• ถนนจูเชวี่ยแห่งนครฉางอัน

    สวัสดีค่ะ วันนี้มาคุยกันเร็วหน่อยก่อนจะแยกย้ายกันไปฉลองปีใหม่ พูดถึงเทศกาลคริสมาสและปีใหม่ ก็หนีไม่พ้นเรื่องของการซื้อของให้ของขวัญ ทำให้ Storyฯ นึกถึงถนนสายหนึ่งที่มักถูกกล่าวถึงในละครเรื่อง <ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์> เวลาที่นางเอกชวนสาวใช้ไปเดินช้อปปิ้ง

    ถนนสายนี้มีชื่อว่า ถนนจูเชวี่ย (朱雀街 / ถนนวิหคชาด) ซึ่งเป็นชื่อที่ปรากฏบ่อยมากในซีรีส์และนิยายจีน เพราะมันเป็นถนนที่โด่งดังมากแห่งนครฉางอัน และปัจจุบันยังคงมีถนนสายนี้อยู่ที่เมืองซีอัน แต่เรียกจริงๆ ว่าถนนใหญ่จูเชวี่ย (朱雀大街 / Zhuque Avenue)

    ถนนจูเชวี่ยที่เราเห็นในละครหลายเรื่องดูจะเป็นถนนเล็ก สองฟากเรียงรายด้วยแผงขายของ แต่จริงๆ แล้ว ถนนจูเชวี่ยเป็นถนนที่ใหญ่มาก เลยต้องเอารูปประกอบมาเสริมจากละครเรื่อง <ฉางอันสิบสองชั่วยาม> ซึ่งถูกกล่าวขานยกย่องว่ามีการจำลองผังเมืองนครฉางอันมาอย่างดี

    ‘ฉางอัน’ ชื่อนี้แปลว่าสงบสุขยืนยาว และเมืองฉางอันมีอดีตยาวนานสมชื่อ มันเคยเป็นเมืองหลวงเก่าแก่หลายราชวงศ์ แต่ไม่ได้มีอาณาเขตเท่ากันในทุกยุคสมัย ในสมัยราชวงศ์สุยและถังมีการสร้างพระราชวังขึ้นเพิ่มและขยายอาณาเขตออกไป และในสมัยถังจัดได้ว่าเป็นช่วงที่เรืองรองที่สุดของนครฉางอัน ในช่วงที่เฟื่องฟูที่สุดนั้น นครฉางอันมีประชากรถึง 3 ล้านคน เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกในสมัยนั้น ใหญ่กว่ากรุงโรมโบราณถึง 7 เท่า เส้นผ่าศูนย์กลางตะวันออก-ตะวันตกของเมืองยาว 9.7 กิโลเมตร เหนือ-ใต้ยาว 8.7 กิโลเมตร

    ต่อมาในสมัยปลายถังมีการหนีข้าศึกย้ายราชธานีไปยังเมืองลั่วหยาง เมืองฉางอันก็ค่อยๆ เสื่อมโทรมลง ในสมัยหมิงมีการบูรณะฉางอันสร้างขึ้นอีกครั้งเป็นเมืองซีอัน แต่ก็ไม่ได้มีขนาดใหญ่เท่าฉางอันเดิม

    นครฉางอันสมัยถังแบ่งเป็นสองเขตใหญ่ คือฝั่งตะวันออกและตะวันตก มีถนนใหญ่คั่นกลางคือถนนจูเชวี่ย (ดูรูปประกอบ2) พื้นที่ทั้งหมดถูกแบ่งซอยย่อยเป็นเขตเล็กทรงสี่เหลี่ยมเรียกว่า ‘ฟาง’ มีหลายขนาด ยาวประมาณ 500-800 เมตร กว้าง 700-1,000 เมตร แต่ละเขตฟางมีกำแพงและคูระบายน้ำล้อมรอบ และมีประตูเข้าออกของมันเองเพื่อความปลอดภัย โดยประตูจะเปิดในตอนเช้าและปิดในตอนกลางคืน มีทั้งหมดด้วยกัน 108 เขตฟาง (ไม่รวมตลาดอีก 2 ฟาง) จนบางคนเปรียบผังเมืองฉางอันเป็นกระดานหมากล้อม เพื่อนเพจที่ได้ดู <ฉางอันสิบสองชั่วยาม> น่าจะคุ้นเคยกับภาพของเขตฟางเหล่านี้

    นครฉางอันมีประตูเมือง 12 ประตู (Storyฯ เคยคุยถึงประตูเมืองโบราณแล้วใน https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/581451090649854 ) และประตูเมืองที่สำคัญเพราะเป็นประตูหลักในการเข้าออกเมืองนี้ก็คือประตูทิศใต้ที่มีชื่อว่า ประตูหมิงเต๋อ มันเป็นประตูเมืองประตูเดียวที่มีถึงห้าบาน โดยหนึ่งบานนั้นเป็นประตูที่เปิดใช้เฉพาะยามที่ฮ่องเต้เสด็จเข้าออกเมือง

    ถนนจูเชวี่ยนี้ ทิศใต้จรดประตูเมืองหมิงเต๋อที่กล่าวถึงข้างต้น ส่วนทิศเหนือนั้นจรดประตูเขตพระนครชื่อว่าประตูจูเชวี่ย และเลยผ่านเขตพระนครไปจรดประตูพระราชวังเฉิงเทียน อนึ่ง เขตพระนครหรือหวงเฉิง (皇城 / Royal City) นั้นคือส่วนที่เป็นบริเวณสถานที่ราชการต่างๆ ส่วนเขตพระราชวังหรือกงเฉิง (宫城 / Palace City) นั้นคือเขตที่ประทับของฮ่องเต้และเหล่าเชื้อพระวงศ์ ถนนจูเชวี่ยส่วนที่อยู่ในเขตพระนครนั้นเรียกว่า ถนนเฉิงเทียน ตามชื่อประตู และเป็นที่มาว่าถนนจูเชวี่ยถูกเรียกว่าถนน ‘เทียนเจีย’ (ถนนสวรรค์)

    ถนนจูเชวี่ยแห่งนครฉางอันในสมัยถังนั้น จริงแท้หน้าตาเป็นอย่างไรไม่ปรากฏภาพวาดเปรียบเทียบกับถนนอื่นอย่างชัดเจน แต่มีการขุดพบซากถนนเก่าที่ยืนยันขนาดของมันว่ามีความยาว กว่า 5 กม. ถนนหน้ากว้าง 150 เมตร (รวมคูข้างถนน ถ้าไม่รวมคือประมาณ 129-130 เมตร) และทุกระยะทาง 200 เมตรจะมีการขยายถนนออกไปเล็กน้อย คล้ายเป็นไหล่ทาง มีไว้ให้คนยืนหลบเวลาที่ฮ่องเต้เสด็จผ่าน --- ลองนึกเปรียบเทียบดูว่า ถนนบ้านเราปัจจุบันตามกฎหมายกว้าง 3 เมตร ดังนั้นความกว้างของถนนจูเชวี่ยเทียบเท่าถนนห้าสิบเลนปัจจุบันของเราเลยทีเดียว! ทีนี้เพื่อนเพจคงนึกภาพตามได้ไม่ยากแล้วว่า ในละครที่เราเห็นภาพฮ่องเต้ทรงอวยพรให้แม่ทัพและเหล่ากองกำลังทหารก่อนเดินทัพออกจากพระราชวังนั้น เขามีถนนใหญ่อย่างนี้จริง

    มีคนวิเคราะห์ไว้ว่า ขนาดความกว้างของถนนจูเชวี่ยนี้ เป็นเพราะระยะทางการยิงของธนูธรรมดาในสมัยนั้น ยิงได้ไกลประมาณ 60 เมตร ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยของขบวนเสด็จของฮ่องเต้ ถนนจูเชวี่ยจึงต้องมีความกว้างถึง 150 เมตร

    แต่ไม่ใช่ถนนทุกสายที่มีหน้ากว้างขนาดนี้ ถนนสายรองของเมืองมีหน้ากว้างปกติ 40-70 เมตร และถนนเล็กเลียบกำแพงเมืองจะมีหน้ากว้างไม่เกิน 25 เมตร ส่วนถนนระหว่างเขตฟางส่วนใหญ่มีความกว้างเพียงให้รถเกวียนหรือรถม้าสองคันวิ่งสวนกัน

    ถนนจูเชวี่ยใหญ่ขนาดนี้ ใช่ถนนช้อปปิ้งหรือไม่?

