนทันยาฮู แห่งอิสราเอล ได้แสดงปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรวดเร็ว คัดค้านการสถาปนารัฐปาเลสไตน์ โดยกิเดียน ซาร์ ผู้เพิ่งได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐยิวคนใหม่ วิจารณ์ว่า แนวทางดังกล่าวไม่สามารถทำได้จริง . เบซาเลล สโมทริช รัฐมนตรีคลังอิสราเอล ซึ่งสังกัดพรรคการเมืองฝ่ายขวาจัด ถึงขั้นประกาศว่า จะผลักดันให้อิสราเอลเข้าผนวกดินแดนบางส่วนในเวสต์แบงก์ในปีหน้า . สำหรับซัมมิตในริยาดคราวนี้ ยังได้แถลงประณามอาชญากรรมน่าหวาดหวั่นพรั่นพรึงของกองทัพอิสราเอลซึ่งเข้าข่ายอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ . ขณะที่มกุฎราชกุมารโมฮัมเหม็ด บิน ซัลมาน ของซาอุดี เรียกร้องให้โลกหยุดการกระทำของอิสราเอลต่อชาวปาเลสไตน์และเลบานอน พร้อมประณามปฏิบัติการของอิสราเอลในกาซาเป็น “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” รวมทั้งยังเรียกร้องให้อิสราเอลยับยั้งการโจมตีอิหร่าน ท่าทีเช่นนี้สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างริยาดกับเตหะรานซึ่งมีการปรับปรุงกระเตื้องขึ้นมาก . ด้านนายกรัฐมนตรีนาจิบ มิคาติ ของเลบานอน เตือนว่า เลบานอนกำลังเผชิญวิกฤตความอยู่รอด และโจมตีประเทศที่แทรกแซงกิจการภายในของเลบานอน ซึ่งมีนัยหมายถึงอิหร่าน . ขณะที่รองประธานาธิบดีโมฮัมหมัด เรซา อาเรฟของอิหร่าน กล่าวว่า โลกกำลังรอให้ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีคนใหม่ของอเมริกา ยุติการประหัตประหารผู้บริสุทธิ์ในกาซาและเลบานอนทันที . นอกจากนั้น แถลงการณ์ของที่ประชุมในริยาดยังเรียกร้องให้แบนการส่งออกและการจัดส่งอาวุธให้อิสราเอล . อย่างไรก็ดี มีรายงานจากเว็บไซต์ข่าวแอกซิออสของอเมริกาว่า รอน เดอร์เมอร์ รัฐมนตรีกิจการยุทธศาสตร์ของอิสราเอล ได้เดินทางไปพบทรัมป์ที่รีสอร์ตในฟลอริดาเมื่อวันจันทร์ ก่อนที่เดอร์เมอร์จะไปพบแอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ในวันเดียวกัน . แอกซิออสรายงานเพิ่มเติมว่า เดอร์เมอร์นำข้อความจากเนทันยาฮูไปถ่ายทอดให้ทรัมป์ฟัง รวมทั้งสรุปแผนการสำหรับกาซา เลบานอน และอิหร่านในช่วง 2 เดือนข้างหน้าก่อนที่ทรัมป์จะเข้ารับตำแหน่ง . อนึ่ง เมื่อวันอาทิตย์ (10 พ.ย.) ทรัมป์เปิดเผยกับนิวยอร์กโพสต์ว่า จะเสนอชื่อ ส.ส.เอลิส สเตฟานิก ประธานของที่ประชุมพรรครีพับลิกันในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นผู้มีจุดยืนปกป้องอิสราเอลและต่อต้านอิหร่านอย่างแข็งขัน เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำยูเอ็นคนใหม่ของเขา . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000109074 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    14
    0 Comments 0 Shares 1570 Views 0 Reviews
  • ประธานาธิบดี ไมอา ซานดู หญิงแกร่งสามารถชนะเลือกรอบ 2 ตั้งประธานาธิบดีมอลโดวาวันอาทิตย์ (3 พ.ย.) ฝ่ามรสุมมอสโกแทรกแซงเลือกตั้ง ชนะไป 54.35% มีชัยเหนือคู่แข่ง อเล็กซานเดอร์ สตอยอาโนโกล (Alexandr Stoianoglo) จากพรรคโซเชียลลิสต์โปรรัสเซีย ผู้นำตะวันตกสุดดีใจแห่ร่วมแสดงความยินดีปูหนทางเข้าสู่ EU
    .
