• 🚌 ขสมก. แจ้งประชาชนวางแผนการเดินทาง และรถโดยสาร 12 เส้นทางที่อาจได้รับผลกระทบ เนื่องจากการ "ปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี" (ถนนเพชรบุรี ฝั่งขาออก) เพื่อดำเนินการก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าราชเทวี (OR08) โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 17 มกราคม 2568 จนถึงวันที่ 30 เมษายน 2571 เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป

    📌 รถโดยสาร ขสมก. ที่ได้รับผลกระทบ มีจำนวน 12 เส้นทาง ดังนี้
    สาย 23E (3-4E) : สมุทรปราการ - เทเวศร์ (ทางด่วน)
    สาย 23 (3-5) : ปู่เจ้าสมิงพราย - เทเวศร์
    สาย 50 (2-7) : ท่าเรือพระราม 7 - สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี
    สาย 59 (เดิม) : รังสิต - สนามหลวง
    สาย 60 (1-38) : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย
    สาย 79 (4-42) : บรมราชชนนี - ราชประสงค์
    สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่
    สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่ (ทางด่วน)
    สาย 1-7E : รังสิต - สนามหลวง (ทางด่วน)
    สาย 1-80E : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย (ทางด่วน)
    สาย 2-2 : ท่าเรือปากเกร็ด - ท่าเรือสี่พระยา
    สาย 4-35 : คลองสาน - เทเวศร์ (วงกลม)
    📍ทั้งนี้จากการปิดช่องจราจรดังกล่าวอาจมีปริมาณรถสะสมเป็นจำนวนมาก จึงขอให้ประชาชนวางแผนการเดินทาง และ สามารถสอบถามข้อมูลเส้นทางเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วน Call Center โทร. 1348 ได้ทุกวัน ในเวลา 05.00 – 22.00 น.

    อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ : t.ly/XjIIL
    🚌 ขสมก. แจ้งประชาชนวางแผนการเดินทาง และรถโดยสาร 12 เส้นทางที่อาจได้รับผลกระทบ เนื่องจากการ "ปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี" (ถนนเพชรบุรี ฝั่งขาออก) เพื่อดำเนินการก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าราชเทวี (OR08) โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 17 มกราคม 2568 จนถึงวันที่ 30 เมษายน 2571 เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป 📌 รถโดยสาร ขสมก. ที่ได้รับผลกระทบ มีจำนวน 12 เส้นทาง ดังนี้ สาย 23E (3-4E) : สมุทรปราการ - เทเวศร์ (ทางด่วน) สาย 23 (3-5) : ปู่เจ้าสมิงพราย - เทเวศร์ สาย 50 (2-7) : ท่าเรือพระราม 7 - สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี สาย 59 (เดิม) : รังสิต - สนามหลวง สาย 60 (1-38) : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย สาย 79 (4-42) : บรมราชชนนี - ราชประสงค์ สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่ สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่ (ทางด่วน) สาย 1-7E : รังสิต - สนามหลวง (ทางด่วน) สาย 1-80E : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย (ทางด่วน) สาย 2-2 : ท่าเรือปากเกร็ด - ท่าเรือสี่พระยา สาย 4-35 : คลองสาน - เทเวศร์ (วงกลม) 📍ทั้งนี้จากการปิดช่องจราจรดังกล่าวอาจมีปริมาณรถสะสมเป็นจำนวนมาก จึงขอให้ประชาชนวางแผนการเดินทาง และ สามารถสอบถามข้อมูลเส้นทางเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วน Call Center โทร. 1348 ได้ทุกวัน ในเวลา 05.00 – 22.00 น. อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ : t.ly/XjIIL
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 163 มุมมอง 0 รีวิว
  • 20 ปี รถไฟฟ้าใต้ดินชนกัน ที่ศูนย์วัฒนธรรม โทษคนเพื่อปกป้องระบบ ความสูญเสียที่กลายเป็นบทเรียนราคาแพง

    ย้อนไปเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2548 เกิดเหตุการณ์ที่สั่นสะเทือน วงการคมนาคมไทย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินสองขบวน ชนกันที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จนทำให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน และกลายเป็นกรณีศึกษา เรื่องความปลอดภัย ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย

    เช้าวันที่ 17 มกราคม 2548 เวลา 9.15 น. ในชั่วโมงเร่งด่วน รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน ขบวนลาดพร้าว-หัวลำโพง หมายเลข 1015 ซึ่งบรรทุกผู้โดยสารกว่า 700 คน ได้จอดรับส่งผู้โดยสา รที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยมีนายวิภูติ จันทนภริน เป็นพนักงานขับรถ ระหว่างที่ขบวนกำลังจะเคลื่อนออกจากสถานี กลับเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน รถไฟฟ้าอีกขบวนหนึ่ง หมายเลข 1028 ซึ่งเป็นขบวนเปล่าสำหรับซ่อมบำรุง มีนายนิติพนธ์ นิธิโยสิยานนท์ เป็นพนักงานขับรถ ได้ไหลลงมาจากทางลาดชัน และพุ่งชนกับขบวนที่กำลังให้บริการ

    แรงชนทำให้หน้าขบวนรถ 1028 ยุบเข้าไปกว่า 70 เซนติเมตร อัดก๊อบปี้พนักงานขับรถ ติดคาซา ประตูฉุกเฉินของขบวน 1015 ไม่สามารถใช้งานได้ ส่งผลให้การอพยพผู้โดยสา รต้องรอกุญแจสำรองกว่า 10 นาที

    แรงจากการชน ส่งผลให้ผนังอุโมงค์ใต้ดินิพังถล่มลงมาทับขบวน 1015 ซึ่งสร้างแรงสั่นสะเทือนทั่วสถานี โชคดีที่ไม่มีผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้ แต่ผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ถูกนำส่งโรงพยาบาลพระราม 9 จำนวน 124 คน โรงพยาบาลกรุงเทพ 21 คน โรงพยาบาลราชวิถี 15 คน โรงพยาบาลตำรวจ 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดีรามคำแหง 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดี 11 คน โรงพยาบาลพระมงกุฏ 11 คน โรงพยาบาลเปาโลสยาม 11 คน โรงพยาบาลสมิติเวช 8 คน โรงพยาบาลเมโย 4 คน โรงพยาบาลปิยะเวท 3 คน โดยมีผู้บาดเจ็บสาหัสถึง 10 คน ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับบาดเจ็บ จากกระดูกแตก และแรงกระแทก

    สาเหตุที่แท้จริง เมื่อระบบและคน ทำงานผิดพลาดร่วมกัน
    หลังจากเหตุการณ์เกิดขึ้น มีการสืบสวนอย่างละเอียด ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน หลักฐานจากกล่องดำของรถไฟฟ้า เผยว่า การชนครั้งนี้ เกิดจากการผสมผสาน ความผิดพลาดของมนุษย์ และปัญหาของระบบควบคุมอัตโนมัติ

    1. ความผิดพลาดในการควบคุมการเดินรถ
    รถไฟขบวน 1028 ซึ่งจอดอยู่ในศูนย์ซ่อมบำรุง ถูกสั่งปลดเบรกมือ ในขณะที่รถยังอยู่บนทางลาด
    เจ้าหน้าที่ควบคุมการเดินรถได้สั่งการให้ "ดัน" ขบวน 1028 เพื่อกลับเข้าสู่รางที่ 3 ซึ่งเป็นรางจ่ายไฟ
    การสั่งการดังกล่าวเกิดขึ้นโดยไม่ได้คำนึงถึงความเสี่ยง ที่รถอาจไหลลงมาด้วยความเร็วสูง

    2. ปัญหาจากระบบควบคุมอัตโนมัติ
    ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงเทพฯ ในขณะนั้น พึ่งพาระบบอัตโนมัติเป็นหลัก แต่กลับพบว่า เกิดการขัดข้องในระบบ ที่ทำให้การควบคุมทั้งสองขบวนรถ ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้ขบวนรถไฟฟ้า หลุดจากการควบคุม และไหลไปชน

    3. การจัดการเบรก และการตัดสินใจที่ผิดพลาด
    รถไฟฟ้าขบวน 1028 ถูกสั่งปลดเบรกมือ โดยไม่ควบคุมความเร็ว ส่งผลให้รถพุ่งชนขบวน 1015 ที่กำลังจอดรับผู้โดยสาร