    จากบันทึกโบราณ สถานช้อปปิ้งหลักของนครฉางอันคือตลาดตะวันตกและตลาดตะวันออก (ดูรูปผังเมืองที่แปะมา) โดยสินค้าในตลาดตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสินค้าพื้นบ้านหรือของนำเข้าจากเมืองอื่นสำหรับชาวบ้านทั่วไป แต่สินค้าในตลาดตะวันออกจากมีราคาสูงขึ้นมาอีก เพราะกลุ่มลูกค้าจะเป็นชนชั้นสูง ส่วนถนนจูเชวี่ยนั้น สองฝั่งฟากส่วนใหญ่เป็นวัดวาอารามและหอชมวิว

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://www.niusnews.com/=P0123ga33
    https://n.znds.com/article/39071.html
    http://v.xiancity.cn/folder11/folder186/2016-11-25/89648.html
    https://m.planning.org.cn/zx_news/9888.htm
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://m.planning.org.cn/zx_news/9888.htm
    https://en.unesco.org/silkroad/content/did-you-know-cosmopolitan-city-changan-eastern-end-silk-roads
    https://i.ifeng.com/c/8NbyjwjSa8B
    https://kknews.cc/history/6o6lop.html
    https://kknews.cc/news/e8orjvn.html
    https://www.gugong.net/zhongguo/tangchao/29679.html

    #ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์ #ฉางอันสิบสองชั่วยาม #ฉางอัน #ถนนจูเชวี่ย #ถนนสวรรค์
    ถนนจูเชวี่ยแห่งนครฉางอัน สวัสดีค่ะ วันนี้มาคุยกันเร็วหน่อยก่อนจะแยกย้ายกันไปฉลองปีใหม่ พูดถึงเทศกาลคริสมาสและปีใหม่ ก็หนีไม่พ้นเรื่องของการซื้อของให้ของขวัญ ทำให้ Storyฯ นึกถึงถนนสายหนึ่งที่มักถูกกล่าวถึงในละครเรื่อง <ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์> เวลาที่นางเอกชวนสาวใช้ไปเดินช้อปปิ้ง ถนนสายนี้มีชื่อว่า ถนนจูเชวี่ย (朱雀街 / ถนนวิหคชาด) ซึ่งเป็นชื่อที่ปรากฏบ่อยมากในซีรีส์และนิยายจีน เพราะมันเป็นถนนที่โด่งดังมากแห่งนครฉางอัน และปัจจุบันยังคงมีถนนสายนี้อยู่ที่เมืองซีอัน แต่เรียกจริงๆ ว่าถนนใหญ่จูเชวี่ย (朱雀大街 / Zhuque Avenue) ถนนจูเชวี่ยที่เราเห็นในละครหลายเรื่องดูจะเป็นถนนเล็ก สองฟากเรียงรายด้วยแผงขายของ แต่จริงๆ แล้ว ถนนจูเชวี่ยเป็นถนนที่ใหญ่มาก เลยต้องเอารูปประกอบมาเสริมจากละครเรื่อง <ฉางอันสิบสองชั่วยาม> ซึ่งถูกกล่าวขานยกย่องว่ามีการจำลองผังเมืองนครฉางอันมาอย่างดี ‘ฉางอัน’ ชื่อนี้แปลว่าสงบสุขยืนยาว และเมืองฉางอันมีอดีตยาวนานสมชื่อ มันเคยเป็นเมืองหลวงเก่าแก่หลายราชวงศ์ แต่ไม่ได้มีอาณาเขตเท่ากันในทุกยุคสมัย ในสมัยราชวงศ์สุยและถังมีการสร้างพระราชวังขึ้นเพิ่มและขยายอาณาเขตออกไป และในสมัยถังจัดได้ว่าเป็นช่วงที่เรืองรองที่สุดของนครฉางอัน ในช่วงที่เฟื่องฟูที่สุดนั้น นครฉางอันมีประชากรถึง 3 ล้านคน เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกในสมัยนั้น ใหญ่กว่ากรุงโรมโบราณถึง 7 เท่า เส้นผ่าศูนย์กลางตะวันออก-ตะวันตกของเมืองยาว 9.7 กิโลเมตร เหนือ-ใต้ยาว 8.7 กิโลเมตร ต่อมาในสมัยปลายถังมีการหนีข้าศึกย้ายราชธานีไปยังเมืองลั่วหยาง เมืองฉางอันก็ค่อยๆ เสื่อมโทรมลง ในสมัยหมิงมีการบูรณะฉางอันสร้างขึ้นอีกครั้งเป็นเมืองซีอัน แต่ก็ไม่ได้มีขนาดใหญ่เท่าฉางอันเดิม นครฉางอันสมัยถังแบ่งเป็นสองเขตใหญ่ คือฝั่งตะวันออกและตะวันตก มีถนนใหญ่คั่นกลางคือถนนจูเชวี่ย (ดูรูปประกอบ2) พื้นที่ทั้งหมดถูกแบ่งซอยย่อยเป็นเขตเล็กทรงสี่เหลี่ยมเรียกว่า ‘ฟาง’ มีหลายขนาด ยาวประมาณ 500-800 เมตร กว้าง 700-1,000 เมตร แต่ละเขตฟางมีกำแพงและคูระบายน้ำล้อมรอบ และมีประตูเข้าออกของมันเองเพื่อความปลอดภัย โดยประตูจะเปิดในตอนเช้าและปิดในตอนกลางคืน มีทั้งหมดด้วยกัน 108 เขตฟาง (ไม่รวมตลาดอีก 2 ฟาง) จนบางคนเปรียบผังเมืองฉางอันเป็นกระดานหมากล้อม เพื่อนเพจที่ได้ดู <ฉางอันสิบสองชั่วยาม> น่าจะคุ้นเคยกับภาพของเขตฟางเหล่านี้ นครฉางอันมีประตูเมือง 12 ประตู (Storyฯ เคยคุยถึงประตูเมืองโบราณแล้วใน https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/581451090649854 ) และประตูเมืองที่สำคัญเพราะเป็นประตูหลักในการเข้าออกเมืองนี้ก็คือประตูทิศใต้ที่มีชื่อว่า ประตูหมิงเต๋อ มันเป็นประตูเมืองประตูเดียวที่มีถึงห้าบาน โดยหนึ่งบานนั้นเป็นประตูที่เปิดใช้เฉพาะยามที่ฮ่องเต้เสด็จเข้าออกเมือง ถนนจูเชวี่ยนี้ ทิศใต้จรดประตูเมืองหมิงเต๋อที่กล่าวถึงข้างต้น ส่วนทิศเหนือนั้นจรดประตูเขตพระนครชื่อว่าประตูจูเชวี่ย และเลยผ่านเขตพระนครไปจรดประตูพระราชวังเฉิงเทียน อนึ่ง เขตพระนครหรือหวงเฉิง (皇城 / Royal City) นั้นคือส่วนที่เป็นบริเวณสถานที่ราชการต่างๆ ส่วนเขตพระราชวังหรือกงเฉิง (宫城 / Palace City) นั้นคือเขตที่ประทับของฮ่องเต้และเหล่าเชื้อพระวงศ์ ถนนจูเชวี่ยส่วนที่อยู่ในเขตพระนครนั้นเรียกว่า ถนนเฉิงเทียน ตามชื่อประตู และเป็นที่มาว่าถนนจูเชวี่ยถูกเรียกว่าถนน ‘เทียนเจีย’ (ถนนสวรรค์) ถนนจูเชวี่ยแห่งนครฉางอันในสมัยถังนั้น จริงแท้หน้าตาเป็นอย่างไรไม่ปรากฏภาพวาดเปรียบเทียบกับถนนอื่นอย่างชัดเจน แต่มีการขุดพบซากถนนเก่าที่ยืนยันขนาดของมันว่ามีความยาว กว่า 5 กม. ถนนหน้ากว้าง 150 เมตร (รวมคูข้างถนน ถ้าไม่รวมคือประมาณ 129-130 เมตร) และทุกระยะทาง 200 เมตรจะมีการขยายถนนออกไปเล็กน้อย คล้ายเป็นไหล่ทาง มีไว้ให้คนยืนหลบเวลาที่ฮ่องเต้เสด็จผ่าน --- ลองนึกเปรียบเทียบดูว่า ถนนบ้านเราปัจจุบันตามกฎหมายกว้าง 3 เมตร ดังนั้นความกว้างของถนนจูเชวี่ยเทียบเท่าถนนห้าสิบเลนปัจจุบันของเราเลยทีเดียว! ทีนี้เพื่อนเพจคงนึกภาพตามได้ไม่ยากแล้วว่า ในละครที่เราเห็นภาพฮ่องเต้ทรงอวยพรให้แม่ทัพและเหล่ากองกำลังทหารก่อนเดินทัพออกจากพระราชวังนั้น เขามีถนนใหญ่อย่างนี้จริง มีคนวิเคราะห์ไว้ว่า ขนาดความกว้างของถนนจูเชวี่ยนี้ เป็นเพราะระยะทางการยิงของธนูธรรมดาในสมัยนั้น ยิงได้ไกลประมาณ 60 เมตร ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยของขบวนเสด็จของฮ่องเต้ ถนนจูเชวี่ยจึงต้องมีความกว้างถึง 150 เมตร แต่ไม่ใช่ถนนทุกสายที่มีหน้ากว้างขนาดนี้ ถนนสายรองของเมืองมีหน้ากว้างปกติ 40-70 เมตร และถนนเล็กเลียบกำแพงเมืองจะมีหน้ากว้างไม่เกิน 25 เมตร ส่วนถนนระหว่างเขตฟางส่วนใหญ่มีความกว้างเพียงให้รถเกวียนหรือรถม้าสองคันวิ่งสวนกัน ถนนจูเชวี่ยใหญ่ขนาดนี้ ใช่ถนนช้อปปิ้งหรือไม่? จากบันทึกโบราณ สถานช้อปปิ้งหลักของนครฉางอันคือตลาดตะวันตกและตลาดตะวันออก (ดูรูปผังเมืองที่แปะมา) โดยสินค้าในตลาดตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสินค้าพื้นบ้านหรือของนำเข้าจากเมืองอื่นสำหรับชาวบ้านทั่วไป แต่สินค้าในตลาดตะวันออกจากมีราคาสูงขึ้นมาอีก เพราะกลุ่มลูกค้าจะเป็นชนชั้นสูง ส่วนถนนจูเชวี่ยนั้น สองฝั่งฟากส่วนใหญ่เป็นวัดวาอารามและหอชมวิว (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.niusnews.com/=P0123ga33 https://n.znds.com/article/39071.html http://v.xiancity.cn/folder11/folder186/2016-11-25/89648.html https://m.planning.org.cn/zx_news/9888.htm Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://m.planning.org.cn/zx_news/9888.htm https://en.unesco.org/silkroad/content/did-you-know-cosmopolitan-city-changan-eastern-end-silk-roads https://i.ifeng.com/c/8NbyjwjSa8B https://kknews.cc/history/6o6lop.html https://kknews.cc/news/e8orjvn.html https://www.gugong.net/zhongguo/tangchao/29679.html #ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์ #ฉางอันสิบสองชั่วยาม #ฉางอัน #ถนนจูเชวี่ย #ถนนสวรรค์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 423 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันเวลาประชุมท้องพระโรงสมัยถัง

    สวัสดีค่ะ หยุดปีใหม่ไปแล้ว วันนี้เรามาคุยกันเรื่องการทำงาน เชื่อว่าเพื่อนเพจต้องคุ้นตากับภาพที่เหล่าขุนนางระดับสูงต้องตื่นแต่เช้ามายืนเข้าแถวเพื่อร่วมประชุมท้องพระโรง ไม่ทราบว่ามีใคร ‘เอ๊ะ’ เหมือน Storyฯ กันบ้างไหมว่า เขา ‘เข้างาน’ กันเมื่อไหร่?