    รอยเตอร์รายงานวันนี้ (4 พ.ย.) ว่า หลังนับไปแล้ว 98% พบว่าอดีตที่ปรึกษาเวิลด์แบงก์ ประธานาธิบดีหญิง ไมอา ซานดู (Maia Sandu) ได้คะแนน 54.35% คณะกรรมการการเลือกตั้มอลโดวาประกาศ
    .
    เป็นการเลือกตั้งครั้งสำคัญที่จะนำมอลโดวาไปสู่การเข้าสู่สหภาพยุโรปได้หรือไม่ ท่ามกลางขวากหนามอย่างรัสเซียที่ถูกกล่าวหาว่ายื่นมาเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในป่วนเลือกตั้ง
    .
    รัฐมนตรีต่างประเทศเยอรมนี อันนาเลนา แบร์บ็อค (Annalena Baerbock) ตามรายงานวันจันทร์ (4) ของเดอะการ์เดียน อังกฤษ ได้กล่าวประณามมอสโกพยายามขัดขวางผู้มีสิทธิเลือกตั้งมอลโดวาในต่างแดนออกเสียงเลือกตั้ง ได้แก่ การซื้อเสียง ควบคุม ขู่วางระเบิดคูหาเลือกตั้งหลายแห่งในเยอรมนี รวม แฟรงก์เฟิร์ต ฮัมบูร์ก และกรุงเบอร์ลิน
    .
    อย่างไรก็ตาม รัสเซียที่ออกมาประณามผลเลือกตั้งมอลโดวานี รอยเตอร์ชี้ว่า วุฒิสมาชิกรัสเซียใกล้ชิดปูติน อันเดร คลีชาส (Andrei Klishas) ออกมาโจมตีวันจันทร์ (4) เลียนวาทะทรัมป์อ้างว่า มอลโดวา “นำเข้าเสียงเลือกตั้งต่างแดน” เพื่อช่วยให้ประธานาธิบดีโปรตะวันตก ไมอา ซานดู ชนะคู่แข่ง
    .
    ตำรวจมอลโดวาแถลงในเดือนที่ผ่านมาว่า นักธุรกิจมอลโดวาที่หลบหนีคดีโปรรัสเซีย อีลาน ชอร์ (Ilan Shor) แอบเป็นท่อน้ำเลี้ยงส่งเงิน 24 ล้านดอลลาร์เมื่อตุลาคมจ่ายให้ผู้มีสิทธิออกเสียงมอลโดวาในการเลือกตั้งประธานาธิบดีมอลโดวา และการลงประชามติครั้งสำคัญเข้าร่วมสหภาพยุโรป
    .
    รอยเตอร์ชี้ว่า ชัยชนะของประธานาธิบดีไมดูที่พยายามอย่างหนักในการผลักดันให้มอลโดวาหลุดออกจากวงโคจรรัสเซียและเข้าร่วมสหภาพยุโรปถูกมองจากบรรดาผู้สนับสนุนว่า การชนะเลือกตั้งเป็นเสมือนประชามติในการนำมอลโดวาอดีตเคยอยู่ภายใต้อดีตสหภาพโซเวียตเข้าสู่ EU
    .