    รถไฟฟ้าใต้ดิน สายเฉลิมรัชมงคล หรือสายสีน้ำเงิน เปิดใช้เร็วกว่ากำหนดถึง 4 เดือน แต่วิ่งได้เพียง 2 วัน ก็เกิดอุบัติเหตุครั้งแรกขึ้น เมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2547 ที่สถานีคลองเตย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินออกจากสถานีหัวลำโพง มุ่งหน้าสถานีบางซื่อ เมื่อระบบเบรกล็อกเองอัตโนมัติ ทำให้ล้อยางเสียดสีกับยาง จนเกิดกลุ่มควันพวยพุ่ง สร้างความแตกตื่นให้กับผู้โดยสาร ต้องอพยพกันชุลมุน

    ต่อมาวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ก็เกิดเหตุการณ์​การจ่ายกระแสไฟฟ้าขัดข้อง ที่สถานีหัวลำโพงถึง 3 จุด ทำให้ไม่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้า ไปยังจุดสับเปลี่ยนรางได้ ทำให้ผู้โดยสารกว่าพันคน ต้องตกค้างที่สถานีสามย่าน และสถานีหัวลำโพง

    เหตุครั้งล่าสุดเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา 17 มกราคม 2548 รถไฟฟ้าใต้ดินขบวน 1028 พุ่งชนประสานงานขบวน 1015 ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ส่วนพนักงานขับรถขบวน 1028 บาดเจ็บสาหัส เรียกได้ว่าเปิดใช้งานมายังไม่ถึง 1 ปี ก็มาเกิดอุบัติเหตุเสียก่อน

    เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงแต่ส่งผล ต่อภาพลักษณ์ของระบบรถไฟฟ้าใต้ดิน แต่ยังทำให้เกิดการตั้งคำถาม ถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพ ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย

    1. ความเชื่อมั่นของประชาชนที่ลดลง
    หลังจากเหตุการณ์นี้ ผู้โดยสารจำนวนมาก เริ่มมีความกังวล เกี่ยวกับความปลอดภัย ของการใช้บริการรถไฟฟ้าใต้ดิน ส่งผลให้จำนวนผู้ใช้บริการ ลดลงในช่วงเวลานั้น

    2. การปรับปรุงมาตรการความปลอดภัย
    ตรวจสอบระบบควบคุมการเดินรถ หลังเหตุการณ์นี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามาเร่งตรวจสอบ ระบบความปลอดภัย ของรถไฟฟ้าใต้ดิน พนักงานควบคุมการเดินรถ และคนขับ รับการอบรมอย่างเข้มข้นมากขึ้น เพื่อป้องกันการเกิดข้อผิดพลาด ในอนาคต

    ผลการสอบสวนชี้ว่า เป็นความผิดพลาดของพนักงานควบคุมการเดินรถ ที่อนุญาตให้ปลดเบรกขบวนรถ 1028 ได้ แต่ก็เชื่อได้ว่า ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น เป็นเพราะระบบ ไม่ใช่คน เพราะระบบจะควบคุมทั้งหมด สามารถสั่งให้รถวิ่ง หรือหยุดก็ได้คนขับมีหน้าที่เดียว หรือกดเปิดปิดเครื่องเท่านั้น

    แต่จำเป็นต้องมีความพยายามเบี่ยงประเด็น ให้คนเป็นผู้รับผิดชอบ เพราะหากผลการสอบสอวนระบุว่า เกิดจากระบบ บริษัทที่เกี่ยวข้อง ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายทางแพ่ง จำนวนหลายพันล้านบาท

    ทั้งนี้ผ่านมา เคยเกิดเหตุ ขบวนรถที่กลับเข้าศูนย์ซ่อม หยุดที่บริเวณดังกล่าว 2-3 ครั้ง และก็มีการลากจูงเพื่อแก้ปัญหา โชคดีที่ไม่มีการปลดเบรก แต่ครั้งนี้พนักงานปลดเบรกมือ จึงทำให้รถไหลเข้าไปในอุโมงค์ จนชนกันขึ้น

    เหตุการณ์ชนกันของรถไฟใต้ดิน ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของความผิดพลาด แต่เป็นบทเรียนสำคัญ ที่ทำให้เราตระหนักถึงความสำคัญ ของมาตรฐานความปลอดภัย ในการขนส่งมวลชน

    1. ความสำคัญของระบบสำรองฉุกเฉิน
    การที่ประตูฉุกเฉิน ไม่สามารถเปิดใช้งานได้ในทันที เป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน เหตุการณ์นี้ จึงนำไปสู่การปรับปรุง ระบบฉุกเฉินในรถไฟฟ้าทุกขบวน

    2. การฝึกอบรม และการปฏิบัติตามมาตรฐาน
    พนักงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีความรู้ และการฝึกอบรมอย่างละเอียด ในทุกสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น

    3. การพัฒนาระบบควบคุมอัตโนมัติ
    การพึ่งพาระบบอัตโนมัติอย่างเดียว ไม่เพียงพอ ต้องมีการตรวจสอบระบบ และอัปเดตเทคโนโลยี อย่างสม่ำเสมอ

    การรับมือในอนาคต
    ตรวจสอบระบบอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบระบบรถไฟฟ้า และศูนย์ซ่อมบำรุงเป็นประจำ
    เพิ่มอุปกรณ์ความปลอดภัย เช่น การติดตั้งระบบเบรกฉุกเฉิน ที่สามารถหยุดรถไฟได้ทันที ในกรณีฉุกเฉิน
    สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน การสื่อสารและรายงานความคืบหน้า เกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัย จะช่วยสร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ใช้บริการ

    เหตุการณ์รถไฟใต้ดินชนกัน เมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ถือเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญ ในประวัติศาสตร์ของระบบขนส่งมวลชนไทย แม้จะไม่มีผู้เสียชีวิต แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้น ก็เพียงพอที่จะทำให้เราตระหนักถึง ความสำคัญของมาตรการความปลอดภัย ที่เข้มงวดมากขึ้น

    การพัฒนา และปรับปรุงระบบขนส่งมวลชน ให้ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ จะเป็นสิ่งที่ช่วยลดโอกาส ในการเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ในอนาคต ได้อย่างแน่นอน