    ความถี่และชั่วโมงการประชุมท้องพระโรงเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยค่ะ วันนี้เราคุยกันเกี่ยวกับสมัยถัง ในบันทึกรวมบทกฎหมายถังลิ่วเตี่ยน (唐六典) มีระบุไว้ดังนี้: ขุนนางติดยศระดับห้าและสูงกว่าที่ประจำอยู่ในเมืองหลวง และข้าราชสำนักที่ต้องถวายงานใกล้ชิด ให้เข้าร่วมประชุมท้องพระโรงทุกวัน ส่วนขุนนางติดยศระดับเก้าจนถึงระดับหกที่ประจำอยู่ในเมืองหลวง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายบุ๋นหรือบู๊ ต้องเข้าร่วมประชุมใหญ่ทุกวันที่หนึ่งและสิบห้าของเดือน และในวันสำคัญอื่นๆ ที่กำหนด เช่นวันแรกแห่งปี เป็นต้น

    ส่วนขุนนางในพื้นที่อื่นนั้น หากจะเข้าร่วมประชุมท้องพระโรงต้องเป็นขุนนางติดยศระดับห้าหรือสูงกว่า และต้องได้รับการเรียกตัวจากฮ่องเต้ ไม่อย่างนั้นก็เข้าร่วมไม่ได้

    นักการเมืองและกวีเอกสมัยถัง ไป๋จวีอี (ค.ศ. 772-846) เคยเขียนไว้ในบทกวี “กลับค่ำออกแต่เช้า” (晚归早出) บรรยายถึงกิจวัตรประจำวันการทำงานโดยมีวรรคหนึ่งเขียนไว้ว่า “ออกจากที่ทำการก็มืดแล้ว คำนับหัวจรดพื้นในยามรุ่งสาง” ซึ่งก็คือเริ่มไปประชุมท้องพระโรงก่อนฟ้าสว่าง กว่าจะได้กลับบ้านก็ดึก

    ประชุมท้องพระโรงสมัยนั้นเริ่มตีห้า แต่เหล่าขุนนางต้องไปเตรียมตัวรอเข้าเฝ้าตั้งแต่ประมาณตีสี่ ระยะเวลาการประชุมนั้นไม่แน่นอน แต่ส่วนใหญ่จะเลิกประชุมระหว่างยามเฉินและยามซื่อ (คือ07.00-10.59น.) หลังจากนั้นก็แยกย้ายกันไปเข้าออฟฟิศที่กรม/กระทรวงของตัวเอง กว่าจะเลิกงานก็ประมาณยามเซิน (คือ 15.00-17.00น.) มีปรับเวลาตามฤดู กล่าวคือถ้าเป็นช่วงฤดูหนาวก็ประมาณ 15.00น. ฤดูร้อนก็ค่อนไปทาง 17.00น. ถ้าใครมีงานมากก็ต้องอยู่เย็นกว่านั้น

    ชั่วโมงทำงานไม่โหดร้าย แต่คงต้องคิดถึงเวลาเดินทางไปกลับจากที่ทำงาน

    ก่อนอื่นมาทวนความทรงจำเกี่ยวกับนครฉางอันและถนนจูเชวี่ยที่คุยกันไปก่อนปีใหม่ (ดูรูปประกอบ 2) จากในรูปจะเห็นว่าเหล่าสถานที่ราชการ (กรม กระทรวง ศาล ฯลฯ) ตั้งอยู่ในบริเวณที่เรียกว่าเขตพระนครหรือหวงเฉิง (皇城 / Royal City) ขึ้นเหนือไปอีกคือเขตพระราชวังหรือกงเฉิง (宫城 / Palace City) และพื้นที่รอบๆ เขตพระนครและเขตพระราชวังนี้ถูกซอยแบ่งเป็นเขตฟางสำหรับอยู่อาศัย

    สถานที่ราชการทั้งหลายอยู่ในเขตพระนคร แต่ขุนนางติดยศทั้งหลายไม่ได้พำนักอยู่ในเขตพระนคร หากแต่กระจายอยู่ตามเขตฟางใกล้ๆ และไม่ใช่ทุกคนที่ขี่ม้าหรือนั่งรถม้ามาทำงานได้ ส่วนใหญ่จะนั่งเกี้ยว (ก็ยังพอได้งีบระหว่างเดินทางบ้าง) ซึ่งขนาดของเกี้ยวและจำนวนคนที่หามเกี้ยวก็จะลดหลั่นกันไปตามยศขุนนาง แต่เมื่อถึงประตูเขตพระราชวังก็ต้องเดินเท้าทั้งหมด

    จากประตูเขตพระราชวังทางทิศใต้ที่เหล่าขุนนางเดินเข้ามา ต้องเดินขึ้นไปเรื่อยจนเหนือสุดที่เป็นติ่งออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของนครฉางอัน (กรุณาดูรูปประกอบ) ซึ่งก็คือบริเวณพระราชฐาน พระราชวังต้าหมิงกง (大明宫 / Daming Grand Palace) และสถานที่ประชุมท้องพระโรงก็คือพระที่นั่งจื่อเฉิน (紫宸殿)

    เพื่อนเพจลองดูระยะทางจากเขตฟางแถวๆ หน้าประตูจูเชวี่ยทางใต้ของเขตพระนคร ขึ้นไปยังพระที่นั่งจื่อเฉินในแผนที่ ก็จะเห็นได้ว่า ระยะทางนี้ไม่น้อยเลย (อย่าลืมว่าถนนจูเชวี่ยยาวกว่า 5 กิโลเมตร และเขตฟางหนึ่งมีหน้ากว้างประมาณ 0.6-1 กิโลเมตร) ลองคิดเอาว่าถ้าต้องเดินเท้าระยะทางนี้จะใช้เวลานานเท่าใด ดังนั้น จึงไม่แปลกที่เหล่าขุนนางต้องตื่นตั้งแต่ตีหนึ่งตีสองแต่งตัวออกจากบ้านเพื่อไปให้ถึงพระที่นั่งจื่อเฉินตอนตีสี่เพื่อรอเข้าประชุม เพราะว่าถ้าไปสายจะโดนหักเงินเดือน และกว่าจะเลิกงานกลับถึงบ้านก็มืดแล้วจริงๆ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/657711648
    https://baike.baidu.com/item/唐长安城/5845041
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://gushiju.net/ju/279740
    https://www.sohu.com/a/199347205_527107
    https://www.sohu.com/a/199977205_653164
    https://baike.baidu.com/item/紫宸殿/3232283
    https://kknews.cc/history/6kzmj8v.html
    http://www.shxdx.com:8080/dxb/newspaper/1206/4ban/02.html#:~:text=唐代的长安城,分隔成许多方块区域