    การเลือกตั้งครั้งนี้ถูกจับตาใกล้ชิดในบรัสเซลส์ 1 สัปดาห์หลังพรรคโปรเครมลิน พรรคความฝันจอร์เจีย GD (Georgian Dream) ชนะเลือกตั้งและทำให้วิตกกันว่า รัฐบาลจอร์เจียชุดใหม่จะยุติกระบวนการพาประเทศยูเรเชียแห่งนี้เดินหน้าเข้าสหภาพยุโรป
    .
    รอยเตอร์รายงานว่า สตอยอาโนโกล ในระหว่างหาเสียงประกาศว่า เขาสนับสนุนการเข้าสู่ EU แต่เขาต้องการพัฒนาความสัมพันธ์กับรัสเซียเช่นกัน แต่ซานดูชี้ว่า เขาเป็นเสมือนม้าไม้เมืองทรอยทำเพื่อผลประโยชน์ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน แต่ สตอยอาโนโกล ปฏิเสธ
    .
    มอลโดวากลายเป็นจุดสนใจหลังรัสเซียส่งกำลังทหารบุกยูเครนเมื่อปี 2022
    .
    บรรดาผู้นำตะวันตกทั้งสหรัฐฯ อังกฤษ สหภาพยุโรป และยูเครนต่างร่วมแสดงความยินดีต่อประธานาธิบดีซานดู
    .
    รอยเตอร์รายงานว่า ประธานาธิบดีสหรัฐฯ โจ ไบเดน แถลงการณ์แสดงความยินดีได้ชี้ว่า รัสเซียล้มเหลวในการแทรกแซงการเลือกตั้งมอลโดวา
    .
    ขณะที่รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ เดวิด แลมมี (David Lammy) แถลงแสดงความยินดี พร้อมชี้ว่า อังกฤษยังคงเดินหน้าสนับสนุนการปฏิรูปทางประชาธิปไตยมอลโดวาหลังเสร็จสิ้นการเลือกตั้งประธานาธิบดี
    .
    หัวหน้านโยบายสหภาพยุโรป โจเซฟ บอร์เรลล์ แสดงความยินดีอย่างอบอุ่นต่อความสำเร็จประธานาธิบดี ไมอา ซานดู ที่สามารถชนะเลือกตั้งเป็นสมัยที่ 2 ได้สำเร็จ
    .
    และประธานาธิบดียูเครน โวโลดิมีร์ เซเลนสกี แสดงความยินและพร้อมกันนั้นยังประกาศความยึดมั่นต่อข้อผูกพันของยูเครนในการทำงานร่วมกันต่อเป้าหมายร่วมเพื่อเข้าสู่ความเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปให้สำเร็จ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000106362
    ..............
    Sondhi X
    ประธานาธิบดี ไมอา ซานดู หญิงแกร่งสามารถชนะเลือกรอบ 2 ตั้งประธานาธิบดีมอลโดวาวันอาทิตย์ (3 พ.ย.) ฝ่ามรสุมมอสโกแทรกแซงเลือกตั้ง ชนะไป 54.35% มีชัยเหนือคู่แข่ง อเล็กซานเดอร์ สตอยอาโนโกล (Alexandr Stoianoglo) จากพรรคโซเชียลลิสต์โปรรัสเซีย ผู้นำตะวันตกสุดดีใจแห่ร่วมแสดงความยินดีปูหนทางเข้าสู่ EU . รอยเตอร์รายงานวันนี้ (4 พ.