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 170912 ม.ค. 2568

    #รถไฟใต้ดิน #เหตุการณ์สำคัญ #ความปลอดภัยในระบบขนส่ง #บทเรียนราคาแพง #ระบบควบคุมอัตโนมัติ #20ปีแห่งบทเรียน #เหตุรถไฟชนกัน #การพัฒนาระบบขนส่ง #มาตรการความปลอดภัย
    20 ปี รถไฟฟ้าใต้ดินชนกัน ที่ศูนย์วัฒนธรรม โทษคนเพื่อปกป้องระบบ ความสูญเสียที่กลายเป็นบทเรียนราคาแพง ย้อนไปเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2548 เกิดเหตุการณ์ที่สั่นสะเทือน วงการคมนาคมไทย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินสองขบวน ชนกันที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จนทำให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน และกลายเป็นกรณีศึกษา เรื่องความปลอดภัย ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย เช้าวันที่ 17 มกราคม 2548 เวลา 9.15 น. ในชั่วโมงเร่งด่วน รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน ขบวนลาดพร้าว-หัวลำโพง หมายเลข 1015 ซึ่งบรรทุกผู้โดยสารกว่า 700 คน ได้จอดรับส่งผู้โดยสา รที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยมีนายวิภูติ จันทนภริน เป็นพนักงานขับรถ ระหว่างที่ขบวนกำลังจะเคลื่อนออกจากสถานี กลับเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน รถไฟฟ้าอีกขบวนหนึ่ง หมายเลข 1028 ซึ่งเป็นขบวนเปล่าสำหรับซ่อมบำรุง มีนายนิติพนธ์ นิธิโยสิยานนท์ เป็นพนักงานขับรถ ได้ไหลลงมาจากทางลาดชัน และพุ่งชนกับขบวนที่กำลังให้บริการ แรงชนทำให้หน้าขบวนรถ 1028 ยุบเข้าไปกว่า 70 เซนติเมตร อัดก๊อบปี้พนักงานขับรถ ติดคาซา ประตูฉุกเฉินของขบวน 1015 ไม่สามารถใช้งานได้ ส่งผลให้การอพยพผู้โดยสา รต้องรอกุญแจสำรองกว่า 10 นาที แรงจากการชน ส่งผลให้ผนังอุโมงค์ใต้ดินิพังถล่มลงมาทับขบวน 1015 ซึ่งสร้างแรงสั่นสะเทือนทั่วสถานี โชคดีที่ไม่มีผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้ แต่ผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ถูกนำส่งโรงพยาบาลพระราม 9 จำนวน 124 คน โรงพยาบาลกรุงเทพ 21 คน โรงพยาบาลราชวิถี 15 คน โรงพยาบาลตำรวจ 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดีรามคำแหง 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดี 11 คน โรงพยาบาลพระมงกุฏ 11 คน โรงพยาบาลเปาโลสยาม 11 คน โรงพยาบาลสมิติเวช 8 คน โรงพยาบาลเมโย 4 คน โรงพยาบาลปิยะเวท 3 คน โดยมีผู้บาดเจ็บสาหัสถึง 10 คน ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับบาดเจ็บ จากกระดูกแตก และแรงกระแทก สาเหตุที่แท้จริง เมื่อระบบและคน ทำงานผิดพลาดร่วมกัน หลังจากเหตุการณ์เกิดขึ้น มีการสืบสวนอย่างละเอียด ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน หลักฐานจากกล่องดำของรถไฟฟ้า เผยว่า การชนครั้งนี้ เกิดจากการผสมผสาน ความผิดพลาดของมนุษย์ และปัญหาของระบบควบคุมอัตโนมัติ 1. ความผิดพลาดในการควบคุมการเดินรถ รถไฟขบวน 1028 ซึ่งจอดอยู่ในศูนย์ซ่อมบำรุง ถูกสั่งปลดเบรกมือ ในขณะที่รถยังอยู่บนทางลาด เจ้าหน้าที่ควบคุมการเดินรถได้สั่งการให้ "ดัน" ขบวน 1028 เพื่อกลับเข้าสู่รางที่ 3 ซึ่งเป็นรางจ่ายไฟ การสั่งการดังกล่าวเกิดขึ้นโดยไม่ได้คำนึงถึงความเสี่ยง ที่รถอาจไหลลงมาด้วยความเร็วสูง 2. ปัญหาจากระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงเทพฯ ในขณะนั้น พึ่งพาระบบอัตโนมัติเป็นหลัก แต่กลับพบว่า เกิดการขัดข้องในระบบ ที่ทำให้การควบคุมทั้งสองขบวนรถ ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้ขบวนรถไฟฟ้า หลุดจากการควบคุม และไหลไปชน 3. การจัดการเบรก และการตัดสินใจที่ผิดพลาด รถไฟฟ้าขบวน 1028 ถูกสั่งปลดเบรกมือ โดยไม่ควบคุมความเร็ว ส่งผลให้รถพุ่งชนขบวน 1015 ที่กำลังจอดรับผู้โดยสาร รถไฟฟ้าใต้ดิน สายเฉลิมรัชมงคล หรือสายสีน้ำเงิน เปิดใช้เร็วกว่ากำหนดถึง 4 เดือน แต่วิ่งได้เพียง 2 วัน ก็เกิดอุบัติเหตุครั้งแรกขึ้น เมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2547 ที่สถานีคลองเตย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินออกจากสถานีหัวลำโพง มุ่งหน้าสถานีบางซื่อ เมื่อระบบเบรกล็อกเองอัตโนมัติ ทำให้ล้อยางเสียดสีกับยาง จนเกิดกลุ่มควันพวยพุ่ง สร้างความแตกตื่นให้กับผู้โดยสาร ต้องอพยพกันชุลมุน ต่อมาวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ก็เกิดเหตุการณ์​การจ่ายกระแสไฟฟ้าขัดข้อง ที่สถานีหัวลำโพงถึง 3 จุด ทำให้ไม่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้า ไปยังจุดสับเปลี่ยนรางได้ ทำให้ผู้โดยสารกว่าพันคน ต้องตกค้างที่สถานีสามย่าน และสถานีหัวลำโพง เหตุครั้งล่าสุดเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา 17 มกราคม 2548 รถไฟฟ้าใต้ดินขบวน 1028 พุ่งชนประสานงานขบวน 1015 ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ส่วนพนักงานขับรถขบวน 1028 บาดเจ็บสาหัส เรียกได้ว่าเปิดใช้งานมายังไม่ถึง 1 ปี ก็มาเกิดอุบัติเหตุเสียก่อน เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงแต่ส่งผล ต่อภาพลักษณ์ของระบบรถไฟฟ้าใต้ดิน แต่ยังทำให้เกิดการตั้งคำถาม ถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพ ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย 1. ความเชื่อมั่นของประชาชนที่ลดลง หลังจากเหตุการณ์นี้ ผู้โดยสารจำนวนมาก เริ่มมีความกังวล เกี่ยวกับความปลอดภัย ของการใช้บริการรถไฟฟ้าใต้ดิน ส่งผลให้จำนวนผู้ใช้บริการ ลดลงในช่วงเวลานั้น 2. การปรับปรุงมาตรการความปลอดภัย ตรวจสอบระบบควบคุมการเดินรถ หลังเหตุการณ์นี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามาเร่งตรวจสอบ ระบบความปลอดภัย ของรถไฟฟ้าใต้ดิน พนักงานควบคุมการเดินรถ และคนขับ รับการอบรมอย่างเข้มข้นมากขึ้น เพื่อป้องกันการเกิดข้อผิดพลาด ในอนาคต ผลการสอบสวนชี้ว่า เป็นความผิดพลาดของพนักงานควบคุมการเดินรถ ที่อนุญาตให้ปลดเบรกขบวนรถ 1028 ได้ แต่ก็เชื่อได้ว่า ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น เป็นเพราะระบบ ไม่ใช่คน เพราะระบบจะควบคุมทั้งหมด สามารถสั่งให้รถวิ่ง หรือหยุดก็ได้คนขับมีหน้าที่เดียว หรือกดเปิดปิดเครื่องเท่านั้น แต่จำเป็นต้องมีความพยายามเบี่ยงประเด็น ให้คนเป็นผู้รับผิดชอบ เพราะหากผลการสอบสอวนระบุว่า เกิดจากระบบ บริษัทที่เกี่ยวข้อง ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายทางแพ่ง จำนวนหลายพันล้านบาท ทั้งนี้ผ่านมา เคยเกิดเหตุ ขบวนรถที่กลับเข้าศูนย์ซ่อม หยุดที่บริเวณดังกล่าว 2-3 ครั้ง และก็มีการลากจูงเพื่อแก้ปัญหา โชคดีที่ไม่มีการปลดเบรก แต่ครั้งนี้พนักงานปลดเบรกมือ จึงทำให้รถไหลเข้าไปในอุโมงค์ จนชนกันขึ้น เหตุการณ์ชนกันของรถไฟใต้ดิน ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของความผิดพลาด แต่เป็นบทเรียนสำคัญ ที่ทำให้เราตระหนักถึงความสำคัญ ของมาตรฐานความปลอดภัย ในการขนส่งมวลชน 1. ความสำคัญของระบบสำรองฉุกเฉิน การที่ประตูฉุกเฉิน ไม่สามารถเปิดใช้งานได้ในทันที เป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน เหตุการณ์นี้ จึงนำไปสู่การปรับปรุง ระบบฉุกเฉินในรถไฟฟ้าทุกขบวน 2. การฝึกอบรม และการปฏิบัติตามมาตรฐาน พนักงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีความรู้ และการฝึกอบรมอย่างละเอียด ในทุกสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น 3. การพัฒนาระบบควบคุมอัตโนมัติ การพึ่งพาระบบอัตโนมัติอย่างเดียว ไม่เพียงพอ ต้องมีการตรวจสอบระบบ และอัปเดตเทคโนโลยี อย่างสม่ำเสมอ การรับมือในอนาคต ตรวจสอบระบบอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบระบบรถไฟฟ้า และศูนย์ซ่อมบำรุงเป็นประจำ เพิ่มอุปกรณ์ความปลอดภัย เช่น การติดตั้งระบบเบรกฉุกเฉิน ที่สามารถหยุดรถไฟได้ทันที ในกรณีฉุกเฉิน สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน การสื่อสารและรายงานความคืบหน้า เกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัย จะช่วยสร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ใช้บริการ เหตุการณ์รถไฟใต้ดินชนกัน เมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ถือเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญ ในประวัติศาสตร์ของระบบขนส่งมวลชนไทย แม้จะไม่มีผู้เสียชีวิต แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้น ก็เพียงพอที่จะทำให้เราตระหนักถึง ความสำคัญของมาตรการความปลอดภัย ที่เข้มงวดมากขึ้น การพัฒนา และปรับปรุงระบบขนส่งมวลชน ให้ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ จะเป็นสิ่งที่ช่วยลดโอกาส ในการเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ในอนาคต ได้อย่างแน่นอน ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 170912 ม.ค. 2568 #รถไฟใต้ดิน #เหตุการณ์สำคัญ #ความปลอดภัยในระบบขนส่ง #บทเรียนราคาแพง #ระบบควบคุมอัตโนมัติ #20ปีแห่งบทเรียน #เหตุรถไฟชนกัน #การพัฒนาระบบขนส่ง #มาตรการความปลอดภัย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 237 มุมมอง 0 รีวิว
  • 17/1/68