    #ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์ #ฉางอัน #ประชุมท้องพระโรง #พระที่นั่งจื่อเฉิน #พระราชวังต้าหมิงกง
    วันเวลาประชุมท้องพระโรงสมัยถัง สวัสดีค่ะ หยุดปีใหม่ไปแล้ว วันนี้เรามาคุยกันเรื่องการทำงาน เชื่อว่าเพื่อนเพจต้องคุ้นตากับภาพที่เหล่าขุนนางระดับสูงต้องตื่นแต่เช้ามายืนเข้าแถวเพื่อร่วมประชุมท้องพระโรง ไม่ทราบว่ามีใคร ‘เอ๊ะ’ เหมือน Storyฯ กันบ้างไหมว่า เขา ‘เข้างาน’ กันเมื่อไหร่? ความถี่และชั่วโมงการประชุมท้องพระโรงเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยค่ะ วันนี้เราคุยกันเกี่ยวกับสมัยถัง ในบันทึกรวมบทกฎหมายถังลิ่วเตี่ยน (唐六典) มีระบุไว้ดังนี้: ขุนนางติดยศระดับห้าและสูงกว่าที่ประจำอยู่ในเมืองหลวง และข้าราชสำนักที่ต้องถวายงานใกล้ชิด ให้เข้าร่วมประชุมท้องพระโรงทุกวัน ส่วนขุนนางติดยศระดับเก้าจนถึงระดับหกที่ประจำอยู่ในเมืองหลวง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายบุ๋นหรือบู๊ ต้องเข้าร่วมประชุมใหญ่ทุกวันที่หนึ่งและสิบห้าของเดือน และในวันสำคัญอื่นๆ ที่กำหนด เช่นวันแรกแห่งปี เป็นต้น ส่วนขุนนางในพื้นที่อื่นนั้น หากจะเข้าร่วมประชุมท้องพระโรงต้องเป็นขุนนางติดยศระดับห้าหรือสูงกว่า และต้องได้รับการเรียกตัวจากฮ่องเต้ ไม่อย่างนั้นก็เข้าร่วมไม่ได้ นักการเมืองและกวีเอกสมัยถัง ไป๋จวีอี (ค.ศ. 772-846) เคยเขียนไว้ในบทกวี “กลับค่ำออกแต่เช้า” (晚归早出) บรรยายถึงกิจวัตรประจำวันการทำงานโดยมีวรรคหนึ่งเขียนไว้ว่า “ออกจากที่ทำการก็มืดแล้ว คำนับหัวจรดพื้นในยามรุ่งสาง” ซึ่งก็คือเริ่มไปประชุมท้องพระโรงก่อนฟ้าสว่าง กว่าจะได้กลับบ้านก็ดึก ประชุมท้องพระโรงสมัยนั้นเริ่มตีห้า แต่เหล่าขุนนางต้องไปเตรียมตัวรอเข้าเฝ้าตั้งแต่ประมาณตีสี่ ระยะเวลาการประชุมนั้นไม่แน่นอน แต่ส่วนใหญ่จะเลิกประชุมระหว่างยามเฉินและยามซื่อ (คือ07.00-10.59น.) หลังจากนั้นก็แยกย้ายกันไปเข้าออฟฟิศที่กรม/กระทรวงของตัวเอง กว่าจะเลิกงานก็ประมาณยามเซิน (คือ 15.00-17.00น.) มีปรับเวลาตามฤดู กล่าวคือถ้าเป็นช่วงฤดูหนาวก็ประมาณ 15.00น. ฤดูร้อนก็ค่อนไปทาง 17.00น. ถ้าใครมีงานมากก็ต้องอยู่เย็นกว่านั้น ชั่วโมงทำงานไม่โหดร้าย แต่คงต้องคิดถึงเวลาเดินทางไปกลับจากที่ทำงาน ก่อนอื่นมาทวนความทรงจำเกี่ยวกับนครฉางอันและถนนจูเชวี่ยที่คุยกันไปก่อนปีใหม่ (ดูรูปประกอบ 2) จากในรูปจะเห็นว่าเหล่าสถานที่ราชการ (กรม กระทรวง ศาล ฯลฯ) ตั้งอยู่ในบริเวณที่เรียกว่าเขตพระนครหรือหวงเฉิง (皇城 / Royal City) ขึ้นเหนือไปอีกคือเขตพระราชวังหรือกงเฉิง (宫城 / Palace City) และพื้นที่รอบๆ เขตพระนครและเขตพระราชวังนี้ถูกซอยแบ่งเป็นเขตฟางสำหรับอยู่อาศัย สถานที่ราชการทั้งหลายอยู่ในเขตพระนคร แต่ขุนนางติดยศทั้งหลายไม่ได้พำนักอยู่ในเขตพระนคร หากแต่กระจายอยู่ตามเขตฟางใกล้ๆ และไม่ใช่ทุกคนที่ขี่ม้าหรือนั่งรถม้ามาทำงานได้ ส่วนใหญ่จะนั่งเกี้ยว (ก็ยังพอได้งีบระหว่างเดินทางบ้าง) ซึ่งขนาดของเกี้ยวและจำนวนคนที่หามเกี้ยวก็จะลดหลั่นกันไปตามยศขุนนาง แต่เมื่อถึงประตูเขตพระราชวังก็ต้องเดินเท้าทั้งหมด จากประตูเขตพระราชวังทางทิศใต้ที่เหล่าขุนนางเดินเข้ามา ต้องเดินขึ้นไปเรื่อยจนเหนือสุดที่เป็นติ่งออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของนครฉางอัน (กรุณาดูรูปประกอบ) ซึ่งก็คือบริเวณพระราชฐาน พระราชวังต้าหมิงกง (大明宫 / Daming Grand Palace) และสถานที่ประชุมท้องพระโรงก็คือพระที่นั่งจื่อเฉิน (紫宸殿) เพื่อนเพจลองดูระยะทางจากเขตฟางแถวๆ หน้าประตูจูเชวี่ยทางใต้ของเขตพระนคร ขึ้นไปยังพระที่นั่งจื่อเฉินในแผนที่ ก็จะเห็นได้ว่า ระยะทางนี้ไม่น้อยเลย (อย่าลืมว่าถนนจูเชวี่ยยาวกว่า 5 กิโลเมตร และเขตฟางหนึ่งมีหน้ากว้างประมาณ 0.6-1 กิโลเมตร) ลองคิดเอาว่าถ้าต้องเดินเท้าระยะทางนี้จะใช้เวลานานเท่าใด ดังนั้น จึงไม่แปลกที่เหล่าขุนนางต้องตื่นตั้งแต่ตีหนึ่งตีสองแต่งตัวออกจากบ้านเพื่อไปให้ถึงพระที่นั่งจื่อเฉินตอนตีสี่เพื่อรอเข้าประชุม เพราะว่าถ้าไปสายจะโดนหักเงินเดือน และกว่าจะเลิกงานกลับถึงบ้านก็มืดแล้วจริงๆ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://zhuanlan.zhihu.com/p/657711648 https://baike.baidu.com/item/唐长安城/5845041 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://gushiju.net/ju/279740 https://www.sohu.com/a/199347205_527107 https://www.sohu.com/a/199977205_653164 https://baike.baidu.com/item/紫宸殿/3232283 https://kknews.cc/history/6kzmj8v.html http://www.shxdx.com:8080/dxb/newspaper/1206/4ban/02.html#:~:text=唐代的长安城,分隔成许多方块区域 #ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์ #ฉางอัน #ประชุมท้องพระโรง #พระที่นั่งจื่อเฉิน #พระราชวังต้าหมิงกง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 458 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนธิเล่าเรื่อง 27-01-68
    .
    สวัสดีเช้าวันจันทร์ วันนี้ค่าฝุ่นในกรุงเทพในภาพรวมลดลงมาหน่อยแล้ว แต่แถว ๆ บ้านพระอาทิตย์ เขตพระนคร นั้นดัชนีค่า AQI ยังอยู่ในระดับสูงมากอยู่ (ราว ๆ 150) วันนี้คุณสนธิจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องพูดถึงเรื่องการทำงานของผู้ว่าฯ กทม. คุณชัชชาติ สิทธิพันธุ์ เสียหน่อย นอกจากนี้สำหรับใครที่สนใจเรื่องเทคโนโลยี และการศึกษา คุณสนธิจะอัพเดตถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี และการศึกษาของโลกล่าสุด ที่ต้องบอกเลยว่าน่าสนใจแน่นอน
    .
    คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=Pdqulon6h84
    .
    #สนธิเล่าเรื่อง #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #SondhiTalk
    สนธิเล่าเรื่อง 27-01-68 . สวัสดีเช้าวันจันทร์ วันนี้ค่าฝุ่นในกรุงเทพในภาพรวมลดลงมาหน่อยแล้ว แต่แถว ๆ บ้านพระอาทิตย์ เขตพระนคร นั้นดัชนีค่า AQI ยังอยู่ในระดับสูงมากอยู่ (ราว ๆ 150) วันนี้คุณสนธิจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องพูดถึงเรื่องการทำงานของผู้ว่าฯ กทม. คุณชัชชาติ สิทธิพันธุ์ เสียหน่อย นอกจากนี้สำหรับใครที่สนใจเรื่องเทคโนโลยี และการศึกษา คุณสนธิจะอัพเดตถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี และการศึกษาของโลกล่าสุด ที่ต้องบอกเลยว่าน่าสนใจแน่นอน . คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=Pdqulon6h84 . #สนธิเล่าเรื่อง #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #SondhiTalk
    Like
    Love
    8
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 361 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทรงแย้มพระสรวลตลอดเวลา

    ท่านเหนื่อยนะ ทรงพระดำเนิน​ไกลอยู่ ทั้งที่ตามหมายนั้นจะทรงประทับรถไฟฟ้า​พระที่นั่ง แต่ทั้งสอง​พระองค์​ทรงเลือกที่จะพระดำเนิน เพื่อให้ใกล้ชิดพสกนิกร​ที่มารอเฝ้าฯ มากยิ่งขึ้น

    "ไม่มีใครรักประชาชนคนไทย​เท่าสถาบัน​พระมหากษัตริย์​อีกแล้ว" 💛💜

    ขอทั้งสอง​พระองค์​ทรง​พระ​เจริญ​ยิ่ง​ยืนนาน

    .