ย.) ว่า หลังนับไปแล้ว 98% พบว่าอดีตที่ปรึกษาเวิลด์แบงก์ ประธานาธิบดีหญิง ไมอา ซานดู (Maia Sandu) ได้คะแนน 54.35% คณะกรรมการการเลือกตั้มอลโดวาประกาศ . เป็นการเลือกตั้งครั้งสำคัญที่จะนำมอลโดวาไปสู่การเข้าสู่สหภาพยุโรปได้หรือไม่ ท่ามกลางขวากหนามอย่างรัสเซียที่ถูกกล่าวหาว่ายื่นมาเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในป่วนเลือกตั้ง . รัฐมนตรีต่างประเทศเยอรมนี อันนาเลนา แบร์บ็อค (Annalena Baerbock) ตามรายงานวันจันทร์ (4) ของเดอะการ์เดียน อังกฤษ ได้กล่าวประณามมอสโกพยายามขัดขวางผู้มีสิทธิเลือกตั้งมอลโดวาในต่างแดนออกเสียงเลือกตั้ง ได้แก่ การซื้อเสียง ควบคุม ขู่วางระเบิดคูหาเลือกตั้งหลายแห่งในเยอรมนี รวม แฟรงก์เฟิร์ต ฮัมบูร์ก และกรุงเบอร์ลิน . อย่างไรก็ตาม รัสเซียที่ออกมาประณามผลเลือกตั้งมอลโดวานี รอยเตอร์ชี้ว่า วุฒิสมาชิกรัสเซียใกล้ชิดปูติน อันเดร คลีชาส (Andrei Klishas) ออกมาโจมตีวันจันทร์ (4) เลียนวาทะทรัมป์อ้างว่า มอลโดวา “นำเข้าเสียงเลือกตั้งต่างแดน” เพื่อช่วยให้ประธานาธิบดีโปรตะวันตก ไมอา ซานดู ชนะคู่แข่ง . ตำรวจมอลโดวาแถลงในเดือนที่ผ่านมาว่า นักธุรกิจมอลโดวาที่หลบหนีคดีโปรรัสเซีย อีลาน ชอร์ (Ilan Shor) แอบเป็นท่อน้ำเลี้ยงส่งเงิน 24 ล้านดอลลาร์เมื่อตุลาคมจ่ายให้ผู้มีสิทธิออกเสียงมอลโดวาในการเลือกตั้งประธานาธิบดีมอลโดวา และการลงประชามติครั้งสำคัญเข้าร่วมสหภาพยุโรป . รอยเตอร์ชี้ว่า ชัยชนะของประธานาธิบดีไมดูที่พยายามอย่างหนักในการผลักดันให้มอลโดวาหลุดออกจากวงโคจรรัสเซียและเข้าร่วมสหภาพยุโรปถูกมองจากบรรดาผู้สนับสนุนว่า การชนะเลือกตั้งเป็นเสมือนประชามติในการนำมอลโดวาอดีตเคยอยู่ภายใต้อดีตสหภาพโซเวียตเข้าสู่ EU . การเลือกตั้งครั้งนี้ถูกจับตาใกล้ชิดในบรัสเซลส์ 1 สัปดาห์หลังพรรคโปรเครมลิน พรรคความฝันจอร์เจีย GD (Georgian Dream) ชนะเลือกตั้งและทำให้วิตกกันว่า รัฐบาลจอร์เจียชุดใหม่จะยุติกระบวนการพาประเทศยูเรเชียแห่งนี้เดินหน้าเข้าสหภาพยุโรป . รอยเตอร์รายงานว่า สตอยอาโนโกล ในระหว่างหาเสียงประกาศว่า เขาสนับสนุนการเข้าสู่ EU แต่เขาต้องการพัฒนาความสัมพันธ์กับรัสเซียเช่นกัน แต่ซานดูชี้ว่า เขาเป็นเสมือนม้าไม้เมืองทรอยทำเพื่อผลประโยชน์ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน แต่ สตอยอาโนโกล ปฏิเสธ . มอลโดวากลายเป็นจุดสนใจหลังรัสเซียส่งกำลังทหารบุกยูเครนเมื่อปี 2022 . บรรดาผู้นำตะวันตกทั้งสหรัฐฯ อังกฤษ สหภาพยุโรป และยูเครนต่างร่วมแสดงความยินดีต่อประธานาธิบดีซานดู . รอยเตอร์รายงานว่า ประธานาธิบดีสหรัฐฯ โจ ไบเดน แถลงการณ์แสดงความยินดีได้ชี้ว่า รัสเซียล้มเหลวในการแทรกแซงการเลือกตั้งมอลโดวา . ขณะที่รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ เดวิด