    รฟม. ขอประชาสัมพันธ์การปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี ในวันที่ 17 มกราคม 2568 ตั้งแต่เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป ตลอด 24 ชั่วโมง จนถึง 30 เมษายน 2571 เพื่อก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

    🟠 เตรียมพร้อมรับมือปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/15rUtGxURi/

    🟠 แนะนำเส้นทางเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/v/1BA1XvXuvi/

    🟠 แนะนำเส้นทางเดินเรือคลองแสนแสบเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/18j6e9tq12/

    โดยสามารถติดตามข่าวสารโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ ได้ที่
    👉 Facebook Fan Page : โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    17/1/68 รฟม. ขอประชาสัมพันธ์การปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี ในวันที่ 17 มกราคม 2568 ตั้งแต่เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป ตลอด 24 ชั่วโมง จนถึง 30 เมษายน 2571 เพื่อก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 🟠 เตรียมพร้อมรับมือปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/15rUtGxURi/ 🟠 แนะนำเส้นทางเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/v/1BA1XvXuvi/ 🟠 แนะนำเส้นทางเดินเรือคลองแสนแสบเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/18j6e9tq12/ โดยสามารถติดตามข่าวสารโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ ได้ที่ 👉 Facebook Fan Page : โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 90 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฝั่งธนยังต้องทน ก่อสร้างตลอดปี

    นับตั้งแต่ฝั่งธนบุรีมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก บนถนนพระรามที่ 2 และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน–ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) บนถนนสุขสวัสดิ์ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปก มาตั้งแต่ปี 2565 ทำการจราจรติดขัดทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็นแล้ว ในปี 2568 มีการก่อสร้างเพิ่มเติมทั้งทางยกระดับและรถไฟฟ้า คราวนี้กระทบโซนปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี ถึงถนนพุทธมณฑล สาย 4

    เริ่มจากโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 ม.ค.2568 เวลา 22.00 น. จะปิดสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชั่น และถนนสุทธาวาส เพื่อดำเนินงานก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ใช้เส้นทางนี้ระหว่างแยกพรานนก สถานีรถไฟธนบุรี ข้ามสะพานไปยังฝั่งถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชัน เพื่อไปออกถนนบรมราชชนนี สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ถึงถนนกาญจนาภิเษก ได้รับผลกระทบ

    โดยผู้รับจ้างจะรื้อถอนสะพานข้ามแยกดังกล่าวเพื่อก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ OR2 จากนั้นจะก่อสร้างสะพานทดแทน ในเดือน ธ.ค.2569 และคาดว่าจะเปิดใช้งานได้ในเดือน มิ.ย.2571 รวมระยะเวลาประมาณ 3 ปีครึ่ง

    อย่างต่อมา คือ การก่อสร้างส่วนต่อขยายทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ช่วงพุทธมณฑลสาย 3-พุทธมณฑลสาย 4 ระยะทางประมาณ 4.7 กิโลเมตร ปีงบประมาณ 2568 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 4,490 ล้านบาท แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 6 สัญญา ขณะนี้อยู่ในระหว่างการคำนวณราคากลาง

    อีกโครงการหนึ่ง คือ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) ทางยกระดับสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ช่วงบางขุนเทียน–บางบัวทอง (M9) ระยะทาง 38 กิโลเมตร พาดผ่านพื้นที่เขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา กทม. กับ อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ และ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี หลังคณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 3 ธ.ค.2567 คาดว่าจะเปิดประมูลปลายปี 2568 ใช้เวลาก่อสร้าง 4 ปี

    สำหรับส่วนต่อขยายถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ที่จะแบ่งเบาการจราจรถนนเพชรเกษม และถนนบรมราชชนนี ได้แก่ โครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2-ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,532 ล้านบาท ปัจจุบันคืบหน้าแล้ว 72.14% คาดว่าจะเปิดให้บริการเดือน มิ.ย.2568 และโครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 3-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 สิ้นสุดบริเวณตรงข้ามปากซอยกระทุ่มล้ม 9 อ.สามพราน จ.นครปฐม ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,299.90 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 720 วัน สิ้นสุดสัญญาเดือน ก.ย.2569

    #Newskit
    ฝั่งธนยังต้องทน ก่อสร้างตลอดปี นับตั้งแต่ฝั่งธนบุรีมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก บนถนนพระรามที่ 2 และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน–ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) บนถนนสุขสวัสดิ์ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปก มาตั้งแต่ปี 2565 ทำการจราจรติดขัดทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็นแล้ว ในปี 2568 มีการก่อสร้างเพิ่มเติมทั้งทางยกระดับและรถไฟฟ้า คราวนี้กระทบโซนปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี ถึงถนนพุทธมณฑล สาย 4 เริ่มจากโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 ม.ค.2568 เวลา 22.00 น. จะปิดสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชั่น และถนนสุทธาวาส เพื่อดำเนินงานก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ใช้เส้นทางนี้ระหว่างแยกพรานนก สถานีรถไฟธนบุรี ข้ามสะพานไปยังฝั่งถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชัน เพื่อไปออกถนนบรมราชชนนี สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ถึงถนนกาญจนาภิเษก ได้รับผลกระทบ โดยผู้รับจ้างจะรื้อถอนสะพานข้ามแยกดังกล่าวเพื่อก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ OR2 จากนั้นจะก่อสร้างสะพานทดแทน ในเดือน ธ.ค.2569 และคาดว่าจะเปิดใช้งานได้ในเดือน มิ.ย.2571 รวมระยะเวลาประมาณ 3 ปีครึ่ง อย่างต่อมา คือ การก่อสร้างส่วนต่อขยายทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ช่วงพุทธมณฑลสาย 3-พุทธมณฑลสาย 4 ระยะทางประมาณ 4.7 กิโลเมตร ปีงบประมาณ 2568 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 4,490 ล้านบาท แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 6 สัญญา ขณะนี้อยู่ในระหว่างการคำนวณราคากลาง อีกโครงการหนึ่ง คือ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) ทางยกระดับสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ช่วงบางขุนเทียน–บางบัวทอง (M9) ระยะทาง 38 กิโลเมตร พาดผ่านพื้นที่เขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา กทม. กับ อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ และ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี หลังคณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 3 ธ.ค.2567 คาดว่าจะเปิดประมูลปลายปี 2568 ใช้เวลาก่อสร้าง 4 ปี สำหรับส่วนต่อขยายถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ที่จะแบ่งเบาการจราจรถนนเพชรเกษม และถนนบรมราชชนนี ได้แก่ โครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2-ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,532 ล้านบาท ปัจจุบันคืบหน้าแล้ว 72.14% คาดว่าจะเปิดให้บริการเดือน มิ.ย.2568 และโครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 3-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 สิ้นสุดบริเวณตรงข้ามปากซอยกระทุ่มล้ม 9 อ.สามพราน จ.นครปฐม ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,299.90 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 720 วัน สิ้นสุดสัญญาเดือน ก.ย.2569 #Newskit
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 391 มุมมอง 0 รีวิว
  • BEM x SIEMENS เรารู้กันอยู่ 3 ตู้...3 ตู้เท่านั้น

    เมื่อไม่นานมานี้ กลุ่มบริษัทซีเมนส์ โมบิลิตี้ ประเทศเยอรมนี ได้รับการว่าจ้างจาก บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) หรือ CK และบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BEM ให้ดำเนินโครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) ของระบบเครื่องกลและไฟฟ้าในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร (MRT) สายสีส้ม บางขุนนนท์-มีนบุรี ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ 32 ขบวน รวมถึงการบูรณาการระบบเครื่องกลและไฟฟ้า พร้อมสัญญาซ่อมบำรุง

    และโครงการปรับปรุงรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน หลักสอง-ท่าพระ ระยะทาง 48 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้เพิ่มเติม 21 ขบวน รวมถึงการปรับปรุงระบบเครื่องกลและไฟฟ้าเดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถี่การเดินรถพร้อมสัญญาซ่อมบำรุง อีกทั้งยังได้เซ็นสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรสำหรับขบวนรถไฟใหม่ที่เพิ่มเติมมา รวมถึงการขยายสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรที่มีอยู่เดิม สิ้นสุดสัญญาในปี 2582

    มีคนสงสัยว่าทำไม BEM ยังคงใช้ขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ กับสายสีน้ำเงินและสายสีส้ม ทั้งๆ ที่คู่แข่งอย่างรถไฟฟ้าบีทีเอสได้เพิ่มตู้รถไฟฟ้าของซีเมนส์จากแบบ 3 ตู้ เป็น 4 ตู้ทั้ง 35 ขบวน ส่วนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงก็มีทั้ง 4 ตู้ต่อขบวน และ 6 ตู้ต่อขบวน คำตอบอย่างไม่เป็นทางการก็คือ ต้องไปแก้ไขระบบอาณัติสัญญาณ (Signaling) และประตูกั้นชานชาลา (PSD) ถ้าเพิ่มขบวนรถไม่ต้องแก้ไข และช่วยเพิ่มความถี่ให้ผู้โดยสารไม่ต้องรอนาน

    ในตอนหนึ่งการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น BEM ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2567 ชี้แจงว่าเนื่องจากสายทางของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออก (ศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี) มีจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสถานีร่วม ดังนั้นเมื่อรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออกเปิดให้บริการในปี 2571 จะส่งต่อผู้โดยสารจำนวนมากเข้าสู่รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ

    บริษัทฯ จึงจำเป็นต้องจัดหาขบวนรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มเติมอีก 21 ขบวน และปรับปรุงระบบที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับการให้บริการทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีแนวทางในการจัดซื้อขบวนรถไฟฟ้าแบบ 3 ตู้ประกอบต่อขบวน ซึ่งจะสามารถเพิ่มความถี่ในการให้บริการมากขึ้น มีความยืดหยุ่นได้ตลอดเส้นทาง ไม่เกิดผลกระทบต่อการให้บริการเดินรถในช่วงปรับปรุงระบบรถไฟฟ้า

    อนึ่ง ปัจจุบันรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงินมีทั้งหมด 54 ขบวน แบ่งเป็นรถไฟฟ้ารุ่นแรก 19 ขบวน และรถไฟฟ้ารุ่นใหม่ 35 ขบวน ขบวนละ 3 ตู้ หากมีขบวนรถไฟฟ้าเพิ่มเติม 21 ขบวน จะทำให้มีรถไฟฟ้ารวม 75 ขบวน

    #Newskit
    BEM x SIEMENS เรารู้กันอยู่ 3 ตู้...3 ตู้เท่านั้น เมื่อไม่นานมานี้ กลุ่มบริษัทซีเมนส์ โมบิลิตี้ ประเทศเยอรมนี ได้รับการว่าจ้างจาก บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) หรือ CK และบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BEM ให้ดำเนินโครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) ของระบบเครื่องกลและไฟฟ้าในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร (MRT) สายสีส้ม บางขุนนนท์-มีนบุรี ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ 32 ขบวน รวมถึงการบูรณาการระบบเครื่องกลและไฟฟ้า พร้อมสัญญาซ่อมบำรุง และโครงการปรับปรุงรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน หลักสอง-ท่าพระ ระยะทาง 48 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้เพิ่มเติม 21 ขบวน รวมถึงการปรับปรุงระบบเครื่องกลและไฟฟ้าเดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถี่การเดินรถพร้อมสัญญาซ่อมบำรุง อีกทั้งยังได้เซ็นสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรสำหรับขบวนรถไฟใหม่ที่เพิ่มเติมมา รวมถึงการขยายสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรที่มีอยู่เดิม สิ้นสุดสัญญาในปี 2582 มีคนสงสัยว่าทำไม BEM ยังคงใช้ขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ กับสายสีน้ำเงินและสายสีส้ม ทั้งๆ ที่คู่แข่งอย่างรถไฟฟ้าบีทีเอสได้เพิ่มตู้รถไฟฟ้าของซีเมนส์จากแบบ 3 ตู้ เป็น 4 ตู้ทั้ง 35 ขบวน ส่วนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงก็มีทั้ง 4 ตู้ต่อขบวน และ 6 ตู้ต่อขบวน คำตอบอย่างไม่เป็นทางการก็คือ ต้องไปแก้ไขระบบอาณัติสัญญาณ (Signaling) และประตูกั้นชานชาลา (PSD) ถ้าเพิ่มขบวนรถไม่ต้องแก้ไข และช่วยเพิ่มความถี่ให้ผู้โดยสารไม่ต้องรอนาน ในตอนหนึ่งการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น BEM ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2567 ชี้แจงว่าเนื่องจากสายทางของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออก (ศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี) มีจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสถานีร่วม ดังนั้นเมื่อรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออกเปิดให้บริการในปี 2571 จะส่งต่อผู้โดยสารจำนวนมากเข้าสู่รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ บริษัทฯ จึงจำเป็นต้องจัดหาขบวนรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มเติมอีก 21 ขบวน และปรับปรุงระบบที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับการให้บริการทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีแนวทางในการจัดซื้อขบวนรถไฟฟ้าแบบ 3 ตู้ประกอบต่อขบวน ซึ่งจะสามารถเพิ่มความถี่ในการให้บริการมากขึ้น มีความยืดหยุ่นได้ตลอดเส้นทาง ไม่เกิดผลกระทบต่อการให้บริการเดินรถในช่วงปรับปรุงระบบรถไฟฟ้า อนึ่ง ปัจจุบันรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงินมีทั้งหมด 54 ขบวน แบ่งเป็นรถไฟฟ้ารุ่นแรก 19 ขบวน และรถไฟฟ้ารุ่นใหม่ 35 ขบวน ขบวนละ 3 ตู้ หากมีขบวนรถไฟฟ้าเพิ่มเติม 21 ขบวน จะทำให้มีรถไฟฟ้ารวม 75 ขบวน #Newskit
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 510 มุมมอง 0 รีวิว
  • รฟม.ย้ำ 15 พฤศจิกายนนี้โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ เริ่มปิดเบี่ยงจราจร 1 ช่องทาง ส่วนสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ สะพานข้ามแยกประตูน้ำ และสะพานข้ามแยกราชเทวี ประชาชนยังสัญจรได้ตามปกติ

    ตามที่สื่อสังคมออนไลน์ได้มีการนำเสนอข่าวโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จะเริ่มดำเนินการปิดเบี่ยงจราจรเพื่อรื้อถอนสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ สะพานข้ามแยกประตูน้ำ และสะพานข้ามแยกราชเทวี ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 นั้น

    การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ขอเรียนข้อเท็จจริงว่า ปัจจุบัน บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) หรือ CK ในฐานะผู้รับจ้างของ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (ผู้ร่วมลงทุน) หรือ BEM มีกำหนดจะเริ่มปิดเบี่ยงจราจรในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง 5 สถานีแรก ได้แก่ สถานีบางขุนนนท์ สถานีศิริราช สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สถานียมราช และสถานีประตูน้ำ ตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 เวลา 22.00 น.เป็นต้นไป เพื่อดำเนินงานรื้อย้ายสาธารณูปโภคเป็นลำดับแรก โดยจะดำเนินการปิดเบี่ยงจราจรชิดทางเท้า 1 ช่องจราจร ยกเว้นสถานีศิริราช จะเป็นการจัดการจราจรในพื้นที่ก่อสร้างที่ไม่ส่งผลกระทบต่อช่องจราจร สำหรับสถานีส่วนที่เหลือจะดำเนินการปิดเบี่ยงจราจรในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน 2567

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/business/detail/9670000109231

    #MGROnline #โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ
    รฟม.ย้ำ 15 พฤศจิกายนนี้โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ เริ่มปิดเบี่ยงจราจร 1 ช่องทาง ส่วนสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ สะพานข้ามแยกประตูน้ำ และสะพานข้ามแยกราชเทวี ประชาชนยังสัญจรได้ตามปกติ • ตามที่สื่อสังคมออนไลน์ได้มีการนำเสนอข่าวโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จะเริ่มดำเนินการปิดเบี่ยงจราจรเพื่อรื้อถอนสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ สะพานข้ามแยกประตูน้ำ และสะพานข้ามแยกราชเทวี ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 นั้น • การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ขอเรียนข้อเท็จจริงว่า ปัจจุบัน บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) หรือ CK ในฐานะผู้รับจ้างของ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (ผู้ร่วมลงทุน) หรือ BEM มีกำหนดจะเริ่มปิดเบี่ยงจราจรในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง 5 สถานีแรก ได้แก่ สถานีบางขุนนนท์ สถานีศิริราช สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สถานียมราช และสถานีประตูน้ำ ตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 เวลา 22.00 น.เป็นต้นไป เพื่อดำเนินงานรื้อย้ายสาธารณูปโภคเป็นลำดับแรก โดยจะดำเนินการปิดเบี่ยงจราจรชิดทางเท้า 1 ช่องจราจร ยกเว้นสถานีศิริราช จะเป็นการจัดการจราจรในพื้นที่ก่อสร้างที่ไม่ส่งผลกระทบต่อช่องจราจร สำหรับสถานีส่วนที่เหลือจะดำเนินการปิดเบี่ยงจราจรในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน 2567 • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/business/detail/9670000109231 • #MGROnline #โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 550 มุมมอง 0 รีวิว
  • พิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เนื่องในโอกาสครบรอบ 37 ปี ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    โดยมี คุณสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานพิธี
    ทั้งนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ดำเนินการจัดตั้งเมื่อ วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุ่น และเปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2530 ปัจจุบันให้เป็นหน่วยงานในสังกัดสถาบันวัฒนธรรมศึกษา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภายในศูนย์ฯ ประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ เช่น หอประชุมใหญ่และเล็ก โรงละคร ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการภาษา และห้องโสตทัศนูปกรณ์ เป็นต้น ส่วน "หอไทยนิทัศน์" ตั้งอยู่บนชั้น 2 ของอาคารนิทรรศการและการศึกษา นอกจากนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยยังสามารถรองรับการจัดแสดงนิทรรศการ และการแสดงต่าง ๆ ได้อีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นคอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่รองรับการจัดประชุมสัมมนาทั้งระดับชาติ และนานาชาติอีกด้วย

    #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #ครบรอบ #ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #ศรีวัฒนธรรม #สยามโสภา #thaitimes #วัฒนธรรม
    พิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เนื่องในโอกาสครบรอบ 37 ปี ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยมี คุณสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานพิธี ทั้งนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ดำเนินการจัดตั้งเมื่อ วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุ่น และเปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2530 ปัจจุบันให้เป็นหน่วยงานในสังกัดสถาบันวัฒนธรรมศึกษา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภายในศูนย์ฯ ประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ เช่น หอประชุมใหญ่และเล็ก โรงละคร ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการภาษา และห้องโสตทัศนูปกรณ์ เป็นต้น ส่วน "หอไทยนิทัศน์" ตั้งอยู่บนชั้น 2 ของอาคารนิทรรศการและการศึกษา นอกจากนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยยังสามารถรองรับการจัดแสดงนิทรรศการ และการแสดงต่าง ๆ ได้อีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นคอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่รองรับการจัดประชุมสัมมนาทั้งระดับชาติ และนานาชาติอีกด้วย #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #ครบรอบ #ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #ศรีวัฒนธรรม #สยามโสภา #thaitimes #วัฒนธรรม
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 527 มุมมอง 68 0 รีวิว
  • พระราชินี เสด็จฯ ทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็ง ‘สวอนเลค ออน ไอซ์’ รอบเยาวชน

    เมื่อเวลา 13.05 น. วันที่ 27 กันยายน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่ง จากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็งรอบเยาวชน เรื่อง “สวอนเลค ออน ไอซ์” (Swan Lake On Ice) โดยคณะ “เดอะ อิมพีเรียล ไอซ์ สตาร์” (The Imperial Ice Stars) จากสหราชอาณาจักร อันเป็นการแสดงในโครงการเพื่อเยาวชน (Student Outreach Program) ในงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    พระราชินี เสด็จฯ ทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็ง ‘สวอนเลค ออน ไอซ์’ รอบเยาวชน เมื่อเวลา 13.05 น. วันที่ 27 กันยายน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่ง จากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็งรอบเยาวชน เรื่อง “สวอนเลค ออน ไอซ์” (Swan Lake On Ice) โดยคณะ “เดอะ อิมพีเรียล ไอซ์ สตาร์” (The Imperial Ice Stars) จากสหราชอาณาจักร อันเป็นการแสดงในโครงการเพื่อเยาวชน (Student Outreach Program) ในงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 363 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระราชินี เสด็จฯ ทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็ง ‘สวอนเลค ออน ไอซ์’ รอบเยาวชน

    เมื่อเวลา 13.05 น. วันที่ 27 กันยายน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่ง จากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็งรอบเยาวชน เรื่อง “สวอนเลค ออน ไอซ์” (Swan Lake On Ice) โดยคณะ “เดอะ อิมพีเรียล ไอซ์ สตาร์” (The Imperial Ice Stars) จากสหราชอาณาจักร อันเป็นการแสดงในโครงการเพื่อเยาวชน (Student Outreach Program) ในงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    พระราชินี เสด็จฯ ทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็ง ‘สวอนเลค ออน ไอซ์’ รอบเยาวชน เมื่อเวลา 13.05 น. วันที่ 27 กันยายน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่ง จากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็งรอบเยาวชน เรื่อง “สวอนเลค ออน ไอซ์” (Swan Lake On Ice) โดยคณะ “เดอะ อิมพีเรียล ไอซ์ สตาร์” (The Imperial Ice Stars) จากสหราชอาณาจักร อันเป็นการแสดงในโครงการเพื่อเยาวชน (Student Outreach Program) ในงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    Like
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 553 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระราชินี เสด็จฯ ทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็ง ‘สวอนเลค ออน ไอซ์’ รอบเยาวชน 

    เมื่อเวลา 13.05 น. วันที่ 27 กันยายน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่ง จากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็งรอบเยาวชน เรื่อง “สวอนเลค ออน ไอซ์” (Swan Lake On Ice) โดยคณะ “เดอะ อิมพีเรียล ไอซ์ สตาร์” (The Imperial Ice Stars) จากสหราชอาณาจักร อันเป็นการแสดงในโครงการเพื่อเยาวชน (Student Outreach Program) ในงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    พระราชินี เสด็จฯ ทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็ง ‘สวอนเลค ออน ไอซ์’ รอบเยาวชน  เมื่อเวลา 13.05 น. วันที่ 27 กันยายน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่ง จากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปทอดพระเนตรการแสดงสเก็ตน้ำแข็งรอบเยาวชน เรื่อง “สวอนเลค ออน ไอซ์” (Swan Lake On Ice) โดยคณะ “เดอะ อิมพีเรียล ไอซ์ สตาร์” (The Imperial Ice Stars) จากสหราชอาณาจักร อันเป็นการแสดงในโครงการเพื่อเยาวชน (Student Outreach Program) ในงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    Like
    12
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 540 มุมมอง 0 รีวิว
  • งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เฉลิมพระเกียรติ “บัลเลต์สวอนเลค” วันที่ 13 -15 ก.ย.2567 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 (Bangkok’s 26th International Festival of Dance & Music) ที่จัดขึ้นต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2542 ในครั้งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงสืบสาน รักษา และต่อยอด พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในการเปิดโลกทัศน์ให้กับคนไทย ด้วยศิลปะระดับโลกผ่านการแสดงแขนงต่าง ๆ เช่น บัลเลต์ การเต้นร่วมสมัย รวมไปถึงดนตรีคลาสสิก ระหว่างวันที่ 7 กันยายนถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2567 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    ขอเชิญรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
    เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงบัลเลย์ งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เรื่องสวอนเลค ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันศุกร์ที่
    13 กันยายน 2567 สำหรับการแสดงสวอนเลค (Swan Lake by Bolshoi Ballet) ของคณะบัลเลต์ชั้นนำจากมอสโกที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก ได้เปิดการแสดงเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย จัดเต็มกับนักแสดงกว่า 170 ชีวิต พร้อมวงออร์เคสตราบรรเลงสด เพื่อการแสดง Swan Lake บัลเลต์ยอดนิยมสูงสุดตลอดกาล ที่ถือกำเนิด ณ บอลชอยบัลเลต์เมื่อเกือบ 150 ปีมาแล้ว เรื่องราวของ Swan Lake ได้แรงบันดาลใจมาจากนิทานพื้นบ้านทางฝั่งเยอรมันและรัสเซีย เล่าถึงซิคฟรีด เจ้าชายหนุ่มรูปงามที่เพิ่งอายุเต็ม 21 ปี มารดาของพระองค์อยากให้ลูกชายสมรสเป็นฝั่งเป็นฝา ซิคฟรีดไม่อยากมีครอบครัว ชอบที่จะผจญภัยในป่า เขาพบกับโอเด็ต – สาวงามผู้ต้องคำสาปให้กลายเป็นหงส์ สิ่งเดียวที่จะทำลายคำสาปได้คือคำสัญญาแห่งรักแท้จากชายผู้ไม่เคยรักใครมาก่อน ซีคฟรีดชวนโอเด็ตมางานเต้นรำเลือกคู่ของพระองค์ เพื่อจะได้ทรงกล่าวสัญญารัก แต่กลับถูกพ่อมดรอธบาร์ตซ้อนแผน เปลี่ยนให้ลูกสาวมีรูปกายเหมือนโอเด็ต ซีดฟรีดเข้าใจผิดจึงสาบานรักกับเธอแทน โอเด็ตใจสลาย คำสาปของเธอไม่อาจถอนได้อีก เธอจึงเลือกกระโดดลงหน้าผาเพื่อจบชีวิต ซีคฟรีดกระโดดตามลงไป ทั้งคู่ได้ครองรักกันบนสวรรค์และด้วยการเสียสละของทั้งสอง คำสาปของพ่อมดจึงสลาย หงส์ตัวอื่นในทะเลสาบกลับมาอยู่ในร่างของมนุษย์