    วันนี้ (๒๕ ม.ค. ๒๕๖๘) เวลา ๑๗.๑๒ น.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรสถิต ๗๒ พรรษา” บริเวณสะพานดำรงสถิต ณ ถนนเจริญกรุง เขตพระนคร และทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรธำรง ๗๒ พรรษา” บริเวณห้าแยกหมอมี เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ภายใต้โครงการ “เบญจกตัญญุตา บารมีแห่งมังกรสยาม” ณ ถนนเจริญกรุง เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
    ทรงแย้มพระสรวลตลอดเวลา ท่านเหนื่อยนะ ทรงพระดำเนิน​ไกลอยู่ ทั้งที่ตามหมายนั้นจะทรงประทับรถไฟฟ้า​พระที่นั่ง แต่ทั้งสอง​พระองค์​ทรงเลือกที่จะพระดำเนิน เพื่อให้ใกล้ชิดพสกนิกร​ที่มารอเฝ้าฯ มากยิ่งขึ้น "ไม่มีใครรักประชาชนคนไทย​เท่าสถาบัน​พระมหากษัตริย์​อีกแล้ว" 💛💜 ขอทั้งสอง​พระองค์​ทรง​พระ​เจริญ​ยิ่ง​ยืนนาน . วันนี้ (๒๕ ม.ค. ๒๕๖๘) เวลา ๑๗.๑๒ น.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรสถิต ๗๒ พรรษา” บริเวณสะพานดำรงสถิต ณ ถนนเจริญกรุง เขตพระนคร และทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรธำรง ๗๒ พรรษา” บริเวณห้าแยกหมอมี เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ภายใต้โครงการ “เบญจกตัญญุตา บารมีแห่งมังกรสยาม” ณ ถนนเจริญกรุง เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 458 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรสถิต 72 พรรษา” บริเวณสะพานดำรงสถิต ณ ถนนเจริญกรุง เขตพระนคร และทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรธำรง 72 พรรษา” บริเวณห้าแยกหมอมี เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ภายใต้โครงการ “เบญจกตัญญุตา บารมีแห่งมังกรสยาม” ณ ถนนเจริญกรุง เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร

    🙏🏻ทรงพระเจริญ

    ที่มา NBT Connext
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรสถิต 72 พรรษา” บริเวณสะพานดำรงสถิต ณ ถนนเจริญกรุง เขตพระนคร และทรงเปิดซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ “วชิรธำรง 72 พรรษา” บริเวณห้าแยกหมอมี เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ภายใต้โครงการ “เบญจกตัญญุตา บารมีแห่งมังกรสยาม” ณ ถนนเจริญกรุง เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 🙏🏻ทรงพระเจริญ ที่มา NBT Connext
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 265 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดรับอาสาสมัคร คนเหมือน “แตงโม” และ “แซน”ด่วน !!!

    เนื่องด้วยทางกระทรวงยุติธรรม ได้ทำหนังสือตอบคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ประธานชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2567 กรณีคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ที่ได้ทำหนังสือมาว่าพบพยานหลักฐานใหม่อันเป็นพยานหลักฐานสำคัญในคดีการเสียชีวิตของนางสาวภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์ หรือแตงโมนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้ส่งเรื่องนี้ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการแล้ว

    ทั้งนี้กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีนัดหมายกับคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม 2568 เพื่อทดสอบจำลองสถานการณ์ในวันเกิดเหตุ โดยมีสื่อมวลชนจำนวนมากจะมาร่วมเป็นสักขีพยานการจำลองเหตุการณ์ครั้งนี้ด้วย

    โดยการทดสอบจำลองสถานการณ์จำเป็นต้องมีอาสาสมัครที่มีความใกล้เคียงกับคุณแตงโม และคุณแซนในวันเกิดเหตุ ทั้ง “รูปร่างลักษณะ” และ “ชุดแต่งกาย” แต่จะต้องมีความพร้อมของร่างกายที่แข็งแรงและว่ายน้ำได้ดีด้วย เพราะต้องทดลองการนั่งท้ายเรือ และการตกน้ำที่กาบเรือด้านซ้ายด้วย

    จึงขอเปิดรับอาสาสมัคร เพื่อคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมในการร่วมกันหาความจริงในคดีการเสียชีวิตของคุณแตงโม ดังต่อไปนี้

    1.ผู้หญิงคล้ายแตงโม ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง

    2.ผู้ที่มีความคล้ายแซน ผู้หญิง/ผู้ชายที่แปลงเพศเป็นหญิงแล้ว ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง

    ใครสนใจเข้าร่วมการเป็นอาสาสมัครครั้งนี้ สามารถส่งรูปถ่าย ชื่อ และเบอร์โทรในข้อความแฟนเพจนี้ หรือส่งไปรษณีย์หรือฝากไว้ที่ อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ บ้านพระอาทิตย์ ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

    หรือติดต่อชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม โทร 093-1532423

    จึงเรียนมาเพื่อทราบ กดไลค์ และช่วยกันแชร์หาคนเหมือนแตงโมและแซนด้วยครับ

    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    5 มกราคม 2568

    https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=1129018321925200&id=100044511276276
    เปิดรับอาสาสมัคร คนเหมือน “แตงโม” และ “แซน”ด่วน !!! เนื่องด้วยทางกระทรวงยุติธรรม ได้ทำหนังสือตอบคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ประธานชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2567 กรณีคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ที่ได้ทำหนังสือมาว่าพบพยานหลักฐานใหม่อันเป็นพยานหลักฐานสำคัญในคดีการเสียชีวิตของนางสาวภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์ หรือแตงโมนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้ส่งเรื่องนี้ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการแล้ว ทั้งนี้กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีนัดหมายกับคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม 2568 เพื่อทดสอบจำลองสถานการณ์ในวันเกิดเหตุ โดยมีสื่อมวลชนจำนวนมากจะมาร่วมเป็นสักขีพยานการจำลองเหตุการณ์ครั้งนี้ด้วย โดยการทดสอบจำลองสถานการณ์จำเป็นต้องมีอาสาสมัครที่มีความใกล้เคียงกับคุณแตงโม และคุณแซนในวันเกิดเหตุ ทั้ง “รูปร่างลักษณะ” และ “ชุดแต่งกาย” แต่จะต้องมีความพร้อมของร่างกายที่แข็งแรงและว่ายน้ำได้ดีด้วย เพราะต้องทดลองการนั่งท้ายเรือ และการตกน้ำที่กาบเรือด้านซ้ายด้วย จึงขอเปิดรับอาสาสมัคร เพื่อคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมในการร่วมกันหาความจริงในคดีการเสียชีวิตของคุณแตงโม ดังต่อไปนี้ 1.ผู้หญิงคล้ายแตงโม ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง 2.ผู้ที่มีความคล้ายแซน ผู้หญิง/ผู้ชายที่แปลงเพศเป็นหญิงแล้ว ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง ใครสนใจเข้าร่วมการเป็นอาสาสมัครครั้งนี้ สามารถส่งรูปถ่าย ชื่อ และเบอร์โทรในข้อความแฟนเพจนี้ หรือส่งไปรษณีย์หรือฝากไว้ที่ อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ บ้านพระอาทิตย์ ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพ 10200 หรือติดต่อชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม โทร 093-1532423 จึงเรียนมาเพื่อทราบ กดไลค์ และช่วยกันแชร์หาคนเหมือนแตงโมและแซนด้วยครับ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 5 มกราคม 2568 https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=1129018321925200&id=100044511276276
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 500 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประกาศจาก อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    เปิดรับอาสาสมัคร คนเหมือน “แตงโม” และ “แซน”ด่วน !!!

    เนื่องด้วยทางกระทรวงยุติธรรม ได้ทำหนังสือตอบคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ประธานชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2567 กรณีคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ที่ได้ทำหนังสือมาว่าพบพยานหลักฐานใหม่อันเป็นพยานหลักฐานสำคัญในคดีการเสียชีวิตของนางสาวภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์ หรือแตงโมนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้ส่งเรื่องนี้ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการแล้ว

    ทั้งนี้กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีนัดหมายกับคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม 2568 เพื่อทดสอบจำลองสถานการณ์ในวันเกิดเหตุ โดยมีสื่อมวลชนจำนวนมากจะมาร่วมเป็นสักขีพยานการจำลองเหตุการณ์ครั้งนี้ด้วย

    โดยการทดสอบจำลองสถานการณ์จำเป็นต้องมีอาสาสมัครที่มีความใกล้เคียงกับคุณแตงโม และคุณแซนในวันเกิดเหตุ ทั้ง “รูปร่างลักษณะ” และ “ชุดแต่งกาย” แต่จะต้องมีความพร้อมของร่างกายที่แข็งแรงและว่ายน้ำได้ดีด้วย เพราะต้องทดลองการนั่งท้ายเรือ และการตกน้ำที่กาบเรือด้านซ้ายด้วย

    จึงขอเปิดรับอาสาสมัคร เพื่อคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมในการร่วมกันหาความจริงในคดีการเสียชีวิตของคุณแตงโม ดังต่อไปนี้

    1.ผู้หญิงคล้ายแตงโม ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง

    2.ผู้ที่มีความคล้ายแซน ผู้หญิง/ผู้ชายที่แปลงเพศเป็นหญิงแล้ว ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง

    ใครสนใจเข้าร่วมการเป็นอาสาสมัครครั้งนี้ สามารถส่งรูปถ่าย ชื่อ และเบอร์โทรในข้อความแฟนเพจนี้ หรือส่งไปรษณีย์หรือฝากไว้ที่ อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ บ้านพระอาทิตย์ ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

    หรือติดต่อชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม โทร 093-1532423