แลมมี (David Lammy) แถลงแสดงความยินดี พร้อมชี้ว่า อังกฤษยังคงเดินหน้าสนับสนุนการปฏิรูปทางประชาธิปไตยมอลโดวาหลังเสร็จสิ้นการเลือกตั้งประธานาธิบดี . หัวหน้านโยบายสหภาพยุโรป โจเซฟ บอร์เรลล์ แสดงความยินดีอย่างอบอุ่นต่อความสำเร็จประธานาธิบดี ไมอา ซานดู ที่สามารถชนะเลือกตั้งเป็นสมัยที่ 2 ได้สำเร็จ . และประธานาธิบดียูเครน โวโลดิมีร์ เซเลนสกี แสดงความยินและพร้อมกันนั้นยังประกาศความยึดมั่นต่อข้อผูกพันของยูเครนในการทำงานร่วมกันต่อเป้าหมายร่วมเพื่อเข้าสู่ความเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปให้สำเร็จ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000106362 .............. Sondhi X
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 1542 Views 0 Reviews
  • ❗️BIG: สภาผู้แทนราษฎรแห่งรัสเซีย, สภาดูมาแห่งรัฐ, ได้ให้สัตยาบันต่อสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างครอบคลุมระหว่างสหพันธรัฐรัสเซียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (DPRK)

    ตามเอกสารดังกล่าว, ทั้งสองฝ่ายจะรักษาและพัฒนาความสัมพันธ์ความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างครอบคลุมอย่างต่อเนื่อง, โดยคำนึงถึงกฎหมายของประเทศของตนและพันธกรณีระหว่างประเทศของตน

    ความสัมพันธ์เหล่านี้มีพื้นฐานอยู่บนหลักการเคารพซึ่งกันและกันในอำนาจอธิปไตยของรัฐและบูรณภาพแห่งดินแดน, การไม่แทรกแซงกิจการภายใน, ความเท่าเทียม, และหลักการอื่นๆของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ฉันมิตรและความร่วมมือระหว่างประเทศ
    .
    ❗️BIG: THE LOWER HOUSE OF THE RUSSIAN PARLIAMENT, THE STATE DUMA, HAS RATIFIED THE TREATY ON COMPREHENSIVE STRATEGIC PARTNERSHIP BETWEEN THE RUSSIAN FEDERATION AND THE DEMOCRATIC PEOPLE'S REPUBLIC OF KOREA (DPRK).

    According to the document, both parties will continuously maintain and develop comprehensive strategic partnership relations, taking into account the laws of their respective countries and their international obligations.

    These relations are based on the principles of mutual respect for state sovereignty and territorial integrity, non-interference in internal affairs, equality, and other principles of international law concerning friendly relations and cooperation between states.
    .
