• #ศิลปะ ซอฟท์เพาว์เวอร์
    พระพัชนีด้ามจิ้ว หรือ พัดทรง💜💜

    หลายท่านที่ได้ชมพระราชพิธีเมื่อวาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๗

    ในระหว่างที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ประทับในเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ทรงใช้พระพัชนีด้ามจิ้ว ระหว่างประทับหลายท่านน่าจะเห็นว่าลวดลายบนพัดมีความงดงามมาก พัดทรงด้ามนี้ออกแบบและเขียนลาย โดยอาจารย์หทัย บุนนาค

    โดยท่านเคยให้รายละเอียดเกี่ยวกับพัดทรงด้ามนี้ว่า…

    "พัดทรง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาพัชรสุธาพิมลลักษณ์พระบรมราชินี พัดด้ามไม้ประดับปีกแมลงทับ ตัวพัดทำจากผ้าไหมไทยปิดเงินเปลว เขียนสีเป็นลายเทพยดาอำนวยพร บนพื้นสีครามประกอบลวดลายพรรณพฤกษา แกนพัดและห่วงพัดทำจากเงินกะไหล่ทอง แหวนสำหรับรัดพัดและสายพู่คล้องพัดเป็นไหมสีเขียวมะกอกรับกัน ร้อยสลับกับลูกปัดเงินกะไหล่ทองและลูกปัดพลอยเนื้ออ่อนสีม่วง

    รายชื่อคณะทำงานและช่างฝีมือ

    ช่างเขียนและออกแบบ: นาย หทัย บุนนาค
    ช่างประดับปีกแมลงทับ: นางสาว กัลยากร อัครยากูล

    ช่างทองทำห่วงพัดและแกนพัด : อาจารย์ศุภชัย เสริมสุขเจริญชัย และ อาจารย์จิราพร รอดคุ้ม จากมหาวิทยาลัย เพาะช่าง
    ช่างทำพู่และสายคล้องตลอดจนแหวนรัดพัด: นางสาว เมนาท วรรัตนวัชร

    ช่างประกอบตัวและจับจีบพัด: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผล

    ช่างทำกล่อง: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผลและนายธงชัย ตาลพวง นางสาว กุลธิดา บุนนาค

    ประสานงาน : นายวุฒิกร จินตนสถิตย์"
    เครดิตโดยอาจารย์หทัย บุนนาค(ภาพสุดท้าย)