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดชัยนาท กรมประชาสัมพันธ์
    งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เฉลิมพระเกียรติ “บัลเลต์สวอนเลค” วันที่ 13 -15 ก.ย.2567 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 (Bangkok’s 26th International Festival of Dance & Music) ที่จัดขึ้นต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2542 ในครั้งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงสืบสาน รักษา และต่อยอด พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในการเปิดโลกทัศน์ให้กับคนไทย ด้วยศิลปะระดับโลกผ่านการแสดงแขนงต่าง ๆ เช่น บัลเลต์ การเต้นร่วมสมัย รวมไปถึงดนตรีคลาสสิก ระหว่างวันที่ 7 กันยายนถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2567 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ขอเชิญรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงบัลเลย์ งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เรื่องสวอนเลค ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันศุกร์ที่ 13 กันยายน 2567 สำหรับการแสดงสวอนเลค (Swan Lake by Bolshoi Ballet) ของคณะบัลเลต์ชั้นนำจากมอสโกที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก ได้เปิดการแสดงเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย จัดเต็มกับนักแสดงกว่า 170 ชีวิต พร้อมวงออร์เคสตราบรรเลงสด เพื่อการแสดง Swan Lake บัลเลต์ยอดนิยมสูงสุดตลอดกาล ที่ถือกำเนิด ณ บอลชอยบัลเลต์เมื่อเกือบ 150 ปีมาแล้ว เรื่องราวของ Swan Lake ได้แรงบันดาลใจมาจากนิทานพื้นบ้านทางฝั่งเยอรมันและรัสเซีย เล่าถึงซิคฟรีด เจ้าชายหนุ่มรูปงามที่เพิ่งอายุเต็ม 21 ปี มารดาของพระองค์อยากให้ลูกชายสมรสเป็นฝั่งเป็นฝา ซิคฟรีดไม่อยากมีครอบครัว ชอบที่จะผจญภัยในป่า เขาพบกับโอเด็ต – สาวงามผู้ต้องคำสาปให้กลายเป็นหงส์ สิ่งเดียวที่จะทำลายคำสาปได้คือคำสัญญาแห่งรักแท้จากชายผู้ไม่เคยรักใครมาก่อน ซีคฟรีดชวนโอเด็ตมางานเต้นรำเลือกคู่ของพระองค์ เพื่อจะได้ทรงกล่าวสัญญารัก แต่กลับถูกพ่อมดรอธบาร์ตซ้อนแผน เปลี่ยนให้ลูกสาวมีรูปกายเหมือนโอเด็ต ซีดฟรีดเข้าใจผิดจึงสาบานรักกับเธอแทน โอเด็ตใจสลาย คำสาปของเธอไม่อาจถอนได้อีก เธอจึงเลือกกระโดดลงหน้าผาเพื่อจบชีวิต ซีคฟรีดกระโดดตามลงไป ทั้งคู่ได้ครองรักกันบนสวรรค์และด้วยการเสียสละของทั้งสอง คำสาปของพ่อมดจึงสลาย หงส์ตัวอื่นในทะเลสาบกลับมาอยู่ในร่างของมนุษย์ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดชัยนาท กรมประชาสัมพันธ์
    Love
    Like
    7
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 849 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    🗓️ วันศุกร์ที่ 13 กันยายน
    เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค”
    ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    🗓️ วันอังคารที่ 24 กันยายน
    วันมหิดล
    ณ โรงพยาบาลศิริราช

    🗓️วันเสาร์ที่ 28 กันยายน
    เสด็จฯ ปัตตานี

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี
    #หมายกำหนดการ 🗓️ วันศุกร์ที่ 13 กันยายน เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 🗓️ วันอังคารที่ 24 กันยายน วันมหิดล ณ โรงพยาบาลศิริราช 🗓️วันเสาร์ที่ 28 กันยายน เสด็จฯ ปัตตานี #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี
    Love
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 600 มุมมอง 0 รีวิว
  • #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    พระราชินี ณ หอประชุมใหญ่
    ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    Love
    Like
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 410 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    🗓️ วันศุกร์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๗
    ในหลวง พระราชินี เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” เปิดงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ ๒๖
    เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบฯ
    ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี
    #หมายกำหนดการ 🗓️ วันศุกร์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๗ ในหลวง พระราชินี เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” เปิดงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ ๒๖ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบฯ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 578 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    🗓️ วันศุกร์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๗
    เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” เปิดงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ ๒๖ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบฯ

    ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    🗓️ วันอังคารที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗
    เสด็จฯ ไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในวันมหิดล พุทธศักราช ๒๕๖๗

    ณ โรงพยาบาลศิริราช

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Cr. FB : ประชาภักดิ์พิทักษ์สถาบัน
    #หมายกำหนดการ 🗓️ วันศุกร์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๗ เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” เปิดงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ ๒๖ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบฯ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 🗓️ วันอังคารที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เสด็จฯ ไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในวันมหิดล พุทธศักราช ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา Cr. FB : ประชาภักดิ์พิทักษ์สถาบัน
    Like
    Love
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 670 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวดี ! สำหรับแฟนโจหลุยส์ ที่กำลังรอชมการแสดงสดของพวกเราในปีนี้

    เตรียมตัวพบกันในวันเสาร์ที่ 24 สิงหาคม 2567 ณ หอประชุมเล็ก ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เริ่มลงทะเบียนรับบัตรชมการแสดงฟรีในเพจ 16-22 สิงหาคม 67

    หุ่นละครเล็ก โจหลุยส์ Fan Page
    https://facebook.com/joelouistheatre
    ข่าวดี ! สำหรับแฟนโจหลุยส์ ที่กำลังรอชมการแสดงสดของพวกเราในปีนี้ เตรียมตัวพบกันในวันเสาร์ที่ 24 สิงหาคม 2567 ณ หอประชุมเล็ก ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เริ่มลงทะเบียนรับบัตรชมการแสดงฟรีในเพจ 16-22 สิงหาคม 67 หุ่นละครเล็ก โจหลุยส์ Fan Page https://facebook.com/joelouistheatre
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 571 มุมมอง 0 รีวิว
  • มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขอเชิญชมการแสดงโขนมูลนิธิศิลปาชีพฯ ตอน "พระจักราวตาร" ๗ พฤศจิกายน - ๘ ธันวาคม ๒๕๖๗ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เปิดจำหน่ายบัตรทางไทยทิคเก็ตฯ โทร. ๐-๒๒๖๒-๓๔๕๖

    #Thaitimes
    มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขอเชิญชมการแสดงโขนมูลนิธิศิลปาชีพฯ ตอน "พระจักราวตาร" ๗ พฤศจิกายน - ๘ ธันวาคม ๒๕๖๗ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เปิดจำหน่ายบัตรทางไทยทิคเก็ตฯ โทร. ๐-๒๒๖๒-๓๔๕๖ #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 256 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ 23 กรกฎาคม 2567
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร “มาดามบัตเตอร์ฟลาย” (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567
    ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    https://www.royaloffice.th/2024/07/24/%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%9a%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b9%80%e0%b8%95%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%9f%e0%b8%a5%e0%b8%b2%e0%b8%a2/
    วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร “มาดามบัตเตอร์ฟลาย” (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา https://www.royaloffice.th/2024/07/24/%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%9a%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b9%80%e0%b8%95%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%9f%e0%b8%a5%e0%b8%b2%e0%b8%a2/
    Love
    2
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 407 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ 23 กรกฎาคม 2567
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร “มาดามบัตเตอร์ฟลาย” (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Cr. https://www.royaloffice.th/2024/07/24/%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%9a%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b9%80%e0%b8%95%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%9f%e0%b8%a5%e0%b8%b2%e0%b8%a2/
    วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร “มาดามบัตเตอร์ฟลาย” (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา Cr. https://www.royaloffice.th/2024/07/24/%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%9a%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b9%80%e0%b8%95%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%9f%e0%b8%a5%e0%b8%b2%e0%b8%a2/
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 326 มุมมอง 0 รีวิว
  • 23 กรกฎาคม 2567
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม
    ในการนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา องค์อุปถัมภ์มูลนิธิรอยัลแบงค์คอกชิมโฟนีออร์เคสตร้า และองค์ประธานจัดงานการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) ฯ ทรงเฝ้าฯ รับเสด็จ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    23 กรกฎาคม 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม ในการนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา องค์อุปถัมภ์มูลนิธิรอยัลแบงค์คอกชิมโฟนีออร์เคสตร้า และองค์ประธานจัดงานการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) ฯ ทรงเฝ้าฯ รับเสด็จ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 414 มุมมอง 0 รีวิว
  • รถยนต์พระที่นั่ง Mercedes-Benz 600 Landulet หมายเลขทะเบียน ร.ย.ล.9 สนองเบื้องพระยุคลบาท ในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly)เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม 2567
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : HappyBanz
    รถยนต์พระที่นั่ง Mercedes-Benz 600 Landulet หมายเลขทะเบียน ร.ย.ล.9 สนองเบื้องพระยุคลบาท ในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly)เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม 2567 #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : HappyBanz
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 351 มุมมอง 0 รีวิว
  • 23 กรกฎาคม 2567
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม
    ในการนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา องค์อุปถัมภ์มูลนิธิรอยัลแบงค์คอกชิมโฟนีออร์เคสตร้า และองค์ประธานจัดงานการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) ฯ ทรงเฝ้าฯ รับเสด็จ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน
    23 กรกฎาคม 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม ในการนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา องค์อุปถัมภ์มูลนิธิรอยัลแบงค์คอกชิมโฟนีออร์เคสตร้า และองค์ประธานจัดงานการแสดงอุปรากร "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" (Madama Butterfly) ฯ ทรงเฝ้าฯ รับเสด็จ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 469 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    🗓️วันเสาร์ 20 กรกฎาคม 2567
    วันอาสาฬหบูชา

    🗓️ วันอาทิตย์ 21 กรกฎาคม
    เสด็จฯ เปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้ว

    🗓️ วันอังคาร 23 กรกฎาคม 2567
    ทอดพระเนตร มหาอุปรากร
    Madame Butterfly
    ณ หอประชุมใหญ่
    ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    #หมายกำหนดการ 🗓️วันเสาร์ 20 กรกฎาคม 2567 วันอาสาฬหบูชา 🗓️ วันอาทิตย์ 21 กรกฎาคม เสด็จฯ เปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้ว 🗓️ วันอังคาร 23 กรกฎาคม 2567 ทอดพระเนตร มหาอุปรากร Madame Butterfly ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Yay
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 446 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปฐมบทรถไฟฟ้าสายสีส้ม

    ฤกษ์งามยามดีดิถีเพ็ญ 18 กรกฎาคม 2567 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) จะลงนามสัญญาร่วมลงทุนกับ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ผู้ชนะการคัดเลือกโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม หลังเสนอค่าก่อสร้างช่วงบางขุนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 95,432.04 ล้านบาท และเสนอผลตอบแทนให้ รฟม. 10,000 ล้านบาท

    ทั้งนี้ รฟม.และ BEM มีแผนที่จะเปิดให้บริการช่วง ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-มีนบุรี 17 สถานี ระยะทาง 22.5 กิโลเมตร ที่งานโยธาแล้วเสร็จ ภายในเดือนพฤษภาคม 2571 แต่จะเจรจากับ BEM ให้เปิดบริการก่อนกำหนดต้นปี 2571

    ส่วนช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 11 สถานี ระยะทาง 13.4 กิโลเมตร โครงสร้างใต้ดินตลอดสาย จะมีการก่อสร้างงานโยธา โดย รฟม. มีแผนที่จะเปิดให้บริการในเดือนพฤศจิกายน 2573 ซึ่งจะทำให้แนวเส้นทางเชื่อมระหว่างกรุงเทพมหานครทิศตะวันออกกับทิศตะวันตก ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร

    โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม เริ่มก่อสร้างงานโยธาช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-มีนบุรี มาตั้งแต่ปี 2560 แล้วเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน 2566 แต่ยังไม่สามารถเปิดให้บริการได้ เนื่องจากมีคดีในศาลปกครองหลายคดี กรณีประกาศเชิญชวนเอกชนร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน (PPP) ก่อนปรับหลักเกณฑ์ ยกเลิกประมูลครั้งแรก แล้วจัดประมูลใหม่อีกรอบ

    กระทั่งวันที่ 12 มิถุนายน 2567 ศาลปกครองสูงสุดพิพากษายืนยกฟ้อง คดีที่กลุ่มบริษัทบีทีเอสฟ้อง รฟม. โดยยืนยันว่าการประมูลโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี ครั้งที่ 2 ชอบด้วยกฎหมายแล้ว กระทั่งที่ประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 กรกฎาคม 2567 เห็นชอบผลการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุน (PPP) ดังกล่าว

    #Newskit #รถไฟฟ้าสายสีส้ม #MRTOrangeLine
    ปฐมบทรถไฟฟ้าสายสีส้ม ฤกษ์งามยามดีดิถีเพ็ญ 18 กรกฎาคม 2567 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) จะลงนามสัญญาร่วมลงทุนกับ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ผู้ชนะการคัดเลือกโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม หลังเสนอค่าก่อสร้างช่วงบางขุนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 95,432.04 ล้านบาท และเสนอผลตอบแทนให้ รฟม. 10,000 ล้านบาท ทั้งนี้ รฟม.และ BEM มีแผนที่จะเปิดให้บริการช่วง ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-มีนบุรี 17 สถานี ระยะทาง 22.5 กิโลเมตร ที่งานโยธาแล้วเสร็จ ภายในเดือนพฤษภาคม 2571 แต่จะเจรจากับ BEM ให้เปิดบริการก่อนกำหนดต้นปี 2571 ส่วนช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 11 สถานี ระยะทาง 13.4 กิโลเมตร โครงสร้างใต้ดินตลอดสาย จะมีการก่อสร้างงานโยธา โดย รฟม. มีแผนที่จะเปิดให้บริการในเดือนพฤศจิกายน 2573 ซึ่งจะทำให้แนวเส้นทางเชื่อมระหว่างกรุงเทพมหานครทิศตะวันออกกับทิศตะวันตก ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม เริ่มก่อสร้างงานโยธาช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-มีนบุรี มาตั้งแต่ปี 2560 แล้วเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน 2566 แต่ยังไม่สามารถเปิดให้บริการได้ เนื่องจากมีคดีในศาลปกครองหลายคดี กรณีประกาศเชิญชวนเอกชนร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน (PPP) ก่อนปรับหลักเกณฑ์ ยกเลิกประมูลครั้งแรก แล้วจัดประมูลใหม่อีกรอบ กระทั่งวันที่ 12 มิถุนายน 2567 ศาลปกครองสูงสุดพิพากษายืนยกฟ้อง คดีที่กลุ่มบริษัทบีทีเอสฟ้อง รฟม. โดยยืนยันว่าการประมูลโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี ครั้งที่ 2 ชอบด้วยกฎหมายแล้ว กระทั่งที่ประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 กรกฎาคม 2567 เห็นชอบผลการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุน (PPP) ดังกล่าว #Newskit #รถไฟฟ้าสายสีส้ม #MRTOrangeLine
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 734 มุมมอง 0 รีวิว