    4:22 PM · Oct 24, 2024 · 4,683 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1849381028013441316
    ❗️BIG: 🇷🇺🇰🇵สภาผู้แทนราษฎรแห่งรัสเซีย, สภาดูมาแห่งรัฐ, ได้ให้สัตยาบันต่อสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างครอบคลุมระหว่างสหพันธรัฐรัสเซียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (DPRK) ตามเอกสารดังกล่าว, ทั้งสองฝ่ายจะรักษาและพัฒนาความสัมพันธ์ความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างครอบคลุมอย่างต่อเนื่อง, โดยคำนึงถึงกฎหมายของประเทศของตนและพันธกรณีระหว่างประเทศของตน ความสัมพันธ์เหล่านี้มีพื้นฐานอยู่บนหลักการเคารพซึ่งกันและกันในอำนาจอธิปไตยของรัฐและบูรณภาพแห่งดินแดน, การไม่แทรกแซงกิจการภายใน, ความเท่าเทียม, และหลักการอื่นๆของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ฉันมิตรและความร่วมมือระหว่างประเทศ . ❗️BIG: 🇷🇺🇰🇵THE LOWER HOUSE OF THE RUSSIAN PARLIAMENT, THE STATE DUMA, HAS RATIFIED THE TREATY ON COMPREHENSIVE STRATEGIC PARTNERSHIP BETWEEN THE RUSSIAN FEDERATION AND THE DEMOCRATIC PEOPLE'S REPUBLIC OF KOREA (DPRK). According to the document, both parties will continuously maintain and develop comprehensive strategic partnership relations, taking into account the laws of their respective countries and their international obligations. These relations are based on the principles of mutual respect for state sovereignty and territorial integrity, non-interference in internal affairs, equality, and other principles of international law concerning friendly relations and cooperation between states. . 4:22 PM · Oct 24, 2024 · 4,683 Views https://x.com/SputnikInt/status/1849381028013441316
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 562 Views 0 Reviews
  • เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรีอิสราเอล ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนฝรั่งเศส ว่า กองทัพอิสราเอลพบอาวุธล้ำสมัยของรัสเซีย ระหว่างปฏิบัติการตรวจค้นฐานที่มั่นต่างๆ ของพวกฮิซบอลเลาะห์ ทางใต้ของเลบานอน เหตุการณ์ที่อาจทำให้สถานการณ์ลุกลามบานปลายเกินกว่าจินตนาการ
    .
    เนทันยาฮู เน้นย้ำกับหนังสือพิมพ์เลอ ฟิกาโร ในการสัมภาษณ์ที่มีการเผยแพร่ในวันพุธ (16 ต.ค.) ว่า ภายใต้มติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเมื่อปี 2006 มีเพียงแค่ทหารเลบานอนเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีอาวุธบริเวณทางใต้ของแม่น้ำลิตานี แม่น้ำสายหลักของประเทศ
    .
    "อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่นี้พวกฮิซบอลเลาะห์ขุดอุโมงค์และที่ซ่อนนับร้อย ซึ่งเราเพิ่งพบอาวุธล้ำสมัยของรัสเซียจำนวนหนึ่ง" เนทันยาฮูให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส
    .
    ก่อนหน้านี้ หนังสือพิมพ์วอชิงตันโพสต์ของสหรัฐฯ เคยกล่าวอ้างเจ้าหน้าที่อิสราเอล รายงานว่าอิสราเอลพบอาวุธต่อต้านรถถังของรัสเซียและจีน ระหว่างปฏิบัติการจู่โจมภายในเลบานอน นับตั้งแต่ความขัดแย้งระหว่างพวกเขากับพวกฮิซบอลเลาะห์ ที่ได้รับการสนับสนุนจากอิหร่านลุกลามขึ้นเมื่อเดือนที่แล้ว
    .
    กองทัพอิสราเอลยังไม่ออกมาแสดงความคิดเห็นต่อรายงานข่าวของเอเอฟพี เกี่ยวกับคำกล่าวอ้างของนายกรัฐมนตรีเนทันยาฮู
    .
    อิสราเอลบอกว่ายุทธการทางทหารของพวกเขาในการจัดการกับพวกฮิซบอลเลาะห์มีเป้าประสงค์คือทำให้พื้นที่แถบดังกล่าวมีความปลอดภัยมากขึ้น เพื่อเปิดทางให้พลเรือนที่อพยพหลบหนีจากทางเหนือของอิสราเอลกว่า 60,000 คน สามารถกลับสู่ถิ่นฐานได้
    .
    พลเมืองจำนวนมากต้องหลบหนีออกจากถิ่นฐานของตนเอง สืบเนื่องจากเหตุยิงปะทะข้ามชายแดนระหว่างอิสราเอลกับฮิซบอลเลาะห์ ซึ่งเกิดขึ้นทันทีตามหลังอิสราเอลเปิดปฏิบัติการโจมตีและรุกรานฉนวนกาซา แก้แค้นกรณีที่พวกนักรบฮามาสบุกจู่โจมสายฟ้าแลบเล่นงานอิสราเอล เมื่อวันที่ 7 ตุลาคมปีก่อน
    .