    🙏🇹🇭💜#ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน #เกร็ดความรู้ #เกร็ดประวัติศาสตร์ #พยุหยาตราทางชลมารค
    #ศิลปะ ซอฟท์เพาว์เวอร์ พระพัชนีด้ามจิ้ว หรือ พัดทรง💜💜 หลายท่านที่ได้ชมพระราชพิธีเมื่อวาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๗ ในระหว่างที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ประทับในเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ทรงใช้พระพัชนีด้ามจิ้ว ระหว่างประทับหลายท่านน่าจะเห็นว่าลวดลายบนพัดมีความงดงามมาก พัดทรงด้ามนี้ออกแบบและเขียนลาย โดยอาจารย์หทัย บุนนาค โดยท่านเคยให้รายละเอียดเกี่ยวกับพัดทรงด้ามนี้ว่า… "พัดทรง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาพัชรสุธาพิมลลักษณ์พระบรมราชินี พัดด้ามไม้ประดับปีกแมลงทับ ตัวพัดทำจากผ้าไหมไทยปิดเงินเปลว เขียนสีเป็นลายเทพยดาอำนวยพร บนพื้นสีครามประกอบลวดลายพรรณพฤกษา แกนพัดและห่วงพัดทำจากเงินกะไหล่ทอง แหวนสำหรับรัดพัดและสายพู่คล้องพัดเป็นไหมสีเขียวมะกอกรับกัน ร้อยสลับกับลูกปัดเงินกะไหล่ทองและลูกปัดพลอยเนื้ออ่อนสีม่วง รายชื่อคณะทำงานและช่างฝีมือ ช่างเขียนและออกแบบ: นาย หทัย บุนนาค ช่างประดับปีกแมลงทับ: นางสาว กัลยากร อัครยากูล ช่างทองทำห่วงพัดและแกนพัด : อาจารย์ศุภชัย เสริมสุขเจริญชัย และ อาจารย์จิราพร รอดคุ้ม จากมหาวิทยาลัย เพาะช่าง ช่างทำพู่และสายคล้องตลอดจนแหวนรัดพัด: นางสาว เมนาท วรรัตนวัชร ช่างประกอบตัวและจับจีบพัด: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผล ช่างทำกล่อง: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผลและนายธงชัย ตาลพวง นางสาว กุลธิดา บุนนาค ประสานงาน : นายวุฒิกร จินตนสถิตย์" เครดิตโดยอาจารย์หทัย บุนนาค(ภาพสุดท้าย) 🙏🇹🇭💜#ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน #เกร็ดความรู้ #เกร็ดประวัติศาสตร์ #พยุหยาตราทางชลมารค
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทุกครั้งที่ผมจะเล่าเรื่องราวที่อิงประวัติศาสตร์ให้ฟัง ผมมต้องบอกแบบนี้นะครับว่าข้อมูลที่ได้มานั้นส่วนใหญ่ได้มาจากพงศวดาร และพงศวดารในที่ต่างๆนั้น ไม่ถือเป็นหลักฐานชั้นต้น แต่อ้างอิงได้ พงศวดารเนี่ยต้องบอกแบบนี้ครับว่าผู้เขียนไม่ได้เขียนขึ้นมาในช่วงเวลานั้นนะครับ หากแต่เขียนขึ้นหลังจากเหตุการณ์ได้ผ่านไปแล้วช่วงระยะนึงแล้ว และพงศวดารยังสามารถเขียนและแก้ไข ซึ่งเราเรียกว่าการชำระใหม่ ขึ่นอยู่กับผู้ปกครอง ผู้มีบทบาทและอำนาจในการสั่งการ ว่าจะสั่งให้เขียนออกมาในรูปแบบใด จึงสรุปได้ว่า

    “พงศวดาร” คืองาน “วรรณกรรม” ขีดเส้นใต้เลยครับ พงศวดารคือวรรณกรรม ตามช่วงสมัย มีการเขียน มีการตรวจ การแก้ไขได้ ซึ่งถือเป็นเรื่องธรรมดา เราถือเป็น “หลักฐานชั้นรอง” ครับ

    ในส่วนการอ้างอิงที่เป็นเหตุเป็นผลและการให้น้ำหนักในเชิงประวัติศาสตร์นั้น การให้น้ำหนักตามข้อเท็จจริง จึงอิงไปที่หลักฐานชั้นต้น ที่สร้างขึ้น และ บันทึกในช่วงเวลานั้น ดังเช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุทับรายวัน จดหมายเหตุโหรณ์ เป็นต้น