    จึงเรียนมาเพื่อทราบ กดไลค์ และช่วยกันแชร์หาคนเหมือนแตงโมและแซนด้วยครับ

    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    5 มกราคม 2568

    https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=1129018321925200&id=100044511276276
    ประกาศจาก อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เปิดรับอาสาสมัคร คนเหมือน “แตงโม” และ “แซน”ด่วน !!! เนื่องด้วยทางกระทรวงยุติธรรม ได้ทำหนังสือตอบคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ประธานชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2567 กรณีคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ที่ได้ทำหนังสือมาว่าพบพยานหลักฐานใหม่อันเป็นพยานหลักฐานสำคัญในคดีการเสียชีวิตของนางสาวภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์ หรือแตงโมนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้ส่งเรื่องนี้ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการแล้ว ทั้งนี้กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีนัดหมายกับคุณอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม 2568 เพื่อทดสอบจำลองสถานการณ์ในวันเกิดเหตุ โดยมีสื่อมวลชนจำนวนมากจะมาร่วมเป็นสักขีพยานการจำลองเหตุการณ์ครั้งนี้ด้วย โดยการทดสอบจำลองสถานการณ์จำเป็นต้องมีอาสาสมัครที่มีความใกล้เคียงกับคุณแตงโม และคุณแซนในวันเกิดเหตุ ทั้ง “รูปร่างลักษณะ” และ “ชุดแต่งกาย” แต่จะต้องมีความพร้อมของร่างกายที่แข็งแรงและว่ายน้ำได้ดีด้วย เพราะต้องทดลองการนั่งท้ายเรือ และการตกน้ำที่กาบเรือด้านซ้ายด้วย จึงขอเปิดรับอาสาสมัคร เพื่อคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมในการร่วมกันหาความจริงในคดีการเสียชีวิตของคุณแตงโม ดังต่อไปนี้ 1.ผู้หญิงคล้ายแตงโม ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง 2.ผู้ที่มีความคล้ายแซน ผู้หญิง/ผู้ชายที่แปลงเพศเป็นหญิงแล้ว ความสูงระหว่าง 165-170 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 45-52 กิโลกรัม ว่ายน้ำได้แข็งแรง ใครสนใจเข้าร่วมการเป็นอาสาสมัครครั้งนี้ สามารถส่งรูปถ่าย ชื่อ และเบอร์โทรในข้อความแฟนเพจนี้ หรือส่งไปรษณีย์หรือฝากไว้ที่ อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ บ้านพระอาทิตย์ ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพ 10200 หรือติดต่อชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม โทร 093-1532423 จึงเรียนมาเพื่อทราบ กดไลค์ และช่วยกันแชร์หาคนเหมือนแตงโมและแซนด้วยครับ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 5 มกราคม 2568 https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=1129018321925200&id=100044511276276
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 529 มุมมอง 0 รีวิว
  • นายกรัฐมนตรีพร้อมสามี เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระสังฆราชฯ เนื่องในวันปีใหม่ เผย ประทานพรให้แข็งแรง ดูแลบ้านเมืองให้สงบ บอกได้รับน้ำมนต์รู้สึกสบายใจ

    เช้าวันนี้(3 ม.ค.) นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วยนายปิฎก สุขสวัสดิ์ คู่สมรส เข้าเฝ้าสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ ณ พระตำหนักสมเด็จพระสังฆราช และอาคารสัมฤทธิ์ ที่วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ถนนเฟื่องนคร เขตพระนคร กรุงเทพฯ รับประทานพรเนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2568 เพื่อความเป็นสิริมงคลในชีวิต และการทำงาน

    โดยนายกรัฐมนตรี เดินทางมาถึงในเวลา 09.25 น. สวมชุดไทยเรือนต้น สีฟ้าคราม จากนั้นได้วางพวงมาลัยถวายสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้านข้างพระอุโบสถ จากนั้น นายกรัฐมนตรีและคู่สมรส ได้เข้ากราบสักการะ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ เลขานุการสมเด็จพระสังฆราชฯ ที่อาคารสัมฤทธิ์วิทยากร ก่อนเข้าเฝ้าถวายเครื่องสักการะ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ณ พระตำหนักอรุณ และสักการะพระประธานในพระอุโบสถ

    ต่อมาเวลา 10.20 น. นายกรัฐมนตรีเปิดเผยกับสื่อมวลชน ว่า สมเด็จพระสังฆราชฯ ได้ประทานพร ขอให้สุขภาพแข็งแรง และขอให้ทำงานรักษาความสงบสุข ไม่อยากให้มีขึ้นๆ ลง ซึ่งเป็นความตั้งใจของตนอยู่แล้วที่อยากให้ประเทศชาติสงบสุข จึงรู้สึกสบายใจหลังได้รับน้ำมนต์ ซึ่งตนก็อยากให้สื่อเข้าไปรับน้ำมนต์ด้วยเพราะปีนี้ทำงานหนักมาด้วยกัน

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000000580

    #MGROnline #สมเด็จพระสังฆราชฯ
    นายกรัฐมนตรีพร้อมสามี เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระสังฆราชฯ เนื่องในวันปีใหม่ เผย ประทานพรให้แข็งแรง ดูแลบ้านเมืองให้สงบ บอกได้รับน้ำมนต์รู้สึกสบายใจ • เช้าวันนี้(3 ม.ค.) นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วยนายปิฎก สุขสวัสดิ์ คู่สมรส เข้าเฝ้าสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ ณ พระตำหนักสมเด็จพระสังฆราช และอาคารสัมฤทธิ์ ที่วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ถนนเฟื่องนคร เขตพระนคร กรุงเทพฯ รับประทานพรเนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2568 เพื่อความเป็นสิริมงคลในชีวิต และการทำงาน • โดยนายกรัฐมนตรี เดินทางมาถึงในเวลา 09.25 น. สวมชุดไทยเรือนต้น สีฟ้าคราม จากนั้นได้วางพวงมาลัยถวายสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้านข้างพระอุโบสถ จากนั้น นายกรัฐมนตรีและคู่สมรส ได้เข้ากราบสักการะ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ เลขานุการสมเด็จพระสังฆราชฯ ที่อาคารสัมฤทธิ์วิทยากร ก่อนเข้าเฝ้าถวายเครื่องสักการะ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ณ พระตำหนักอรุณ และสักการะพระประธานในพระอุโบสถ • ต่อมาเวลา 10.20 น. นายกรัฐมนตรีเปิดเผยกับสื่อมวลชน ว่า สมเด็จพระสังฆราชฯ ได้ประทานพร ขอให้สุขภาพแข็งแรง และขอให้ทำงานรักษาความสงบสุข ไม่อยากให้มีขึ้นๆ ลง ซึ่งเป็นความตั้งใจของตนอยู่แล้วที่อยากให้ประเทศชาติสงบสุข จึงรู้สึกสบายใจหลังได้รับน้ำมนต์ ซึ่งตนก็อยากให้สื่อเข้าไปรับน้ำมนต์ด้วยเพราะปีนี้ทำงานหนักมาด้วยกัน • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000000580 • #MGROnline #สมเด็จพระสังฆราชฯ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 513 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข้าวหน้าไก่สูตรลับกว่า 80 ปี ตำนานที่ยังมีลมหายใจ และได้รับรางวัลมิชลินไกด์ถึง 6 ปีซ้อน ปีนี้มีลุ้นเป็นปีที่7 ซอสเยิ้มๆ ที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ความอร่อยที่ไม่มีตก!

    พิกัด : ข้าวหน้าไก่แซ่พุ้น เสาชิงช้า, เลขที่ 112 ถนน มหรรณพ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
    🕘 เปิด 8.00 - 14.00 น. ปิดทุกวันพุธ
    📞 โทร : 061 994 7171

    #กินสาระนัวร์ #Thaitimes #ข่าว
    ข้าวหน้าไก่สูตรลับกว่า 80 ปี ตำนานที่ยังมีลมหายใจ และได้รับรางวัลมิชลินไกด์ถึง 6 ปีซ้อน ปีนี้มีลุ้นเป็นปีที่7 ซอสเยิ้มๆ ที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ความอร่อยที่ไม่มีตก! พิกัด : ข้าวหน้าไก่แซ่พุ้น เสาชิงช้า, เลขที่ 112 ถนน มหรรณพ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 🕘 เปิด 8.00 - 14.00 น. ปิดทุกวันพุธ 📞 โทร : 061 994 7171 #กินสาระนัวร์ #Thaitimes #ข่าว
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 380 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตำนานกระเพาะสุดอร่อยที่เปิดมายาวนานกว่า 80 ปี เริ่มต้นจากการหลอมหม้อกระเพาะปลาขายหาบเร่ไปทั่วย่านเยาวราช จนเดินทางมาเปิดร้านเป็นหลักแหล่งที่เสาชิงช้า โดยคิดค้นสูตรและปรุงอาหารเองกับมือ พิถีพิถันตั้งแต่การเลือดวัตถุดิบ อย่างการใช้เลือดเป็ด ทำให้มีความหนึบพอดี ไก่ที่นำมาใช้ก็เป็นส่วนเนื้อน่องสะโพกให้ความนุ่มลิ้น พระเอกหลักอย่างน้ำซุปที่กลมกล่อมก็ได้จากการเคี่ยวขาไก่กันตั้งแต่ตีสอง ใช้เวลาให้พองวดกันถึง 4 ชั่วโมงเลยทีเดียว โดยกระเพาะปลาร้านนี้เริ่มต้นเพียงชามละ 50 บาทเท่านั้น

    พิกัด : https://goo.gl/maps/2k89QsKiCrP2uwQo9
    ที่อยู่ : 90 ถนนมหรรณพ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
    ร้านเปิดบริการ : 07.00-14.00 น.
    โทร : 08-8782-2495

    #อาหารเช้ากรุงเทพฯ #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    ตำนานกระเพาะสุดอร่อยที่เปิดมายาวนานกว่า 80 ปี เริ่มต้นจากการหลอมหม้อกระเพาะปลาขายหาบเร่ไปทั่วย่านเยาวราช จนเดินทางมาเปิดร้านเป็นหลักแหล่งที่เสาชิงช้า โดยคิดค้นสูตรและปรุงอาหารเองกับมือ พิถีพิถันตั้งแต่การเลือดวัตถุดิบ อย่างการใช้เลือดเป็ด ทำให้มีความหนึบพอดี ไก่ที่นำมาใช้ก็เป็นส่วนเนื้อน่องสะโพกให้ความนุ่มลิ้น พระเอกหลักอย่างน้ำซุปที่กลมกล่อมก็ได้จากการเคี่ยวขาไก่กันตั้งแต่ตีสอง ใช้เวลาให้พองวดกันถึง 4 ชั่วโมงเลยทีเดียว โดยกระเพาะปลาร้านนี้เริ่มต้นเพียงชามละ 50 บาทเท่านั้น พิกัด : https://goo.gl/maps/2k89QsKiCrP2uwQo9 ที่อยู่ : 90 ถนนมหรรณพ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ร้านเปิดบริการ : 07.00-14.00 น. โทร : 08-8782-2495 #อาหารเช้ากรุงเทพฯ #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 650 มุมมอง 0 รีวิว
  • ร้านเก่าแก่อายุกว่า 80 ปี ที่กลายเป็นขวัญใจวัยรุ่น ออน ล๊อก หยุ่น ถือเป็นร้านเบรกฟาสต์ขวัญใจวัยรุ่นหลังวังขนาดที่เล่าลือกันว่า แดง ไบเล่ย์ เซเลบแห่งพระนครก็เคยฝากท้องกับร้านนี้อยู่เป็นประจำ จุดเด่นของร้านนี้คือการไม่เปลี่ยนแปลงร้าน ให้คงความเก่าและเก๋าเอาไว้เช่นเคย แถมด้วยอาหารเช้าที่กินง่าย ไม่มีอะไรซับซ้อน ไม่ว่าจะเป็น ชุด ไข่ดาว แฮม ไส้กรอก เบคอน กุนเชียง, ขนมปังชุบไข่, ขนมปังปิ้งจิ้มสังขยารสเด็ด เป็นอีกร้านเก่าแก่บนถนนเจริญกรุง ที่ควรค่าแก่การมาลอง

    พิกัด : https://goo.gl/maps/VvPvzdpDR62bUz7o7
    ที่อยู่ : 72 ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
    ร้านเปิดบริการ : 06.00-14.30 น.

    #อาหารเช้ากรุงเทพฯ #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    ร้านเก่าแก่อายุกว่า 80 ปี ที่กลายเป็นขวัญใจวัยรุ่น ออน ล๊อก หยุ่น ถือเป็นร้านเบรกฟาสต์ขวัญใจวัยรุ่นหลังวังขนาดที่เล่าลือกันว่า แดง ไบเล่ย์ เซเลบแห่งพระนครก็เคยฝากท้องกับร้านนี้อยู่เป็นประจำ จุดเด่นของร้านนี้คือการไม่เปลี่ยนแปลงร้าน ให้คงความเก่าและเก๋าเอาไว้เช่นเคย แถมด้วยอาหารเช้าที่กินง่าย ไม่มีอะไรซับซ้อน ไม่ว่าจะเป็น ชุด ไข่ดาว แฮม ไส้กรอก เบคอน กุนเชียง, ขนมปังชุบไข่, ขนมปังปิ้งจิ้มสังขยารสเด็ด เป็นอีกร้านเก่าแก่บนถนนเจริญกรุง ที่ควรค่าแก่การมาลอง พิกัด : https://goo.gl/maps/VvPvzdpDR62bUz7o7 ที่อยู่ : 72 ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ร้านเปิดบริการ : 06.00-14.30 น. #อาหารเช้ากรุงเทพฯ #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 660 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,572
    วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024)

    Photo Album Set 2/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    11. วัดศรีสุทธาวาส อ.เมือง จ.เลย
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    12. วัดศรีอุทุมพร อ.เมือง จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    13. วัดหนองน้ำขุ่น อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    14. วัดอุดมธานี อ.เมือง จ.นครนายก
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    15. วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    16. วัดกัลยาณมิตร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67)
    17. วัดบุญวาทย์วิหาร อ.เมือง จ.ลำปาง
    (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67)
    18. วัดชัยชนะสงคราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67)
    19. วัดเทพธิดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67)
    20. วัดบุญชุม อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,572 วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024) Photo Album Set 2/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 11. วัดศรีสุทธาวาส อ.เมือง จ.เลย (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 12. วัดศรีอุทุมพร อ.เมือง จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 13. วัดหนองน้ำขุ่น อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 14. วัดอุดมธานี อ.เมือง จ.นครนายก (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 15. วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 16. วัดกัลยาณมิตร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67) 17. วัดบุญวาทย์วิหาร อ.เมือง จ.ลำปาง (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67) 18. วัดชัยชนะสงคราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67) 19. วัดเทพธิดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67) 20. วัดบุญชุม อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 293 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,572
    วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024)