    "สงครามกลางเมืองครั้งใหม่ในเลบานอนจะเป็นเรื่องน่าเศร้า แน่นอนว่าเราไม่มีเป้าหมายยั่วยุให้เกิดขึ้นอีกรอบ อิสราเอลไม่ได้มีเจตนาแทรกแซงกิจการภายในของเลบานอน" เนทันยาฮูบอกกับสื่อมวลชนฝรั่งเศส "เป้าหมายของเราคือเปิดทางให้พลเมืองของเราที่อยู่ตามแนวหน้าติดกับเลบานอน กลับบ้านและรู้สึกถึงความปลอดภัย"
    .
    ฮิซบอลเลาะห์และอิสราเอลยกระดับการสู้รบดุเดือดขึ้นเรื่อยๆ ตามหลังการรุกรานอิสราเอลของพวกฮามาส จุดชนวนสงครามในกาซา
    .
    ทั้งนี้ ฮิซบอลเลาะห์ยิงจรวดหลายพันลูกเข้าใส่อิสราเอลตลอดขวบปีที่ผ่านมา เพื่อสนับสนุนพันธมิตรอย่างนักรบฮามาส ที่สู้รบกับอิสราเอลในกาซา ทำให้ชาวอิสราเอลหลายหมื่นคนต้องไร้ถิ่นฐาน
    .
    อิสราเอลยกระดับปฏิบัติการทางอากาศถล่มพวกฮิซบอลเลาะห์ในเลบานอน ตั้งแต่วันที่ 23 กันยายนเป็นต้นมา จากนั้นก็เปิดปฏิบัติการรุกรานทางภาคพื้นในอีก 1 สัปดาห์ให้หลัง อ้างว่าเป็นความพยายามผลักดันให้พวกนักรบติดอาวุธล่าถอยออกห่างชายแดนทางเหนือ
    .
    นับตั้งแต่อิสราเอลเริ่มจู่โจมฮิซบอลเลาะห์ มีผู้คนอย่างน้อย 1,373 รายแล้ว ที่เสียชีวิตในเลบานอน จากการนับของเอเอฟพีต่อข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเลบานอน อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าตัวเลขผู้เสียชีวิตที่แท้จริงน่าจะสูงกว่านี้
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000100026
    ..............
    Sondhi X
    เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรีอิสราเอล ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนฝรั่งเศส ว่า กองทัพอิสราเอลพบอาวุธล้ำสมัยของรัสเซีย ระหว่างปฏิบัติการตรวจค้นฐานที่มั่นต่างๆ ของพวกฮิซบอลเลาะห์ ทางใต้ของเลบานอน เหตุการณ์ที่อาจทำให้สถานการณ์ลุกลามบานปลายเกินกว่าจินตนาการ . เนทันยาฮู เน้นย้ำกับหนังสือพิมพ์เลอ ฟิกาโร ในการสัมภาษณ์ที่มีการเผยแพร่ในวันพุธ (16 ต.ค.) ว่า ภายใต้มติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเมื่อปี 2006 มีเพียงแค่ทหารเลบานอนเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีอาวุธบริเวณทางใต้ของแม่น้ำลิตานี แม่น้ำสายหลักของประเทศ . "อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่นี้พวกฮิซบอลเลาะห์ขุดอุโมงค์และที่ซ่อนนับร้อย ซึ่งเราเพิ่งพบอาวุธล้ำสมัยของรัสเซียจำนวนหนึ่ง" เนทันยาฮูให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส . ก่อนหน้านี้ หนังสือพิมพ์วอชิงตันโพสต์ของสหรัฐฯ เคยกล่าวอ้างเจ้าหน้าที่อิสราเอล รายงานว่าอิสราเอลพบอาวุธต่อต้านรถถังของรัสเซียและจีน ระหว่างปฏิบัติการจู่โจมภายในเลบานอน นับตั้งแต่ความขัดแย้งระหว่างพวกเขากับพวกฮิซบอลเลาะห์ ที่ได้รับการสนับสนุนจากอิหร่านลุกลามขึ้นเมื่อเดือนที่แล้ว . กองทัพอิสราเอลยังไม่ออกมาแสดงความคิดเห็นต่อรายงานข่าวของเอเอฟพี เกี่ยวกับคำกล่าวอ้างของนายกรัฐมนตรีเนทันยาฮู . อิสราเอลบอกว่ายุทธการทางทหารของพวกเขาในการจัดการกับพวกฮิซบอลเลาะห์มีเป้าประสงค์คือทำให้พื้นที่แถบดังกล่าวมีความปลอดภัยมากขึ้น เพื่อเปิดทางให้พลเรือนที่อพยพหลบหนีจากทางเหนือของอิสราเอลกว่า 60,000 คน สามารถกลับสู่ถิ่นฐานได้ . พลเมืองจำนวนมากต้องหลบหนีออกจากถิ่นฐานของตนเอง สืบเนื่องจากเหตุยิงปะทะข้ามชายแดนระหว่างอิสราเอลกับฮิซบอลเลาะห์ ซึ่งเกิดขึ้นทันทีตามหลังอิสราเอลเปิดปฏิบัติการโจมตีและรุกรานฉนวนกาซา แก้แค้นกรณีที่พวกนักรบฮามาสบุกจู่โจมสายฟ้าแลบเล่นงานอิสราเอล เมื่อวันที่ 7 ตุลาคมปีก่อน . "สงครามกลางเมืองครั้งใหม่ในเลบานอนจะเป็นเรื่องน่าเศร้า แน่นอนว่าเราไม่มีเป้าหมายยั่วยุให้เกิดขึ้นอีกรอบ อิสราเอลไม่ได้มีเจตนาแทรกแซงกิจการภายในของเลบานอน" เนทันยาฮูบอกกับสื่อมวลชนฝรั่งเศส "เป้าหมายของเราคือเปิดทางให้พลเมืองของเราที่อยู่ตามแนวหน้าติดกับเลบานอน กลับบ้านและรู้สึกถึงความปลอดภัย" . ฮิซบอลเลาะห์และอิสราเอลยกระดับการสู้รบดุเดือดขึ้นเรื่อยๆ ตามหลังการรุกรานอิสราเอลของพวกฮามาส จุดชนวนสงครามในกาซา . ทั้งนี้ ฮิซบอลเลาะห์ยิงจรวดหลายพันลูกเข้าใส่อิสราเอลตลอดขวบปีที่ผ่านมา เพื่อสนับสนุนพันธมิตรอย่างนักรบฮามาส ที่สู้รบกับอิสราเอลในกาซา ทำให้ชาวอิสราเอลหลายหมื่นคนต้องไร้ถิ่นฐาน . อิสราเอลยกระดับปฏิบัติการทางอากาศถล่มพวกฮิซบอลเลาะห์ในเลบานอน ตั้งแต่วันที่ 23 กันยายนเป็นต้นมา จากนั้นก็เปิดปฏิบัติการรุกรานทางภาคพื้นในอีก 1 สัปดาห์ให้หลัง อ้างว่าเป็นความพยายามผลักดันให้พวกนักรบติดอาวุธล่าถอยออกห่างชายแดนทางเหนือ . นับตั้งแต่อิสราเอลเริ่มจู่โจมฮิซบอลเลาะห์ มีผู้คนอย่างน้อย 1,373 รายแล้ว ที่เสียชีวิตในเลบานอน จากการนับของเอเอฟพีต่อข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเลบานอน อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าตัวเลขผู้เสียชีวิตที่แท้จริงน่าจะสูงกว่านี้ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000100026 .............. Sondhi X
    Like
    3
    1 Comments 0 Shares 1626 Views 0 Reviews