    ดังเช่นการเล่าเรื่องของผมนี้ข้อมูลส่วนใหญ่ที่นำมาใช้ก็มาจากพงศวดารหลายเล่ม จึงเขียนให้เป็นบันทึก เพื่อเป็นเกร็ดความรู้ ให้อ่านได้ง่าย และเข้าใจในแบบ ไม่ต้องตีความเยอะครับ #บันทึกโยเดีย
    ทุกครั้งที่ผมจะเล่าเรื่องราวที่อิงประวัติศาสตร์ให้ฟัง ผมมต้องบอกแบบนี้นะครับว่าข้อมูลที่ได้มานั้นส่วนใหญ่ได้มาจากพงศวดาร และพงศวดารในที่ต่างๆนั้น ไม่ถือเป็นหลักฐานชั้นต้น แต่อ้างอิงได้ พงศวดารเนี่ยต้องบอกแบบนี้ครับว่าผู้เขียนไม่ได้เขียนขึ้นมาในช่วงเวลานั้นนะครับ หากแต่เขียนขึ้นหลังจากเหตุการณ์ได้ผ่านไปแล้วช่วงระยะนึงแล้ว และพงศวดารยังสามารถเขียนและแก้ไข ซึ่งเราเรียกว่าการชำระใหม่ ขึ่นอยู่กับผู้ปกครอง ผู้มีบทบาทและอำนาจในการสั่งการ ว่าจะสั่งให้เขียนออกมาในรูปแบบใด จึงสรุปได้ว่า “พงศวดาร” คืองาน “วรรณกรรม” ขีดเส้นใต้เลยครับ พงศวดารคือวรรณกรรม ตามช่วงสมัย มีการเขียน มีการตรวจ การแก้ไขได้ ซึ่งถือเป็นเรื่องธรรมดา เราถือเป็น “หลักฐานชั้นรอง” ครับ ในส่วนการอ้างอิงที่เป็นเหตุเป็นผลและการให้น้ำหนักในเชิงประวัติศาสตร์นั้น การให้น้ำหนักตามข้อเท็จจริง จึงอิงไปที่หลักฐานชั้นต้น ที่สร้างขึ้น และ บันทึกในช่วงเวลานั้น ดังเช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุทับรายวัน จดหมายเหตุโหรณ์ เป็นต้น ดังเช่นการเล่าเรื่องของผมนี้ข้อมูลส่วนใหญ่ที่นำมาใช้ก็มาจากพงศวดารหลายเล่ม จึงเขียนให้เป็นบันทึก เพื่อเป็นเกร็ดความรู้ ให้อ่านได้ง่าย และเข้าใจในแบบ ไม่ต้องตีความเยอะครับ #บันทึกโยเดีย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🌧️ เตรียมรับมือฤดูฝน! ป้องกันราน้ำค้างในเมล่อนอย่างไรให้ได้ผล

    สวัสดีครับเพื่อนๆ ชาวสวนเมล่อน 👋 ฤดูฝนมาแล้ว! หลายคนคงกังวลเรื่องโรคราน้ำค้างใช่ไหมครับ? วันนี้ผมมีเคล็ดลับดีๆ มาฝากกัน 🌱

    ทำไมฤดูฝนถึงต้องระวังเป็นพิเศษ? 🤔
    • ฝนตกบ่อย อากาศปิด
    • ความชื้นสูงสุดๆ
    • เชื้อราชอบมาก! เป็นสวรรค์ของมันเลย 😅

    👨‍🌾 วิธีรับมือแบบมืออาชีพ:
    1. ป้องกันก่อนปลูก (สำคัญมาก!)
    • พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อในโรงเรือน 5-7 วันก่อนปลูก
    • คิดซะว่าเป็นการ "Big Cleaning" บ้านให้เมล่อนของเรา 🏠

    2. ระหว่างปลูก
    • พ่นไตรโคบิวพลัสสม่ำเสมอ - เจ้านี่เป็นซูเปอร์ฮีโร่เลยครับ! 🦸‍♂️
    • สังเกตอาการผิดปกติทุกวัน

    🔄 ถ้าเจอปัญหาซ้ำๆ ทุกรอบการปลูก ต้องปรับ 3 อย่าง:
    1. ระบบให้น้ำ - บางทีให้น้ำมากไป น้อยไป หรือผิดเวลา
    2. การใช้ชีวภัณฑ์ - อาจต้องปรับสูตร หรือความถี่
    3. พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อรอบๆ โรงเรือนด้วย - ป้องกันศัตรูจากภายนอก

    💡 เกร็ดความรู้: การระบายอากาศที่ดีช่วยลดความชื้นได้เยอะมาก! ลองปรับมุ้งข้างโรงเรือนดูนะครับ

    🏆 ที่ลิตเติ้ลฟาร์ม เรามีครบ:
    • ปุ๋ย AB คุณภาพเยี่ยม - สูตรพิเศษสำหรับเมล่อนโดยเฉพาะ
    • ธาตุอาหารครบครัน
    • ชีวภัณฑ์ป้องกันโรคและแมลงที่ผ่านการทดสอบแล้ว

    ✨ พิเศษ! เรามีทีมงานที่พร้อมให้คำปรึกษาตลอดการปลูก เหมือนมีโค้ชส่วนตัวคอยดูแลสวนเมล่อนของคุณ

    📞 อยากปรึกษาเรื่องการปลูกเมล่อน หรือสนใจสินค้า:
    • แชทมาคุยกันได้เลย
    • หรือโทร: 093-696-2691

    มาสู้กับฤดูฝนไปด้วยกันนะครับ! 💪🌈

    #เมล่อน #โรคพืช #เกษตรอัจฉริยะ #ลิตเติ้ลฟาร์ม #ฤดูฝน
    🌧️ เตรียมรับมือฤดูฝน! ป้องกันราน้ำค้างในเมล่อนอย่างไรให้ได้ผล สวัสดีครับเพื่อนๆ ชาวสวนเมล่อน 👋 ฤดูฝนมาแล้ว! หลายคนคงกังวลเรื่องโรคราน้ำค้างใช่ไหมครับ? วันนี้ผมมีเคล็ดลับดีๆ มาฝากกัน 🌱 ทำไมฤดูฝนถึงต้องระวังเป็นพิเศษ? 🤔 • ฝนตกบ่อย อากาศปิด • ความชื้นสูงสุดๆ • เชื้อราชอบมาก! เป็นสวรรค์ของมันเลย 😅 👨‍🌾 วิธีรับมือแบบมืออาชีพ: 1. ป้องกันก่อนปลูก (สำคัญมาก!) • พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อในโรงเรือน 5-7 วันก่อนปลูก • คิดซะว่าเป็นการ "Big Cleaning" บ้านให้เมล่อนของเรา 🏠 2. ระหว่างปลูก • พ่นไตรโคบิวพลัสสม่ำเสมอ - เจ้านี่เป็นซูเปอร์ฮีโร่เลยครับ! 🦸‍♂️ • สังเกตอาการผิดปกติทุกวัน 🔄 ถ้าเจอปัญหาซ้ำๆ ทุกรอบการปลูก ต้องปรับ 3 อย่าง: 1. ระบบให้น้ำ - บางทีให้น้ำมากไป น้อยไป หรือผิดเวลา 2. การใช้ชีวภัณฑ์ - อาจต้องปรับสูตร หรือความถี่ 3. พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อรอบๆ โรงเรือนด้วย - ป้องกันศัตรูจากภายนอก 💡 เกร็ดความรู้: การระบายอากาศที่ดีช่วยลดความชื้นได้เยอะมาก! ลองปรับมุ้งข้างโรงเรือนดูนะครับ 🏆 ที่ลิตเติ้ลฟาร์ม เรามีครบ: • ปุ๋ย AB คุณภาพเยี่ยม - สูตรพิเศษสำหรับเมล่อนโดยเฉพาะ • ธาตุอาหารครบครัน • ชีวภัณฑ์ป้องกันโรคและแมลงที่ผ่านการทดสอบแล้ว ✨ พิเศษ! เรามีทีมงานที่พร้อมให้คำปรึกษาตลอดการปลูก เหมือนมีโค้ชส่วนตัวคอยดูแลสวนเมล่อนของคุณ 📞 อยากปรึกษาเรื่องการปลูกเมล่อน หรือสนใจสินค้า: • แชทมาคุยกันได้เลย • หรือโทร: 093-696-2691 มาสู้กับฤดูฝนไปด้วยกันนะครับ! 💪🌈 #เมล่อน #โรคพืช #เกษตรอัจฉริยะ #ลิตเติ้ลฟาร์ม #ฤดูฝน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • กองทัพเรือเตรียมพร้อมเต็มที่ รับพระราชพิธีเสด็จฯ ถวายผ้าพระกฐินทางชลมารค

    กองทัพเรือได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมอย่างเต็มที่ เพื่อรับพระราชพิธีเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ในวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๗

    #ขบวนพยุหยาตราทางชลมารคอันยิ่งใหญ่
    ขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งนี้ จะประกอบด้วยเรือพระราชพิธีทั้งหมด ๕๒ ลำ จัดเป็น ๕ ริ้ว ความยาวรวม ๑,๒๐๐เมตร กว้าง ๙๐ เมตร โดยมีกำลังพลประจำเรือรวม ๒,๒๐๐ นาย ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างร่วมแรงร่วมใจกัน เพื่อให้การจัดพระราชพิธีครั้งนี้เป็นไปอย่างสมพระเกียรติ

    #กรมศิลปากรบูรณะเรือพระราชพิธี
    กรมศิลปากรได้ดำเนินการอนุรักษ์และบูรณะเรือพระราชพิธีทั้ง ๕๒ ลำ ซึ่งถือเป็นโบราณวัตถุอันทรงคุณค่า โดยมีการลงรักปิดทอง ประดับกระจก ด้วยฝีมือช่างจากสำนักช่างสิบหมู่ เพื่อให้เรือแต่ละลำคงความงดงามและทรงคุณค่าตามแบบศิลปะดั้งเดิม

    #กองทัพเรือฝึกซ้อมฝีพาย
    กองทัพเรือได้ดำเนินการฝึกซ้อมฝีพายเรือพระราชพิธีอย่างเข้มข้น เพื่อให้การพายเรือเป็นไปอย่างพร้อมเพรียงและสง่างาม อีกทั้งยังคงไว้ซึ่งท่วงท่าตามโบราณราชประเพณี โดยมีการนำเทคนิคสมัยใหม่มาปรับใช้เพื่อเพิ่มความสวยงามและความแม่นยำในการพายเรือ

    เรือพระที่นั่งสำคัญ ๔ ลำ
    * เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์: เรือพระที่นั่งชั้นสูงสุด โขนเรือเป็นรูปหงส์ สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๕ ใช้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์และพระบรมราชินี
    * เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์: เรือพระที่นั่งรอง โขนเรือลงรักปิดทองลายรูปงูตัวเล็ก ๆ จำนวนมาก สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๕ ใช้เป็นที่ประทับเปลื้องเครื่องหรือเปลื้องพระชฎามหากฐินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    * เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช: หัวเรือจำหลักรูปพญานาค ๗ เศียร สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๖ ใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญ หรือผ้าพระกฐิน
    * เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙: โขนเรือจำหลักรูปพระวิษณุทรงครุฑ สร้างขึ้นใหม่เพื่อถวายในหลวงรัชกาลที่ ๙ โดยปกติแล้วใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญ หรือผ้าพระกฐิน

    เรือพระราชพิธีอื่นๆ
    * เรือรูปสัตว์: มีโขนเรือเป็นรูปสัตว์ต่างๆ เช่น เรืออสุรวายุภักษ์ (รูปยักษ์), เรือครุฑเหินเห็จ (รูปครุฑ), เรือกระบี่ปราบเมืองมาร (รูปขุนกระบี่), เรือเอกชัยเหินหาว (รูปจระเข้หรือเหรา)
    * เรือดั้ง: เรือที่มีลักษณะเป็นเรือยาว หัวเรือและท้ายเรือโค้งงอนขึ้น ประดับลวดลายสวยงาม
    * เรือแซง: เรือที่มีลักษณะคล้ายเรือดั้ง แต่มีขนาดเล็กกว่า ใช้สำหรับพายนำหน้าขบวนเรือพระที่นั่ง
    สืบสานประเพณีอันทรงคุณค่า

    การจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว ยังเป็นการสืบสานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าของชาติให้คงอยู่สืบไป
    ความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ

    พระราชพิธีเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งนี้ นับเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ ที่จะได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีอันทรงเกียรติและงดงามตระการตา ซึ่งจะถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ชาติไทยสืบไป

    เกร็ดความรู้เพิ่มเติม
    ขบวนพยุหยาตราเพชรพวงทางชลมารค ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจัดขบวนเป็น ๕ ตอน
    ๑. ขบวนนอกหน้าประกอบด้วย เรือพิฆาต ๓ คู่ เรือแซ ๕ คู่ เรือชัย ๑๐ คู่ เรือรูปสัตว์ ๒ คู่
    และมีเรือรูปสัตว์อีก ๑ คู่ เป็นเรือประตูหน้าชั้นนอก คั่นขบวนนอกหน้ากับขบวนในหน้า
    ๒. ขบวนในหน้า มีเรือรูปสัตว์ ๑๒ คู่ เรือเอกชัย ๒ คู่ เป็นเรือประตูหน้าชั้นในคั่นขบวนในหน้า
    กับขบวนเรือพระราชยาน มีเรือโขมดยา [ขะ-โหฺมด-ยา] ซ้อนสายนอก ๕ คู่
    ๓. ขบวนเรือพระราชยาน มีเรือพระที่นั่ง ๕ ลำ เป็นเรือดั้งนำเรือพระที่นั่งศรีสมรรถชัย
    [สี-สะ-หฺมัด-ถะ-ไช] ลำทรง และเรือพระที่นั่งไกรสรมุข [ไกฺร-สอ-ระ-มุก] ที่ใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง ขบวนเรือ
    พระราชยานเป็นเรือพระที่นั่งกิ่งทั้งหมด
    ๔. ขบวนในหลัง แบ่งเป็น ๓ สาย สายกลางมีเรือพระที่นั่งเอกชัย ๒ ลำ สายในซ้ายและในขวา
    เป็นเรือรูปสัตว์ ๒ คู่ อีก ๑ คู่ เป็นเรือประตูหลังชั้นนอก คั่นขบวนในหลังกับขบวนนอกหลัง
    ๕. ขบวนนอกหลัง ประกอบด้วยเรือแซ ๓ คู่ เรือพิฆาต ๒ คู่ และมีม้าแซงเดินริมตลิ่งอีกด้วย

    ภายใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ยังเปิดให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าชมเรือพระราชพิธี ๔ ลำ และเรือรูปสัตว์ ๔ ลำ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเรือพระราชพิธี และชมการฝึกฝีพาย ณ บ่อเรือแผนกเรือราชพิธี กองเรือเล็ก กรมการขนส่งทหารเรือ ในวันราชการ ตั้งแต่วันนี้ ถึง ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ระหว่างเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ

    อ้างอิง
    ๑. Phralan: https://phralan.in.th/Coronation/vocabdetail.php?id=844
    ๒. Thai PBS: https://www.thaipbs.or.th/news/content/341376
    กองทัพเรือเตรียมพร้อมเต็มที่ รับพระราชพิธีเสด็จฯ ถวายผ้าพระกฐินทางชลมารค กองทัพเรือได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมอย่างเต็มที่ เพื่อรับพระราชพิธีเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ในวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ #ขบวนพยุหยาตราทางชลมารคอันยิ่งใหญ่ ขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งนี้ จะประกอบด้วยเรือพระราชพิธีทั้งหมด ๕๒ ลำ จัดเป็น ๕ ริ้ว ความยาวรวม ๑,๒๐๐เมตร กว้าง ๙๐ เมตร โดยมีกำลังพลประจำเรือรวม ๒,๒๐๐ นาย ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างร่วมแรงร่วมใจกัน เพื่อให้การจัดพระราชพิธีครั้งนี้เป็นไปอย่างสมพระเกียรติ #กรมศิลปากรบูรณะเรือพระราชพิธี กรมศิลปากรได้ดำเนินการอนุรักษ์และบูรณะเรือพระราชพิธีทั้ง ๕๒ ลำ ซึ่งถือเป็นโบราณวัตถุอันทรงคุณค่า โดยมีการลงรักปิดทอง ประดับกระจก ด้วยฝีมือช่างจากสำนักช่างสิบหมู่ เพื่อให้เรือแต่ละลำคงความงดงามและทรงคุณค่าตามแบบศิลปะดั้งเดิม #กองทัพเรือฝึกซ้อมฝีพาย กองทัพเรือได้ดำเนินการฝึกซ้อมฝีพายเรือพระราชพิธีอย่างเข้มข้น เพื่อให้การพายเรือเป็นไปอย่างพร้อมเพรียงและสง่างาม อีกทั้งยังคงไว้ซึ่งท่วงท่าตามโบราณราชประเพณี โดยมีการนำเทคนิคสมัยใหม่มาปรับใช้เพื่อเพิ่มความสวยงามและความแม่นยำในการพายเรือ เรือพระที่นั่งสำคัญ ๔ ลำ * เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์: เรือพระที่นั่งชั้นสูงสุด โขนเรือเป็นรูปหงส์ สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๕ ใช้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์และพระบรมราชินี * เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์: เรือพระที่นั่งรอง โขนเรือลงรักปิดทองลายรูปงูตัวเล็ก ๆ จำนวนมาก สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๕ ใช้เป็นที่ประทับเปลื้องเครื่องหรือเปลื้องพระชฎามหากฐินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว * เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช: หัวเรือจำหลักรูปพญานาค ๗ เศียร สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๖ ใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญ หรือผ้าพระกฐิน * เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙: โขนเรือจำหลักรูปพระวิษณุทรงครุฑ สร้างขึ้นใหม่เพื่อถวายในหลวงรัชกาลที่ ๙ โดยปกติแล้วใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญ หรือผ้าพระกฐิน เรือพระราชพิธีอื่นๆ * เรือรูปสัตว์: มีโขนเรือเป็นรูปสัตว์ต่างๆ เช่น เรืออสุรวายุภักษ์ (รูปยักษ์), เรือครุฑเหินเห็จ (รูปครุฑ), เรือกระบี่ปราบเมืองมาร (รูปขุนกระบี่), เรือเอกชัยเหินหาว (รูปจระเข้หรือเหรา) * เรือดั้ง: เรือที่มีลักษณะเป็นเรือยาว หัวเรือและท้ายเรือโค้งงอนขึ้น ประดับลวดลายสวยงาม * เรือแซง: เรือที่มีลักษณะคล้ายเรือดั้ง แต่มีขนาดเล็กกว่า ใช้สำหรับพายนำหน้าขบวนเรือพระที่นั่ง สืบสานประเพณีอันทรงคุณค่า การจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว ยังเป็นการสืบสานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าของชาติให้คงอยู่สืบไป ความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ พระราชพิธีเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งนี้ นับเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ ที่จะได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีอันทรงเกียรติและงดงามตระการตา ซึ่งจะถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ชาติไทยสืบไป เกร็ดความรู้เพิ่มเติม ขบวนพยุหยาตราเพชรพวงทางชลมารค ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจัดขบวนเป็น ๕ ตอน ๑. ขบวนนอกหน้าประกอบด้วย เรือพิฆาต ๓ คู่ เรือแซ ๕ คู่ เรือชัย ๑๐ คู่ เรือรูปสัตว์ ๒ คู่ และมีเรือรูปสัตว์อีก ๑ คู่ เป็นเรือประตูหน้าชั้นนอก คั่นขบวนนอกหน้ากับขบวนในหน้า ๒. ขบวนในหน้า มีเรือรูปสัตว์ ๑๒ คู่ เรือเอกชัย ๒ คู่ เป็นเรือประตูหน้าชั้นในคั่นขบวนในหน้า กับขบวนเรือพระราชยาน มีเรือโขมดยา [ขะ-โหฺมด-ยา] ซ้อนสายนอก ๕ คู่ ๓. ขบวนเรือพระราชยาน มีเรือพระที่นั่ง ๕ ลำ เป็นเรือดั้งนำเรือพระที่นั่งศรีสมรรถชัย [สี-สะ-หฺมัด-ถะ-ไช] ลำทรง และเรือพระที่นั่งไกรสรมุข [ไกฺร-สอ-ระ-มุก] ที่ใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง ขบวนเรือ พระราชยานเป็นเรือพระที่นั่งกิ่งทั้งหมด ๔. ขบวนในหลัง แบ่งเป็น ๓ สาย สายกลางมีเรือพระที่นั่งเอกชัย ๒ ลำ สายในซ้ายและในขวา เป็นเรือรูปสัตว์ ๒ คู่ อีก ๑ คู่ เป็นเรือประตูหลังชั้นนอก คั่นขบวนในหลังกับขบวนนอกหลัง ๕. ขบวนนอกหลัง ประกอบด้วยเรือแซ ๓ คู่ เรือพิฆาต ๒ คู่ และมีม้าแซงเดินริมตลิ่งอีกด้วย ภายใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ยังเปิดให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าชมเรือพระราชพิธี ๔ ลำ และเรือรูปสัตว์ ๔ ลำ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเรือพระราชพิธี และชมการฝึกฝีพาย ณ บ่อเรือแผนกเรือราชพิธี กองเรือเล็ก กรมการขนส่งทหารเรือ ในวันราชการ ตั้งแต่วันนี้ ถึง ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ระหว่างเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ อ้างอิง ๑. Phralan: https://phralan.in.th/Coronation/vocabdetail.php?id=844 ๒. Thai PBS: https://www.thaipbs.or.th/news/content/341376
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 539 มุมมอง 0 รีวิว
  • ⚠️ เตือนภัย! อย่าหลงกล มิจฉาชีพ แอบอ้างแบงก์ชาติ ⚠️
    🚨 แบงก์ชาติไม่มีหน้าที่ อายัดบัญชี !
    ใครอ้างแบบนี้ = มิจฉาชีพชัวร์ 💯 %
    วิธีรับมือ:
    - สงสัย? อย่าเพิ่งเชื่อ! 🤔
    - โทรเช็ค📞 กับธนาคารของคุณโดยตรง
    - ตรวจสอบข้อมูล🔍จากแหล่งที่เชื่อถือได้
    💡 เกร็ดความรู้: มิจฉาชีพมักแอบอ้างหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ
    ⚠️ อย่าเชื่อ อย่าโอน อย่าให้ข้อมูล⚠️
    ⚠️ เตือนภัย! อย่าหลงกล มิจฉาชีพ แอบอ้างแบงก์ชาติ ⚠️ 🚨 แบงก์ชาติไม่มีหน้าที่ อายัดบัญชี ! ใครอ้างแบบนี้ = มิจฉาชีพชัวร์ 💯 % วิธีรับมือ: - สงสัย? อย่าเพิ่งเชื่อ! 🤔 - โทรเช็ค📞 กับธนาคารของคุณโดยตรง - ตรวจสอบข้อมูล🔍จากแหล่งที่เชื่อถือได้ 💡 เกร็ดความรู้: มิจฉาชีพมักแอบอ้างหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ⚠️ อย่าเชื่อ อย่าโอน อย่าให้ข้อมูล⚠️
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 157 มุมมอง 0 รีวิว
  • 📖 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับโรครูมาตอยด์

    โรครูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis) เป็นโรคภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง (autoimmune disease) ที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโจมตีเนื้อเยื่อของตัวเอง โดยเฉพาะในข้อต่อ ทำให้เกิดการอักเสบและความเสียหายต่อข้อต่อ รวมถึงอวัยวะอื่นๆ ของร่างกายด้วย

    อาการของรูมาตอยด์มีทั้งหมด 5 ข้อ
    ✅ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย
    ✅ อักเสบตามกล้ามเนื้อ กระดูก ข้อต่อ
    ✅ บวม ปวด แดงตามข้อ
    ✅ กระดูกผิดรูป บิดเบี้ยวกว่าเดิม
    ✅ มีปุ่มนิ่มๆ บริเวณที่เสียดสีบ่อยๆ

    หากท่านใดมีอาการเหล่านี้...ทักแชทมาปรึกษาได้นะคะ เบอร์ 095-2489957 คุณณิชาวีร์
    📖 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับโรครูมาตอยด์ โรครูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis) เป็นโรคภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง (autoimmune disease) ที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโจมตีเนื้อเยื่อของตัวเอง โดยเฉพาะในข้อต่อ ทำให้เกิดการอักเสบและความเสียหายต่อข้อต่อ รวมถึงอวัยวะอื่นๆ ของร่างกายด้วย อาการของรูมาตอยด์มีทั้งหมด 5 ข้อ ✅ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย ✅ อักเสบตามกล้ามเนื้อ กระดูก ข้อต่อ ✅ บวม ปวด แดงตามข้อ ✅ กระดูกผิดรูป บิดเบี้ยวกว่าเดิม ✅ มีปุ่มนิ่มๆ บริเวณที่เสียดสีบ่อยๆ หากท่านใดมีอาการเหล่านี้...ทักแชทมาปรึกษาได้นะคะ เบอร์ 095-2489957 คุณณิชาวีร์
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 245 มุมมอง 0 รีวิว