    Photo Album Set 2/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    11. วัดศรีสุทธาวาส อ.เมือง จ.เลย
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    12. วัดศรีอุทุมพร อ.เมือง จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    13. วัดหนองน้ำขุ่น อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    14. วัดอุดมธานี อ.เมือง จ.นครนายก
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    15. วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67)
    16. วัดกัลยาณมิตร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67)
    17. วัดบุญวาทย์วิหาร อ.เมือง จ.ลำปาง
    (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67)
    18. วัดชัยชนะสงคราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67)
    19. วัดเทพธิดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67)
    20. วัดบุญชุม อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,572 วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024) Photo Album Set 2/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 11. วัดศรีสุทธาวาส อ.เมือง จ.เลย (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 12. วัดศรีอุทุมพร อ.เมือง จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 13. วัดหนองน้ำขุ่น อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 14. วัดอุดมธานี อ.เมือง จ.นครนายก (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 15. วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 10 พ.ย.67) 16. วัดกัลยาณมิตร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67) 17. วัดบุญวาทย์วิหาร อ.เมือง จ.ลำปาง (ทอดกฐินพระราชทาน 11 พ.ย.67) 18. วัดชัยชนะสงคราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67) 19. วัดเทพธิดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67) 20. วัดบุญชุม อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา (ทอดกฐินพระราชทาน 12 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 279 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,565
    วันศุกร์: ขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (1 November 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินพระราชทาน 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดท่าหลวง พระอารามหลวง อ.เมือง จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67)
    02. วัดนาคกลางวรวิหาร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67)
    03. วัดตากฟ้า พระอารามหลวง อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67)
    04. วัดวชิรธรรมสาธิตวรวิหาร เขตพระโขนง กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67)
    05. วัดสังเวชวิศยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 05 พ.ย.67)
    06. วัดสัมพันธวงศาราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    07. วัดนครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67)
    08. วัดชิโนรสารามวรวิหาร เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 07 พ.ย.67)
    09. วัดเพชรสมุทรวรวิหาร อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม
    (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67)
    10. วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 103 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,565 วันศุกร์: ขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (1 November 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินพระราชทาน 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดท่าหลวง พระอารามหลวง อ.เมือง จ.พิจิตร (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67) 02. วัดนาคกลางวรวิหาร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67) 03. วัดตากฟ้า พระอารามหลวง อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67) 04. วัดวชิรธรรมสาธิตวรวิหาร เขตพระโขนง กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67) 05. วัดสังเวชวิศยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 05 พ.ย.67) 06. วัดสัมพันธวงศาราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 07. วัดนครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67) 08. วัดชิโนรสารามวรวิหาร เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 07 พ.ย.67) 09. วัดเพชรสมุทรวรวิหาร อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67) 10. วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 103 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 307 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,565
    วันศุกร์: ขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (1 November 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินพระราชทาน 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดท่าหลวง พระอารามหลวง อ.เมือง จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67)
    02. วัดนาคกลางวรวิหาร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67)
    03. วัดตากฟ้า พระอารามหลวง อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67)
    04. วัดวชิรธรรมสาธิตวรวิหาร เขตพระโขนง กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67)
    05. วัดสังเวชวิศยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 05 พ.ย.67)
    06. วัดสัมพันธวงศาราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    07. วัดนครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67)
    08. วัดชิโนรสารามวรวิหาร เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 07 พ.ย.67)
    09. วัดเพชรสมุทรวรวิหาร อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม
    (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67)
    10. วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 103 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,565 วันศุกร์: ขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (1 November 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินพระราชทาน 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดท่าหลวง พระอารามหลวง อ.เมือง จ.พิจิตร (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67) 02. วัดนาคกลางวรวิหาร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 02 พ.ย.67) 03. วัดตากฟ้า พระอารามหลวง อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67) 04. วัดวชิรธรรมสาธิตวรวิหาร เขตพระโขนง กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 03 พ.ย.67) 05. วัดสังเวชวิศยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 05 พ.ย.67) 06. วัดสัมพันธวงศาราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 07. วัดนครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67) 08. วัดชิโนรสารามวรวิหาร เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 07 พ.ย.67) 09. วัดเพชรสมุทรวรวิหาร อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67) 10. วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 08 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 103 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 305 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,563
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดหนองบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    02. วัดหนองใยบัว อ.โพธาราม จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    03. วัดหมอสอวังคา อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    04. วัดห้วยชันเหนือ อ.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    05. วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    06. วัดอุดมสุข อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    07. วัดป่าภูผาแดง อ.ภูหลวง จ.เลย
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    08. วัดคลองใหม่ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    09 วัดเอี่ยมวรนุช เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    10. วัดภูเขาหลง อ.เมือง จ.สงขลา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,563 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดหนองบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 02. วัดหนองใยบัว อ.โพธาราม จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 03. วัดหมอสอวังคา อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 04. วัดห้วยชันเหนือ อ.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 05. วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 06. วัดอุดมสุข อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 07. วัดป่าภูผาแดง อ.ภูหลวง จ.เลย (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 08. วัดคลองใหม่ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 09 วัดเอี่ยมวรนุช เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 10. วัดภูเขาหลง อ.เมือง จ.สงขลา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 259 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,563
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดหนองบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    02. วัดหนองใยบัว อ.โพธาราม จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    03. วัดหมอสอวังคา อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    04. วัดห้วยชันเหนือ อ.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    05. วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    06. วัดอุดมสุข อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    07. วัดป่าภูผาแดง อ.ภูหลวง จ.เลย
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    08. วัดคลองใหม่ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    09 วัดเอี่ยมวรนุช เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    10. วัดภูเขาหลง อ.เมือง จ.สงขลา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,563 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดหนองบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 02. วัดหนองใยบัว อ.โพธาราม จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 03. วัดหมอสอวังคา อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 04. วัดห้วยชันเหนือ อ.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 05. วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 06. วัดอุดมสุข อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 07. วัดป่าภูผาแดง อ.ภูหลวง จ.เลย (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 08. วัดคลองใหม่ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 09 วัดเอี่ยมวรนุช เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 10. วัดภูเขาหลง อ.เมือง จ.สงขลา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551
    วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดราชบุรณราชวรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67)
    02. วัดชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    03. วัดชินวรารามวรวิหาร อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    04. วัดนางชี เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    05. วัดบุรณศิริมาตยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    06. วัดศรีโคมคำ อ.เมือง จ.พะเยา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    07. วัดใหญ่สุวรรณาราม อ.เมือง จ.เพชรบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    08. วัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    09. วัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    10. วัดชัยพฤกษมาลา เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551 วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดราชบุรณราชวรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67) 02. วัดชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 03. วัดชินวรารามวรวิหาร อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 04. วัดนางชี เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 05. วัดบุรณศิริมาตยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 06. วัดศรีโคมคำ อ.เมือง จ.พะเยา (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 07. วัดใหญ่สุวรรณาราม อ.เมือง จ.เพชรบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 08. วัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 09. วัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 10. วัดชัยพฤกษมาลา เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 267 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551
    วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดราชบุรณราชวรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67)
    02. วัดชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    03. วัดชินวรารามวรวิหาร อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    04. วัดนางชี เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    05. วัดบุรณศิริมาตยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    06. วัดศรีโคมคำ อ.เมือง จ.พะเยา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    07. วัดใหญ่สุวรรณาราม อ.เมือง จ.เพชรบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67)
    08. วัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    09. วัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    10. วัดชัยพฤกษมาลา เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551 วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดราชบุรณราชวรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67) 02. วัดชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 03. วัดชินวรารามวรวิหาร อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 04. วัดนางชี เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 05. วัดบุรณศิริมาตยาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 06. วัดศรีโคมคำ อ.เมือง จ.พะเยา (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 07. วัดใหญ่สุวรรณาราม อ.เมือง จ.เพชรบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 7 พ.ย.67) 08. วัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 09. วัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 10. วัดชัยพฤกษมาลา เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 253 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551
    วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดสิริจันทรนิมิตรวรวิหาร อ.เมือง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    22. วัดเสนหา อ.เมือง จ.นครปฐม
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    23. วัดอินทรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    24. วัดจองคำ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    25. วัดชุมพรรังสรรค์ อ.เมือง จ.ชุมพร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    26. วัดพญาภู อ.เมือง จ.น่าน
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    27. วัดพระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    28. วัดเพชรวราราม อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    29. วัดมหรรณพาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    30. วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551 วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดสิริจันทรนิมิตรวรวิหาร อ.เมือง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 22. วัดเสนหา อ.เมือง จ.นครปฐม (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 23. วัดอินทรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 24. วัดจองคำ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 25. วัดชุมพรรังสรรค์ อ.เมือง จ.ชุมพร (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 26. วัดพญาภู อ.เมือง จ.น่าน (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 27. วัดพระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 28. วัดเพชรวราราม อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 29. วัดมหรรณพาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 30. วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551
    วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดสิริจันทรนิมิตรวรวิหาร อ.เมือง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    22. วัดเสนหา อ.เมือง จ.นครปฐม
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    23. วัดอินทรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67)
    24. วัดจองคำ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    25. วัดชุมพรรังสรรค์ อ.เมือง จ.ชุมพร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    26. วัดพญาภู อ.เมือง จ.น่าน
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    27. วัดพระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    28. วัดเพชรวราราม อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    29. วัดมหรรณพาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    30. วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย
    (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,551 วันศุกร์: แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (18 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดสิริจันทรนิมิตรวรวิหาร อ.เมือง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 22. วัดเสนหา อ.เมือง จ.นครปฐม (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 23. วัดอินทรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 8 พ.ย.67) 24. วัดจองคำ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 25. วัดชุมพรรังสรรค์ อ.เมือง จ.ชุมพร (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 26. วัดพญาภู อ.เมือง จ.น่าน (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 27. วัดพระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 28. วัดเพชรวราราม อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 29. วัดมหรรณพาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) 30. วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย (ทอดกฐินพระราชทาน 9 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดบุปผาราม เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    02. วัดปทุมวนาราม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    03. วัดป่าโมกวรวิหาร อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    04. วัดราชคฤห์วรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    05. วัดราชนัดดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    06. วัดลุ่มมหาชัยชุมพล อ.เมือง จ.ระยอง
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    07. วัดหงส์รัตนาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    08. วัดเขาบางทราย อ.เมือง จ.ชลบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67)
    09. วัดแจ้งวรวิหาร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67)
    10. วัดชนาธิปเฉลิม อ.เมือง จ.สตูล
    (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดบุปผาราม เขตธนบุรี กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 02. วัดปทุมวนาราม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 03. วัดป่าโมกวรวิหาร อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 04. วัดราชคฤห์วรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 05. วัดราชนัดดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 06. วัดลุ่มมหาชัยชุมพล อ.เมือง จ.ระยอง (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 07. วัดหงส์รัตนาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 08. วัดเขาบางทราย อ.เมือง จ.ชลบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67) 09. วัดแจ้งวรวิหาร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67) 10. วัดชนาธิปเฉลิม อ.เมือง จ.สตูล (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 183 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดบุปผาราม เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    02. วัดปทุมวนาราม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    03. วัดป่าโมกวรวิหาร อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    04. วัดราชคฤห์วรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    05. วัดราชนัดดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    06. วัดลุ่มมหาชัยชุมพล อ.เมือง จ.ระยอง
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    07. วัดหงส์รัตนาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    08. วัดเขาบางทราย อ.เมือง จ.ชลบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67)
    09. วัดแจ้งวรวิหาร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67)
    10. วัดชนาธิปเฉลิม อ.เมือง จ.สตูล
    (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดบุปผาราม เขตธนบุรี กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 02. วัดปทุมวนาราม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 03. วัดป่าโมกวรวิหาร อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 04. วัดราชคฤห์วรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 05. วัดราชนัดดาราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 06. วัดลุ่มมหาชัยชุมพล อ.เมือง จ.ระยอง (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 07. วัดหงส์รัตนาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 08. วัดเขาบางทราย อ.เมือง จ.ชลบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67) 09. วัดแจ้งวรวิหาร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67) 10. วัดชนาธิปเฉลิม อ.เมือง จ.สตูล (ทอดกฐินพระราชทาน 2 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 182 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดญาณสังวราราม อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    22. วัดบูรพาพิทยาราม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    23. วัดป้อมวิเชียรโชติการาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    24. วัดพนัญเชิง อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    25. วัดสุวรรณาราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    26. วัดดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    27. วัดมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    28. วัดเศวตฉัตร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    29. วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    30. วัดป่าดาราภิรมย์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดญาณสังวราราม อ.บางละมุง จ.ชลบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 22. วัดบูรพาพิทยาราม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 23. วัดป้อมวิเชียรโชติการาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 24. วัดพนัญเชิง อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 25. วัดสุวรรณาราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 26. วัดดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 27. วัดมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 28. วัดเศวตฉัตร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 29. วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 30. วัดป่าดาราภิรมย์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 246 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดญาณสังวราราม อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    22. วัดบูรพาพิทยาราม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    23. วัดป้อมวิเชียรโชติการาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    24. วัดพนัญเชิง อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    25. วัดสุวรรณาราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67)
    26. วัดดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    27. วัดมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    28. วัดเศวตฉัตร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    29. วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67)
    30. วัดป่าดาราภิรมย์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,550 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (17 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดญาณสังวราราม อ.บางละมุง จ.ชลบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 22. วัดบูรพาพิทยาราม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 23. วัดป้อมวิเชียรโชติการาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 24. วัดพนัญเชิง อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 25. วัดสุวรรณาราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 3 พ.ย.67) 26. วัดดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 27. วัดมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 28. วัดเศวตฉัตร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 29. วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 5 พ.ย.67) 30. วัดป่าดาราภิรมย์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินพระราชทาน 6 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 223 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts