• วันนี้คุยกันต่อเกี่ยวกับวัฒนธรรมในยุคสมัยราชวงศ์ซ่ง ซึ่งเป็นยุคสมัยที่ศิลปะชั้นสูงหลายแขนงถูกเผยแพร่สู่ประชาชนในวงกว้าง

    จาก ‘บันทึกเมิ่งเหลียง’ มีศิลปะสี่แขนงที่ถูกยกย่องว่าเป็นสิ่งที่ ‘ต้องมี’ ในผู้ที่มีการศึกษาในสมัยซ่ง ซึ่งก็คือ การเผาผงหอม การเตี่ยนฉา (การชงชาแบบซ่งที่ Storyฯ เขียนถึงไปแล้วเมื่อก่อนปีใหม่) การเขียนภาพ และการจัดดอกไม้ ทั้งหมดล้วนเป็นศิลปะที่ชาวซ่งมองว่าฝึกให้คนใจเย็น ใครที่ได้ดูละครเรื่อง <ตำนานหมิงหลัน> จะเห็นการผสมดินและถ่านเพื่อเผาผงหอมในตอนที่มีครูแม่บ้านมาจากในวังมาสอนให้กับพี่น้องตระกูลเสิ้ง

    ความมีอยู่ว่า
    ... “ที่วางอยู่ข้างๆ พวกเจ้าล้วนเป็นผงไม้กฤษณาอย่างดี หากบังคับแรงไฟได้ดี ก้อนเล็กเพียงเท่าเล็บยังสามารถเผาได้นานถึงสองชั่วยาม (สี่ชั่วโมง) กลิ่นกรุ่นมิจาง...
    - ถอดบทสนทนาจากละครเรื่อง <ตำนานหมิงหลัน> (แต่ Storyฯ แปลเองจ้า)

    สมัยซ่งนั้นเป็นการเผาผงหอม เรียกว่าเฝินเซียง (焚香) ส่วนผสมที่ใช้หลากหลาย เช่นไม้กฤษณา ไม้จันทน์ พิมเสน กำยาน ตะไคร้ ลูกกระวาน เม็ดพริกไทย ฯลฯ มีการค้นคว้าสูตรผสมจัดเป็นตำราสูตรเครื่องหอม (ตัวอย่างสูตรรูปสองซ้ายบน) ทั้งเพื่อความจรรโลงใจและทั้งเพื่อสรรพคุณทางยา โดยเครื่องหอมที่ปรุงเสร็จก็จัดทำขึ้นหลากหลายรูปแบบ ทั้งอัดเม็ด อัดแผ่นบาง อัดแผ่นหนาห้อยติดกาย หรือเป็นแบบผง

    ในสมัยนั้น เครื่องหอมที่มีชื่อที่สุด แพงที่สุด (มีค่าเทียบเท่าทองคำ) และใช้ในวังเป็นหลักคือ ‘หลงเสียนเซียง’ (龙涎香) แปลตรงตัวว่าเครื่องหอมจากน้ำลายมังกร แต่จริงๆ แล้วมันเกิดจากการสำรอกหรือขับถ่ายจากปลาวาฬหัวทุย หลังถูกน้ำทะเลและแสงแดดหล่อหลอมนานปีจนเป็นก้อนไขมันหน้าตาคล้ายหินอ่อนก็จะมีกลิ่นหอม หรือที่เราเรียกกันว่า ‘อำพันขี้ปลา’ จัดเป็นยาหายากชนิดหนึ่งในจีนโบราณ มีสรรพคุณกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด

    ยุคสมัยนั้นจริงจังกับเฝินเซียงแค่ไหน ดูได้จากชุดอุปกรณ์ (รูปแรกขวาล่าง) ในสมัยนั้นจึงเกิดการสรรค์สร้างเครื่องปั้นดินเผาเป็นเตาเผาผงหอมหน้าตาหลากหลาย ยกตัวอย่างมาให้ชมกัน (รูปสอง)

    การเผานั้นเป็นไปตามกรรมวิธีที่แสดงในละคร เริ่มจากการวางถ่านไม้ก้อนเล็กลงไปกลางรูที่ขุดไว้ในผงหอม ปิดด้วยแผ่นแร่กลีบหินหรือแผ่นตะแกรง แล้วก็วางชิ้นเครื่องหอมลงบนแผ่นแร่กลีบหินอีกที (ตามรูปแรกขวาบน) ผลลัพธ์ที่ดีคือมีกลิ่นแต่ไม่มีควัน

    Storyฯ เล่าแบบง่ายๆ (อีกแล้ว) แต่แน่นอนว่าทุกขั้นตอนแฝงไว้ด้วยความละเมียดละไม ไม่ว่าการผสมการจัดเก็บเครื่องหอม การเผาถ่าน ตำแหน่งการวางถ่าน ฯลฯ ศิลปะจากราชวงศ์ซ่งนี้อยู่คู่กับเรามาจวบจนปัจจุบัน แม้แต่สูตรเครื่องหอมบางสูตรหรือการใช้อำพันขี้ปลามาเป็นหัวเชื้อน้ำหอม ปัจจุบันก็ยังมีใช้อยู่

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://kknews.cc/culture/jv6zbal.html
    https://kknews.cc/culture/omg5ve5.html
    https://www.sohu.com/a/385169870_100171032
    http://collection.sina.com.cn/jczs/2018-03-16/doc-ifyshfuq0777119.shtml
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://kknews.cc/culture/omg5ve5.html
    https://baike.baidu.com/tashuo/browse/content?id=6255613423f1ab4117010e5a
    https://www.163.com/dy/article/FKVSEA9K05362446.html
    https://th.wikipedia.org/wiki/อำพันขี้ปลา

    #หมิงหลัน #เครื่องหอมจีนโบราณ #เฝินเซียง #ซาวเซียง #ราชวงศ์ซ่ง #หลงเสียนเซียง #อำพันขี้ปลา
    วันนี้คุยกันต่อเกี่ยวกับวัฒนธรรมในยุคสมัยราชวงศ์ซ่ง ซึ่งเป็นยุคสมัยที่ศิลปะชั้นสูงหลายแขนงถูกเผยแพร่สู่ประชาชนในวงกว้าง จาก ‘บันทึกเมิ่งเหลียง’ มีศิลปะสี่แขนงที่ถูกยกย่องว่าเป็นสิ่งที่ ‘ต้องมี’ ในผู้ที่มีการศึกษาในสมัยซ่ง ซึ่งก็คือ การเผาผงหอม การเตี่ยนฉา (การชงชาแบบซ่งที่ Storyฯ เขียนถึงไปแล้วเมื่อก่อนปีใหม่) การเขียนภาพ และการจัดดอกไม้ ทั้งหมดล้วนเป็นศิลปะที่ชาวซ่งมองว่าฝึกให้คนใจเย็น ใครที่ได้ดูละครเรื่อง <ตำนานหมิงหลัน> จะเห็นการผสมดินและถ่านเพื่อเผาผงหอมในตอนที่มีครูแม่บ้านมาจากในวังมาสอนให้กับพี่น้องตระกูลเสิ้ง ความมีอยู่ว่า ... “ที่วางอยู่ข้างๆ พวกเจ้าล้วนเป็นผงไม้กฤษณาอย่างดี หากบังคับแรงไฟได้ดี ก้อนเล็กเพียงเท่าเล็บยังสามารถเผาได้นานถึงสองชั่วยาม (สี่ชั่วโมง) กลิ่นกรุ่นมิจาง... - ถอดบทสนทนาจากละครเรื่อง <ตำนานหมิงหลัน> (แต่ Storyฯ แปลเองจ้า) สมัยซ่งนั้นเป็นการเผาผงหอม เรียกว่าเฝินเซียง (焚香) ส่วนผสมที่ใช้หลากหลาย เช่นไม้กฤษณา ไม้จันทน์ พิมเสน กำยาน ตะไคร้ ลูกกระวาน เม็ดพริกไทย ฯลฯ มีการค้นคว้าสูตรผสมจัดเป็นตำราสูตรเครื่องหอม (ตัวอย่างสูตรรูปสองซ้ายบน) ทั้งเพื่อความจรรโลงใจและทั้งเพื่อสรรพคุณทางยา โดยเครื่องหอมที่ปรุงเสร็จก็จัดทำขึ้นหลากหลายรูปแบบ ทั้งอัดเม็ด อัดแผ่นบาง อัดแผ่นหนาห้อยติดกาย หรือเป็นแบบผง ในสมัยนั้น เครื่องหอมที่มีชื่อที่สุด แพงที่สุด (มีค่าเทียบเท่าทองคำ) และใช้ในวังเป็นหลักคือ ‘หลงเสียนเซียง’ (龙涎香) แปลตรงตัวว่าเครื่องหอมจากน้ำลายมังกร แต่จริงๆ แล้วมันเกิดจากการสำรอกหรือขับถ่ายจากปลาวาฬหัวทุย หลังถูกน้ำทะเลและแสงแดดหล่อหลอมนานปีจนเป็นก้อนไขมันหน้าตาคล้ายหินอ่อนก็จะมีกลิ่นหอม หรือที่เราเรียกกันว่า ‘อำพันขี้ปลา’ จัดเป็นยาหายากชนิดหนึ่งในจีนโบราณ มีสรรพคุณกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ยุคสมัยนั้นจริงจังกับเฝินเซียงแค่ไหน ดูได้จากชุดอุปกรณ์ (รูปแรกขวาล่าง) ในสมัยนั้นจึงเกิดการสรรค์สร้างเครื่องปั้นดินเผาเป็นเตาเผาผงหอมหน้าตาหลากหลาย ยกตัวอย่างมาให้ชมกัน (รูปสอง) การเผานั้นเป็นไปตามกรรมวิธีที่แสดงในละคร เริ่มจากการวางถ่านไม้ก้อนเล็กลงไปกลางรูที่ขุดไว้ในผงหอม ปิดด้วยแผ่นแร่กลีบหินหรือแผ่นตะแกรง แล้วก็วางชิ้นเครื่องหอมลงบนแผ่นแร่กลีบหินอีกที (ตามรูปแรกขวาบน) ผลลัพธ์ที่ดีคือมีกลิ่นแต่ไม่มีควัน Storyฯ เล่าแบบง่ายๆ (อีกแล้ว) แต่แน่นอนว่าทุกขั้นตอนแฝงไว้ด้วยความละเมียดละไม ไม่ว่าการผสมการจัดเก็บเครื่องหอม การเผาถ่าน ตำแหน่งการวางถ่าน ฯลฯ ศิลปะจากราชวงศ์ซ่งนี้อยู่คู่กับเรามาจวบจนปัจจุบัน แม้แต่สูตรเครื่องหอมบางสูตรหรือการใช้อำพันขี้ปลามาเป็นหัวเชื้อน้ำหอม ปัจจุบันก็ยังมีใช้อยู่ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://kknews.cc/culture/jv6zbal.html https://kknews.cc/culture/omg5ve5.html https://www.sohu.com/a/385169870_100171032 http://collection.sina.com.cn/jczs/2018-03-16/doc-ifyshfuq0777119.shtml Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://kknews.cc/culture/omg5ve5.html https://baike.baidu.com/tashuo/browse/content?id=6255613423f1ab4117010e5a https://www.163.com/dy/article/FKVSEA9K05362446.html https://th.wikipedia.org/wiki/อำพันขี้ปลา #หมิงหลัน #เครื่องหอมจีนโบราณ #เฝินเซียง #ซาวเซียง #ราชวงศ์ซ่ง #หลงเสียนเซียง #อำพันขี้ปลา
    2 Comments 0 Shares 86 Views 0 Reviews
  • 🌎🤖 "เรียนรู้ไม่มีสิ้นสุด พัฒนาไม่หยุดยั้ง ด้วยพลัง AI" 🤖🌎
    .
    องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ สำนักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อบจ.นม. ขอเชิญร่วมชมกิจกรรมการประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา
    - KORAT PAO Education & Innovation 2025 -
    ชิงเงินรางวัล รวมกว่า 2️⃣7️⃣0️⃣,0️⃣0️⃣0️⃣บาท
    ระหว่างวันที่ 28 - 29 พฤษภาคม 2568
    ณ ห้องโคราชฮอลล์ 1 (ชั้น 4) ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช
    ************************
    ...ภายในงานพบกับ...
    🤓 เปิดเวทีนำเสนอผลงานทางวิชาการให้กับบุคลากรทางการศึกษา 🤓
    👧 การแสดงความสามารถของนักเรียน รร.สังกัด อบจ.นม. 👧
    🏆 การประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา 15 กิจกรรม
    - ภาษาไทย
    - วิทยาศาสตร์
    - การงานอาชีพ
    - คณิตศาสตร์
    - สังคมศึกษาฯ
    - ศิลปะ
    - ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ & ภาษาจีน)
    - สุขศึกษาฯ
    - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือฯ & แนะแนว)
    - งานห้องสมุด
    - งานวัดผลและประเมินผล
    - งานระบบดูแลช่วยเหลือ นร.
    - งานด้านเทคโนโลยี
    🌎🤖 "เรียนรู้ไม่มีสิ้นสุด พัฒนาไม่หยุดยั้ง ด้วยพลัง AI" 🤖🌎 . องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ สำนักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อบจ.นม. ขอเชิญร่วมชมกิจกรรมการประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา - KORAT PAO Education & Innovation 2025 - ชิงเงินรางวัล รวมกว่า 2️⃣7️⃣0️⃣,0️⃣0️⃣0️⃣บาท ระหว่างวันที่ 28 - 29 พฤษภาคม 2568 ณ ห้องโคราชฮอลล์ 1 (ชั้น 4) ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช ************************ ...ภายในงานพบกับ... 🤓 เปิดเวทีนำเสนอผลงานทางวิชาการให้กับบุคลากรทางการศึกษา 🤓 👧 การแสดงความสามารถของนักเรียน รร.สังกัด อบจ.นม. 👧 🏆 การประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา 15 กิจกรรม - ภาษาไทย - วิทยาศาสตร์ - การงานอาชีพ - คณิตศาสตร์ - สังคมศึกษาฯ - ศิลปะ - ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ & ภาษาจีน) - สุขศึกษาฯ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือฯ & แนะแนว) - งานห้องสมุด - งานวัดผลและประเมินผล - งานระบบดูแลช่วยเหลือ นร. - งานด้านเทคโนโลยี
    0 Comments 0 Shares 134 Views 0 Reviews
  • 🌎🤖 "เรียนรู้ไม่มีสิ้นสุด พัฒนาไม่หยุดยั้ง ด้วยพลัง AI" 🤖🌎
    .
    องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ สำนักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อบจ.นม. ขอเชิญร่วมชมกิจกรรมการประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา
    - KORAT PAO Education & Innovation 2025 -
    ชิงเงินรางวัล รวมกว่า 2️⃣7️⃣0️⃣,0️⃣0️⃣0️⃣บาท
    ระหว่างวันที่ 28 - 29 พฤษภาคม 2568
    ณ ห้องโคราชฮอลล์ 1 (ชั้น 4) ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช
    ************************
    ...ภายในงานพบกับ...
    🤓 เปิดเวทีนำเสนอผลงานทางวิชาการให้กับบุคลากรทางการศึกษา 🤓
    👧 การแสดงความสามารถของนักเรียน รร.สังกัด อบจ.นม. 👧
    🏆 การประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา 15 กิจกรรม
    - ภาษาไทย
    - วิทยาศาสตร์
    - การงานอาชีพ
    - คณิตศาสตร์
    - สังคมศึกษาฯ
    - ศิลปะ
    - ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ & ภาษาจีน)
    - สุขศึกษาฯ
    - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือฯ & แนะแนว)
    - งานห้องสมุด
    - งานวัดผลและประเมินผล
    - งานระบบดูแลช่วยเหลือ นร.
    - งานด้านเทคโนโลยี
    🌎🤖 "เรียนรู้ไม่มีสิ้นสุด พัฒนาไม่หยุดยั้ง ด้วยพลัง AI" 🤖🌎 . องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ สำนักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อบจ.นม. ขอเชิญร่วมชมกิจกรรมการประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา - KORAT PAO Education & Innovation 2025 - ชิงเงินรางวัล รวมกว่า 2️⃣7️⃣0️⃣,0️⃣0️⃣0️⃣บาท ระหว่างวันที่ 28 - 29 พฤษภาคม 2568 ณ ห้องโคราชฮอลล์ 1 (ชั้น 4) ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช ************************ ...ภายในงานพบกับ... 🤓 เปิดเวทีนำเสนอผลงานทางวิชาการให้กับบุคลากรทางการศึกษา 🤓 👧 การแสดงความสามารถของนักเรียน รร.สังกัด อบจ.นม. 👧 🏆 การประกวดแข่งขันสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา 15 กิจกรรม - ภาษาไทย - วิทยาศาสตร์ - การงานอาชีพ - คณิตศาสตร์ - สังคมศึกษาฯ - ศิลปะ - ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ & ภาษาจีน) - สุขศึกษาฯ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือฯ & แนะแนว) - งานห้องสมุด - งานวัดผลและประเมินผล - งานระบบดูแลช่วยเหลือ นร. - งานด้านเทคโนโลยี
    0 Comments 0 Shares 53 Views 0 Reviews
  • กัวลาลัมเปอร์ใกล้ฉัน บาติกแอร์บินตรงดอนเมือง-ซูบัง

    สนามบินเก่าเมืองหลวงของมาเลเซียอย่าง ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุลอาซิซชาห์ ซูบัง (SZB) ในเมืองซูบัง รัฐสลังงอร์ ทางทิศตะวันตกของกรุงกัวลาลัมเปอร์ กำลังจะมีเที่ยวบินไปยังกรุงเทพฯ เป็นครั้งแรก เมื่อสายการบินบาติกแอร์ (Batik Air) เตรียมเปิดเส้นทางใหม่ จากท่าอากาศยานซูบัง ไปยังท่าอากาศยานดอนเมือง กรุงเทพฯ (DMK) วันละ 1 เที่ยวบิน ได้แก่ เที่ยวบินที่ OD532 ออกจากซูบัง 09.25 น. ถึงดอนเมือง 10.40 น. เที่ยวกลับ เที่ยวบินที่ OD533 ออกจากดอนเมือง 11.40 น. ถึงซูบัง 14.45 น. ค่าโดยสารราคาเริ่มต้นที่ 259 ริงกิต เริ่มให้บริการในวันที่ 28 ก.ค. 2568 เป็นต้นไป

    จันทราน รามา มูร์ธี (Chandran Rama Muthy) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบาติกแอร์ กล่าวกับสื่อในมาเลเซียว่า การเปิดเที่ยวบินดังกล่าวจะมอบความสะดวกสบายให้กับนักเดินทาง และเข้าถึงเครือข่ายเส้นทางบินที่กำลังเติบโต โดยจะเปลี่ยนท่าอากาศยานซูบังให้กลายเป็นศูนย์กลางการบินที่ทันสมัย ซึ่งเส้นทางบินกรุงเทพฯ เป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น นอกจากนี้ ยังเปิดเส้นทางไปยังเมืองกูชิ่ง (KCH) ในรัฐซาราวักบนเกาะบอร์เนียว ที่จะช่วยสร้างการเชื่อมต่อภายในประเทศมาเลเซียจากกูชิ่งให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บาติกแอร์ยังให้บริการจากท่าอากาศยานสุบัง ไปยังปีนัง โกตาบาห์รู และโกตากินาบาลูอีกด้วย

    ท่าอากาศยานซูบังจะเป็นทางเลือกที่ชาญฉลาดและประหยัดเวลา เมื่อเทียบกับท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (KUL) เชื่อว่าจะจะมีบทบาทสำคัญในอนาคตต่ออุตสาหกรรมการบินในมาเลเซีย และใกล้ชิดกับผู้โดยสารในพื้นที่แคลงวัลเลย์ (Klang Valley) มากขึ้น โดยเฉพาะเมืองต่างๆ อาทิ เปตาลิง จายา, ชาห์ อลาม และกัวลาลัมเปอร์ ผู้ที่อยู่อาศัยในย่านแคลงวัลเลย์ สามารถเดินทางเข้า-ออกสนามบินอย่างรวดเร็วและสะดวกสบาย เมื่อเทียบกับสนามบินใหญ่ที่อยู่ห่างไกล คาดว่าเส้นทางซูบัง-ดอนเมือง จะช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวมาเลเซียมายังกรุงเทพฯ ที่มีวัฒนธรรม อาหาร ช้อปปิ้ง และการผจญภัยอันมีชีวิตชีวา

    การเดินทางจากสถานี KL Sentral กรุงกัวลาลัมเปอร์ ไปยังท่าอากาศยานซูบัง ด้วยระบบขนส่งมวลชน ได้แก่ รถไฟฟ้า LRT สาย Kelana Jaya จากสถานี KL Sentral ไปลงที่สถานี Pasar Seni ต่อรถไฟฟ้า MRT สาย Kajang ลงที่สถานี Kwasa Sentral จากนั้นต่อรถเมล์สาย T804 ไปลงที่ป้าย Subang Airport รถออกทุก 40-60 นาที ส่วนรถประจำทาง RapidKL สาย 772 จากป้ายหยุดรถประจำทาง KL1760 Suasana Sentral Loft ไปลงที่ป้าย SA909 Subang Skypark Terminal ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที

    #Newskit
    กัวลาลัมเปอร์ใกล้ฉัน บาติกแอร์บินตรงดอนเมือง-ซูบัง สนามบินเก่าเมืองหลวงของมาเลเซียอย่าง ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุลอาซิซชาห์ ซูบัง (SZB) ในเมืองซูบัง รัฐสลังงอร์ ทางทิศตะวันตกของกรุงกัวลาลัมเปอร์ กำลังจะมีเที่ยวบินไปยังกรุงเทพฯ เป็นครั้งแรก เมื่อสายการบินบาติกแอร์ (Batik Air) เตรียมเปิดเส้นทางใหม่ จากท่าอากาศยานซูบัง ไปยังท่าอากาศยานดอนเมือง กรุงเทพฯ (DMK) วันละ 1 เที่ยวบิน ได้แก่ เที่ยวบินที่ OD532 ออกจากซูบัง 09.25 น. ถึงดอนเมือง 10.40 น. เที่ยวกลับ เที่ยวบินที่ OD533 ออกจากดอนเมือง 11.40 น. ถึงซูบัง 14.45 น. ค่าโดยสารราคาเริ่มต้นที่ 259 ริงกิต เริ่มให้บริการในวันที่ 28 ก.ค. 2568 เป็นต้นไป จันทราน รามา มูร์ธี (Chandran Rama Muthy) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบาติกแอร์ กล่าวกับสื่อในมาเลเซียว่า การเปิดเที่ยวบินดังกล่าวจะมอบความสะดวกสบายให้กับนักเดินทาง และเข้าถึงเครือข่ายเส้นทางบินที่กำลังเติบโต โดยจะเปลี่ยนท่าอากาศยานซูบังให้กลายเป็นศูนย์กลางการบินที่ทันสมัย ซึ่งเส้นทางบินกรุงเทพฯ เป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น นอกจากนี้ ยังเปิดเส้นทางไปยังเมืองกูชิ่ง (KCH) ในรัฐซาราวักบนเกาะบอร์เนียว ที่จะช่วยสร้างการเชื่อมต่อภายในประเทศมาเลเซียจากกูชิ่งให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บาติกแอร์ยังให้บริการจากท่าอากาศยานสุบัง ไปยังปีนัง โกตาบาห์รู และโกตากินาบาลูอีกด้วย ท่าอากาศยานซูบังจะเป็นทางเลือกที่ชาญฉลาดและประหยัดเวลา เมื่อเทียบกับท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (KUL) เชื่อว่าจะจะมีบทบาทสำคัญในอนาคตต่ออุตสาหกรรมการบินในมาเลเซีย และใกล้ชิดกับผู้โดยสารในพื้นที่แคลงวัลเลย์ (Klang Valley) มากขึ้น โดยเฉพาะเมืองต่างๆ อาทิ เปตาลิง จายา, ชาห์ อลาม และกัวลาลัมเปอร์ ผู้ที่อยู่อาศัยในย่านแคลงวัลเลย์ สามารถเดินทางเข้า-ออกสนามบินอย่างรวดเร็วและสะดวกสบาย เมื่อเทียบกับสนามบินใหญ่ที่อยู่ห่างไกล คาดว่าเส้นทางซูบัง-ดอนเมือง จะช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวมาเลเซียมายังกรุงเทพฯ ที่มีวัฒนธรรม อาหาร ช้อปปิ้ง และการผจญภัยอันมีชีวิตชีวา การเดินทางจากสถานี KL Sentral กรุงกัวลาลัมเปอร์ ไปยังท่าอากาศยานซูบัง ด้วยระบบขนส่งมวลชน ได้แก่ รถไฟฟ้า LRT สาย Kelana Jaya จากสถานี KL Sentral ไปลงที่สถานี Pasar Seni ต่อรถไฟฟ้า MRT สาย Kajang ลงที่สถานี Kwasa Sentral จากนั้นต่อรถเมล์สาย T804 ไปลงที่ป้าย Subang Airport รถออกทุก 40-60 นาที ส่วนรถประจำทาง RapidKL สาย 772 จากป้ายหยุดรถประจำทาง KL1760 Suasana Sentral Loft ไปลงที่ป้าย SA909 Subang Skypark Terminal ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที #Newskit
    0 Comments 0 Shares 88 Views 0 Reviews
  • 🧭 ประวัติที่มาของ "เส้นทางสายไหม" (Silk Road)

    เส้นทางสายไหมคือเครือข่ายเส้นทางการค้าที่ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ เชื่อมระหว่าง จีน กับ เอเชียกลาง ตะวันออกกลาง จนถึงยุโรป โดยเริ่มต้นราว ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช ในยุคราชวงศ์ฮั่น

    🌏 จุดประสงค์หลักคือการ แลกเปลี่ยนสินค้า เช่น
    * ผ้าไหมจีน (ที่เป็นที่มาของชื่อ “Silk Road”)
    * เครื่องเทศ
    * หยก
    * เครื่องปั้นดินเผา
    * ผลิตภัณฑ์จากตะวันตก เช่น ทองคำ แก้วไวน์ และอัญมณี

    🕌 นอกจากการค้า ยังเป็นเส้นทางของ
    * การแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม
    * ศาสนา (เช่น พุทธศาสนาเผยแพร่สู่จีนจากอินเดียผ่านเส้นนี้)
    * เทคโนโลยี และแนวคิดต่างๆ

    🚶‍♂️ เส้นทางนี้ไม่ใช่เพียงสายเดียว แต่เป็นเครือข่ายที่ผ่านเมืองสำคัญอย่าง
    * หลานโจว (จุดเริ่มต้นในจีน)
    * จางเย่ (จุดสำคัญของกองคาราวาน)
    * ตุนหวง (เมืองโอเอซิสริมทะเลทรายที่มีถ้ำโม่เกาคู่กับพระพุทธศาสนา)
    * ถูหลู่ฟาน และ อูรุมฉี (ใจกลางซินเจียงที่เชื่อมต่อเอเชียกลาง)

    ✨ ปัจจุบัน “เส้นทางสายไหม” กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้งในโครงการ Belt and Road Initiative ของจีน ที่รื้อฟื้นการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค

    #เส้นทางสายไหม #ประวัติศาสตร์จีน #SilkRoad #วัฒนธรรมเอเชีย #เมืองโบราณจีน #BeltAndRoadInitiative


    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    🧭 ประวัติที่มาของ "เส้นทางสายไหม" (Silk Road) เส้นทางสายไหมคือเครือข่ายเส้นทางการค้าที่ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ เชื่อมระหว่าง จีน กับ เอเชียกลาง ตะวันออกกลาง จนถึงยุโรป โดยเริ่มต้นราว ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช ในยุคราชวงศ์ฮั่น 🌏 จุดประสงค์หลักคือการ แลกเปลี่ยนสินค้า เช่น * ผ้าไหมจีน (ที่เป็นที่มาของชื่อ “Silk Road”) * เครื่องเทศ * หยก * เครื่องปั้นดินเผา * ผลิตภัณฑ์จากตะวันตก เช่น ทองคำ แก้วไวน์ และอัญมณี 🕌 นอกจากการค้า ยังเป็นเส้นทางของ * การแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม * ศาสนา (เช่น พุทธศาสนาเผยแพร่สู่จีนจากอินเดียผ่านเส้นนี้) * เทคโนโลยี และแนวคิดต่างๆ 🚶‍♂️ เส้นทางนี้ไม่ใช่เพียงสายเดียว แต่เป็นเครือข่ายที่ผ่านเมืองสำคัญอย่าง * หลานโจว (จุดเริ่มต้นในจีน) * จางเย่ (จุดสำคัญของกองคาราวาน) * ตุนหวง (เมืองโอเอซิสริมทะเลทรายที่มีถ้ำโม่เกาคู่กับพระพุทธศาสนา) * ถูหลู่ฟาน และ อูรุมฉี (ใจกลางซินเจียงที่เชื่อมต่อเอเชียกลาง) ✨ ปัจจุบัน “เส้นทางสายไหม” กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้งในโครงการ Belt and Road Initiative ของจีน ที่รื้อฟื้นการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค #เส้นทางสายไหม #ประวัติศาสตร์จีน #SilkRoad #วัฒนธรรมเอเชีย #เมืองโบราณจีน #BeltAndRoadInitiative LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    0 Comments 0 Shares 74 Views 0 Reviews
  • ตั้งแต่ปี 2004... ผมได้พบกุญแจไขสิ่งที่ผมอยากรู้จากคำเพียงคำเดียว "Cultural Transmission" มันนำพาผมไปพบกับงานของศาสตราจารย์ Luigi Luca Cavalli-Sforza และลูกศิษย์ของเขาที่ Standford ชื่อ Spencer Wells… มันได้เปิดโลกทัศน์ของผมในการมองสิ่งต่างๆ ผ่านการพิจารณาหลายๆ ศาสตร์ควบคู่กับความรู้เกี่ยวกับพันธุกรรมมนุษย์และการอพยพย้ายถิ่น เมื่อเรารู้ว่าที่แท้แล้วเราเป็นใคร สิ่งต่างๆ ก็เชื่อมโยงกัน
    .
    ในปีเดียวกันนั้น Bill Clinton ประกาศที่ทำเนียบขาวถึงความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ทางวิทยาศาสตร์ แผนที่ดีเอ็นเออันแรกของมนุษย์ถูกทำสำเร็จ ความลับของสายพันธุ์มนุษย์ถูกไข ทั้งหมดนั้นเป็นเพราะวิสัยทัศน์ของศาสตราจารย์ลูกา ที่มุ่งมั่นเก็บตัวอย่างดีเอ็นเอมาก่อนหน้านั้นกว่าสามสิบปีเพราะเชื่อมั่นว่ามันซ่อนความลับของมนุษย์ไว้ ทันทีที่แผนที่ดีเอ็นเอสำเร็จ เสปนเซอร์ซึ่งเป็นทายาทรับช่วงงานวิจัยต่อจาก ศจ.ลูกา ก็นำเสนออีกแผนที่หนึ่ง คือแผนที่การอพยพย้ายถิ่นของมนุษย์ย้อนหลังกว่าแสนปีจากแอฟริกา และสาแหรกพันธุกรรมมนุษย์ย้อนถอยไปถึงบรรพบุรุษคนแรกที่เป็นรากลึกที่สุด
    .
    ในเวลานั้น ไม่มีใครหรือสาขาวิชาใดมองความรู้ของมนุษย์ผ่านวิสัยทัศน์นี้ มันเป็นเรื่องใหม่ แต่ความฉงนสนเท่ห์ของผมที่มีกับตัวอย่างดนตรีของไท-ไทยและชาติพันธ์อื่นๆ ในเอเชีย โดยเฉพาะในจีนตอนใต้และประเทศไทย ทำให้ผมเอามานั่งคิด ผลจากการคิดวิเคราะห์ ผมรู้สึกว่ามันเป็นดนตรีชนิดเดียวหรือพูดให้ชัดกว่านั้น มันน่าจะเป็นวัฒนธรรมที่มีรากเหง้าร่วมกัน อาจจัดเป็นสกุลเดียวกันคล้ายๆ กับภาษา และถ้าสิ่งที่นักมานุษยวิทยาเชื่อกันมาเนิ่นนานจนบัดนี้ว่า ดนตรีเกิดมาจากภาษา ว่ามันเริ่มมาจากจุดนั้น มันก็จะต้องมีส่วนสัมพันธ์กับการส่งต่อทางวัฒนธรรม ซึ่งผมแบ่งได้ง่ายๆ ออกเป็นสามลักษณะหลักๆ
    .
    หนึ่งคือ สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษรุ่นสู่รุ่น เป็นเหมือนมรดกทางวัฒนธรรม จารีต ประเพณี / สองคือ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากดินแดนอื่น-ชนชาติอื่นที่รุ่งเรืองกว่าหรือต่างดินแดนที่คบค้าไปมาหาสู่กันยาวนาน จึงรับเอาธรรมเนียมเขามานิยม / สามคือ เกิดจากการถูกพิชิตให้อยู่ในอาณัตหรือถูกบังคับให้รับวัฒนธรรมผู้อื่นมาเป็นของตน อาจจะยังดำเนินขนบทางวัฒนธรรมเดิมอยู่ได้ขณะที่ต้องยอมรับวัฒนธรรมอื่นเป็นหลัก หรืออาจถูกบังคับให้เลิกวัฒนธรรมของตนแล้วรับเอาวัฒนธรรมของชาติที่พิชิตเป็นของตนแทน
    .
    ในกรณีแรก วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจะมีอัตลักษณ์ที่จำแนกได้ชัดเจนเหมือนภาษาที่จัดเป็นสกุลหรือ phyla ได้ | กรณีที่สอง ย่อมมีการแทรกของวัฒนธรรมสกุลอื่นเข้ามาผสมผสาน แต่เนื่องจากการเชื่อมโยงกันเป็นไปอย่างละมุนละม่อมจึงไม่มีอะไรถูกทำลาย จะนำไปสู่ความหลากหลายมากขึ้นได้หลายปัจจัย แต่จะยังคงแยกแยะลักษณะของอัตลักษณ์แต่ละสกุลได้ | กรณีที่สาม ไม่ต่างอะไรกับขุดรากถอนโคน วัฒนธรรมสกุลเดิมถูกทำลายไป อาจมีบางคนที่ต่อต้านและต้องการรักษาขนบเก่าไว้อย่างหลบซ่อน ซึ่งจะทำให้กลายเป็นสิ่งต้องห้ามหรือตาบู แต่ก็อาจมีโอกาสที่วันหนึ่งจะถูกฟื้นฟูขึ้น
    .
    ตั้งแต่ปี 2004 ผมหมกมุ่นเรื่องนี้นานนับสิบปี อ่านหนังสือมากมาย ไปเก็บตัวอย่างจากภาคสนาม เสาะหาข้อมูลเสียงจากทุกที่ที่ได้เบาะแส ผมนึกอยู่เวียนวนจนได้สมมุติฐานอันนึงขึ้นมา "เป็นไปได้ไหมว่า ถ้าเรามีสายเลือดที่เชื่อมโยงกันทั้งโลกอย่างที่ ศจ.ลูกา และ เสปนเซอร์ นำเสนอ เราก็น่าจะมีวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกันโดยที่สอดคล้องกับสาแหรกพันธุกรรมด้วย และเมื่อเป็นเช่นนั้น เราก็น่าจะแยกแยะดนตรีซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมนุษย์ออกเป็นวงศ์ตระกูลได้ในลักษณะเดียวกัน ในเวลาต่อมา ผมพบบทความหนึ่งที่เขียนโดย ศจ. Victor Grauer หัวข้อเรื่อง Music Family ผมจำชื่อเขาได้ทันที เพราะผมเรียนหนังสือเล่มหนึ่งของ Alan Lomax นักมานุษยวิทยาดนตรีที่เป็นตำนานของโลก มันเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ดนตรีพื้นเมืองที่เขาคิดค้นขึ้นเรียกว่า Cantomatrics และอาจารย์วิคเตอร์ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของอลันมีส่วนในการคิดค้นนี้
    .
    ผมเขียนอีเมล์ไปหาอาจารย์วิคเตอร์ตามอีเมล์ที่ปรากฏบนบทความของแก บอกว่าผมอ่าน Music Family แล้วคิดว่าน่าจะเดินไปในทิศทางเดียวกับที่ผมคิด แล้วเล่า Hypothesis ของผมให้แกฟัง บอกว่าผมจะเทรซจากดีเอ็นเอและการอพยพย้ายถิ่นของมนุษย์เป็นวิธีวิจัย แกตอบมาว่าเห็นด้วย นี่เป็นเรื่องใหม่และตื่นเต้นมาก อยากให้ผมแชร์ข้อมูลกับแก จากจุดนี้ไปคือการผจญภัยอันน่าตื่นเต้นของผมกับโครงการ Genomusicology ตั้งแต่วันนั้นมาจนบัดนี้ ยี่สิบปีแล้ว
    .
    ผมเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับความสนใจของผมในเรื่องนี้มาเรื่อย และบางครั้งมันไม่ได้เกี่ยวกับดนตรีแต่เป็นเรื่องอื่น ผมรู้แต่ตอนนั้นว่าความรู้อะไรก็ตามหากมันขัดกับวิทยาศาสตร์นี้ ไม่ว่าจะสาขาวิชาอะไร มันมีแนวโน้มจะผิดพลาด ตัวอย่างเช่นประวัติศาสตร์ ยิ่งถ้าคุณเปิดหน้าต่างหลายๆ ศาสตร์พร้อมกันโดยไม่ยึดติดกับทัศนะของสำนักคิดเดิม คุณจะพบกับหนทางที่กว้างไกลกว่า ยกตัวอย่างเช่นเมื่อคุณหาคำตอบทางประวัติศาสตร์ คุณลองทาบมันกับชีววิทยาพันธุกรรม ขณะเดียวกันก็ทาบมันกับโบราณคดี ภาษาศาสตร์ ธรณีวิทยา นิรุกติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปรัมปราคติ ศาสนาเทววิทยา...ฯลฯ มันจะนำคุณไปสู่คำตอบที่หนักแน่นกว่าที่คุณจะจมอยู่กับข้อมูลทางประวัติศาสตร์เพียงอย่างเดียว
    .
    หลายปีที่ผ่านมา เริ่มมีหลายสาขาวิชาที่หันมาใช้แผนที่แผ่นเดียวกับผม ที่ผมเห็นคือนักภาษาศาสตร์ในต่างประเทศมาก่อนเป็นพวกแรก ในไทยที่เริ่มก่อนคือนักโบราณคดีอย่างเช่น อาจารย์รัศมี ชูทรงเดช ท่านล้ำมาก ศึกษาซากบรรพชีวินแล้วเริ่มใช้ข้อมูลดีเอ็นเอมาก่อนที่จะมีนักชีววิทยารุ่นใหม่ที่สนใจด้านนี้เริ่มเอามาใช้ผนวกกับสาขามานุษยวิทยา ช่วงสี่ห้าปีหลังเริ่มมีงานวิจัยเกี่ยวกับดีเอ็นเอของคนไทยออกมาให้เห็นจากนักวิชาการไทยหลายคน
    .
    ถ้าจำเรื่องเก่าๆ ที่ผมเคยเขียนได้บ้างจะเห็นว่าผมพูดอยู่หลายครั้ง "ความแบ่งแยกเป็นความคิดของปีศาจ" และมันเป็นต้นตอความขัดแย้งที่ลุกลามกลายเป็นสงครามและการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ได้ ผมชี้ให้เห็นเสมอๆ ว่าคนเอเชียนั้นเป็นพี่น้องครอบครัวที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นลูกหลานของทายาทแห่งอาดัม (ในทางวิทยาศาสตร์) สองคนคือ Hg O และ Hg C และทายาทแห่งอีฟ (ในทางวิทยาศาสตร์) สี่คนคือ Hg B-M-F-D ดังนั้นพวกเขาไม่ว่าจะเรียกชื่อสมมุติตัวเองว่าอะไร ข้อเท็จจริงก็คือพวกเขาคือพี่น้องกันทั้งสิ้น เก่าใหม่ อ่อนแก่ ตามกาลเวลา
    .
    ด้วยเหตุนี้ ในปี 2008 ผมเขียนบทความหนึ่ง เรื่อง "ชื่อและชนเผ่า" และผมพยายามอธิบายความสมมุติที่ว่านี้ด้วยความพยายามยิ่งที่จะบอกความเป็นมาเป็นไปและความเกี่ยวโยงของแต่ละชาติพันธ์ ผมแบ่งกลุ่มพวกเขาออกเป็นสองกลุ่มง่ายๆ คือพวกเท้าเปียกและพวกเท้าแห้ง พวกเขาเป็นครอบครัวเดียวกันและทั้งหมดอยู่บนดินแดนเอเชียนี้มาตั้งแต่สามหมื่นกว่าปีที่แล้ว แต่พวกเท้าเปียกคือพวกที่อยู่บนซุนดาตอนล่าง ต้องผจญชะตากรรมน้ำท่วมโลกซึ่งหนักกว่าโนอาห์แน่นอน เพราะธรณีวิทยาบอกว่ามีที่เดียวบนโลกในประวัติศาสตร์มนุษย์แสนกว่าปี ที่คุณจะเรียกว่าน้ำท่วมโลกได้จริงๆ คือดินแดนซุนดาแห่งนี้ ไม่ใช่ในดินแดนเสี้ยวจันทร์หรือแถวเทือกเขาอารารัต มันท่วมที่นี่สามครั้งหลังยุคน้ำแข็งสิ้นสุด ทั้งสามครั้งรวมแล้วประมาณร้อยยี่สิบเมตร!.. ส่วนพวกเท้าแห้งก็คือพวกที่อยู่เหนือขึ้นไปในเมนแลนด์เอเชีย ซึ่งก็ได้เป็นสักขีพยานภัยพิบัตินี้เช่นกัน แต่มีเพียงส่วนน้อยที่ได้รับผลจากภัยพิบัติ
    .
    ดังนั้น สำหรับผม ไม่ว่าจะเอ่ยชื่อไหนมันก็คือสิ่งสมมุติ บรรดาพี่น้องในสาแหรกเท้าเปียกในอุษาคเนย์นับจากโบราณจนกระทั่งบัดนี้ อย่างที่บอก พวกเขาล้วนมาจากอัสเลียน แม้ต่อมาพวกเขาทั้งหลายจะกลายเป็นมอญ เป็นข่า เป็นละว้า เป็นขอมทวารวดี เป็นขอมละโว้ เป็นพนม เป็นสยาม เป็นศรีโพธิ์ เป็นมลายู เป็นนุสันทารา เป็นลาว เป็นจามปา เป็นเจนละ เป็นเขมร เป็นญวน... แต่หากคุณแล่เนื้อเถือหนังออกมา โครงสร้างทางโปรตีนของพวกเขาก็มีดีเอ็นเอที่มาจากบรรพบุรุษจากสาแหรกเดียวกันทั้งสิ้น..
    .
    การที่คุณแครี่วายโครโมโซมแฮพโพลกรุ๊พโอ หมายถึงคุณคลานตามกันมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน การย่อยออกเป็น sub group ต่างๆ เช่น O1 O1a O1b O1c O2 O2a O2b O2c... คือซับมิวเทชั่นในสกุลเดียวกัน แม้แตกแขนงออกไปแต่คุณยังคงมีสายเลือดที่โยงใยกันอยู่ จีนที่ซึ่งในการวิจัยช่วงแรกถูกจัดเป็น O3 (ปัจจุบันปรับเป็น O2) ยอมรับกันว่าเป็นชนชาติที่มีระบบบันทึกประวัติศาสตร์ดีที่สุดและเก่ากว่าทุกชนชาติในเอเชีย ถอยหลังไปถึงสี่พันกว่าปี แต่พันธุกรรมบอกว่าพวกเขาเป็นน้องเล็กที่สุด มียีนอายุน้อยที่สุดในสาแหรกวงศ์ตระกูล (เรียงจากหลักน้อยไปหามาก O > O1 > O2 หลักน้อยคือเก่ากว่า) ข้อนี้ยิ่งยืนยันว่าสาแหรก Y DNA Hg O มีรากเหง้าที่เก่าแก่ยาวไกลเพียงใด ในโลกนี้พวกเขาเก่ารองจากพวกออสตราอะบอริจิ้น และพวกซาฮารันโบราณ มียีนเป็นพี่ของชาวยุโรปเกือบทั้งหมด ยกเว้นพวกบาสก์ในอุสกาดี สเปน และพวกซามิแถวแลปแลนด์ ฟินด์แลนด์
    .
    Cultural Transmission ที่ส่งผ่านกันไปมานานนับหมื่นปี ทำให้ลักษณะที่ร่วมกันแต่โบราณจากวัฒนธรรมที่พื้นฐานที่สุดไปสู่วัฒนธรรมที่ซับซ้อนที่สุด ยังคงทิ้งเบาะแสความเกี่ยวโยงของพวกเขาเอาไว้ในทุกมิติทุกบริบท มันไม่ได้หายไปไหนและเรามองเห็นมันได้ แบบเดียวกับที่ผมเห็นผ่านดนตรี ตัวอย่างเช่น เราเป็นมนุษย์ที่ยุคบรรพกาลนับถือแม่เป็นใหญ่ เราจึงมีเทวี เจ้าแม่ พระแม่เต็มไปหมด ในดนตรีพื้นเมืองของเราผู้หญิงร้องเสียงสูงและดังทะลุทะลวง เพราะนางมีสถานะที่ได้รับการเคารพไม่ใช่ถูกกดไว้ นอกจากนั้นพวกนางยังมีการประสานเสียง มีพลังแข็งแรงและมั่นใจขณะขับร้อง นางสามารถยืนหยัดเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญได้ภายในสังคม แม้ทุกวันนี้ ผู้หญิงก็ยังคงเป็นใหญ่ในบ้าน ทุกบาททุกสตางค์ที่ผมหาได้ก็ต้องส่งมอบให้ภรรยาด้วยความเคารพ
    .
    เวลาที่มองภาพต่อทางประวัติศาสตร์ มุมมองของผมจึงเปลี่ยนไป ผมหยิบความรู้อื่นๆ เท่าที่อ้างอิงเชื่อถือได้มาประกบเข้าด้วยกันเสมอ... ทำไมกษัตริย์เขมรโบราณจะขึ้นครองราชย์ต้องแต่งกับนาค? สำหรับผม นี่คือปรัมปราคติที่สะท้อนการเมืองโบราณ เศรษฐีจากต่างถิ่น (ตัวขาวใส่เสื้อผ้าสวยงาม) จะมาปกครองคนท้องถิ่นที่เป็นคนพื้นเมือง (แก้ผ้า อยู่กับป่าฝนและมรสุม) ก็ต้องดองกับคนท้องถิ่น หลักฐานเจเนติคก็พบว่าพ้องกันว่า ผู้ชายบรรพบุรุษของพวกเรา (Y DNA Hg O) ซึ่งอพยพมาด้วยเส้นทางสายเอเชียกลาง อากาศดี อาหารสมบูรณ์ตลอดทาง พวกเขาคงหล่อเร้าใจไม่น้อยเมื่อเดินทางมาถึงซุนดา พวกผู้หญิงอะบอริจิ้น (mt DNA Hg B / M) พากันเลือกบรรพบุรุษของเราเป็นพ่อพันธ์ อุปมาดังหงส์ทองครองคู่กับนาคยังไงยังงั้น ทำให้ผู้ชายอะบอริจิ้นต้องถอยห่างออกไปจากแผ่นดินใหญ่ การได้แม่สายงูมาเป็นแม่พันธ์อีกสองแม่ ทำให้ลูกหลานพวก Hg O ออกลูกมาเต็มดินแดน มันคือการผสมกันของนกกับงู แต่พวก Hg C ที่ผู้หญิงไม่เลือกลูกหลานก็เลยน้อยกว่า แรงงานที่จะพัฒนาชุมชนและเป็นกำลังรบจึงน้อย ถ้าผู้หญิงของเขาไม่เลือกพวก Hg O และมีจำนวนประชากรพอๆ กัน พวกอัสเลียนกับอะบอริจิ้นคงรบกันแหลกราญตายไปข้างหนึ่ง นี่ไม่ใช่ครั้งเดียว...
    .
    พระนางจามเทวีแห่งละโว้ หรือจะเรียกละโว้ ละว้า ว้า ลั๊วะ ก็คือกัน เป็นข่า เป็นอัสเลียนที่ยังมีความเป็นชนพื้นเมือง เมื่อเทียบชายหนุ่มในเผ่าของนางกับหนุ่มเท้าแห้งพี่น้องสาแหรกเดียวกันแต่ขาวผ่องกว่าเพราะอาศัยอยู่ดินแดนทางเหนือขึ้นไป อากาศแสนดี แต่งตัวหล่อ เหตุฉะนี้ พระนางทำเหมือนบรรพบุรุษอะบอริจิ้นข้างแม่ ไม่เลือกพวกเดียวกันเอง แต่ไปเลือกหนุ่มทางเหนือแถวหริภุญชัยสายไป่เยว่ ทำเอานักรบหนุ่มละว้าถึงกับไม่พอใจทำไมไม่เลือกฉันไปเลือกไอ้ละอ่อนสำอางทางเหนือ เลยท้าพระนางจามพุ่งหอกแข่งกัน ถ้าแพ้ต้องแต่งกับเขา และพระนางจามเทวีชนะนักรบนะ! แปลว่าพระนางจามของเรานี้ก็ยังคงมีทักษะแบบที่ชนเผ่าในสมัยบรรพกาลมี คือโตมานี่ยังรบและล่าสัตว์อยู่ แม่หญิงธรรมดาที่ไหนจะพุ่งหอกชนะ พระนางคงเห็นว่าการแต่งกับหนุ่มทางเหนือเป็นการปรับปรุงสายพันธุ์และทำให้การเมืองมีหนทางที่ก้าวหน้าขึ้นกว่าที่เคยเป็น เพราะการดองลักษณะนี้ พวกเท้าเปียกและเท้าแห้งก็จะมี Cultural Transmission ที่ถ่ายเทต่อกันอย่างละมุนละม่อม ต่างกับพวกยุโรปที่ไปปล้นพวกเมาริ ยึดแผ่นดินพวกเขา แล้วบังคับให้ดีดอะคูเลเล่และเข้าโบสถ์ไปร้องประสานเสียง
    .
    หันมองเครือญาติข้างบ้าน ยุคสมัยแห่งเขมรพระนครนั้นล่มสลายไปนานแล้ว กัมพูชาอยู่ในปกครองของอยุธยายาวนานมาจนรัตนโกสินทร์ ตอนที่พวกอาณานิคมฝรั่งเศสบุกมายึดครอง แล้วฝรั่งพวกนี้ไปเจอนครวัดอยู่ในป่าดงดิบ คนเขมรส่วนใหญ่ในตอนนั้นไม่รู้ด้วยซ้ำว่ามีปราสาทโบราณอยู่ตรงนั้น มันถูกต้นไม้กลืนจนหายไป รากและกิ่งใบเลื้อยพันฝังรากลงไปในตัวปราสาทจนมองไม่เห็น หลังเป็นอิสระจากอาณานิคมฝรั่งเศสพวกกษัตริย์เขมรนั้นมาโตมาเรียนอยู่ที่สยามทั้งนั้น ประวัติศาสตร์บอกชัดไม่ต้องบรรยายอีก Cultural Transmission ถูกส่งผ่านอย่างละมุนละม่อม ไม่ใช่เพราะถูกพิชิตถูกบังคับให้ทำตาม แต่เพราะรากเหง้าเดิมของเขมรเสื่อมสลายไปหมดนานแล้ว และเจ้านายเขมรนิยมชมชอบในขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมแบบไทยจึงรับและเรียนไป จนกระทั่งมันวินาศย่อยยับไปอีกครั้งในยุคเขมรแดง เพราะศิลปิน ปราชญ์ราชบัณฑิต ครู กวี ปัญญาชน...ถูกเขมรแดงฆ่าจนสิ้น
    .
    ผมก็รำคาญนะ พวกเขมรเคลมโบเดียน่ะ แต่ก็คิดว่ามันน่าสงสาร ยังไงก็พี่น้องสาแหรกเดียวกัน แล้วคนฉลาดๆ ของเขาก็ตายไปหมดแล้วตอนยุคเขมรแดงทุ่งสังหาร ที่พอจะรอดมาได้ก็หนีไปอเมริกา-ยุโรปไม่กลับมาอีก อย่างไรก็ตามประวัติศาสตร์ที่บันทึกอยู่ในโลกก็บอกเรื่องราวของสยามและเขมรชัดแจ้งอยู่ มันจะเคลมยังไงก็ไม่มีใครเขาเชื่อ แล้วก็ไม่มีพิษสงอะไรหรอก นอกจากสร้างความรำคาญ ส่งพวกทหารพรานไปเป่าข้าวหลามสักสิบบ้องก็คงหยุดแล้ว
    .
    แต่ไอ้ที่เลวแท้ก็คือไอ้พวกตัวเป็นไทยใจเป็นเขมรนี่แหละ ไอ้ที่ส่งลูกไปปี้กับเขมรก็พอเข้าใจที่มันเกี่ยวดองเป็นเครือญาติกัน แต่ไอ้พวกที่ไม่ได้ดองอะไรแต่เสือกไปรับใช้เขมร อันนี้เรียกขายชาติ ในดีเอ็นเอมีพันธุกรรมสุนัขแทรกอยู่เลยเลือกกินอาจม ไม่กินผัดไทย
    .
    เรื่องที่ผมเขียนให้อ่านนี่มันยาก ผมเข้าใจนะ แต่หากคนเราในทุกวันนี้เข้าใจในข้อนี้ตรงกัน บางทีความขัดแย้งในโลกอาจลดลงจนหมดไปได้ และเราอาจก้าวไปสู่สังคมอุดมคติแบบที่เราไฝ่ฝันถึง "We're All Connected"
    .
    - พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (2568) -
    .
    https://youtu.be/RdW1HNA5uSc?si=3E1WAUxHdLhSdVsw
    ตั้งแต่ปี 2004... ผมได้พบกุญแจไขสิ่งที่ผมอยากรู้จากคำเพียงคำเดียว "Cultural Transmission" มันนำพาผมไปพบกับงานของศาสตราจารย์ Luigi Luca Cavalli-Sforza และลูกศิษย์ของเขาที่ Standford ชื่อ Spencer Wells… มันได้เปิดโลกทัศน์ของผมในการมองสิ่งต่างๆ ผ่านการพิจารณาหลายๆ ศาสตร์ควบคู่กับความรู้เกี่ยวกับพันธุกรรมมนุษย์และการอพยพย้ายถิ่น เมื่อเรารู้ว่าที่แท้แล้วเราเป็นใคร สิ่งต่างๆ ก็เชื่อมโยงกัน . ในปีเดียวกันนั้น Bill Clinton ประกาศที่ทำเนียบขาวถึงความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ทางวิทยาศาสตร์ แผนที่ดีเอ็นเออันแรกของมนุษย์ถูกทำสำเร็จ ความลับของสายพันธุ์มนุษย์ถูกไข ทั้งหมดนั้นเป็นเพราะวิสัยทัศน์ของศาสตราจารย์ลูกา ที่มุ่งมั่นเก็บตัวอย่างดีเอ็นเอมาก่อนหน้านั้นกว่าสามสิบปีเพราะเชื่อมั่นว่ามันซ่อนความลับของมนุษย์ไว้ ทันทีที่แผนที่ดีเอ็นเอสำเร็จ เสปนเซอร์ซึ่งเป็นทายาทรับช่วงงานวิจัยต่อจาก ศจ.ลูกา ก็นำเสนออีกแผนที่หนึ่ง คือแผนที่การอพยพย้ายถิ่นของมนุษย์ย้อนหลังกว่าแสนปีจากแอฟริกา และสาแหรกพันธุกรรมมนุษย์ย้อนถอยไปถึงบรรพบุรุษคนแรกที่เป็นรากลึกที่สุด . ในเวลานั้น ไม่มีใครหรือสาขาวิชาใดมองความรู้ของมนุษย์ผ่านวิสัยทัศน์นี้ มันเป็นเรื่องใหม่ แต่ความฉงนสนเท่ห์ของผมที่มีกับตัวอย่างดนตรีของไท-ไทยและชาติพันธ์อื่นๆ ในเอเชีย โดยเฉพาะในจีนตอนใต้และประเทศไทย ทำให้ผมเอามานั่งคิด ผลจากการคิดวิเคราะห์ ผมรู้สึกว่ามันเป็นดนตรีชนิดเดียวหรือพูดให้ชัดกว่านั้น มันน่าจะเป็นวัฒนธรรมที่มีรากเหง้าร่วมกัน อาจจัดเป็นสกุลเดียวกันคล้ายๆ กับภาษา และถ้าสิ่งที่นักมานุษยวิทยาเชื่อกันมาเนิ่นนานจนบัดนี้ว่า ดนตรีเกิดมาจากภาษา ว่ามันเริ่มมาจากจุดนั้น มันก็จะต้องมีส่วนสัมพันธ์กับการส่งต่อทางวัฒนธรรม ซึ่งผมแบ่งได้ง่ายๆ ออกเป็นสามลักษณะหลักๆ . หนึ่งคือ สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษรุ่นสู่รุ่น เป็นเหมือนมรดกทางวัฒนธรรม จารีต ประเพณี / สองคือ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากดินแดนอื่น-ชนชาติอื่นที่รุ่งเรืองกว่าหรือต่างดินแดนที่คบค้าไปมาหาสู่กันยาวนาน จึงรับเอาธรรมเนียมเขามานิยม / สามคือ เกิดจากการถูกพิชิตให้อยู่ในอาณัตหรือถูกบังคับให้รับวัฒนธรรมผู้อื่นมาเป็นของตน อาจจะยังดำเนินขนบทางวัฒนธรรมเดิมอยู่ได้ขณะที่ต้องยอมรับวัฒนธรรมอื่นเป็นหลัก หรืออาจถูกบังคับให้เลิกวัฒนธรรมของตนแล้วรับเอาวัฒนธรรมของชาติที่พิชิตเป็นของตนแทน . ในกรณีแรก วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจะมีอัตลักษณ์ที่จำแนกได้ชัดเจนเหมือนภาษาที่จัดเป็นสกุลหรือ phyla ได้ | กรณีที่สอง ย่อมมีการแทรกของวัฒนธรรมสกุลอื่นเข้ามาผสมผสาน แต่เนื่องจากการเชื่อมโยงกันเป็นไปอย่างละมุนละม่อมจึงไม่มีอะไรถูกทำลาย จะนำไปสู่ความหลากหลายมากขึ้นได้หลายปัจจัย แต่จะยังคงแยกแยะลักษณะของอัตลักษณ์แต่ละสกุลได้ | กรณีที่สาม ไม่ต่างอะไรกับขุดรากถอนโคน วัฒนธรรมสกุลเดิมถูกทำลายไป อาจมีบางคนที่ต่อต้านและต้องการรักษาขนบเก่าไว้อย่างหลบซ่อน ซึ่งจะทำให้กลายเป็นสิ่งต้องห้ามหรือตาบู แต่ก็อาจมีโอกาสที่วันหนึ่งจะถูกฟื้นฟูขึ้น . ตั้งแต่ปี 2004 ผมหมกมุ่นเรื่องนี้นานนับสิบปี อ่านหนังสือมากมาย ไปเก็บตัวอย่างจากภาคสนาม เสาะหาข้อมูลเสียงจากทุกที่ที่ได้เบาะแส ผมนึกอยู่เวียนวนจนได้สมมุติฐานอันนึงขึ้นมา "เป็นไปได้ไหมว่า ถ้าเรามีสายเลือดที่เชื่อมโยงกันทั้งโลกอย่างที่ ศจ.ลูกา และ เสปนเซอร์ นำเสนอ เราก็น่าจะมีวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกันโดยที่สอดคล้องกับสาแหรกพันธุกรรมด้วย และเมื่อเป็นเช่นนั้น เราก็น่าจะแยกแยะดนตรีซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมนุษย์ออกเป็นวงศ์ตระกูลได้ในลักษณะเดียวกัน ในเวลาต่อมา ผมพบบทความหนึ่งที่เขียนโดย ศจ. Victor Grauer หัวข้อเรื่อง Music Family ผมจำชื่อเขาได้ทันที เพราะผมเรียนหนังสือเล่มหนึ่งของ Alan Lomax นักมานุษยวิทยาดนตรีที่เป็นตำนานของโลก มันเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ดนตรีพื้นเมืองที่เขาคิดค้นขึ้นเรียกว่า Cantomatrics และอาจารย์วิคเตอร์ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของอลันมีส่วนในการคิดค้นนี้ . ผมเขียนอีเมล์ไปหาอาจารย์วิคเตอร์ตามอีเมล์ที่ปรากฏบนบทความของแก บอกว่าผมอ่าน Music Family แล้วคิดว่าน่าจะเดินไปในทิศทางเดียวกับที่ผมคิด แล้วเล่า Hypothesis ของผมให้แกฟัง บอกว่าผมจะเทรซจากดีเอ็นเอและการอพยพย้ายถิ่นของมนุษย์เป็นวิธีวิจัย แกตอบมาว่าเห็นด้วย นี่เป็นเรื่องใหม่และตื่นเต้นมาก อยากให้ผมแชร์ข้อมูลกับแก จากจุดนี้ไปคือการผจญภัยอันน่าตื่นเต้นของผมกับโครงการ Genomusicology ตั้งแต่วันนั้นมาจนบัดนี้ ยี่สิบปีแล้ว . ผมเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับความสนใจของผมในเรื่องนี้มาเรื่อย และบางครั้งมันไม่ได้เกี่ยวกับดนตรีแต่เป็นเรื่องอื่น ผมรู้แต่ตอนนั้นว่าความรู้อะไรก็ตามหากมันขัดกับวิทยาศาสตร์นี้ ไม่ว่าจะสาขาวิชาอะไร มันมีแนวโน้มจะผิดพลาด ตัวอย่างเช่นประวัติศาสตร์ ยิ่งถ้าคุณเปิดหน้าต่างหลายๆ ศาสตร์พร้อมกันโดยไม่ยึดติดกับทัศนะของสำนักคิดเดิม คุณจะพบกับหนทางที่กว้างไกลกว่า ยกตัวอย่างเช่นเมื่อคุณหาคำตอบทางประวัติศาสตร์ คุณลองทาบมันกับชีววิทยาพันธุกรรม ขณะเดียวกันก็ทาบมันกับโบราณคดี ภาษาศาสตร์ ธรณีวิทยา นิรุกติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปรัมปราคติ ศาสนาเทววิทยา...ฯลฯ มันจะนำคุณไปสู่คำตอบที่หนักแน่นกว่าที่คุณจะจมอยู่กับข้อมูลทางประวัติศาสตร์เพียงอย่างเดียว . หลายปีที่ผ่านมา เริ่มมีหลายสาขาวิชาที่หันมาใช้แผนที่แผ่นเดียวกับผม ที่ผมเห็นคือนักภาษาศาสตร์ในต่างประเทศมาก่อนเป็นพวกแรก ในไทยที่เริ่มก่อนคือนักโบราณคดีอย่างเช่น อาจารย์รัศมี ชูทรงเดช ท่านล้ำมาก ศึกษาซากบรรพชีวินแล้วเริ่มใช้ข้อมูลดีเอ็นเอมาก่อนที่จะมีนักชีววิทยารุ่นใหม่ที่สนใจด้านนี้เริ่มเอามาใช้ผนวกกับสาขามานุษยวิทยา ช่วงสี่ห้าปีหลังเริ่มมีงานวิจัยเกี่ยวกับดีเอ็นเอของคนไทยออกมาให้เห็นจากนักวิชาการไทยหลายคน . ถ้าจำเรื่องเก่าๆ ที่ผมเคยเขียนได้บ้างจะเห็นว่าผมพูดอยู่หลายครั้ง "ความแบ่งแยกเป็นความคิดของปีศาจ" และมันเป็นต้นตอความขัดแย้งที่ลุกลามกลายเป็นสงครามและการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ได้ ผมชี้ให้เห็นเสมอๆ ว่าคนเอเชียนั้นเป็นพี่น้องครอบครัวที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นลูกหลานของทายาทแห่งอาดัม (ในทางวิทยาศาสตร์) สองคนคือ Hg O และ Hg C และทายาทแห่งอีฟ (ในทางวิทยาศาสตร์) สี่คนคือ Hg B-M-F-D ดังนั้นพวกเขาไม่ว่าจะเรียกชื่อสมมุติตัวเองว่าอะไร ข้อเท็จจริงก็คือพวกเขาคือพี่น้องกันทั้งสิ้น เก่าใหม่ อ่อนแก่ ตามกาลเวลา . ด้วยเหตุนี้ ในปี 2008 ผมเขียนบทความหนึ่ง เรื่อง "ชื่อและชนเผ่า" และผมพยายามอธิบายความสมมุติที่ว่านี้ด้วยความพยายามยิ่งที่จะบอกความเป็นมาเป็นไปและความเกี่ยวโยงของแต่ละชาติพันธ์ ผมแบ่งกลุ่มพวกเขาออกเป็นสองกลุ่มง่ายๆ คือพวกเท้าเปียกและพวกเท้าแห้ง พวกเขาเป็นครอบครัวเดียวกันและทั้งหมดอยู่บนดินแดนเอเชียนี้มาตั้งแต่สามหมื่นกว่าปีที่แล้ว แต่พวกเท้าเปียกคือพวกที่อยู่บนซุนดาตอนล่าง ต้องผจญชะตากรรมน้ำท่วมโลกซึ่งหนักกว่าโนอาห์แน่นอน เพราะธรณีวิทยาบอกว่ามีที่เดียวบนโลกในประวัติศาสตร์มนุษย์แสนกว่าปี ที่คุณจะเรียกว่าน้ำท่วมโลกได้จริงๆ คือดินแดนซุนดาแห่งนี้ ไม่ใช่ในดินแดนเสี้ยวจันทร์หรือแถวเทือกเขาอารารัต มันท่วมที่นี่สามครั้งหลังยุคน้ำแข็งสิ้นสุด ทั้งสามครั้งรวมแล้วประมาณร้อยยี่สิบเมตร!.. ส่วนพวกเท้าแห้งก็คือพวกที่อยู่เหนือขึ้นไปในเมนแลนด์เอเชีย ซึ่งก็ได้เป็นสักขีพยานภัยพิบัตินี้เช่นกัน แต่มีเพียงส่วนน้อยที่ได้รับผลจากภัยพิบัติ . ดังนั้น สำหรับผม ไม่ว่าจะเอ่ยชื่อไหนมันก็คือสิ่งสมมุติ บรรดาพี่น้องในสาแหรกเท้าเปียกในอุษาคเนย์นับจากโบราณจนกระทั่งบัดนี้ อย่างที่บอก พวกเขาล้วนมาจากอัสเลียน แม้ต่อมาพวกเขาทั้งหลายจะกลายเป็นมอญ เป็นข่า เป็นละว้า เป็นขอมทวารวดี เป็นขอมละโว้ เป็นพนม เป็นสยาม เป็นศรีโพธิ์ เป็นมลายู เป็นนุสันทารา เป็นลาว เป็นจามปา เป็นเจนละ เป็นเขมร เป็นญวน... แต่หากคุณแล่เนื้อเถือหนังออกมา โครงสร้างทางโปรตีนของพวกเขาก็มีดีเอ็นเอที่มาจากบรรพบุรุษจากสาแหรกเดียวกันทั้งสิ้น.. . การที่คุณแครี่วายโครโมโซมแฮพโพลกรุ๊พโอ หมายถึงคุณคลานตามกันมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน การย่อยออกเป็น sub group ต่างๆ เช่น O1 O1a O1b O1c O2 O2a O2b O2c... คือซับมิวเทชั่นในสกุลเดียวกัน แม้แตกแขนงออกไปแต่คุณยังคงมีสายเลือดที่โยงใยกันอยู่ จีนที่ซึ่งในการวิจัยช่วงแรกถูกจัดเป็น O3 (ปัจจุบันปรับเป็น O2) ยอมรับกันว่าเป็นชนชาติที่มีระบบบันทึกประวัติศาสตร์ดีที่สุดและเก่ากว่าทุกชนชาติในเอเชีย ถอยหลังไปถึงสี่พันกว่าปี แต่พันธุกรรมบอกว่าพวกเขาเป็นน้องเล็กที่สุด มียีนอายุน้อยที่สุดในสาแหรกวงศ์ตระกูล (เรียงจากหลักน้อยไปหามาก O > O1 > O2 หลักน้อยคือเก่ากว่า) ข้อนี้ยิ่งยืนยันว่าสาแหรก Y DNA Hg O มีรากเหง้าที่เก่าแก่ยาวไกลเพียงใด ในโลกนี้พวกเขาเก่ารองจากพวกออสตราอะบอริจิ้น และพวกซาฮารันโบราณ มียีนเป็นพี่ของชาวยุโรปเกือบทั้งหมด ยกเว้นพวกบาสก์ในอุสกาดี สเปน และพวกซามิแถวแลปแลนด์ ฟินด์แลนด์ . Cultural Transmission ที่ส่งผ่านกันไปมานานนับหมื่นปี ทำให้ลักษณะที่ร่วมกันแต่โบราณจากวัฒนธรรมที่พื้นฐานที่สุดไปสู่วัฒนธรรมที่ซับซ้อนที่สุด ยังคงทิ้งเบาะแสความเกี่ยวโยงของพวกเขาเอาไว้ในทุกมิติทุกบริบท มันไม่ได้หายไปไหนและเรามองเห็นมันได้ แบบเดียวกับที่ผมเห็นผ่านดนตรี ตัวอย่างเช่น เราเป็นมนุษย์ที่ยุคบรรพกาลนับถือแม่เป็นใหญ่ เราจึงมีเทวี เจ้าแม่ พระแม่เต็มไปหมด ในดนตรีพื้นเมืองของเราผู้หญิงร้องเสียงสูงและดังทะลุทะลวง เพราะนางมีสถานะที่ได้รับการเคารพไม่ใช่ถูกกดไว้ นอกจากนั้นพวกนางยังมีการประสานเสียง มีพลังแข็งแรงและมั่นใจขณะขับร้อง นางสามารถยืนหยัดเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญได้ภายในสังคม แม้ทุกวันนี้ ผู้หญิงก็ยังคงเป็นใหญ่ในบ้าน ทุกบาททุกสตางค์ที่ผมหาได้ก็ต้องส่งมอบให้ภรรยาด้วยความเคารพ . เวลาที่มองภาพต่อทางประวัติศาสตร์ มุมมองของผมจึงเปลี่ยนไป ผมหยิบความรู้อื่นๆ เท่าที่อ้างอิงเชื่อถือได้มาประกบเข้าด้วยกันเสมอ... ทำไมกษัตริย์เขมรโบราณจะขึ้นครองราชย์ต้องแต่งกับนาค? สำหรับผม นี่คือปรัมปราคติที่สะท้อนการเมืองโบราณ เศรษฐีจากต่างถิ่น (ตัวขาวใส่เสื้อผ้าสวยงาม) จะมาปกครองคนท้องถิ่นที่เป็นคนพื้นเมือง (แก้ผ้า อยู่กับป่าฝนและมรสุม) ก็ต้องดองกับคนท้องถิ่น หลักฐานเจเนติคก็พบว่าพ้องกันว่า ผู้ชายบรรพบุรุษของพวกเรา (Y DNA Hg O) ซึ่งอพยพมาด้วยเส้นทางสายเอเชียกลาง อากาศดี อาหารสมบูรณ์ตลอดทาง พวกเขาคงหล่อเร้าใจไม่น้อยเมื่อเดินทางมาถึงซุนดา พวกผู้หญิงอะบอริจิ้น (mt DNA Hg B / M) พากันเลือกบรรพบุรุษของเราเป็นพ่อพันธ์ อุปมาดังหงส์ทองครองคู่กับนาคยังไงยังงั้น ทำให้ผู้ชายอะบอริจิ้นต้องถอยห่างออกไปจากแผ่นดินใหญ่ การได้แม่สายงูมาเป็นแม่พันธ์อีกสองแม่ ทำให้ลูกหลานพวก Hg O ออกลูกมาเต็มดินแดน มันคือการผสมกันของนกกับงู แต่พวก Hg C ที่ผู้หญิงไม่เลือกลูกหลานก็เลยน้อยกว่า แรงงานที่จะพัฒนาชุมชนและเป็นกำลังรบจึงน้อย ถ้าผู้หญิงของเขาไม่เลือกพวก Hg O และมีจำนวนประชากรพอๆ กัน พวกอัสเลียนกับอะบอริจิ้นคงรบกันแหลกราญตายไปข้างหนึ่ง นี่ไม่ใช่ครั้งเดียว... . พระนางจามเทวีแห่งละโว้ หรือจะเรียกละโว้ ละว้า ว้า ลั๊วะ ก็คือกัน เป็นข่า เป็นอัสเลียนที่ยังมีความเป็นชนพื้นเมือง เมื่อเทียบชายหนุ่มในเผ่าของนางกับหนุ่มเท้าแห้งพี่น้องสาแหรกเดียวกันแต่ขาวผ่องกว่าเพราะอาศัยอยู่ดินแดนทางเหนือขึ้นไป อากาศแสนดี แต่งตัวหล่อ เหตุฉะนี้ พระนางทำเหมือนบรรพบุรุษอะบอริจิ้นข้างแม่ ไม่เลือกพวกเดียวกันเอง แต่ไปเลือกหนุ่มทางเหนือแถวหริภุญชัยสายไป่เยว่ ทำเอานักรบหนุ่มละว้าถึงกับไม่พอใจทำไมไม่เลือกฉันไปเลือกไอ้ละอ่อนสำอางทางเหนือ เลยท้าพระนางจามพุ่งหอกแข่งกัน ถ้าแพ้ต้องแต่งกับเขา และพระนางจามเทวีชนะนักรบนะ! แปลว่าพระนางจามของเรานี้ก็ยังคงมีทักษะแบบที่ชนเผ่าในสมัยบรรพกาลมี คือโตมานี่ยังรบและล่าสัตว์อยู่ แม่หญิงธรรมดาที่ไหนจะพุ่งหอกชนะ พระนางคงเห็นว่าการแต่งกับหนุ่มทางเหนือเป็นการปรับปรุงสายพันธุ์และทำให้การเมืองมีหนทางที่ก้าวหน้าขึ้นกว่าที่เคยเป็น เพราะการดองลักษณะนี้ พวกเท้าเปียกและเท้าแห้งก็จะมี Cultural Transmission ที่ถ่ายเทต่อกันอย่างละมุนละม่อม ต่างกับพวกยุโรปที่ไปปล้นพวกเมาริ ยึดแผ่นดินพวกเขา แล้วบังคับให้ดีดอะคูเลเล่และเข้าโบสถ์ไปร้องประสานเสียง . หันมองเครือญาติข้างบ้าน ยุคสมัยแห่งเขมรพระนครนั้นล่มสลายไปนานแล้ว กัมพูชาอยู่ในปกครองของอยุธยายาวนานมาจนรัตนโกสินทร์ ตอนที่พวกอาณานิคมฝรั่งเศสบุกมายึดครอง แล้วฝรั่งพวกนี้ไปเจอนครวัดอยู่ในป่าดงดิบ คนเขมรส่วนใหญ่ในตอนนั้นไม่รู้ด้วยซ้ำว่ามีปราสาทโบราณอยู่ตรงนั้น มันถูกต้นไม้กลืนจนหายไป รากและกิ่งใบเลื้อยพันฝังรากลงไปในตัวปราสาทจนมองไม่เห็น หลังเป็นอิสระจากอาณานิคมฝรั่งเศสพวกกษัตริย์เขมรนั้นมาโตมาเรียนอยู่ที่สยามทั้งนั้น ประวัติศาสตร์บอกชัดไม่ต้องบรรยายอีก Cultural Transmission ถูกส่งผ่านอย่างละมุนละม่อม ไม่ใช่เพราะถูกพิชิตถูกบังคับให้ทำตาม แต่เพราะรากเหง้าเดิมของเขมรเสื่อมสลายไปหมดนานแล้ว และเจ้านายเขมรนิยมชมชอบในขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมแบบไทยจึงรับและเรียนไป จนกระทั่งมันวินาศย่อยยับไปอีกครั้งในยุคเขมรแดง เพราะศิลปิน ปราชญ์ราชบัณฑิต ครู กวี ปัญญาชน...ถูกเขมรแดงฆ่าจนสิ้น . ผมก็รำคาญนะ พวกเขมรเคลมโบเดียน่ะ แต่ก็คิดว่ามันน่าสงสาร ยังไงก็พี่น้องสาแหรกเดียวกัน แล้วคนฉลาดๆ ของเขาก็ตายไปหมดแล้วตอนยุคเขมรแดงทุ่งสังหาร ที่พอจะรอดมาได้ก็หนีไปอเมริกา-ยุโรปไม่กลับมาอีก อย่างไรก็ตามประวัติศาสตร์ที่บันทึกอยู่ในโลกก็บอกเรื่องราวของสยามและเขมรชัดแจ้งอยู่ มันจะเคลมยังไงก็ไม่มีใครเขาเชื่อ แล้วก็ไม่มีพิษสงอะไรหรอก นอกจากสร้างความรำคาญ ส่งพวกทหารพรานไปเป่าข้าวหลามสักสิบบ้องก็คงหยุดแล้ว . แต่ไอ้ที่เลวแท้ก็คือไอ้พวกตัวเป็นไทยใจเป็นเขมรนี่แหละ ไอ้ที่ส่งลูกไปปี้กับเขมรก็พอเข้าใจที่มันเกี่ยวดองเป็นเครือญาติกัน แต่ไอ้พวกที่ไม่ได้ดองอะไรแต่เสือกไปรับใช้เขมร อันนี้เรียกขายชาติ ในดีเอ็นเอมีพันธุกรรมสุนัขแทรกอยู่เลยเลือกกินอาจม ไม่กินผัดไทย . เรื่องที่ผมเขียนให้อ่านนี่มันยาก ผมเข้าใจนะ แต่หากคนเราในทุกวันนี้เข้าใจในข้อนี้ตรงกัน บางทีความขัดแย้งในโลกอาจลดลงจนหมดไปได้ และเราอาจก้าวไปสู่สังคมอุดมคติแบบที่เราไฝ่ฝันถึง "We're All Connected" . - พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (2568) - . https://youtu.be/RdW1HNA5uSc?si=3E1WAUxHdLhSdVsw
    0 Comments 0 Shares 313 Views 0 Reviews
  • คิสซิงเจอร์เคยพูดไว้ว่า
    “การเป็นศัตรูของสหรัฐฯ เป็นเรื่องอันตราย
    แต่การเป็นเพื่อนกับสหรัฐฯ น่ากลัวยิ่งกว่า”
    .
    ความห่วงใยของปราชญ์ สามสี ในบทความเรื่องไต้หวันและยูเครน เป็นสิ่งพึงสังวร
    [https://www.facebook.com/siamgreatwarriors/posts/1239830264171665]
    แต่เด็กรุ่นหลังไม่เข้าใจภัยที่ต้องสังวรนี้
    ขณะที่คนรุ่นเก่าพยายามใช้เวลาที่เหลือในชีวิตเพื่อป้องกันภัยนี้ให้พวกเขา
    พวกเขากลับเรียกร้องที่จะเป็นผู้จงรักต่อภัยคุกคามจากต่างชาติเหล่านี้
    .
    .
    เหล่าหมู่เกาะในอุษาสมุทร มีเกาะหนึ่งชื่อฟอโมซา พวกปอร์ตุเกสเป็นคนเรียกชื่อนี้และเขียนลงบนแผนที่ เกาะแห่งนี้เป็นบ้านของชนเผ่าหลายเผ่าที่พูดภาษาออสโตรนีเชียน (มาลาโย-โพลีนีเชียน) ในเลือดพวกเขามียีนที่เกี่ยวพันกับบรรพบุรุษอัสเลียนเช่นเดียวกับเราและกลุ่มที่กระจายอยู่ตามเกาะแก่งต่างๆ ในอุษาสมุทร พวกเขาประกอบด้วยชนเผ่าหลายเผ่า เช่น อตายาล พูยูมะ อาหมี ไพวัน ตาว เถา บูนัน ฮลาวาลัว กาวาลัน กานากานาวู รูไก ไซซิแยต ซากิซายะ ซีดิก ทาโรโก มากาเตา สิรายา บาบูจา บาเซ เกตากาลัน ปาโปรา.... พวกเขาคือเจ้าของแท้จริงของดินแดนที่ซึ่งวันนี้รู้จักกันว่า ไต้หวัน
    .
    อย่างที่รู้ ไต้หวันทุกวันนี้ถูกปกครองโดยคนจีนพลัดถิ่นที่แรกเริ่มนำมาโดยเจียงไคเช็คซึ่งหนีกองทัพรัฐบาลกลางมาตั้งมั่นที่เกาะแห่งนี้ ประวัติศาสตร์เหล่านี้หาอ่านได้ จึงไม่ขอกล่าวถึง
    .
    ย้อนหลังไปในประวัติศาสตร์จีน บันทึกจีนสมัยสามก๊กเขียนถึงเกาะแห่งหนึ่ง จีนเรียกชื่อว่าหยี่โจว.. ในยุคต่อๆมาพ่อค้าจีนเรียกว่า เสี่ยวตงเต้า บ้าง.. ต้าฮุยกัว บ้าง.. มีการติดต่อค้าขายระหว่างคนจีนและคนพื้นเมืองมาตั้งแต่ราชวงศ์สุย เรื่อยมาจนถึงราชวงศ์หยวน มีชาวจีนมาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งนี้ตั้งแต่ศตวรรษที่สิบหก ทะเลในแถบนี้คนจีนถือเป็นบริเวณที่สำคัญของปลากระบอก ขุนนางคนหนึ่งชื่อเฉินตี้เดินทางมากับกองทหารปราบโจรสลัดในทะเลตะวันออกและมาเยือนเกาะแห่งนี้ เฉินตี้เขียนบันทึกเล่มหนึ่งชื่อตงฟานจี (แปลว่าบันทึกของชาวป่าเถื่อนตะวันออก) บรรยายถึงชาวพื้นเมืองและวิถีชีวิตของพวกเขา รวมทั้งบันทึกถึงถิ่นฐานต่างๆ ที่ชาวจีนมาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งนี้ พ่อค้าจีนค้าขายเหล็กและสิ่งทอ แลกกับถ่านหิน กำมะถัน ทองคำและเนื้อกวางกับคนพื้นเมือง คนจีนจึงรับรู้ตัวตนของพวกเขาและยอมรับสถานะพวกเขามาแต่โบราณ ถือเป็นดินแดนหนึ่งในอาณัตของจีน เมื่อโชกุนโทกูกาวายกทัพมาเพื่อพยายามจะยึดเกาะแห่งนี้ จีนจึงส่งกองกำลังมาขับไล่
    .
    ผมเคยเขียนถึงเพื่อนศิลปินคนหนึ่งจากเผ่าพูยูมะ เธอชื่อซามิงัน เธอเล่าให้ฟังถึงความรู้สึกในฐานะชนเผ่าที่เป็นเจ้าของแผ่นดินแต่ไม่เคยมีศักดิ์ฐานะเช่นเจ้าของแผ่นดินเลยเมื่อเทียบกับคนจีนที่มาปกครอง ศิลปะวัฒนธรรมของชนเผ่าต่างๆ ถูกละเลยและเสื่อมลงเรื่อยๆ
    .
    อย่างที่ทราบ รัฐบาลไต้หวันทุกวันนี้เป็นชาวจีนอพยพ แต่พวกเขาไม่ยอมรับจีนแผ่นดินใหญ่ คณะปกครองปัจจุบันพยายามที่จะแยกว่าไต้หวันเป็นอิสระจากจีนและอาศัยอเมริกาเป็นโล่ห์กำบังทั้งที่อเมริกาและสหประชาชาติตกลงยอมรับความเป็นจีนเดียว ไต้หวันทำทุกอย่างที่อเมริกาสั่งเพื่อเป็นฐานในการต่อต้านจีนในแปซิฟิค และอย่างที่ทุกคนรู้ ชะตากรรมของไต้หวันนั้นล่อแหลมอย่างมากและโดยแท้แล้วอเมริกาไม่แยแสพวกเขา แต่จะใช้ประโยชน์เท่าที่ใช้ได้ และในที่สุดแล้วไม่มีทางเลยที่ไต้หวันจะแยกตัวออกไปจากจีนแผ่นดินใหญ่ได้ พวกเขาจะถูกบดขยี้ถ้าเลือกหนทางที่ต่อต้านขัดขืนด้วยการใช้กำลังทหาร
    .
    เอาจริงๆ ประชาชนจีนพลัดถิ่นในไต้หวัน ไม่ได้รู้สึกว่ามันจะเลวร้ายหรอกถ้าเป็นส่วนหนึ่งของจีน ทุกวันนี้จากข่าวก็เห็นกันไปทั้งโลกว่าจีนก้าวหน้าเพียงใด และไต้หวันจะก้าวหน้าไปไกลกว่านี้ถ้ากลับไปสู่จีน แต่ชนชั้นปกครองไม่ต้องบอกก็รู้ว่าล้วนรับใช้อเมริกัน คนพวกนี้จะลงเอยในฐานกบฏ
    .
    ในความรู้สึกของผม คนจีนพลัดถิ่นในไต้หวันควรที่จะคืนศักดิ์ฐานะให้ชาวพื้นเมืองเจ้าของแผ่นดินตัวจริง ให้พวกเขามีส่วนในการปกครองและตัดสินใจในอนาคตของประชากรบนเกาะแห่งนี้
    .
    คงไม่ต้องบอก ผู้ชายชาวไต้หวันไม่ว่าจะชนพื้นเมืองหรือคนจีนอพยพล้วนอยู่ในสาแหรก Hg O พวกชนพื้นเมืองมียีนที่เก่ากว่ามากเมื่อเทียบกับคนจีนแม้ในแผ่นดินใหญ่ ยีนแม่ของพวกเขามีสายใยเชื่อมโยงกับคนไทยอย่างเราทาง mt Hg F และ D พวกเขามีความเกี่ยวพันใกล้ชิดกับชนเผ่าไทอย่างหลี ก้ำ สุ่ย ในไห่หนานและชนเผ่าฮักกา เกี่ยวพันกับชนเผ่าในฟิลิปปินส์ และยังเกี่ยวพันกับชนพื้นเมืองบนเกาะโอกินาวา
    .
    บทความของ ปราชญ์ สามสี ที่ผมเอาลิ๊งก์มาแนบนี้ น่าจะทำให้คนไทยคิดให้มากขึ้น ยูเครนนั้นเดินไปสู่หนทางสิ้นชาติแล้วอย่างแน่นอน แต่ไต้หวันจะไม่แย่ขนาดนั้น สำหรับจีน ชนพื้นเมืองต่างๆ ถือเป็นทรัพยากรอันมีคุณต่อเศรษฐกิจ เป็นซอฟพาวเวอร์สำหรับโลกยุคปัจจุบัน ไทยควรจะต้องรู้ว่าการสังเวยตัวเองไปอยู่ระหว่างคมหอกของมหาอำนาจอย่างที่ไต้หวันกำลังทำนั้นเป็นความโง่เขลาสิ้นคิด อย่าได้ถลำไปในทางนั้นอย่างเด็ดขาด
    .
    กรณีของไต้หวัน หากจะยึดถือจุดยืนตรงข้ออ้างที่ไม่เกี่ยวข้องกับจีน มีทางเดียว คนจีนทั้งหมดต้องยุติบทบาทการปกครองแล้วมอบสิทธิ์คืนแก่คนพื้นเมือง คนจีนอพยพทั้งหมดต้องถอยไปในจุดที่เป็นแค่ผู้อาศัยเท่านั้น ซึ่งแน่นอนว่าคงยอมไม่ได้
    .
    คิสซิงเจอร์เคยพูดไว้ว่า “การเป็นศัตรูของสหรัฐฯ เป็นเรื่องอันตราย แต่การเป็นเพื่อนกับสหรัฐฯ น่ากลัวยิ่งกว่า” . ความห่วงใยของปราชญ์ สามสี ในบทความเรื่องไต้หวันและยูเครน เป็นสิ่งพึงสังวร [https://www.facebook.com/siamgreatwarriors/posts/1239830264171665] แต่เด็กรุ่นหลังไม่เข้าใจภัยที่ต้องสังวรนี้ ขณะที่คนรุ่นเก่าพยายามใช้เวลาที่เหลือในชีวิตเพื่อป้องกันภัยนี้ให้พวกเขา พวกเขากลับเรียกร้องที่จะเป็นผู้จงรักต่อภัยคุกคามจากต่างชาติเหล่านี้ . . เหล่าหมู่เกาะในอุษาสมุทร มีเกาะหนึ่งชื่อฟอโมซา พวกปอร์ตุเกสเป็นคนเรียกชื่อนี้และเขียนลงบนแผนที่ เกาะแห่งนี้เป็นบ้านของชนเผ่าหลายเผ่าที่พูดภาษาออสโตรนีเชียน (มาลาโย-โพลีนีเชียน) ในเลือดพวกเขามียีนที่เกี่ยวพันกับบรรพบุรุษอัสเลียนเช่นเดียวกับเราและกลุ่มที่กระจายอยู่ตามเกาะแก่งต่างๆ ในอุษาสมุทร พวกเขาประกอบด้วยชนเผ่าหลายเผ่า เช่น อตายาล พูยูมะ อาหมี ไพวัน ตาว เถา บูนัน ฮลาวาลัว กาวาลัน กานากานาวู รูไก ไซซิแยต ซากิซายะ ซีดิก ทาโรโก มากาเตา สิรายา บาบูจา บาเซ เกตากาลัน ปาโปรา.... พวกเขาคือเจ้าของแท้จริงของดินแดนที่ซึ่งวันนี้รู้จักกันว่า ไต้หวัน . อย่างที่รู้ ไต้หวันทุกวันนี้ถูกปกครองโดยคนจีนพลัดถิ่นที่แรกเริ่มนำมาโดยเจียงไคเช็คซึ่งหนีกองทัพรัฐบาลกลางมาตั้งมั่นที่เกาะแห่งนี้ ประวัติศาสตร์เหล่านี้หาอ่านได้ จึงไม่ขอกล่าวถึง . ย้อนหลังไปในประวัติศาสตร์จีน บันทึกจีนสมัยสามก๊กเขียนถึงเกาะแห่งหนึ่ง จีนเรียกชื่อว่าหยี่โจว.. ในยุคต่อๆมาพ่อค้าจีนเรียกว่า เสี่ยวตงเต้า บ้าง.. ต้าฮุยกัว บ้าง.. มีการติดต่อค้าขายระหว่างคนจีนและคนพื้นเมืองมาตั้งแต่ราชวงศ์สุย เรื่อยมาจนถึงราชวงศ์หยวน มีชาวจีนมาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งนี้ตั้งแต่ศตวรรษที่สิบหก ทะเลในแถบนี้คนจีนถือเป็นบริเวณที่สำคัญของปลากระบอก ขุนนางคนหนึ่งชื่อเฉินตี้เดินทางมากับกองทหารปราบโจรสลัดในทะเลตะวันออกและมาเยือนเกาะแห่งนี้ เฉินตี้เขียนบันทึกเล่มหนึ่งชื่อตงฟานจี (แปลว่าบันทึกของชาวป่าเถื่อนตะวันออก) บรรยายถึงชาวพื้นเมืองและวิถีชีวิตของพวกเขา รวมทั้งบันทึกถึงถิ่นฐานต่างๆ ที่ชาวจีนมาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งนี้ พ่อค้าจีนค้าขายเหล็กและสิ่งทอ แลกกับถ่านหิน กำมะถัน ทองคำและเนื้อกวางกับคนพื้นเมือง คนจีนจึงรับรู้ตัวตนของพวกเขาและยอมรับสถานะพวกเขามาแต่โบราณ ถือเป็นดินแดนหนึ่งในอาณัตของจีน เมื่อโชกุนโทกูกาวายกทัพมาเพื่อพยายามจะยึดเกาะแห่งนี้ จีนจึงส่งกองกำลังมาขับไล่ . ผมเคยเขียนถึงเพื่อนศิลปินคนหนึ่งจากเผ่าพูยูมะ เธอชื่อซามิงัน เธอเล่าให้ฟังถึงความรู้สึกในฐานะชนเผ่าที่เป็นเจ้าของแผ่นดินแต่ไม่เคยมีศักดิ์ฐานะเช่นเจ้าของแผ่นดินเลยเมื่อเทียบกับคนจีนที่มาปกครอง ศิลปะวัฒนธรรมของชนเผ่าต่างๆ ถูกละเลยและเสื่อมลงเรื่อยๆ . อย่างที่ทราบ รัฐบาลไต้หวันทุกวันนี้เป็นชาวจีนอพยพ แต่พวกเขาไม่ยอมรับจีนแผ่นดินใหญ่ คณะปกครองปัจจุบันพยายามที่จะแยกว่าไต้หวันเป็นอิสระจากจีนและอาศัยอเมริกาเป็นโล่ห์กำบังทั้งที่อเมริกาและสหประชาชาติตกลงยอมรับความเป็นจีนเดียว ไต้หวันทำทุกอย่างที่อเมริกาสั่งเพื่อเป็นฐานในการต่อต้านจีนในแปซิฟิค และอย่างที่ทุกคนรู้ ชะตากรรมของไต้หวันนั้นล่อแหลมอย่างมากและโดยแท้แล้วอเมริกาไม่แยแสพวกเขา แต่จะใช้ประโยชน์เท่าที่ใช้ได้ และในที่สุดแล้วไม่มีทางเลยที่ไต้หวันจะแยกตัวออกไปจากจีนแผ่นดินใหญ่ได้ พวกเขาจะถูกบดขยี้ถ้าเลือกหนทางที่ต่อต้านขัดขืนด้วยการใช้กำลังทหาร . เอาจริงๆ ประชาชนจีนพลัดถิ่นในไต้หวัน ไม่ได้รู้สึกว่ามันจะเลวร้ายหรอกถ้าเป็นส่วนหนึ่งของจีน ทุกวันนี้จากข่าวก็เห็นกันไปทั้งโลกว่าจีนก้าวหน้าเพียงใด และไต้หวันจะก้าวหน้าไปไกลกว่านี้ถ้ากลับไปสู่จีน แต่ชนชั้นปกครองไม่ต้องบอกก็รู้ว่าล้วนรับใช้อเมริกัน คนพวกนี้จะลงเอยในฐานกบฏ . ในความรู้สึกของผม คนจีนพลัดถิ่นในไต้หวันควรที่จะคืนศักดิ์ฐานะให้ชาวพื้นเมืองเจ้าของแผ่นดินตัวจริง ให้พวกเขามีส่วนในการปกครองและตัดสินใจในอนาคตของประชากรบนเกาะแห่งนี้ . คงไม่ต้องบอก ผู้ชายชาวไต้หวันไม่ว่าจะชนพื้นเมืองหรือคนจีนอพยพล้วนอยู่ในสาแหรก Hg O พวกชนพื้นเมืองมียีนที่เก่ากว่ามากเมื่อเทียบกับคนจีนแม้ในแผ่นดินใหญ่ ยีนแม่ของพวกเขามีสายใยเชื่อมโยงกับคนไทยอย่างเราทาง mt Hg F และ D พวกเขามีความเกี่ยวพันใกล้ชิดกับชนเผ่าไทอย่างหลี ก้ำ สุ่ย ในไห่หนานและชนเผ่าฮักกา เกี่ยวพันกับชนเผ่าในฟิลิปปินส์ และยังเกี่ยวพันกับชนพื้นเมืองบนเกาะโอกินาวา . บทความของ ปราชญ์ สามสี ที่ผมเอาลิ๊งก์มาแนบนี้ น่าจะทำให้คนไทยคิดให้มากขึ้น ยูเครนนั้นเดินไปสู่หนทางสิ้นชาติแล้วอย่างแน่นอน แต่ไต้หวันจะไม่แย่ขนาดนั้น สำหรับจีน ชนพื้นเมืองต่างๆ ถือเป็นทรัพยากรอันมีคุณต่อเศรษฐกิจ เป็นซอฟพาวเวอร์สำหรับโลกยุคปัจจุบัน ไทยควรจะต้องรู้ว่าการสังเวยตัวเองไปอยู่ระหว่างคมหอกของมหาอำนาจอย่างที่ไต้หวันกำลังทำนั้นเป็นความโง่เขลาสิ้นคิด อย่าได้ถลำไปในทางนั้นอย่างเด็ดขาด . กรณีของไต้หวัน หากจะยึดถือจุดยืนตรงข้ออ้างที่ไม่เกี่ยวข้องกับจีน มีทางเดียว คนจีนทั้งหมดต้องยุติบทบาทการปกครองแล้วมอบสิทธิ์คืนแก่คนพื้นเมือง คนจีนอพยพทั้งหมดต้องถอยไปในจุดที่เป็นแค่ผู้อาศัยเท่านั้น ซึ่งแน่นอนว่าคงยอมไม่ได้ .
    0 Comments 0 Shares 271 Views 0 Reviews
  • เขียนเล่าเรื่องพันธุกรรมมนุษย์มาหลายต่อหลายครั้ง ทั้งที่ความรู้นี้โลกเขารับรู้มาตั้งแต่ปี 2004 แล้ว ปัจจุบันนักวิชาการไทยหลายคนก็ทำวิจัยเรื่องนี้ตีพิมพ์ออกมาพอสมควร แต่ก็ยังมีบางพวกบางกลุ่มที่ยังตะแบงติดกับดักวังวนของสำนักคิดเก่าๆ อยู่อย่างนั้น ไอ้ที่แย่กว่าคือ จำต้องยอมรับวิทยาศาสตร์นี้โดยปริยายทั้งที่ไปกันไม่ได้กับเรื่องที่ตนเขียน แต่ความที่เคยพูดเคยเขียนหนังสือขายหาเงินรับประทานมาไม่น้อยกับความรู้ผิดๆ ครึ่งๆกลางๆ งูๆปลาๆ ก็เลยยังต้องยืนยันความคิดเดิมตะแบงต่อไป ถ้าไอ้ส่วนที่ความรู้ใหม่มันไปกันได้กับที่เคยเขียนก็จะหยิบมาอ้าง แต่ส่วนที่มันฟ้องว่าเอ็งเข้าใจผิดแล้วก็จะเลี่ยงเสีย เช่นกรณีเฒ่าเจ๊กปนลาวชังชาตินั่น
    .
    ความแบ่งแยกอันเป็นความคิดของปีศาจ นำมาซึ่งชื่อสมมุติ ที่โดยมากมักอุปโลกน์ขึ้นมาเพื่อปฏิเสธความเกี่ยวเนื่อง เพื่อสร้างอัตลักษณ์ใหม่ เพื่อให้ดูแตกต่างกับผู้คนหรือบรรพบุรุษที่เคยเกี่ยวข้อง ไม่ว่าเครื่องแต่งกายก็ตาม ความเชื่อ ภาษาพูดก็ตาม สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เครื่องพิสูจน์องค์ประกอบของตัวมนุษย์แต่ละผู้ว่าเป็นใครหรือเผ่าพันธุ์ไหน เป็นไปได้อย่างยิ่งว่าความเป็นเจ๊กปนลาวที่พูดไทยหากินกับภาษาไทยของเฒ่าผู้นั้น อาจเป็นเรื่องเลื่อนลอยไปได้ ลาวที่เขาคิดว่าเป็นพ่ออาจเป็นกัมมุ และเจ๊กที่เขาคิดว่าเป็นแม่อาจเป็นชนเผ่าฮักกา ที่ซึ่งไม่ใช่เจ๊ก แต่เป็นเยว่ ก็เป็นได้... อยากจะแน่ใจก็ไปตรวจซะ
    .
    อย่างที่ทราบ (เอ๊ะ หรือใครยังไม่ทราบ?) มนุษย์ที่เป็นชนชาติต่างๆในโลกนี้ อพยพออกมาจากแอฟริกาเมื่อแสนกว่าปีก่อน เป็นหน่อเนื้อลูกหลานของบรรพบุรุษที่อาศัยในบริเวณที่ปัจจุบันเรียกว่าซาฮาร่า ดังนั้นนักวิชาการเลย "นิยามชื่อ" พวกเขาว่าพวก "ซาฮารันโบราณ" ผู้ชายทุกคนในโลกนี้ไม่ว่าคนออสตราอะบอริจิ้น คนเอเชีย คนตะวันออกกลาง คนยุโรป คนเมโสอเมริกา ล้วนมียีนของอาดัมทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่าวายโครโมโซม M168 นี้ทุกคน ยกเว้นพวกแอฟริกาบางเผ่าที่บรรพบุรุษไม่ได้อพยพออกมาและยังคงอยู่รอดในแอฟริกาจนถึงปัจจุบันนี้
    .
    ด้วยภาพใหญ่นี้ สาแหรกพันธุกรรมแสดงให้เห็น "DEEP ANCESTOR" โคตรเหง้าที่ลึกที่สุดของมนุษย์โลก "การที่พวกอาหรับพูดภาษาสกุลเซมิติคส่วนคนไทยอย่างเราพูดภาษาสกุลจ้วง-ไท ความแตกต่างนี้ไม่อาจลบล้างข้อเท็จจริงทางพันธุกรรมที่ทั้งคู่มี Deep Ancestor ร่วมกันไปได้". ทุกวันนี้มนุษย์ที่มียีนของ M168 เก่าแก่กว่าใครในโลกคือพวก San Bushman พวกเขาพูดภาษาสกุลกอยซานที่ในทาง Linguistic ถือว่าเป็นภาษาลูกของภาษาซาฮารันโบราณที่ยอมรับกันว่าคือ Global Early Language * หมายถึงภาษาแรกของโลก เมื่อพิจารณาจากวิทยาศาสตร์ข้อนี้ มนุษย์ทุกชนชาติที่มีชื่อสมมุติกันไปต่างๆ จะว่าไปก็ถือเป็นคนกอยซานทั้งสิ้น ดังนั้นคุณจงอย่าได้ยึดติดว่าภาษาพูดของชาติพันธ์หนึ่ง จะบ่งบอกว่าเขาคือชาติพันธ์นั้นเสมอไป... คนจีนอพยพตั้งแต่รุ่นที่สองที่อยู่ในเมืองไทยพูดภาษาไทยชัดทุกคน คนอเมริกันที่เกิดที่นี่ คนอินเดียที่เกิดที่นี่พูดไทยสำเนียงไทยชัดทุกคน และเป็นไปได้ว่าวันหนึ่งเขาอาจย้ายไปอยู่ที่ภูฏานเป็นการถาวรจนลูกหลานเขาเกิดที่นั่น แล้วพูดภาษาภูฏานชัดเจน
    .
    [* ภาษากอยซาน : นักภาษาศาสตร์ลงความเห็นว่าคือภาษาที่เก่าที่สุดในโลก มีลักษณะพิเศษคือมีเสียงคลิ๊กอยู่ในคำ ซึ่งได้หายไปจากภาษาอื่นๆ ที่เกิดภายหลัง นักวิชาการเชื่อว่า เมื่อบรรพบุรุษของเราอพยพออกจากแอฟริกาเมื่อแสนปีก่อน พวกเขามีภาษาพูดแล้ว ไม่เช่นนั้นพวกเขาจะไม่สามารถล่าสัตว์ใหญ่อย่างแมมมอธได้ เพราะการล่าเช่นนี้ต้องทำงานเป็นทีม ไม่มีภาษาก็ทำงานเป็นทีมไม่ได้]
    .
    เมื่อมนุษย์มาจากแอฟริกาและเรามีเชื้อสายซาฮารันมาก่อน ทำไมเราจึงพูดกันไม่รู้เรื่อง พูดกันคนละภาษา ผมเคยเขียนบทความหนึ่งชื่อ บาเบล สืบเนื่องจากคัมภีร์ปฐมกาลบทที่ชื่อบาเบล เล่าว่า “พระเจ้าทรงเห็นว่ามนุษย์สร้างหอคอยใหญ่เทียมฟ้าขึ้นมาได้ พวกเขาอยากจะทำอะไรก็จะสำเร็จได้ อย่ากระนั้นเลย เราจะบันดาลให้เขาพูดกันไม่รู้เรื่อง ผู้คนก็แยกย้ายกันไป เป็นชนชาติต่างๆ ภาษาต่างๆ” นี่...ใครสักคนป้ายสีพระผู้เป็นเจ้าว่าเป็นมูลเหตุให้มนุษย์พูดกันไม่รู้เรื่อง. ใครสักคนในที่นี้มีอย่างน้อยสามคน นักภาษาศาสตร์ยุคใหม่วิเคราะห์ลักษณะการเขียน สำนวน คำศัพท์ที่ใช้ซึ่งบ่งบอกรากฐานและยุคสมัยได้ ทำการวิเคราะห์พระคัมภีร์ไบเบิ้ลฉบับคิงเจมส์ พวกเขาลงความเห็นว่า คัมภีร์ไบเบิ้ลมีผู้เขียนราวสามคน มีลักษณะการเขียนที่แตกต่างกันสามสำนวน คละเคล้ากันไปในแต่ละบท บางบทมีการปนกันมากกว่าหนึ่งสำนวน และยังลงความเห็นว่ารูปแบบการเขียนของบทปฐมกาล (genesis) เขียนทีหลังบทอพยพ (exodus)
    .
    นอกจากนี้นักภาษาศาสตร์ยุคหลังมานี่เชื่อว่าภาษาอินโดยูโรเปี้ยนนี้ คือผลของการทุบทำลายภาษาแม่ครั้งสำคัญในโลก เมื่อคุณพิจารณาพันธุกรรม คุณจะต้องทราบว่าผู้ชายชาวยุโรปและตะวันออกกลางแชร์สาแหรกพันธุกรรมในเครือเดียวกันคือ R / J / E อย่างที่ผมเขียนเรื่องยิวและปาเลสไตน์ไปก่อนนี้.. พวกคนยุโรป เปอร์เซีย อารยัน (ที่ภายหลังไปบุกอินเดียโบราณ) ล้วนเป็นสาแหรกเดียวกัน อย่าว่าแต่ยิวซึ่งเป็น semitic speaker ฆ่าปาเลสไตน์ที่เป็นพี่น้องใกล้ชิดเลย หากคนกรีก คนโรมัน ไปฆ่าคนเปอร์เซียหรือกลับกัน ก็คือพี่น้องฆ่ากันอยู่ดีนั่นแหละ อยู่มาวันหนึ่ง ไม่แน่ชัดว่าอะไรเป็นเหตุ หลังสงครามเทวีที่เกิดการต่อต้านปฏิเสธความเชื่อที่นับถือแม่เป็นใหญ่ เทวรูปของเทพีมากมาย เช่น Artemis เทวีผู้มอบความอุดมสมบูรณ์ ต่างพากันถูกทุบจมูกทุบใบหน้าทิ้งให้ดูน่าเกลียด ชนชาติที่เคยเกี่ยวดองกัน พลันแยกออกจากกันเป็นชนชาติใหม่ พูดภาษาใหม่ เด็กที่เกิดใหม่นับแต่นั้นจะถูกฝึกให้พูดภาษาที่สร้างขึ้นมา จากนั้นก็ตามมาด้วยชื่อสมมุติอย่างเช่น อัสซีเรีย อัคเคเดียน ฮิตไทท์... จากนั้นก็ตามมาด้วยสงครามพี่น้องฆ่ากัน ทั้งที่ชีววิทยาพันธุกรรมบอกว่าพวกเขาคือพี่น้องคลานตามกันมาทั้งนั้น และถ้าอ้างไบเบิ้ล อย่างเช่นกรณีของบุตรหลานของ Sam ลูกหลานของโนอาห์ ก็อย่างที่เคยเล่าไปแล้ว ความแบ่งแยกทำให้พวกเขาปฏิเสธสายใยที่มี
    .
    อย่างที่ชี้ให้เห็นนี่ ดีเอ็นเอบอกเราถึงความเป็นพี่น้องร่วมสาแหรก แต่พวกเขาปฏิเสธกันเองแล้วแบ่งแยก ทุบทำลายภาษาแม่ทิ้งไปพร้อมๆ กันในเวลาไล่เลี่ยกัน ไม่ใช่เพราะฝีมือพระเจ้าหรอก มนุษย์นี่แหละ นักภาษาศาสตร์โบราณคดีทำการค้นคว้าเรื่องนี้แล้วทำการโยงภาษาในสกุลอินโดยูโรเปี้ยนทั้งหมด ย้อนกลับไปสู่ภาษาซาฮารันโบราณ ด้วยพจนานุกรมคำศัพท์ของพวก Basque (กลุ่มคนที่ isolated อยู่ในสเปนซึ่งเชื่อว่าเป็นภาษาลูกที่เหลืออยู่ของภาษาซาฮารัน).. เรื่องนี้ยาวนะ ผมเคยเล่าไว้ในบทความชื่อบาเบลที่ผมเกริ่นไปข้างบน ใครอยากลงลึกให้ไปอ่าน Linguistic Archaeology เขียนโดย Edo Nyland
    .
    เวลาเจอบทความอะไรจากเฒ่าเจ๊กปนลาวผู้นี้ รวมทั้งจากพวกสาวกกระดูกอ่อนของเขาก็เลยออกจะรำคาญ ด้วยการอ้างชื่อต่างๆ พวกเขาเชื่อมโยงยกแม่น้ำเป็นตุเป็นตะ ไอ้นั่นมาจากไหน ไอ้นี่มาจากไหน โดยไม่มีหลักฐานอะไรที่หนักแน่นพอมารองรับ… ยกตัวอย่างเช่นใช้กลองสำริดบ้าง ใช้ภาพเขียนสีผนังถ้ำโบราณบ้าง มาอ้างอิงทั้งที่ไม่เข้าใจว่าดูอะไรอยู่
    .
    ภาพเขียนสีผนังถ้ำโบราณแต่ละแห่งที่พบในโลกที่รังสรรค์โดยบรรพบุรุษยุคแรก ถ้าคุณทาบข้อมูลทางโบราณคดีของมันกับข้อมูลอื่น เช่น พันธุกรรมและการอพยพย้ายถิ่น ธรณีวิทยา ภาษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา วิทยาศาสตร์.. ก็จะรู้อะไรที่ต่างไปจากที่เคยมีคนสันนิษฐานกันออกมาก่อนหน้านี้ได้ เช่น ภูมิศาสตร์บอกว่าลักษณะภูมิประเทศแบบใดที่มนุษย์โบราณในยุคนั้นชอบใช้เป็นที่อาศัยและหลบภัย ลักษณะทางภูมิศาสตร์แบบไหนที่พบภาพเขียนสี ทำไมมันจึงถูกเลือกเป็นที่จัดทำนิทรรศการ.. ธรณีวิทยาบอกว่า พบดินแบบเดียวกันถูกใช้เป็นสีเขียนผนังถ้ำทุกแห่ง.. วิทยาศาสตร์บอกองค์ประกอบธาตุของสีที่ใช้เขียนว่าเป็นแบบเดียวกัน ซึ่งแปลได้ว่าพวกเขาเรียนหนังสือมาจากที่เดียวกัน คือเรียนรู้เทคนิคในการทำแบบนี้ซ้ำต่อๆ กันมาเหมือนๆ กัน.. มานุษยวิทยาเห็นการสะท้อนธรรมเนียมนิยมทางวัฒนธรรมบรรพกาลของพวกเขา เช่น เอาสีใส่ปากพ่นผ่านมือให้เป็นรูปมือ เขียนรูปคนและสัตว์ที่มีลักษณะทาง figure ที่คล้ายคลึงกัน มีจินตนาการในการสร้างลักษณะของบุคคลที่พิเศษออกไปจากคนปกติเพื่อแสดงว่าเป็นผีสางเทวดาที่เขานับถือ... มีการวิเคราะห์คุณสมบัติทางวิทยาศาสตร์ของสภาวะแวดล้อมของพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ที่พวกเขาไปเขียนรูปไว้ เช่น คุณสมบัติการก้องสะท้อนเสียงของสถานที่
    .
    และเมื่อทาบพันธุกรรมลงไปดูความสอดคล้องกัน เริ่มจากพวกเผ่า San Bushman ที่มียีนของอดัมที่เก่าที่สุดในโลก พบว่าพวกเขาทำภาพเขียนสีผนังถ้ำด้วยคุณสมบัติเดียวกันทุกด้านดังที่ได้กล่าวไปนั่น พวกอัสเลียนโบราณก็ทำภาพเขียนสีผนังถ้ำด้วยคุณสมบัติเดียวกันกับที่กล่าวไปเช่นกัน เอาภาพเขียนสีเช่นที่ถ้ำเขาจันทร์งาม สีคิ้ว ไปเปรียบกับภาพเขียนสีในแอฟริกาที่พวกกอยซานทำ ทุกองค์ประกอบที่ว่านั่นก็จะเห็นว่าเหมือนกัน... พวกปาปัว-ออสตราอะบอริจิ้น ก็ทำภาพเขียนสีผนังถ้ำด้วยคุณสมบัติเดียวกับที่กล่าวไป นี่เป็นนวัตกรรมที่เป็นมรดกโคตรยาวนานของมนุษย์ จากแอฟริกาไปสู่จุดต่างๆในโลก ในวันนี้ พวกเขาเหล่านี้พูดกันคนละภาษา มันดูไม่มีความกี่ยวข้องกันใช่ไหมล่ะ? แต่วิทยาศาสตร์ไม่ได้บอกเช่นนั้น ในพันธุกรรมมี mutation ในวัฒนธรรมมี cultural transmission ถ้าเราขยับไปดูสิ่งที่คุ้นเคยกว่านั้นอีกสักอย่าง เช่น "กลอง".. มนุษย์ทุกแห่ง ตั้งแต่พวกที่อยู่ในแอฟริกา แม้แต่พวกชนเผ่าที่ไม่ได้อพยพไปไหนเลยจนกระทั่งยุคล่าอาณานิคม กับมนุษย์ทุกชนชาติที่กระจายอยู่ในทุกมุมโลก พวกเขาต่างทำกลองเหมือนกัน วิธีการคือ ด้วยการขึงหนังสัตว์ (membrane) ลงบนปากทรงกลมของวัตถุทรงกระบอก (cylinder) ขึงให้ตึงและตีให้สั่น นี่คือนวัตกรรมที่เรียก Membranophones คนทั้งโลกไม่ได้ต่างคนต่างทำเหมือนกันโดยบังเอิญ มันคือมรดกที่ส่งต่อกันมาตั้งแต่ก่อนอพยพเมื่อแสนปีที่แล้วและเก่าพอๆ กับภาษาแรก
    .
    ซากบรรพชีวินที่นักวิชาการไทยอย่างที่อาจารย์รัศมีท่านสำรวจและค้นคว้าอยู่ กรอบเวลาเท่าไหร่? โนนนกทา? บ้านเชียง? พวกนั้นเป็นใคร? โฮโมเซเปี้ยนส์แน่นอน ชีววิทยาบอกชัดว่าเซเปี้ยนส์ เราไม่ได้วิวัฒน์มาจากโฮโมอีเร็คตัส พวกนั้นสูญพันธ์ไปแล้วก็จบ ยีนพ่อไม่เคยหายไปจากมนุษย์และเราไม่มียีนของอีเร็คตัสอยู่ในตัวเรา เมื่อราวเจ็ดหมื่นปีก่อน เกิด super eruption ขึ้นที่ภูเขาโทบาในสุมาตราโบราณ [https://geographical.co.uk/.../explainer-the-toba...] ทิ้งบาดแผลไว้เป็นทะเลสาปโทบาให้ดูในทุกวันนี้ ภัยพิบัตินี้รุนแรง มันตามมาด้วยฤดูหนาวนิวเคลียร์ (นักวิชาการว่าเช่นนี้) เถ้าภูเขาไฟปกคลุมโลกนานหลายปีและลอยไปไกลถึงกรีนแลนด์ โฮโมอีเร็คตัสในเอเชียถ้ายังมีชีวิตอยู่จะต้องตายหมด ดังนั้นไม่ว่าจะมนุษย์ปักกิ่ง มนุษย์ชวาอะไร ไม่เกี่ยวกับเราทั้งนั้น กรอบเวลาของบรรพบุรุษเราที่มาถึงที่นี่คือห้าหมื่นและสามหมื่นปีมาแล้ว มากันสองระลอก และคนพื้นเมืองที่บุกเบิกดินแดนนี้ไม่ได้แปะยี่ห้ออะไรเมื่อมาถึง นอกจากเรียกตัวเองว่า กอย หมายถึง คน… (ข่า ก็เรียกตัวเองว่า ข้อย.. ลาว ก็เรียกตัวเองว่า ข้อย)
    .
    ในความเป็นจริง มนุษย์โบราณที่เป็นบรรพบุรุษของชายชาวเอเชียราว 75 เปอร์เซ็นต์ล้วนเป็น Y DNA Hg O คือครอบครัวที่ใหญ่ที่สุดในโลก พวกเขามิวเททมาจากสาแหรกของพ่อ Y DNA Hg K ซึ่งมาถึงเอเชียกลางเมื่อราวสี่หมื่นปีและกระจายออกไป ทั้งที่ข้ามโกบีและไซบีเรีย ข้ามเบริงเจียไปอเมริกา (Hg Q) กลายเป็นพวกนาวาโฮ... ทั้งที่ย้อนกลับเข้าไปในยุโรปเผชิญความทารุณของยุคน้ำแข็งกลายเป็นพวกยุโรป (Hg R)… บรรพบุรุษพวกนี้ เมื่อตั้งถิ่นฐานตรงจุดใด ก็มักอยู่ตรงนั้น ลองนึกถึงความเป็นจริงว่า การย้ายถิ่นฐานใช้เวลายาวนานหลายชั่วคน เมื่อผู้อาวุโสหรือพ่อของเขาแก่เฒ่าไร้เรี่ยวแรงที่จะเดินทางบุกเบิกต่อไป บางส่วนของพวกเขาจะหยุดการเดินทางและตั้งหลักแหล่งโดยเฉพาะเมื่อพบสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์พอจะดำรงชีพ คนหนุ่มจะเดินทางผจญภัยต่อไปเพื่อหาที่ของตนที่จะได้ขึ้นมาเป็นผู้นำ ได้มองโลกด้วยทัศนะของพวกเขาเอง พวกเขาจะพบปัญหาใหม่ จะได้หาทางแก้ไขสถานะการณ์ที่ไม่เคยพบ ดังนั้นพวกเขาจะมีเทคโนโลยีที่ดีขึ้นไปเองโดยธรรมชาติ จนเมื่อพวกเขาพบว่าได้เจอสถานที่ที่พึงพอใจหรือไปต่อไม่ได้แล้ว การเดินทางก็จะหยุด
    .
    คุณคิดว่ามีมนุษย์จำนวนเท่าไหร่ เมื่อพวกเขามาถึงแผ่นดินซุนดาเมื่อสามหมื่นปีก่อน?
    .
    บรรพบุรุษของเรา เดินทางมาตามซุปเปอร์ไฮเวย์โบราณสายเอเชียกลางที่เป็นทุ่งหญ้าอันอุดมสมบูรณ์ อุดมด้วยกวางแอนทีโลฟและช้างแมมมอธ ท้องอิ่ม อบอุ่น และอันตรายน้อย เมื่อมาถึงซุนดา คุณคิดว่าพวกเขาจะอยู่อาศัยกันที่ไหน? บนภูเขา ในป่า หรือที่ราบลุ่มปากแม่น้ำ? ไปคิดดูเป็นการบ้าน
    .
    หากพิจารณาดูปัจจัยต่างๆ เราจะรู้ได้ว่าชุมชนบรรพกาล มักจะตั้งอยู่บนที่ที่เหมาะสมในการผดุงชีพ อ.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา ให้ความเห็นว่า เนื่องเพราะบรรพบุรุษพวกนี้ต้องเผชิญกับน้ำท่วมซุนดาถึงสามครั้ง พวกเขานิยมสร้างบ้านที่มีเสาสูงและมีไต้ถุนสูง ทำแพและมีทักษะในการเดินทางด้วยแพ ซึ่งพร้อมที่จะอพยพหนีโดยล่องด้วยแพขึ้นไปเรื่อยๆ สู่ทิศทางต้นน้ำ ไม่เดินเท้าเพราะไม่รู้ว่าน้ำจะมาทางไหน เมื่อเห็นและแน่ใจว่าน้ำหยุดท่วมแล้วก็ปักหลักตั้งถิ่นฐานใหม่ เพราะพวกเขารู้ดีว่าไม่มีจุดไหนที่มีทรัพยากรอุดมไปกว่าริมแม่น้ำ ทั้งสัตว์น้ำและดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก ในป่านั้นมีโรคมากมายและสัตว์ร้าย พวกเขาจะเข้าไปต่อเมื่อต้องการล่าหรือหาของป่า
    .
    ชุมชนบรรพกาลเหล่านี้ เมื่อพบพื้นที่ที่พวกเขาพึงพอใจแล้วก็มักจะปักหลักอยู่เช่นนั้น สืบต่อกันไปหลายชั่วคน หลักฐานทางโบราณคดีก็ชี้ชัดเช่นนั้น ทำให้เกิดชุมชนโบราณขึ้นตรงนั้นตรงนี้มากมายและขยายตัวออกไป เกษตรกรรมเป็นอีกปัจจัยที่ทำให้เลิกเร่ร่อนแล้วหยุดตั้งหลักแหล่ง ผลที่เก็บเกี่ยวแน่นอนตามฤดูกาลทำให้ปัจจัยทางอาหารมั่นคง ดังนั้นพวกเขาจะไม่ย้ายไปไหนโดยง่ายถ้าไม่ใช่เพราะภัยธรรมชาติ โรคระบาด หรือสงครามจากคนกลุ่มอื่นมาบีบบังคับให้ย้ายไปที่อื่น ชุมชนบรรพกาลซึ่งประชากรมีอยู่น้อย ย่อมต้องการปริมาณแรงงานไว้เพื่อสร้างชุมชนของตนให้เติบโตรุ่งเรืองขึ้น ถ้าไม่เกิดปัญหาที่ว่านี้ พวกเขาก็จะไม่ย้ายไปไหน พวกเขาจำฤดูกาลประจำถิ่น ทิศทางลม เวลาน้ำขึ้นลง ยาอยู่ที่ไหน อะไรเป็นยา จำต้นไม้ได้ทุกต้นและรู้ว่าอะไรใช้ทำอะไรได้บ้าง สัตว์อยู่ที่ไหน หาเจอยังไง จับยังไง... ความรู้ในภูมิลำเนาพวกนี้ใช้เวลาสั่งสมยาวนาน
    .
    เราต่างได้เรียนรู้กันมามากพอสมควรเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ แต่บางครั้งนิยามหรือความสมมุติในความเป็นชนชาติบ้านเมืองต่างๆ มักพาให้ไขว้เขว บางถิ่นฐาน ผู้ปกครองเป็นผู้มีศักดิ์ฐานะ มีทรัพยากรมาก แต่เป็นคนต่างถิ่นมาจากที่อื่น ไม่ต่างกับทุกวันนี้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหัวเมืองเช่นเชียงราย อาจเป็นลูกเศรษฐีตระกูลใหญ่จากกรุงเทพ สมัยโบราณก็เช่นกัน ประชากรเป็นคนพื้นเมืองท้องถิ่น อาจอยู่ที่นั่นมาแปดชั่วคนแล้ว เขาไม่ย้ายไปที่อื่นเพียงเพราะผู้ปกครองไม่ใช่คนพื้นเมืองเหมือนตน ถ้าปกครองดี ทุกคนยังกินอิ่ม ไม่รีดภาษี ไม่ก่อกรรมทำเข็ญ ข่มเหงรังแก พวกเขาก็จะอยู่อย่างนั้นต่อไปในรุ่นลูกรุ่นหลาน จักรวรรดิจีนโบราณดินแดนกว้างใหญ่ ประชากรไม่ได้มีแต่จีนฮั่นเท่านั้น ยังมีประชากรที่เป็นชนเผ่าอื่นๆในปกครองหลายสิบเผ่า แล้วก็มีผู้ปกครองที่มาจากถิ่นอื่นมาปกครอง เคยมีกษัตริย์ที่เป็นมองโกล กษัตริย์ที่เป็นแมนจูมานั่งบัลลังก์ฮ่องเต้ ยิ่งรูปงามผิวพรรณผุดผ่องมาพร้อมโปรโมชั่นว่าเป็นเทพลงมาเกิดก็จะทำให้รู้สึกนับถืออยากพึ่งพาบารมี ดังนั้นผู้ปกครองก็อาจเป็นชาติพันธุ์หนึ่งขณะที่ประชากรในดินแดนเป็นอีกชาติพันธุ์หนึ่งได้ เช่น ผู้ปกครองมีชื่อสมมุติว่าเป็นชาติพันธุ์ลาว ผู้ใต้ปกครองอาจเป็นชาวพื้นเมืองมีชื่อสมมุติว่าชาติพันธุ์ข่า เป็นต้น.. ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่พูดนี่ เป็นคนละเรื่องกับแนวความคิดเรื่องชาติ ประเทศ รัฐ ชนชาติและสัญชาติ ซึ่งเป็นความคิดใหม่ที่เกิดขึ้นภายหลังตามคติของอาณานิคมตะวันตก
    .
    สำหรับผมมันเป็นเรื่องตลก ที่พูดว่าคนโคราชไม่ใช่คนอีสาน
    ความยึดมั่นของผู้พูดผูกโยงกับภูมิลำเนา ผูกกับสำเนียงภาษาที่ใช้ แล้วเอามามัดให้ประชากรนั้นเป็นเผ่าพันธ์ตามที่ตนผูกไว้
    .
    คนอีสานคือใครในทัศนะวิทยาศาสตร์ คนอีสานอาจประกอบด้วยพลเมืองจากทางเหนือที่มาไกลจากจีน มาจากหยุนหนาน หรืออาจมาจากเวียตนาม ได้มากพอกับมีพลเมืองที่มีชื่อสมมุติว่า "ลาว" ที่เฒ่างี่เง่านี้นิยามให้สาวกเชื่อว่าเป็นคนท้องถิ่นโดยแท้แล้วก็ปฏิเสธในเชิงที่รู้สึกได้ว่าพยายามจะบอกใครๆ ว่าคนโคราชเป็น "สิ่งแปลกปลอมในท่ามกลางคนอีสาน" ผมรู้สึกอย่างนั้น แล้วเขาก็โยงเรื่องโยงชื่อ ทั้งคนทั้งสถานที่ มั่วไปหมดชนแพะชนแกะชนควาย อนุมานเอาตามความเชื่อตน ทั้งที่ความเป็นจริงทุกมนุษย์ที่อ้างอิงมานั่นไม่ว่าจะด้วยคำ สยาม ทวารวดี มอญ อยุธยา สุพรรณ โคราช ศรีโคตรบูรณ์ เวียงจันทร์ ชัยวรมัน.... บลาๆๆ... ล้วนคือ Y Chromosome DNA Haplogroup O (O2 เป็นจำนวนเปอร์เซ็นต์สูงสุด) ทั้งนั้น ต่อให้หมู่บ้านนึงมันดันพูดได้สามภาษา ทั้งลาวทั้งอังกฤษทั้งเกาหลีสำเนียงเป๊ะทั้งหมู่บ้านก็ตามที
    .
    เขย่าไว้ไม่ให้นอนก้น
    ข้าว่าพวกเอ็งมันนอนก้นถอยหลังไปสองร้อยปี
    ฟังวนอยู่ห้าคำสิบคำ เต็มไปด้วยคำว่า “สันนิษฐานว่า…“
    แปลเป็นไทยคือ คาดว่า เดาว่า... คือเอ็งไม่รู้ไง เชื่อเองเออเองแล้วมาชวนคนอื่นให้เชื่อตาม
    .
    นี่รู้ไหม...
    มีไม่น้อยนะที่สันนิษฐานว่ามนุษย์เซเปี้ยนส์นี่น่ะ มาจากเชื้อพันธุ์มนุษย์ต่างดาวชื่อ อนูนากิ แกเชื่อไหมเล่า?
    .
    - พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา [2568] -
    .
    เขียนเล่าเรื่องพันธุกรรมมนุษย์มาหลายต่อหลายครั้ง ทั้งที่ความรู้นี้โลกเขารับรู้มาตั้งแต่ปี 2004 แล้ว ปัจจุบันนักวิชาการไทยหลายคนก็ทำวิจัยเรื่องนี้ตีพิมพ์ออกมาพอสมควร แต่ก็ยังมีบางพวกบางกลุ่มที่ยังตะแบงติดกับดักวังวนของสำนักคิดเก่าๆ อยู่อย่างนั้น ไอ้ที่แย่กว่าคือ จำต้องยอมรับวิทยาศาสตร์นี้โดยปริยายทั้งที่ไปกันไม่ได้กับเรื่องที่ตนเขียน แต่ความที่เคยพูดเคยเขียนหนังสือขายหาเงินรับประทานมาไม่น้อยกับความรู้ผิดๆ ครึ่งๆกลางๆ งูๆปลาๆ ก็เลยยังต้องยืนยันความคิดเดิมตะแบงต่อไป ถ้าไอ้ส่วนที่ความรู้ใหม่มันไปกันได้กับที่เคยเขียนก็จะหยิบมาอ้าง แต่ส่วนที่มันฟ้องว่าเอ็งเข้าใจผิดแล้วก็จะเลี่ยงเสีย เช่นกรณีเฒ่าเจ๊กปนลาวชังชาตินั่น . ความแบ่งแยกอันเป็นความคิดของปีศาจ นำมาซึ่งชื่อสมมุติ ที่โดยมากมักอุปโลกน์ขึ้นมาเพื่อปฏิเสธความเกี่ยวเนื่อง เพื่อสร้างอัตลักษณ์ใหม่ เพื่อให้ดูแตกต่างกับผู้คนหรือบรรพบุรุษที่เคยเกี่ยวข้อง ไม่ว่าเครื่องแต่งกายก็ตาม ความเชื่อ ภาษาพูดก็ตาม สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เครื่องพิสูจน์องค์ประกอบของตัวมนุษย์แต่ละผู้ว่าเป็นใครหรือเผ่าพันธุ์ไหน เป็นไปได้อย่างยิ่งว่าความเป็นเจ๊กปนลาวที่พูดไทยหากินกับภาษาไทยของเฒ่าผู้นั้น อาจเป็นเรื่องเลื่อนลอยไปได้ ลาวที่เขาคิดว่าเป็นพ่ออาจเป็นกัมมุ และเจ๊กที่เขาคิดว่าเป็นแม่อาจเป็นชนเผ่าฮักกา ที่ซึ่งไม่ใช่เจ๊ก แต่เป็นเยว่ ก็เป็นได้... อยากจะแน่ใจก็ไปตรวจซะ . อย่างที่ทราบ (เอ๊ะ หรือใครยังไม่ทราบ?) มนุษย์ที่เป็นชนชาติต่างๆในโลกนี้ อพยพออกมาจากแอฟริกาเมื่อแสนกว่าปีก่อน เป็นหน่อเนื้อลูกหลานของบรรพบุรุษที่อาศัยในบริเวณที่ปัจจุบันเรียกว่าซาฮาร่า ดังนั้นนักวิชาการเลย "นิยามชื่อ" พวกเขาว่าพวก "ซาฮารันโบราณ" ผู้ชายทุกคนในโลกนี้ไม่ว่าคนออสตราอะบอริจิ้น คนเอเชีย คนตะวันออกกลาง คนยุโรป คนเมโสอเมริกา ล้วนมียีนของอาดัมทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่าวายโครโมโซม M168 นี้ทุกคน ยกเว้นพวกแอฟริกาบางเผ่าที่บรรพบุรุษไม่ได้อพยพออกมาและยังคงอยู่รอดในแอฟริกาจนถึงปัจจุบันนี้ . ด้วยภาพใหญ่นี้ สาแหรกพันธุกรรมแสดงให้เห็น "DEEP ANCESTOR" โคตรเหง้าที่ลึกที่สุดของมนุษย์โลก "การที่พวกอาหรับพูดภาษาสกุลเซมิติคส่วนคนไทยอย่างเราพูดภาษาสกุลจ้วง-ไท ความแตกต่างนี้ไม่อาจลบล้างข้อเท็จจริงทางพันธุกรรมที่ทั้งคู่มี Deep Ancestor ร่วมกันไปได้". ทุกวันนี้มนุษย์ที่มียีนของ M168 เก่าแก่กว่าใครในโลกคือพวก San Bushman พวกเขาพูดภาษาสกุลกอยซานที่ในทาง Linguistic ถือว่าเป็นภาษาลูกของภาษาซาฮารันโบราณที่ยอมรับกันว่าคือ Global Early Language * หมายถึงภาษาแรกของโลก เมื่อพิจารณาจากวิทยาศาสตร์ข้อนี้ มนุษย์ทุกชนชาติที่มีชื่อสมมุติกันไปต่างๆ จะว่าไปก็ถือเป็นคนกอยซานทั้งสิ้น ดังนั้นคุณจงอย่าได้ยึดติดว่าภาษาพูดของชาติพันธ์หนึ่ง จะบ่งบอกว่าเขาคือชาติพันธ์นั้นเสมอไป... คนจีนอพยพตั้งแต่รุ่นที่สองที่อยู่ในเมืองไทยพูดภาษาไทยชัดทุกคน คนอเมริกันที่เกิดที่นี่ คนอินเดียที่เกิดที่นี่พูดไทยสำเนียงไทยชัดทุกคน และเป็นไปได้ว่าวันหนึ่งเขาอาจย้ายไปอยู่ที่ภูฏานเป็นการถาวรจนลูกหลานเขาเกิดที่นั่น แล้วพูดภาษาภูฏานชัดเจน . [* ภาษากอยซาน : นักภาษาศาสตร์ลงความเห็นว่าคือภาษาที่เก่าที่สุดในโลก มีลักษณะพิเศษคือมีเสียงคลิ๊กอยู่ในคำ ซึ่งได้หายไปจากภาษาอื่นๆ ที่เกิดภายหลัง นักวิชาการเชื่อว่า เมื่อบรรพบุรุษของเราอพยพออกจากแอฟริกาเมื่อแสนปีก่อน พวกเขามีภาษาพูดแล้ว ไม่เช่นนั้นพวกเขาจะไม่สามารถล่าสัตว์ใหญ่อย่างแมมมอธได้ เพราะการล่าเช่นนี้ต้องทำงานเป็นทีม ไม่มีภาษาก็ทำงานเป็นทีมไม่ได้] . เมื่อมนุษย์มาจากแอฟริกาและเรามีเชื้อสายซาฮารันมาก่อน ทำไมเราจึงพูดกันไม่รู้เรื่อง พูดกันคนละภาษา ผมเคยเขียนบทความหนึ่งชื่อ บาเบล สืบเนื่องจากคัมภีร์ปฐมกาลบทที่ชื่อบาเบล เล่าว่า “พระเจ้าทรงเห็นว่ามนุษย์สร้างหอคอยใหญ่เทียมฟ้าขึ้นมาได้ พวกเขาอยากจะทำอะไรก็จะสำเร็จได้ อย่ากระนั้นเลย เราจะบันดาลให้เขาพูดกันไม่รู้เรื่อง ผู้คนก็แยกย้ายกันไป เป็นชนชาติต่างๆ ภาษาต่างๆ” นี่...ใครสักคนป้ายสีพระผู้เป็นเจ้าว่าเป็นมูลเหตุให้มนุษย์พูดกันไม่รู้เรื่อง. ใครสักคนในที่นี้มีอย่างน้อยสามคน นักภาษาศาสตร์ยุคใหม่วิเคราะห์ลักษณะการเขียน สำนวน คำศัพท์ที่ใช้ซึ่งบ่งบอกรากฐานและยุคสมัยได้ ทำการวิเคราะห์พระคัมภีร์ไบเบิ้ลฉบับคิงเจมส์ พวกเขาลงความเห็นว่า คัมภีร์ไบเบิ้ลมีผู้เขียนราวสามคน มีลักษณะการเขียนที่แตกต่างกันสามสำนวน คละเคล้ากันไปในแต่ละบท บางบทมีการปนกันมากกว่าหนึ่งสำนวน และยังลงความเห็นว่ารูปแบบการเขียนของบทปฐมกาล (genesis) เขียนทีหลังบทอพยพ (exodus) . นอกจากนี้นักภาษาศาสตร์ยุคหลังมานี่เชื่อว่าภาษาอินโดยูโรเปี้ยนนี้ คือผลของการทุบทำลายภาษาแม่ครั้งสำคัญในโลก เมื่อคุณพิจารณาพันธุกรรม คุณจะต้องทราบว่าผู้ชายชาวยุโรปและตะวันออกกลางแชร์สาแหรกพันธุกรรมในเครือเดียวกันคือ R / J / E อย่างที่ผมเขียนเรื่องยิวและปาเลสไตน์ไปก่อนนี้.. พวกคนยุโรป เปอร์เซีย อารยัน (ที่ภายหลังไปบุกอินเดียโบราณ) ล้วนเป็นสาแหรกเดียวกัน อย่าว่าแต่ยิวซึ่งเป็น semitic speaker ฆ่าปาเลสไตน์ที่เป็นพี่น้องใกล้ชิดเลย หากคนกรีก คนโรมัน ไปฆ่าคนเปอร์เซียหรือกลับกัน ก็คือพี่น้องฆ่ากันอยู่ดีนั่นแหละ อยู่มาวันหนึ่ง ไม่แน่ชัดว่าอะไรเป็นเหตุ หลังสงครามเทวีที่เกิดการต่อต้านปฏิเสธความเชื่อที่นับถือแม่เป็นใหญ่ เทวรูปของเทพีมากมาย เช่น Artemis เทวีผู้มอบความอุดมสมบูรณ์ ต่างพากันถูกทุบจมูกทุบใบหน้าทิ้งให้ดูน่าเกลียด ชนชาติที่เคยเกี่ยวดองกัน พลันแยกออกจากกันเป็นชนชาติใหม่ พูดภาษาใหม่ เด็กที่เกิดใหม่นับแต่นั้นจะถูกฝึกให้พูดภาษาที่สร้างขึ้นมา จากนั้นก็ตามมาด้วยชื่อสมมุติอย่างเช่น อัสซีเรีย อัคเคเดียน ฮิตไทท์... จากนั้นก็ตามมาด้วยสงครามพี่น้องฆ่ากัน ทั้งที่ชีววิทยาพันธุกรรมบอกว่าพวกเขาคือพี่น้องคลานตามกันมาทั้งนั้น และถ้าอ้างไบเบิ้ล อย่างเช่นกรณีของบุตรหลานของ Sam ลูกหลานของโนอาห์ ก็อย่างที่เคยเล่าไปแล้ว ความแบ่งแยกทำให้พวกเขาปฏิเสธสายใยที่มี . อย่างที่ชี้ให้เห็นนี่ ดีเอ็นเอบอกเราถึงความเป็นพี่น้องร่วมสาแหรก แต่พวกเขาปฏิเสธกันเองแล้วแบ่งแยก ทุบทำลายภาษาแม่ทิ้งไปพร้อมๆ กันในเวลาไล่เลี่ยกัน ไม่ใช่เพราะฝีมือพระเจ้าหรอก มนุษย์นี่แหละ นักภาษาศาสตร์โบราณคดีทำการค้นคว้าเรื่องนี้แล้วทำการโยงภาษาในสกุลอินโดยูโรเปี้ยนทั้งหมด ย้อนกลับไปสู่ภาษาซาฮารันโบราณ ด้วยพจนานุกรมคำศัพท์ของพวก Basque (กลุ่มคนที่ isolated อยู่ในสเปนซึ่งเชื่อว่าเป็นภาษาลูกที่เหลืออยู่ของภาษาซาฮารัน).. เรื่องนี้ยาวนะ ผมเคยเล่าไว้ในบทความชื่อบาเบลที่ผมเกริ่นไปข้างบน ใครอยากลงลึกให้ไปอ่าน Linguistic Archaeology เขียนโดย Edo Nyland . เวลาเจอบทความอะไรจากเฒ่าเจ๊กปนลาวผู้นี้ รวมทั้งจากพวกสาวกกระดูกอ่อนของเขาก็เลยออกจะรำคาญ ด้วยการอ้างชื่อต่างๆ พวกเขาเชื่อมโยงยกแม่น้ำเป็นตุเป็นตะ ไอ้นั่นมาจากไหน ไอ้นี่มาจากไหน โดยไม่มีหลักฐานอะไรที่หนักแน่นพอมารองรับ… ยกตัวอย่างเช่นใช้กลองสำริดบ้าง ใช้ภาพเขียนสีผนังถ้ำโบราณบ้าง มาอ้างอิงทั้งที่ไม่เข้าใจว่าดูอะไรอยู่ . ภาพเขียนสีผนังถ้ำโบราณแต่ละแห่งที่พบในโลกที่รังสรรค์โดยบรรพบุรุษยุคแรก ถ้าคุณทาบข้อมูลทางโบราณคดีของมันกับข้อมูลอื่น เช่น พันธุกรรมและการอพยพย้ายถิ่น ธรณีวิทยา ภาษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา วิทยาศาสตร์.. ก็จะรู้อะไรที่ต่างไปจากที่เคยมีคนสันนิษฐานกันออกมาก่อนหน้านี้ได้ เช่น ภูมิศาสตร์บอกว่าลักษณะภูมิประเทศแบบใดที่มนุษย์โบราณในยุคนั้นชอบใช้เป็นที่อาศัยและหลบภัย ลักษณะทางภูมิศาสตร์แบบไหนที่พบภาพเขียนสี ทำไมมันจึงถูกเลือกเป็นที่จัดทำนิทรรศการ.. ธรณีวิทยาบอกว่า พบดินแบบเดียวกันถูกใช้เป็นสีเขียนผนังถ้ำทุกแห่ง.. วิทยาศาสตร์บอกองค์ประกอบธาตุของสีที่ใช้เขียนว่าเป็นแบบเดียวกัน ซึ่งแปลได้ว่าพวกเขาเรียนหนังสือมาจากที่เดียวกัน คือเรียนรู้เทคนิคในการทำแบบนี้ซ้ำต่อๆ กันมาเหมือนๆ กัน.. มานุษยวิทยาเห็นการสะท้อนธรรมเนียมนิยมทางวัฒนธรรมบรรพกาลของพวกเขา เช่น เอาสีใส่ปากพ่นผ่านมือให้เป็นรูปมือ เขียนรูปคนและสัตว์ที่มีลักษณะทาง figure ที่คล้ายคลึงกัน มีจินตนาการในการสร้างลักษณะของบุคคลที่พิเศษออกไปจากคนปกติเพื่อแสดงว่าเป็นผีสางเทวดาที่เขานับถือ... มีการวิเคราะห์คุณสมบัติทางวิทยาศาสตร์ของสภาวะแวดล้อมของพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ที่พวกเขาไปเขียนรูปไว้ เช่น คุณสมบัติการก้องสะท้อนเสียงของสถานที่ . และเมื่อทาบพันธุกรรมลงไปดูความสอดคล้องกัน เริ่มจากพวกเผ่า San Bushman ที่มียีนของอดัมที่เก่าที่สุดในโลก พบว่าพวกเขาทำภาพเขียนสีผนังถ้ำด้วยคุณสมบัติเดียวกันทุกด้านดังที่ได้กล่าวไปนั่น พวกอัสเลียนโบราณก็ทำภาพเขียนสีผนังถ้ำด้วยคุณสมบัติเดียวกันกับที่กล่าวไปเช่นกัน เอาภาพเขียนสีเช่นที่ถ้ำเขาจันทร์งาม สีคิ้ว ไปเปรียบกับภาพเขียนสีในแอฟริกาที่พวกกอยซานทำ ทุกองค์ประกอบที่ว่านั่นก็จะเห็นว่าเหมือนกัน... พวกปาปัว-ออสตราอะบอริจิ้น ก็ทำภาพเขียนสีผนังถ้ำด้วยคุณสมบัติเดียวกับที่กล่าวไป นี่เป็นนวัตกรรมที่เป็นมรดกโคตรยาวนานของมนุษย์ จากแอฟริกาไปสู่จุดต่างๆในโลก ในวันนี้ พวกเขาเหล่านี้พูดกันคนละภาษา มันดูไม่มีความกี่ยวข้องกันใช่ไหมล่ะ? แต่วิทยาศาสตร์ไม่ได้บอกเช่นนั้น ในพันธุกรรมมี mutation ในวัฒนธรรมมี cultural transmission ถ้าเราขยับไปดูสิ่งที่คุ้นเคยกว่านั้นอีกสักอย่าง เช่น "กลอง".. มนุษย์ทุกแห่ง ตั้งแต่พวกที่อยู่ในแอฟริกา แม้แต่พวกชนเผ่าที่ไม่ได้อพยพไปไหนเลยจนกระทั่งยุคล่าอาณานิคม กับมนุษย์ทุกชนชาติที่กระจายอยู่ในทุกมุมโลก พวกเขาต่างทำกลองเหมือนกัน วิธีการคือ ด้วยการขึงหนังสัตว์ (membrane) ลงบนปากทรงกลมของวัตถุทรงกระบอก (cylinder) ขึงให้ตึงและตีให้สั่น นี่คือนวัตกรรมที่เรียก Membranophones คนทั้งโลกไม่ได้ต่างคนต่างทำเหมือนกันโดยบังเอิญ มันคือมรดกที่ส่งต่อกันมาตั้งแต่ก่อนอพยพเมื่อแสนปีที่แล้วและเก่าพอๆ กับภาษาแรก . ซากบรรพชีวินที่นักวิชาการไทยอย่างที่อาจารย์รัศมีท่านสำรวจและค้นคว้าอยู่ กรอบเวลาเท่าไหร่? โนนนกทา? บ้านเชียง? พวกนั้นเป็นใคร? โฮโมเซเปี้ยนส์แน่นอน ชีววิทยาบอกชัดว่าเซเปี้ยนส์ เราไม่ได้วิวัฒน์มาจากโฮโมอีเร็คตัส พวกนั้นสูญพันธ์ไปแล้วก็จบ ยีนพ่อไม่เคยหายไปจากมนุษย์และเราไม่มียีนของอีเร็คตัสอยู่ในตัวเรา เมื่อราวเจ็ดหมื่นปีก่อน เกิด super eruption ขึ้นที่ภูเขาโทบาในสุมาตราโบราณ [https://geographical.co.uk/.../explainer-the-toba...] ทิ้งบาดแผลไว้เป็นทะเลสาปโทบาให้ดูในทุกวันนี้ ภัยพิบัตินี้รุนแรง มันตามมาด้วยฤดูหนาวนิวเคลียร์ (นักวิชาการว่าเช่นนี้) เถ้าภูเขาไฟปกคลุมโลกนานหลายปีและลอยไปไกลถึงกรีนแลนด์ โฮโมอีเร็คตัสในเอเชียถ้ายังมีชีวิตอยู่จะต้องตายหมด ดังนั้นไม่ว่าจะมนุษย์ปักกิ่ง มนุษย์ชวาอะไร ไม่เกี่ยวกับเราทั้งนั้น กรอบเวลาของบรรพบุรุษเราที่มาถึงที่นี่คือห้าหมื่นและสามหมื่นปีมาแล้ว มากันสองระลอก และคนพื้นเมืองที่บุกเบิกดินแดนนี้ไม่ได้แปะยี่ห้ออะไรเมื่อมาถึง นอกจากเรียกตัวเองว่า กอย หมายถึง คน… (ข่า ก็เรียกตัวเองว่า ข้อย.. ลาว ก็เรียกตัวเองว่า ข้อย) . ในความเป็นจริง มนุษย์โบราณที่เป็นบรรพบุรุษของชายชาวเอเชียราว 75 เปอร์เซ็นต์ล้วนเป็น Y DNA Hg O คือครอบครัวที่ใหญ่ที่สุดในโลก พวกเขามิวเททมาจากสาแหรกของพ่อ Y DNA Hg K ซึ่งมาถึงเอเชียกลางเมื่อราวสี่หมื่นปีและกระจายออกไป ทั้งที่ข้ามโกบีและไซบีเรีย ข้ามเบริงเจียไปอเมริกา (Hg Q) กลายเป็นพวกนาวาโฮ... ทั้งที่ย้อนกลับเข้าไปในยุโรปเผชิญความทารุณของยุคน้ำแข็งกลายเป็นพวกยุโรป (Hg R)… บรรพบุรุษพวกนี้ เมื่อตั้งถิ่นฐานตรงจุดใด ก็มักอยู่ตรงนั้น ลองนึกถึงความเป็นจริงว่า การย้ายถิ่นฐานใช้เวลายาวนานหลายชั่วคน เมื่อผู้อาวุโสหรือพ่อของเขาแก่เฒ่าไร้เรี่ยวแรงที่จะเดินทางบุกเบิกต่อไป บางส่วนของพวกเขาจะหยุดการเดินทางและตั้งหลักแหล่งโดยเฉพาะเมื่อพบสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์พอจะดำรงชีพ คนหนุ่มจะเดินทางผจญภัยต่อไปเพื่อหาที่ของตนที่จะได้ขึ้นมาเป็นผู้นำ ได้มองโลกด้วยทัศนะของพวกเขาเอง พวกเขาจะพบปัญหาใหม่ จะได้หาทางแก้ไขสถานะการณ์ที่ไม่เคยพบ ดังนั้นพวกเขาจะมีเทคโนโลยีที่ดีขึ้นไปเองโดยธรรมชาติ จนเมื่อพวกเขาพบว่าได้เจอสถานที่ที่พึงพอใจหรือไปต่อไม่ได้แล้ว การเดินทางก็จะหยุด . คุณคิดว่ามีมนุษย์จำนวนเท่าไหร่ เมื่อพวกเขามาถึงแผ่นดินซุนดาเมื่อสามหมื่นปีก่อน? . บรรพบุรุษของเรา เดินทางมาตามซุปเปอร์ไฮเวย์โบราณสายเอเชียกลางที่เป็นทุ่งหญ้าอันอุดมสมบูรณ์ อุดมด้วยกวางแอนทีโลฟและช้างแมมมอธ ท้องอิ่ม อบอุ่น และอันตรายน้อย เมื่อมาถึงซุนดา คุณคิดว่าพวกเขาจะอยู่อาศัยกันที่ไหน? บนภูเขา ในป่า หรือที่ราบลุ่มปากแม่น้ำ? ไปคิดดูเป็นการบ้าน . หากพิจารณาดูปัจจัยต่างๆ เราจะรู้ได้ว่าชุมชนบรรพกาล มักจะตั้งอยู่บนที่ที่เหมาะสมในการผดุงชีพ อ.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา ให้ความเห็นว่า เนื่องเพราะบรรพบุรุษพวกนี้ต้องเผชิญกับน้ำท่วมซุนดาถึงสามครั้ง พวกเขานิยมสร้างบ้านที่มีเสาสูงและมีไต้ถุนสูง ทำแพและมีทักษะในการเดินทางด้วยแพ ซึ่งพร้อมที่จะอพยพหนีโดยล่องด้วยแพขึ้นไปเรื่อยๆ สู่ทิศทางต้นน้ำ ไม่เดินเท้าเพราะไม่รู้ว่าน้ำจะมาทางไหน เมื่อเห็นและแน่ใจว่าน้ำหยุดท่วมแล้วก็ปักหลักตั้งถิ่นฐานใหม่ เพราะพวกเขารู้ดีว่าไม่มีจุดไหนที่มีทรัพยากรอุดมไปกว่าริมแม่น้ำ ทั้งสัตว์น้ำและดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก ในป่านั้นมีโรคมากมายและสัตว์ร้าย พวกเขาจะเข้าไปต่อเมื่อต้องการล่าหรือหาของป่า . ชุมชนบรรพกาลเหล่านี้ เมื่อพบพื้นที่ที่พวกเขาพึงพอใจแล้วก็มักจะปักหลักอยู่เช่นนั้น สืบต่อกันไปหลายชั่วคน หลักฐานทางโบราณคดีก็ชี้ชัดเช่นนั้น ทำให้เกิดชุมชนโบราณขึ้นตรงนั้นตรงนี้มากมายและขยายตัวออกไป เกษตรกรรมเป็นอีกปัจจัยที่ทำให้เลิกเร่ร่อนแล้วหยุดตั้งหลักแหล่ง ผลที่เก็บเกี่ยวแน่นอนตามฤดูกาลทำให้ปัจจัยทางอาหารมั่นคง ดังนั้นพวกเขาจะไม่ย้ายไปไหนโดยง่ายถ้าไม่ใช่เพราะภัยธรรมชาติ โรคระบาด หรือสงครามจากคนกลุ่มอื่นมาบีบบังคับให้ย้ายไปที่อื่น ชุมชนบรรพกาลซึ่งประชากรมีอยู่น้อย ย่อมต้องการปริมาณแรงงานไว้เพื่อสร้างชุมชนของตนให้เติบโตรุ่งเรืองขึ้น ถ้าไม่เกิดปัญหาที่ว่านี้ พวกเขาก็จะไม่ย้ายไปไหน พวกเขาจำฤดูกาลประจำถิ่น ทิศทางลม เวลาน้ำขึ้นลง ยาอยู่ที่ไหน อะไรเป็นยา จำต้นไม้ได้ทุกต้นและรู้ว่าอะไรใช้ทำอะไรได้บ้าง สัตว์อยู่ที่ไหน หาเจอยังไง จับยังไง... ความรู้ในภูมิลำเนาพวกนี้ใช้เวลาสั่งสมยาวนาน . เราต่างได้เรียนรู้กันมามากพอสมควรเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ แต่บางครั้งนิยามหรือความสมมุติในความเป็นชนชาติบ้านเมืองต่างๆ มักพาให้ไขว้เขว บางถิ่นฐาน ผู้ปกครองเป็นผู้มีศักดิ์ฐานะ มีทรัพยากรมาก แต่เป็นคนต่างถิ่นมาจากที่อื่น ไม่ต่างกับทุกวันนี้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหัวเมืองเช่นเชียงราย อาจเป็นลูกเศรษฐีตระกูลใหญ่จากกรุงเทพ สมัยโบราณก็เช่นกัน ประชากรเป็นคนพื้นเมืองท้องถิ่น อาจอยู่ที่นั่นมาแปดชั่วคนแล้ว เขาไม่ย้ายไปที่อื่นเพียงเพราะผู้ปกครองไม่ใช่คนพื้นเมืองเหมือนตน ถ้าปกครองดี ทุกคนยังกินอิ่ม ไม่รีดภาษี ไม่ก่อกรรมทำเข็ญ ข่มเหงรังแก พวกเขาก็จะอยู่อย่างนั้นต่อไปในรุ่นลูกรุ่นหลาน จักรวรรดิจีนโบราณดินแดนกว้างใหญ่ ประชากรไม่ได้มีแต่จีนฮั่นเท่านั้น ยังมีประชากรที่เป็นชนเผ่าอื่นๆในปกครองหลายสิบเผ่า แล้วก็มีผู้ปกครองที่มาจากถิ่นอื่นมาปกครอง เคยมีกษัตริย์ที่เป็นมองโกล กษัตริย์ที่เป็นแมนจูมานั่งบัลลังก์ฮ่องเต้ ยิ่งรูปงามผิวพรรณผุดผ่องมาพร้อมโปรโมชั่นว่าเป็นเทพลงมาเกิดก็จะทำให้รู้สึกนับถืออยากพึ่งพาบารมี ดังนั้นผู้ปกครองก็อาจเป็นชาติพันธุ์หนึ่งขณะที่ประชากรในดินแดนเป็นอีกชาติพันธุ์หนึ่งได้ เช่น ผู้ปกครองมีชื่อสมมุติว่าเป็นชาติพันธุ์ลาว ผู้ใต้ปกครองอาจเป็นชาวพื้นเมืองมีชื่อสมมุติว่าชาติพันธุ์ข่า เป็นต้น.. ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่พูดนี่ เป็นคนละเรื่องกับแนวความคิดเรื่องชาติ ประเทศ รัฐ ชนชาติและสัญชาติ ซึ่งเป็นความคิดใหม่ที่เกิดขึ้นภายหลังตามคติของอาณานิคมตะวันตก . สำหรับผมมันเป็นเรื่องตลก ที่พูดว่าคนโคราชไม่ใช่คนอีสาน ความยึดมั่นของผู้พูดผูกโยงกับภูมิลำเนา ผูกกับสำเนียงภาษาที่ใช้ แล้วเอามามัดให้ประชากรนั้นเป็นเผ่าพันธ์ตามที่ตนผูกไว้ . คนอีสานคือใครในทัศนะวิทยาศาสตร์ คนอีสานอาจประกอบด้วยพลเมืองจากทางเหนือที่มาไกลจากจีน มาจากหยุนหนาน หรืออาจมาจากเวียตนาม ได้มากพอกับมีพลเมืองที่มีชื่อสมมุติว่า "ลาว" ที่เฒ่างี่เง่านี้นิยามให้สาวกเชื่อว่าเป็นคนท้องถิ่นโดยแท้แล้วก็ปฏิเสธในเชิงที่รู้สึกได้ว่าพยายามจะบอกใครๆ ว่าคนโคราชเป็น "สิ่งแปลกปลอมในท่ามกลางคนอีสาน" ผมรู้สึกอย่างนั้น แล้วเขาก็โยงเรื่องโยงชื่อ ทั้งคนทั้งสถานที่ มั่วไปหมดชนแพะชนแกะชนควาย อนุมานเอาตามความเชื่อตน ทั้งที่ความเป็นจริงทุกมนุษย์ที่อ้างอิงมานั่นไม่ว่าจะด้วยคำ สยาม ทวารวดี มอญ อยุธยา สุพรรณ โคราช ศรีโคตรบูรณ์ เวียงจันทร์ ชัยวรมัน.... บลาๆๆ... ล้วนคือ Y Chromosome DNA Haplogroup O (O2 เป็นจำนวนเปอร์เซ็นต์สูงสุด) ทั้งนั้น ต่อให้หมู่บ้านนึงมันดันพูดได้สามภาษา ทั้งลาวทั้งอังกฤษทั้งเกาหลีสำเนียงเป๊ะทั้งหมู่บ้านก็ตามที . เขย่าไว้ไม่ให้นอนก้น ข้าว่าพวกเอ็งมันนอนก้นถอยหลังไปสองร้อยปี ฟังวนอยู่ห้าคำสิบคำ เต็มไปด้วยคำว่า “สันนิษฐานว่า…“ แปลเป็นไทยคือ คาดว่า เดาว่า... คือเอ็งไม่รู้ไง เชื่อเองเออเองแล้วมาชวนคนอื่นให้เชื่อตาม . นี่รู้ไหม... มีไม่น้อยนะที่สันนิษฐานว่ามนุษย์เซเปี้ยนส์นี่น่ะ มาจากเชื้อพันธุ์มนุษย์ต่างดาวชื่อ อนูนากิ แกเชื่อไหมเล่า? . - พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา [2568] - .
    0 Comments 0 Shares 325 Views 0 Reviews
  • ผ้าไหมแพรวา สายใยศิลป์ จากใจ คมศักดิ์ ชมภูจักร์
    ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักร ภูฏานอย่างเป็นทางการ ระหว่างวันที่ 25 - 28 เมษายน 2568 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ที่ตัดเย็บจาก “ผ้าไหมแพรวา” ฝีมือกลุ่มสมาชิกศิลปาชีพบ้านโพน อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์
    ผ้าไหมแพรวาผืนนี้ถักทอด้วยเทคนิค “จก” และ “ขิด” ผสานเส้นไหมหลากสีอย่างละเอียดอ่อน ถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวผู้ไทที่สืบทอดกันมานานนับชั่วอายุคน จนเกิดเป็นลวดลายเปี่ยมความหมายสะท้อน ความประณีตของศิลปะแห่งแผ่นดินไทย
    ผ้าผืนดังกล่าวได้รับการจัดซื้อจากโรงฝึกศิลปาชีพพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2567 ซึ่งดำเนินงานภายใต้พระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง เพื่อสืบสานหัตถศิลป์ไทยให้ยังคงอยู่คู่ชาติ
    เบื้องหลังผืนผ้าอันทรงคุณค่านี้ คือ นายคมศักดิ์ ชมภูจักร์ วัย 62 ปี อดีตทหารเกณฑ์จาก ต.โพน อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์ ผู้ได้รับพระเมตตาให้เข้าร่วมโครงการศิลปาชีพฯ ตั้งแต่อายุ 34 ปี ด้วยภูมิปัญญา ที่สืบทอดจากครอบครัวช่างทอ เขาเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนศูนย์ศิลปาชีพบ้านโพน ทั้งในบทบาท ช่างฝีมือและคณะกรรมการศูนย์ฯ รวมถึงการนำผลงานผ้าสไบ 11 ลายเข้าร่วมประกวด ณ พระตำหนัก ภูพานฯ
    การที่ผ้าทอฝีมือชาวบ้าน ได้ถวายใช้เป็นฉลองพระองค์สมเด็จพระราชินีในโอกาสทรงเยือน ต่างประเทศครั้งนี้ ถือเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้และเป็นเกียรติยศสูงสุดของผู้สืบสานผืนผ้าไทย สะท้อนถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เปล่งประกายสู่เวทีนานาชาติอย่างงดงาม “พวกเรารู้สึกดีใจและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ผ้าไหมแพรวาที่ทอขึ้นจากศูนย์บ้านโพนได้ใช้เป็นฉลองพระองค์ของสมเด็จพระราชินีในครั้งนี้มันเป็นเรื่องที่เราไม่เคยคาดคิดแต่ก็เป็นแรงใจสำคัญสำหรับคนทำงานผ้าอย่างเราและต้องขอขอบคุณมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ ที่เปิดโอกาสให้พวกเรามีวันนี้และทำให้ผ้าพื้นถิ่นได้มีที่ยืนในเวทีที่กว้างขึ้น” คำกล่าวจากนายคมศักดิ์ ชมภูจักร์
    ---------
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Facebook : มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ , มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ (งานกิจกรรม)
    ผ้าไหมแพรวา สายใยศิลป์ จากใจ คมศักดิ์ ชมภูจักร์ ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักร ภูฏานอย่างเป็นทางการ ระหว่างวันที่ 25 - 28 เมษายน 2568 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ที่ตัดเย็บจาก “ผ้าไหมแพรวา” ฝีมือกลุ่มสมาชิกศิลปาชีพบ้านโพน อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์ ผ้าไหมแพรวาผืนนี้ถักทอด้วยเทคนิค “จก” และ “ขิด” ผสานเส้นไหมหลากสีอย่างละเอียดอ่อน ถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวผู้ไทที่สืบทอดกันมานานนับชั่วอายุคน จนเกิดเป็นลวดลายเปี่ยมความหมายสะท้อน ความประณีตของศิลปะแห่งแผ่นดินไทย ผ้าผืนดังกล่าวได้รับการจัดซื้อจากโรงฝึกศิลปาชีพพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2567 ซึ่งดำเนินงานภายใต้พระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง เพื่อสืบสานหัตถศิลป์ไทยให้ยังคงอยู่คู่ชาติ เบื้องหลังผืนผ้าอันทรงคุณค่านี้ คือ นายคมศักดิ์ ชมภูจักร์ วัย 62 ปี อดีตทหารเกณฑ์จาก ต.โพน อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์ ผู้ได้รับพระเมตตาให้เข้าร่วมโครงการศิลปาชีพฯ ตั้งแต่อายุ 34 ปี ด้วยภูมิปัญญา ที่สืบทอดจากครอบครัวช่างทอ เขาเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนศูนย์ศิลปาชีพบ้านโพน ทั้งในบทบาท ช่างฝีมือและคณะกรรมการศูนย์ฯ รวมถึงการนำผลงานผ้าสไบ 11 ลายเข้าร่วมประกวด ณ พระตำหนัก ภูพานฯ การที่ผ้าทอฝีมือชาวบ้าน ได้ถวายใช้เป็นฉลองพระองค์สมเด็จพระราชินีในโอกาสทรงเยือน ต่างประเทศครั้งนี้ ถือเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้และเป็นเกียรติยศสูงสุดของผู้สืบสานผืนผ้าไทย สะท้อนถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เปล่งประกายสู่เวทีนานาชาติอย่างงดงาม “พวกเรารู้สึกดีใจและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ผ้าไหมแพรวาที่ทอขึ้นจากศูนย์บ้านโพนได้ใช้เป็นฉลองพระองค์ของสมเด็จพระราชินีในครั้งนี้มันเป็นเรื่องที่เราไม่เคยคาดคิดแต่ก็เป็นแรงใจสำคัญสำหรับคนทำงานผ้าอย่างเราและต้องขอขอบคุณมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ ที่เปิดโอกาสให้พวกเรามีวันนี้และทำให้ผ้าพื้นถิ่นได้มีที่ยืนในเวทีที่กว้างขึ้น” คำกล่าวจากนายคมศักดิ์ ชมภูจักร์ --------- #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Facebook : มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ , มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ (งานกิจกรรม)
    Like
    Love
    2
    0 Comments 0 Shares 265 Views 0 Reviews
  • E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power งานที่จะพบกับเสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ​ ทั้งอาหาร ศิลปะ​ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา​ พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย ยูริ สายผลักดันศิลปวัฒนธรรม​ influencer ชื่อดัง มาพร้อมรวมกันในงาน
    .
    ยังมีความรู้ด้านการกระทำธุรกิจ​ จาก​ Speaker​ ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ​ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ​ ทั้งนักธุรกิจ​อินเดีย​ นักธุรกิจ​มองโกเลีย​ นักธุรกิจ​ไทย​ มารวมกันในงาน​
    .
    สินค้าราคาสุดพิเศษ ผู้ประกอบการกว่า 100 บูธ ในงานนี้ แค่ก้าวเท้าเข้ามาในงาน​ ลุ้นรับของรางวัลฟรีมากมาย​ ทุกวัน​ ตลอด​ 3 วัน​ รางวัลใหญ่​ รถมอเตอร์ไซค์​ไฟฟ้า
    .
    งานนี้ครบจบในที่เดียวความเป็นอีสานบ้านเฮา มากันหลายๆเด้อ​ พ่อแม่พี่น้อง​ บ่มาเจอกันบ่ได้แล้ว งานดีคัก! ณ ชั้น 4 โคราชฮอลล์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช
    E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power งานที่จะพบกับเสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ​ ทั้งอาหาร ศิลปะ​ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา​ พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย ยูริ สายผลักดันศิลปวัฒนธรรม​ influencer ชื่อดัง มาพร้อมรวมกันในงาน . ยังมีความรู้ด้านการกระทำธุรกิจ​ จาก​ Speaker​ ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ​ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ​ ทั้งนักธุรกิจ​อินเดีย​ นักธุรกิจ​มองโกเลีย​ นักธุรกิจ​ไทย​ มารวมกันในงาน​ . สินค้าราคาสุดพิเศษ ผู้ประกอบการกว่า 100 บูธ ในงานนี้ แค่ก้าวเท้าเข้ามาในงาน​ ลุ้นรับของรางวัลฟรีมากมาย​ ทุกวัน​ ตลอด​ 3 วัน​ รางวัลใหญ่​ รถมอเตอร์ไซค์​ไฟฟ้า . งานนี้ครบจบในที่เดียวความเป็นอีสานบ้านเฮา มากันหลายๆเด้อ​ พ่อแม่พี่น้อง​ บ่มาเจอกันบ่ได้แล้ว งานดีคัก! ณ ชั้น 4 โคราชฮอลล์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช
    0 Comments 0 Shares 213 Views 3 0 Reviews
  • E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power งานที่จะพบกับเสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ​ ทั้งอาหาร ศิลปะ​ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา​ พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย ยูริ สายผลักดันศิลปวัฒนธรรม​ influencer ชื่อดัง มาพร้อมรวมกันในงาน
    .
    ยังมีความรู้ด้านการกระทำธุรกิจ​ จาก​ Speaker​ ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ​ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ​ ทั้งนักธุรกิจ​อินเดีย​ นักธุรกิจ​มองโกเลีย​ นักธุรกิจ​ไทย​ มารวมกันในงาน​
    .
    สินค้าราคาสุดพิเศษ ผู้ประกอบการกว่า 100 บูธ ในงานนี้ แค่ก้าวเท้าเข้ามาในงาน​ ลุ้นรับของรางวัลฟรีมากมาย​ ทุกวัน​ ตลอด​ 3 วัน​ รางวัลใหญ่​ รถมอเตอร์ไซค์​ไฟฟ้า
    .
    งานนี้ครบจบในที่เดียวความเป็นอีสานบ้านเฮา มากันหลายๆเด้อ​ พ่อแม่พี่น้อง​ บ่มาเจอกันบ่ได้แล้ว งานดีคัก! ณ ชั้น 4 โคราชฮอลล์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช
    E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power งานที่จะพบกับเสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ​ ทั้งอาหาร ศิลปะ​ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา​ พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย ยูริ สายผลักดันศิลปวัฒนธรรม​ influencer ชื่อดัง มาพร้อมรวมกันในงาน . ยังมีความรู้ด้านการกระทำธุรกิจ​ จาก​ Speaker​ ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ​ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ​ ทั้งนักธุรกิจ​อินเดีย​ นักธุรกิจ​มองโกเลีย​ นักธุรกิจ​ไทย​ มารวมกันในงาน​ . สินค้าราคาสุดพิเศษ ผู้ประกอบการกว่า 100 บูธ ในงานนี้ แค่ก้าวเท้าเข้ามาในงาน​ ลุ้นรับของรางวัลฟรีมากมาย​ ทุกวัน​ ตลอด​ 3 วัน​ รางวัลใหญ่​ รถมอเตอร์ไซค์​ไฟฟ้า . งานนี้ครบจบในที่เดียวความเป็นอีสานบ้านเฮา มากันหลายๆเด้อ​ พ่อแม่พี่น้อง​ บ่มาเจอกันบ่ได้แล้ว งานดีคัก! ณ ชั้น 4 โคราชฮอลล์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช
    0 Comments 0 Shares 168 Views 5 0 Reviews
  • 📣หน่อย เชิญชวนเที่ยวงานมหกรรม Soft Power อีสาน ครั้งใหญ่ E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power ระหว่างวันที่ 23-25 พ.ค.นี้ งานที่จะพบกับ เสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ ทั้งอาหาร ศิลปะ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย มาพร้อมรวมกันในงาน และยังมีความรู้ด้านการทำธุรกิจ จาก Speaker ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ ทั้งนักธุรกิจ อินเดีย นักธุรกิจ มองโกเลีย นักธุรกิจ ไทย มารวมกันในงาน แล้วมากันเยอะๆนะคะ

    ดร.ยลดา หวังศุภกิจโกศล
    นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา
    23 พฤษภาคม 2568

    #หน่อยยลดา
    #นายกหน่อย
    #อบจโคราช
    #softpower
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    📣หน่อย เชิญชวนเที่ยวงานมหกรรม Soft Power อีสาน ครั้งใหญ่ E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power ระหว่างวันที่ 23-25 พ.ค.นี้ งานที่จะพบกับ เสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ ทั้งอาหาร ศิลปะ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย มาพร้อมรวมกันในงาน และยังมีความรู้ด้านการทำธุรกิจ จาก Speaker ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ ทั้งนักธุรกิจ อินเดีย นักธุรกิจ มองโกเลีย นักธุรกิจ ไทย มารวมกันในงาน แล้วมากันเยอะๆนะคะ ดร.ยลดา หวังศุภกิจโกศล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา 23 พฤษภาคม 2568 #หน่อยยลดา #นายกหน่อย #อบจโคราช #softpower #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    0 Comments 0 Shares 184 Views 0 Reviews
  • 📣หน่อย เชิญชวนเที่ยวงานมหกรรม Soft Power อีสาน ครั้งใหญ่ E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power ระหว่างวันที่ 23-25 พ.ค.นี้ งานที่จะพบกับ เสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ ทั้งอาหาร ศิลปะ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย มาพร้อมรวมกันในงาน และยังมีความรู้ด้านการทำธุรกิจ จาก Speaker ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ ทั้งนักธุรกิจ อินเดีย นักธุรกิจ มองโกเลีย นักธุรกิจ ไทย มารวมกันในงาน แล้วมากันเยอะๆนะคะ

    ดร.ยลดา หวังศุภกิจโกศล
    นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา
    23 พฤษภาคม 2568

    #หน่อยยลดา
    #นายกหน่อย
    #อบจโคราช
    #softpower
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    📣หน่อย เชิญชวนเที่ยวงานมหกรรม Soft Power อีสาน ครั้งใหญ่ E-SAN F.A.C.E. : The Future of E-SAN Soft Power ระหว่างวันที่ 23-25 พ.ค.นี้ งานที่จะพบกับ เสน่ห์อีสานครบทุกรสชาติ ทั้งอาหาร ศิลปะ วัฒนธรรม การแสดง ที่จะมารวมกันในงานนี้ พร้อมกับกองทัพศิลปินดารา พระเอกนางเอก ละครซีรีย์สายวาย มาพร้อมรวมกันในงาน และยังมีความรู้ด้านการทำธุรกิจ จาก Speaker ระดับประเทศ ทั้งการใช้ AI การทำ Business ให้เติบโต การ Matching ธุรกิจกับต่างประเทศ ทั้งนักธุรกิจ อินเดีย นักธุรกิจ มองโกเลีย นักธุรกิจ ไทย มารวมกันในงาน แล้วมากันเยอะๆนะคะ ดร.ยลดา หวังศุภกิจโกศล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา 23 พฤษภาคม 2568 #หน่อยยลดา #นายกหน่อย #อบจโคราช #softpower #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    0 Comments 0 Shares 155 Views 0 Reviews
  • ควันหลงจากงานโอลิมปิกฤดูหนาวที่ประเทศจีน สืบเนื่องจาก ‘เงื่อนจีน’ หรือที่เรียกว่า ‘จงกั๋วเจี๋ย’ (中国结) ถูกนำมาใช้เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของงาน แม้แต่พิธีปิดยังมีให้เห็น เพื่อนเพจหลายคนคงคุ้นหน้าคุ้นตากันบ้างอยู่แล้ว วันนี้เรามาคุยกันเบาๆ เกี่ยวกับเงื่อนจีน

    คำว่าเงื่อนหรือ ‘เจี๋ย’ นั้น ในความหมายจีนแปลได้อีกว่าความผูกพันหรือความเชื่อมโยงหรือความเป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน จึงเป็นที่มาของการถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของงานโอลิมปิกฤดูหนาว 2022 ภายใต้คำขวัญ “ก้าวสู่อนาคตไปด้วยกัน”

    เงื่อนจีนถูกค้นพบขึ้นเมื่อใดไม่ชัดเจน ทราบแต่ว่ามนุษย์เรารู้จักการผูกเงื่อนมาตั้งแต่สมัยยุคหิน ในสมัยดึกดำบรรพ์ใช้เป็นส่วนประกอบของเครื่องมือล่าสัตว์หรือเครื่องมือช่วยดำรงชีพอื่นๆ และลวดลายและวิธีผูกเงื่อนพัฒนามาเรื่อยๆ หลังจากนั้น ในยุคสมัยชุนชิว เงื่อนจีนถูกนำมาใช้อย่างหลากหลาย เช่นเป็นกระดุม ใช้ผูกพวงเหรียญไว้พกพา และถูกนำมาใช้ในการสื่อสารหรือจดจำเหตุการณ์ ในบันทึกเกี่ยวกับราชวงศ์ฮั่น (ปี 202 ก่อนคริสตกาล - ปีค.ศ. 220) มีการกล่าวถึงหลักการจารึกเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ว่า ‘เหตุการณ์ใหญ่ ใช้เงื่อนใหญ่ เรื่องเล็ก ใช้เงื่อนเล็ก’ และมีการใช้ลายเงื่อนที่แตกต่างกันสำหรับหมวดหมู่ที่แตกต่างของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

    เงื่อนจีนถูกยกระดับเป็นศิลปะอย่างหนึ่งและแพร่หลายเป็นอย่างมากในยุคสมัยราชวงศ์ถังและซ่ง มีการนำมาใช้เป็นสร้อยหรืออุบะสำหรับเครื่องประดับหลายชนิดเช่นป้ายหยก พัด ขลุ่ย กระบี่ ถุงหอม ฯลฯ และในยุคสมัยราชวงศ์หมิงและชิงก็ยิ่งพัฒนาขึ้นไปอีกขั้นในเรื่องของความหลากหลายของลวดลายและความวิจิตร มีการตั้งชื่อและคิดค้นลายใหม่ๆ ขึ้นมากมาย รวมถึงการนำมาใช้ประดับบ้านเรือน

    เงื่อนจีนแตกต่างจากเงื่อนในวัฒนธรรมฟากตะวันตกอย่างไร? เอกลักษณ์ของเงื่อนจีนคือผูกขึ้นด้วยเชือกเส้นเดียวเท่านั้น เป็นการผูกสองชั้นดังนั้นลายหน้าหลังจะเหมือนกัน Storyฯ อ่านเจอว่าเงื่อนจีนที่วางขายในปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้เชือกยาวมาตรฐานประมาณหนึ่งเมตร

    ลายเงื่อนจีนมีใช้เป็นสัญลักษณ์ในหลายกรณี เช่นเพื่อเป็นของมงคล หรือปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย และใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความรักและความผูกพัน ชื่อเรียกก็มีหลากหลาย โดยลายที่เราเห็นในงานโอลิมปิกฤดูหนาวปีนี้ (ดูภาพประกอบ) มีชื่อเรียกว่า ‘เงื่อนมงคล’ (จี๋เสียงเจี๋ย/吉祥结) ว่ากันว่าลายพื้นฐานนี้เป็นหนึ่งในลายที่เก่าแก่ที่สุดของเงื่อนจีน พัฒนาขึ้นมาในสมัยราชวงศ์ถัง เป็นสัญลักษณ์ของความสงบสุข โชคลาภ รวมถึงช่วยปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย

    (หมายเหตุ เพื่อนเพจที่สนใจชนิดของเงื่อนต่างๆ ดูได้ที่นี่ค่ะ https://tcm.dtam.moph.go.th/images/files/kch002.pdf)

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.fudan.edu.cn/en/2022/0208/c1092a130100/page.htm
    https://www.chinadaily.com.cn/a/202202/21/WS62134c14a310cdd39bc87f6d_5.html
    https://kknews.cc/culture/25y4r.html
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://kknews.cc/culture/yjgakzn.html
    https://baike.baidu.com/item/中国结/187053
    https://www.aizsg.com/post/9365.html

    #สัญลักษณ์โอลิมปิก2022 #เงื่อนจีน #ผูกเชือกจีน #จงกั๋วเจี๋ย #จี๋เสียงเจี๋ยน
    ควันหลงจากงานโอลิมปิกฤดูหนาวที่ประเทศจีน สืบเนื่องจาก ‘เงื่อนจีน’ หรือที่เรียกว่า ‘จงกั๋วเจี๋ย’ (中国结) ถูกนำมาใช้เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของงาน แม้แต่พิธีปิดยังมีให้เห็น เพื่อนเพจหลายคนคงคุ้นหน้าคุ้นตากันบ้างอยู่แล้ว วันนี้เรามาคุยกันเบาๆ เกี่ยวกับเงื่อนจีน คำว่าเงื่อนหรือ ‘เจี๋ย’ นั้น ในความหมายจีนแปลได้อีกว่าความผูกพันหรือความเชื่อมโยงหรือความเป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน จึงเป็นที่มาของการถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของงานโอลิมปิกฤดูหนาว 2022 ภายใต้คำขวัญ “ก้าวสู่อนาคตไปด้วยกัน” เงื่อนจีนถูกค้นพบขึ้นเมื่อใดไม่ชัดเจน ทราบแต่ว่ามนุษย์เรารู้จักการผูกเงื่อนมาตั้งแต่สมัยยุคหิน ในสมัยดึกดำบรรพ์ใช้เป็นส่วนประกอบของเครื่องมือล่าสัตว์หรือเครื่องมือช่วยดำรงชีพอื่นๆ และลวดลายและวิธีผูกเงื่อนพัฒนามาเรื่อยๆ หลังจากนั้น ในยุคสมัยชุนชิว เงื่อนจีนถูกนำมาใช้อย่างหลากหลาย เช่นเป็นกระดุม ใช้ผูกพวงเหรียญไว้พกพา และถูกนำมาใช้ในการสื่อสารหรือจดจำเหตุการณ์ ในบันทึกเกี่ยวกับราชวงศ์ฮั่น (ปี 202 ก่อนคริสตกาล - ปีค.ศ. 220) มีการกล่าวถึงหลักการจารึกเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ว่า ‘เหตุการณ์ใหญ่ ใช้เงื่อนใหญ่ เรื่องเล็ก ใช้เงื่อนเล็ก’ และมีการใช้ลายเงื่อนที่แตกต่างกันสำหรับหมวดหมู่ที่แตกต่างของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เงื่อนจีนถูกยกระดับเป็นศิลปะอย่างหนึ่งและแพร่หลายเป็นอย่างมากในยุคสมัยราชวงศ์ถังและซ่ง มีการนำมาใช้เป็นสร้อยหรืออุบะสำหรับเครื่องประดับหลายชนิดเช่นป้ายหยก พัด ขลุ่ย กระบี่ ถุงหอม ฯลฯ และในยุคสมัยราชวงศ์หมิงและชิงก็ยิ่งพัฒนาขึ้นไปอีกขั้นในเรื่องของความหลากหลายของลวดลายและความวิจิตร มีการตั้งชื่อและคิดค้นลายใหม่ๆ ขึ้นมากมาย รวมถึงการนำมาใช้ประดับบ้านเรือน เงื่อนจีนแตกต่างจากเงื่อนในวัฒนธรรมฟากตะวันตกอย่างไร? เอกลักษณ์ของเงื่อนจีนคือผูกขึ้นด้วยเชือกเส้นเดียวเท่านั้น เป็นการผูกสองชั้นดังนั้นลายหน้าหลังจะเหมือนกัน Storyฯ อ่านเจอว่าเงื่อนจีนที่วางขายในปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้เชือกยาวมาตรฐานประมาณหนึ่งเมตร ลายเงื่อนจีนมีใช้เป็นสัญลักษณ์ในหลายกรณี เช่นเพื่อเป็นของมงคล หรือปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย และใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความรักและความผูกพัน ชื่อเรียกก็มีหลากหลาย โดยลายที่เราเห็นในงานโอลิมปิกฤดูหนาวปีนี้ (ดูภาพประกอบ) มีชื่อเรียกว่า ‘เงื่อนมงคล’ (จี๋เสียงเจี๋ย/吉祥结) ว่ากันว่าลายพื้นฐานนี้เป็นหนึ่งในลายที่เก่าแก่ที่สุดของเงื่อนจีน พัฒนาขึ้นมาในสมัยราชวงศ์ถัง เป็นสัญลักษณ์ของความสงบสุข โชคลาภ รวมถึงช่วยปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย (หมายเหตุ เพื่อนเพจที่สนใจชนิดของเงื่อนต่างๆ ดูได้ที่นี่ค่ะ https://tcm.dtam.moph.go.th/images/files/kch002.pdf) (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.fudan.edu.cn/en/2022/0208/c1092a130100/page.htm https://www.chinadaily.com.cn/a/202202/21/WS62134c14a310cdd39bc87f6d_5.html https://kknews.cc/culture/25y4r.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://kknews.cc/culture/yjgakzn.html https://baike.baidu.com/item/中国结/187053 https://www.aizsg.com/post/9365.html #สัญลักษณ์โอลิมปิก2022 #เงื่อนจีน #ผูกเชือกจีน #จงกั๋วเจี๋ย #จี๋เสียงเจี๋ยน
    1 Comments 0 Shares 362 Views 0 Reviews
  • ปรอทสีแดงเป็นองค์ประกอบสำคัญเบื้องหลังเทคโนโลยีโบราณ

    สารปรอทถูกผลักไสโดยกระเทียมและถูกดึงดูดโดยทองคำ เมื่อวางกระจกไว้ข้างๆ กระจกจะไม่มีการสะท้อนกลับ นอกจากนี้ยังปล่อยพลังงานอิสระออกมาและทำให้โลหะที่สัมผัสกับกระจกร้อนเกินไป

    เป็นเรื่องน่าสนใจที่วัฒนธรรมโบราณมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับคุณสมบัติของปรอท ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าสามารถขยายการสั่นสะเทือนของบรรยากาศโดยรอบได้

    สารปรอทถูกค้นพบในแหล่งโบราณคดีโบราณหลายแห่งทั่วโลก รวมถึงพีระมิดในอียิปต์
    ปรอทสีแดงเป็นองค์ประกอบสำคัญเบื้องหลังเทคโนโลยีโบราณ สารปรอทถูกผลักไสโดยกระเทียมและถูกดึงดูดโดยทองคำ เมื่อวางกระจกไว้ข้างๆ กระจกจะไม่มีการสะท้อนกลับ นอกจากนี้ยังปล่อยพลังงานอิสระออกมาและทำให้โลหะที่สัมผัสกับกระจกร้อนเกินไป เป็นเรื่องน่าสนใจที่วัฒนธรรมโบราณมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับคุณสมบัติของปรอท ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าสามารถขยายการสั่นสะเทือนของบรรยากาศโดยรอบได้ สารปรอทถูกค้นพบในแหล่งโบราณคดีโบราณหลายแห่งทั่วโลก รวมถึงพีระมิดในอียิปต์
    0 Comments 0 Shares 112 Views 0 0 Reviews
  • แฟนละคร/นิยายจีนคงคุ้นเคยดีกับโครงเรื่องที่มีการชิงอำนาจทางการเมืองด้วยการจัดให้มีการแต่งงานระหว่างตระกูลดังกับเชื้อพระวงศ์ จนเกิดเป็นแรงกดดันมหาศาลให้กับตัวละครเอก บางคนอาจเคยบ่นว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’

    วันนี้ Storyฯ ยกตัวอย่างมาคุยเกี่ยวกับตระกูลขุนนางเก่าแก่เรืองอำนาจ (เรียกรวมว่า สื้อเจีย / 世家)
    เป็นหนึ่งในตระกูลที่ดังที่สุดในประวัติศาสตร์ตอนต้นและกลางของจีนโบราณก็ว่าได้

    ความมีอยู่ว่า
    ....ตระกูลชุยจากชิงเหอรุ่นนี้ สายหลักของตระกูลมีนางเป็นบุตรีโทนแต่เพียงผู้เดียว ... และตระกูลชุยกำลังรุ่งเรือง นางยังอยู่ในท้องของมารดาก็ได้รับการหมั้นหมายให้กับองค์ชายรัชทายาทแล้ว....
    - จากเรื่อง <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (แต่บทความ Storyฯ แปลเองจ้า)

    ชิงเหอคือพื้นที่ทางด้านเหนือของจีน (แถบเหอหนาน เหอเป่ยและซานตง) ในสมัยจีนตอนต้นมีสถานะเป็นแคว้นบ้างหรือรองลงมาเป็นจวิ้น (郡) บ้าง ซึ่งนับเป็นเขตการปกครองที่ใหญ่ มีหลายตระกูลดังในประวัติศาตร์จีนที่มาจากพื้นที่แถบนี้ หนึ่งในนั้นคือตระกูลชุย

    ตระกูลชุยมีรากฐานยาวนานมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจวตะวันตก (ปี 1046-771 ก่อนคริสตกาล) แตกสกุลมาจากสกุลเจียงและรวมถึงชาวเผ่าพันธุ์อื่นที่หันมาใช้สกุลนี้ รับราชการในตำแหน่งสำคัญมาหลายยุคสมัย แตกมาเป็นสายที่เรียกว่า ‘ตระกูลชุยจากชิงเหอ’ ในยุคสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ (ปี 221 – 206 ก่อนคริสตกาล) เมื่อชุยเหลียง (ทายาทรุ่นที่ 7) ได้รับการอวยยศเป็นโหวและได้รับพระราชทานเขตการปกครองชิงเหอนี้ และต่อมาตระกูลชุยจากชิงเหอมีแตกสายย่อยไปอีกรวมเป็นหกสาย

    ตระกูลชุยจากชิงเหอที่กล่าวถึงในละครข้างต้น ‘ไม่ธรรมดา’ แค่ไหน?

    ตระกูลชุยจากชิงเหอรับราชการระดับสูงต่อเนื่อง ผ่านร้อนผ่านหนาวแต่อยู่ยงคงกระพันมากว่า 700 ปี ถูกยกย่องว่าเป็น ‘ที่สุด’ ในบรรดาสี่ตระกูลใหญ่ในยุคสมัยราชวงศ์เว่ยเหนือ (ปีค.ศ. 386 – 535) และในสมัยราชวงศ์ถังก็เป็นหนึ่งในห้าตระกูลเจ็ดเชื้อสาย (五姓七族) อันเป็นตระกูลชั้นสูงที่ต่อมาถูกห้ามไม่ให้แต่งงานกันเอง เพื่อป้องกันไม่ให้สร้างฐานอำนาจมากเกินไป

    มีคนจากตระกูลชุยจากชิงเหอนี้เป็นอัครมหาเสนาบดี (จ่ายเซี่ยง / 宰相) หรือตำแหน่งที่สูงคล้ายกันมากมายหลายรุ่น เฉพาะในสมัยราชวงศ์ถังที่ยาวนานเกือบสามร้อยปีก็มีถึง 12 คน (ถ้ารวมตระกูลชุยสายอื่นมีอีก 10 คน) มีจอหงวน 11 คน ยังไม่รวมที่รับราชการในตำแหน่งอื่น ที่กุมอำนาจทางการทหาร ที่เป็นผู้นำทางความคิด (นักปราชญ์ กวีชื่อดัง) และที่เป็นลูกหลานฝ่ายหญิงที่แต่งเข้าวังในตำแหน่งต่างๆ อีกจำนวนไม่น้อย จวบจนสมัยซ่งใต้ ฐานอำนาจของตระกูลนี้จึงเสื่อมจางลงเหมือนกับตระกูลสื้อเจียอื่นๆ

    ทำไมต้องพูดถึงตระกูลชุยจากชิงเหอ? Storyฯ เล่าเป็นตัวอย่างของเหล่าตระกูลสื้อเจียค่ะ จากที่เคยคิดว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’ แต่พอมาเห็นรากฐานของตระกูลสื้อเจียเหล่านี้ เราจะได้อรรถรสเลยว่า ‘ฐานอำนาจ’ ที่เขาพูดถึงกันนั้น มันหยั่งรากลึกแค่ไหน? เหตุใดตัวละครเอกมักรู้สึกถูกกดดันมากมาย? และเพราะเหตุใดมันจึงฝังรากลึกในวัฒนธรรมจีนโบราณ? เพราะมันไม่ใช่เรื่องของหนึ่งหรือสองชั่วอายุคน แต่เรากำลังพูดถึงฐานอำนาจหลายร้อยปีที่แทรกซึมเข้าไปในสังคมโดยมีประมุขใหญ่ของตระกูลในแต่ละรุ่นเป็นแกนนำสำคัญ

    Storyฯ หวังว่าเพื่อนๆ จะดูละครได้อรรถรสยิ่งขึ้นนะคะ ใครเห็นบทบาทของคนในตระกูลชุยในละครเรื่องอื่นใดอีกหรือหากนึกถึงตระกูลอื่นที่คล้ายคลึงก็เม้นท์มาได้ค่ะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.sohu.com/a/484438060_121051662
    https://www.sohu.com/a/485012584_100151502
    https://www.sohu.com/a/489015136_120827444

    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.163.com/dy/article/FNSTJKT60543BK4H.html
    https://new.qq.com/omn/20211021/20211021A09WBQ00.html
    https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_16209361
    https://www.baike.com/wiki/清河崔氏
    https://zh.wikipedia.org/wiki/清河崔氏

    #กระดูกงดงาม #ตระกูลชุย #สกุลชุย #ชิงเหอ #สื้อเจีย
    แฟนละคร/นิยายจีนคงคุ้นเคยดีกับโครงเรื่องที่มีการชิงอำนาจทางการเมืองด้วยการจัดให้มีการแต่งงานระหว่างตระกูลดังกับเชื้อพระวงศ์ จนเกิดเป็นแรงกดดันมหาศาลให้กับตัวละครเอก บางคนอาจเคยบ่นว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’ วันนี้ Storyฯ ยกตัวอย่างมาคุยเกี่ยวกับตระกูลขุนนางเก่าแก่เรืองอำนาจ (เรียกรวมว่า สื้อเจีย / 世家) เป็นหนึ่งในตระกูลที่ดังที่สุดในประวัติศาสตร์ตอนต้นและกลางของจีนโบราณก็ว่าได้ ความมีอยู่ว่า ....ตระกูลชุยจากชิงเหอรุ่นนี้ สายหลักของตระกูลมีนางเป็นบุตรีโทนแต่เพียงผู้เดียว ... และตระกูลชุยกำลังรุ่งเรือง นางยังอยู่ในท้องของมารดาก็ได้รับการหมั้นหมายให้กับองค์ชายรัชทายาทแล้ว.... - จากเรื่อง <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (แต่บทความ Storyฯ แปลเองจ้า) ชิงเหอคือพื้นที่ทางด้านเหนือของจีน (แถบเหอหนาน เหอเป่ยและซานตง) ในสมัยจีนตอนต้นมีสถานะเป็นแคว้นบ้างหรือรองลงมาเป็นจวิ้น (郡) บ้าง ซึ่งนับเป็นเขตการปกครองที่ใหญ่ มีหลายตระกูลดังในประวัติศาตร์จีนที่มาจากพื้นที่แถบนี้ หนึ่งในนั้นคือตระกูลชุย ตระกูลชุยมีรากฐานยาวนานมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจวตะวันตก (ปี 1046-771 ก่อนคริสตกาล) แตกสกุลมาจากสกุลเจียงและรวมถึงชาวเผ่าพันธุ์อื่นที่หันมาใช้สกุลนี้ รับราชการในตำแหน่งสำคัญมาหลายยุคสมัย แตกมาเป็นสายที่เรียกว่า ‘ตระกูลชุยจากชิงเหอ’ ในยุคสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ (ปี 221 – 206 ก่อนคริสตกาล) เมื่อชุยเหลียง (ทายาทรุ่นที่ 7) ได้รับการอวยยศเป็นโหวและได้รับพระราชทานเขตการปกครองชิงเหอนี้ และต่อมาตระกูลชุยจากชิงเหอมีแตกสายย่อยไปอีกรวมเป็นหกสาย ตระกูลชุยจากชิงเหอที่กล่าวถึงในละครข้างต้น ‘ไม่ธรรมดา’ แค่ไหน? ตระกูลชุยจากชิงเหอรับราชการระดับสูงต่อเนื่อง ผ่านร้อนผ่านหนาวแต่อยู่ยงคงกระพันมากว่า 700 ปี ถูกยกย่องว่าเป็น ‘ที่สุด’ ในบรรดาสี่ตระกูลใหญ่ในยุคสมัยราชวงศ์เว่ยเหนือ (ปีค.ศ. 386 – 535) และในสมัยราชวงศ์ถังก็เป็นหนึ่งในห้าตระกูลเจ็ดเชื้อสาย (五姓七族) อันเป็นตระกูลชั้นสูงที่ต่อมาถูกห้ามไม่ให้แต่งงานกันเอง เพื่อป้องกันไม่ให้สร้างฐานอำนาจมากเกินไป มีคนจากตระกูลชุยจากชิงเหอนี้เป็นอัครมหาเสนาบดี (จ่ายเซี่ยง / 宰相) หรือตำแหน่งที่สูงคล้ายกันมากมายหลายรุ่น เฉพาะในสมัยราชวงศ์ถังที่ยาวนานเกือบสามร้อยปีก็มีถึง 12 คน (ถ้ารวมตระกูลชุยสายอื่นมีอีก 10 คน) มีจอหงวน 11 คน ยังไม่รวมที่รับราชการในตำแหน่งอื่น ที่กุมอำนาจทางการทหาร ที่เป็นผู้นำทางความคิด (นักปราชญ์ กวีชื่อดัง) และที่เป็นลูกหลานฝ่ายหญิงที่แต่งเข้าวังในตำแหน่งต่างๆ อีกจำนวนไม่น้อย จวบจนสมัยซ่งใต้ ฐานอำนาจของตระกูลนี้จึงเสื่อมจางลงเหมือนกับตระกูลสื้อเจียอื่นๆ ทำไมต้องพูดถึงตระกูลชุยจากชิงเหอ? Storyฯ เล่าเป็นตัวอย่างของเหล่าตระกูลสื้อเจียค่ะ จากที่เคยคิดว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’ แต่พอมาเห็นรากฐานของตระกูลสื้อเจียเหล่านี้ เราจะได้อรรถรสเลยว่า ‘ฐานอำนาจ’ ที่เขาพูดถึงกันนั้น มันหยั่งรากลึกแค่ไหน? เหตุใดตัวละครเอกมักรู้สึกถูกกดดันมากมาย? และเพราะเหตุใดมันจึงฝังรากลึกในวัฒนธรรมจีนโบราณ? เพราะมันไม่ใช่เรื่องของหนึ่งหรือสองชั่วอายุคน แต่เรากำลังพูดถึงฐานอำนาจหลายร้อยปีที่แทรกซึมเข้าไปในสังคมโดยมีประมุขใหญ่ของตระกูลในแต่ละรุ่นเป็นแกนนำสำคัญ Storyฯ หวังว่าเพื่อนๆ จะดูละครได้อรรถรสยิ่งขึ้นนะคะ ใครเห็นบทบาทของคนในตระกูลชุยในละครเรื่องอื่นใดอีกหรือหากนึกถึงตระกูลอื่นที่คล้ายคลึงก็เม้นท์มาได้ค่ะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.sohu.com/a/484438060_121051662 https://www.sohu.com/a/485012584_100151502 https://www.sohu.com/a/489015136_120827444 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.163.com/dy/article/FNSTJKT60543BK4H.html https://new.qq.com/omn/20211021/20211021A09WBQ00.html https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_16209361 https://www.baike.com/wiki/清河崔氏 https://zh.wikipedia.org/wiki/清河崔氏 #กระดูกงดงาม #ตระกูลชุย #สกุลชุย #ชิงเหอ #สื้อเจีย
    1 Comments 0 Shares 324 Views 0 Reviews
  • ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 ประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2
    .
    วันนี้ (15 พฤษภาคม 2568) เวลา 10.00 น. นายอิทธิพล ช่างกลึงดี ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 เป็นประธานประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
    เขตตรวจราชการที่ 13 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2 ผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์(Video Conference : Zoom Meeting) ณ ห้องประชุมภูแลนคา ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ
    .
    ในส่วนของจังหวัดนครราชสีมามีนายกิตติศักดิ์ ธีระวัฒนา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาพร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์ ณ ห้องประชุมหลวงพ่อคูณปริทสุทโธ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา
    โดยมีประด็นการตรวจติดตามดังนี้
    1. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อมุ่งสู่การปล่อย
    ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
    - นำเสนอโดย สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยภูมิ/
    นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    2.การขับเคลื่อนนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ (Soft Power)
    - นำเสนอโดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ/นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    3. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และบุหรี่ไฟฟ้า
    - นำเสนอโดย ที่ทำการปกครองจังหวัดชัยภูมิ/นครรราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 ประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2 . วันนี้ (15 พฤษภาคม 2568) เวลา 10.00 น. นายอิทธิพล ช่างกลึงดี ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 เป็นประธานประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2 ผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์(Video Conference : Zoom Meeting) ณ ห้องประชุมภูแลนคา ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ . ในส่วนของจังหวัดนครราชสีมามีนายกิตติศักดิ์ ธีระวัฒนา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาพร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์ ณ ห้องประชุมหลวงพ่อคูณปริทสุทโธ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา โดยมีประด็นการตรวจติดตามดังนี้ 1. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อมุ่งสู่การปล่อย ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ - นำเสนอโดย สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยภูมิ/ นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์ 2.การขับเคลื่อนนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ (Soft Power) - นำเสนอโดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ/นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์ 3. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และบุหรี่ไฟฟ้า - นำเสนอโดย ที่ทำการปกครองจังหวัดชัยภูมิ/นครรราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    0 Comments 0 Shares 197 Views 0 Reviews
  • ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 ประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2
    .
    วันนี้ (15 พฤษภาคม 2568) เวลา 10.00 น. นายอิทธิพล ช่างกลึงดี ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 เป็นประธานประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
    เขตตรวจราชการที่ 13 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2 ผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์(Video Conference : Zoom Meeting) ณ ห้องประชุมภูแลนคา ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ
    .
    ในส่วนของจังหวัดนครราชสีมามีนายกิตติศักดิ์ ธีระวัฒนา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาพร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์ ณ ห้องประชุมหลวงพ่อคูณปริทสุทโธ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา
    โดยมีประด็นการตรวจติดตามดังนี้
    1. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อมุ่งสู่การปล่อย
    ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
    - นำเสนอโดย สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยภูมิ/
    นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    2.การขับเคลื่อนนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ (Soft Power)
    - นำเสนอโดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ/นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    3. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และบุหรี่ไฟฟ้า
    - นำเสนอโดย ที่ทำการปกครองจังหวัดชัยภูมิ/นครรราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 ประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2 . วันนี้ (15 พฤษภาคม 2568) เวลา 10.00 น. นายอิทธิพล ช่างกลึงดี ผู้ตรวจราชสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 เป็นประธานประชุมการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 13 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 รอบที่ 2 ผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์(Video Conference : Zoom Meeting) ณ ห้องประชุมภูแลนคา ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ . ในส่วนของจังหวัดนครราชสีมามีนายกิตติศักดิ์ ธีระวัฒนา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาพร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กพรอนิกส์ ณ ห้องประชุมหลวงพ่อคูณปริทสุทโธ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา โดยมีประด็นการตรวจติดตามดังนี้ 1. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อมุ่งสู่การปล่อย ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ - นำเสนอโดย สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยภูมิ/ นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์ 2.การขับเคลื่อนนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ (Soft Power) - นำเสนอโดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ/นครราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์ 3. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และบุหรี่ไฟฟ้า - นำเสนอโดย ที่ทำการปกครองจังหวัดชัยภูมิ/นครรราชสีมา/บุรีรัมย์/สุรินทร์
    0 Comments 0 Shares 211 Views 0 Reviews
  • แอปฯ K PLUS สแกนจ่ายที่ลาวได้แล้ว

    แอปพลิเคชัน K PLUS ของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) เวอร์ชัน 5.19.11 เมื่อวันที่ 8 พ.ค. ที่ผ่านมา ได้พัฒนาฟีเจอร์ใหม่ สแกนจ่ายผ่าน QR Code ระบบ Cross-border QR Payment ของ LAO QR ที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยไม่ต้องพกเงินสด ไม่ต้องแลกเงิน และไม่มีค่าธรรมเนียม เป็นธนาคารที่สี่ ต่อจากแอปพลิเคชัน KMA ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย และ Bangkok Bank Mobile Banking ธนาคารกรุงเทพ

    ถือเป็นอีกก้าวหนึ่งของโมบายแบงกิ้งอันดับหนึ่ง ด้วยจำนวนผู้ใช้งานมากกว่า 23 ล้านราย หันมาพัฒนาระบบ Cross-border QR Payment เอง นอกจากพัฒนารองรับการสแกน QR Code ในต่างประเทศหลากหลายรูปแบบ เช่น UnionPay QR Payment, Alipay+, WeChat เฉพาะประเทศจีน และ Cross Border Outbound เฉพาะประเทศมาเลเซีย ที่สแกนจ่าย QR Code ของ DuitNow ผ่านเครือข่าย Alipay+ ต่างจากธนาคารอื่น ที่เชื่อมโยงระบบจากเครือข่าย PayNet ผู้ให้บริการระบบ DuitNow

    ผู้ใช้งาน K PLUS สามารถสแกนคิวอาร์โค้ดจากร้านค้าที่ใช้ระบบ LAO QR ของธนาคารในลาว 12 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารเอซีลีดา (ACLEDA) ธนาคารส่งเสริมกสิกรรรม (APB) ธนาคารการค้าต่างประเทศลาว (BCEL) ธนาคารลาว-ฝรั่งเศส (LBF) ธนาคารบีไอซี (BIC) ธนาคารอินโดจีน (IBL) ธนาคารร่วมพัฒนา (JDB) ธนาคารกสิกรไทย ลาว (KBANK LAOS) ธนาคารพัฒนาลาว (LDB) ธนาคารร่วมธุรกิจลาว-เวียด (Laoviet) ธนาคารพงสะหวัน (Pongsavanh) และธนาคารเอสที (ST Bank) วงเงินไม่เกิน 100,000 บาทต่อรายการ และไม่เกิน 500,000 บาทต่อวัน

    อย่างไรก็ตาม แอปฯ ธนาคารในไทยทั้ง 4 แห่ง สามารถสแกน QR Code ของ LAO QR ได้เฉพาะคิวอาร์โค้ดร้านค้าที่รองรับเท่านั้น แต่คิวอาร์โค้ดสำหรับโอนเงินระหว่างบุคคล หรือร้านค้าขนาดเล็กในประเทศลาวไม่สามารถใช้ได้ จึงควรทดลองใช้ธนาคารของไทยสแกนคิวอาร์โค้ดก่อน โดยยังไม่ต้องโอนเงิน หากขึ้นหน้าจอชำระเงินถือว่าสามารถสแกนจ่ายได้

    ก่อนหน้านี้ผู้ใช้โมบายแบงกิ้งในประเทศลาว สามารถสแกนจ่ายตามร้านค้า Thai QR Payment ผ่านเครื่องรับบัตร EDC หรือ QR Code สำหรับร้านค้า มาตั้งแต่วันที่ 3 เม.ย. 2567 อาทิ K SHOP ธนาคารกสิกรไทย, ถุงเงิน ธนาคารกรุงไทย, BeMerchant NextGen ธนาคารกรุงเทพ และ krungsri Mung-Mee SHOP ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

    ข้อมูลจากกระทรวงแถลงข่าว วัฒนธรรม และท่องเที่ยว ประเทศลาว พบว่าในปี 2567 ที่ผ่านมา ประเทศลาวต้อนรับนักท่องเที่ยว 4,120,832 คน โดยอันดับ 1 นักท่องเที่ยวจากไทย 1,215,553 คน อันดับ 2 จากเวียดนาม 1,054,204 คน และอันดับ 3 จากจีน 1,048,034 คน

    #Newskit
    แอปฯ K PLUS สแกนจ่ายที่ลาวได้แล้ว แอปพลิเคชัน K PLUS ของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) เวอร์ชัน 5.19.11 เมื่อวันที่ 8 พ.ค. ที่ผ่านมา ได้พัฒนาฟีเจอร์ใหม่ สแกนจ่ายผ่าน QR Code ระบบ Cross-border QR Payment ของ LAO QR ที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยไม่ต้องพกเงินสด ไม่ต้องแลกเงิน และไม่มีค่าธรรมเนียม เป็นธนาคารที่สี่ ต่อจากแอปพลิเคชัน KMA ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย และ Bangkok Bank Mobile Banking ธนาคารกรุงเทพ ถือเป็นอีกก้าวหนึ่งของโมบายแบงกิ้งอันดับหนึ่ง ด้วยจำนวนผู้ใช้งานมากกว่า 23 ล้านราย หันมาพัฒนาระบบ Cross-border QR Payment เอง นอกจากพัฒนารองรับการสแกน QR Code ในต่างประเทศหลากหลายรูปแบบ เช่น UnionPay QR Payment, Alipay+, WeChat เฉพาะประเทศจีน และ Cross Border Outbound เฉพาะประเทศมาเลเซีย ที่สแกนจ่าย QR Code ของ DuitNow ผ่านเครือข่าย Alipay+ ต่างจากธนาคารอื่น ที่เชื่อมโยงระบบจากเครือข่าย PayNet ผู้ให้บริการระบบ DuitNow ผู้ใช้งาน K PLUS สามารถสแกนคิวอาร์โค้ดจากร้านค้าที่ใช้ระบบ LAO QR ของธนาคารในลาว 12 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารเอซีลีดา (ACLEDA) ธนาคารส่งเสริมกสิกรรรม (APB) ธนาคารการค้าต่างประเทศลาว (BCEL) ธนาคารลาว-ฝรั่งเศส (LBF) ธนาคารบีไอซี (BIC) ธนาคารอินโดจีน (IBL) ธนาคารร่วมพัฒนา (JDB) ธนาคารกสิกรไทย ลาว (KBANK LAOS) ธนาคารพัฒนาลาว (LDB) ธนาคารร่วมธุรกิจลาว-เวียด (Laoviet) ธนาคารพงสะหวัน (Pongsavanh) และธนาคารเอสที (ST Bank) วงเงินไม่เกิน 100,000 บาทต่อรายการ และไม่เกิน 500,000 บาทต่อวัน อย่างไรก็ตาม แอปฯ ธนาคารในไทยทั้ง 4 แห่ง สามารถสแกน QR Code ของ LAO QR ได้เฉพาะคิวอาร์โค้ดร้านค้าที่รองรับเท่านั้น แต่คิวอาร์โค้ดสำหรับโอนเงินระหว่างบุคคล หรือร้านค้าขนาดเล็กในประเทศลาวไม่สามารถใช้ได้ จึงควรทดลองใช้ธนาคารของไทยสแกนคิวอาร์โค้ดก่อน โดยยังไม่ต้องโอนเงิน หากขึ้นหน้าจอชำระเงินถือว่าสามารถสแกนจ่ายได้ ก่อนหน้านี้ผู้ใช้โมบายแบงกิ้งในประเทศลาว สามารถสแกนจ่ายตามร้านค้า Thai QR Payment ผ่านเครื่องรับบัตร EDC หรือ QR Code สำหรับร้านค้า มาตั้งแต่วันที่ 3 เม.ย. 2567 อาทิ K SHOP ธนาคารกสิกรไทย, ถุงเงิน ธนาคารกรุงไทย, BeMerchant NextGen ธนาคารกรุงเทพ และ krungsri Mung-Mee SHOP ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ข้อมูลจากกระทรวงแถลงข่าว วัฒนธรรม และท่องเที่ยว ประเทศลาว พบว่าในปี 2567 ที่ผ่านมา ประเทศลาวต้อนรับนักท่องเที่ยว 4,120,832 คน โดยอันดับ 1 นักท่องเที่ยวจากไทย 1,215,553 คน อันดับ 2 จากเวียดนาม 1,054,204 คน และอันดับ 3 จากจีน 1,048,034 คน #Newskit
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 351 Views 0 Reviews
  • ..คนจีนดีๆนะมีอยู่จริง
    ..แต่คนจีนดีๆจะไม่ทำแบบนี้ในต่างประเทศ,คนดีที่ขีนส่งออกมาในนามคนประเทศจีนนั้นคือประเทศจีนรับรองสถานะและคุณภาพแล้วจึงอนุญาต&อนุมัติให้ออกมาหากินบนต่างแดนนอกประเทศตนได้,หรือลุกไปต่างประเทศได้,เช่นนัันประเทศไทยต้องมองจีนใหม่ทั้งหมดจริงๆ,คนจีนที่เกิดในไทยเชื้อสายจีนหากเนรคุณแผ่นดินไทยตนที่มาอาศัยเกิดกินสร้างอาชีพขนตายบนแผ่นดินไทย,หากใจจิตยังหมายทรยศคตอยู่แสดงว่าเชื้อสายจีนมีปัญหาคบไม่ได้จริงๆ,ไม่ต่างจากมวยไทยที่ไปชกที่จีนแบบนั้นล่ะ โกงมวยไทยสาระพัดเช่นกัน,สันดานแท้จริงปรากฎชัดแบบนั้น สามารถมองเทียบมุมมองลักษณะอื่นๆคงไม่ต่างจากกรณีมวยไทยเรานััน,ตำราคุณธรรมจีนก็คงเขียนเท่ๆแค่นั้น,และเพราะคุณธรรมจีนจอมปลอมนี้เอง คนจีนมากมายจึงมาสร้างสาระพัดปัญหาเต็มตรึมบนแผ่นดินไทยเรา,เราควรให้จีนแลกตังเราที่1บาทต่อ5หยวนดีกว่า,ผีบ้าอะไรไปด้อยค่าให้ราคาเงินหยวนทุบเงินไทยแบบนั้น,1หยวนต่อ5บาทไทย,ค่าเงินหยวนสมควรอ่อนค่าได้แล้ว,ในประเทศไทย,เบื้องต้นจะลดคุณค่าเงินหยวนมาทุ่มสกุลเงินค่าไทยแบบอ้างว่าเขาค่าเงินดีกว่าเรา มีมูลค่าแลกเปลี่ยนได้เปรียบอีกจึงมาทุ่มตลาดเงินซื้อนั้นนี้ในไทยในราคาว่าถูกก็ว่า,จริงๆค่าเงินหยวนสมควรมีค่าแค่25-30หยวนต่อ1บาทไทยนะ,เมื่อแถมคุณภาพสินค้าและภาพรวมสินค้าจีนที่มีคุณภาพแบบไหนก็คนไทยรับรู้ชัดเจนปกติอยู่แล้ว,จะไปเอาแค่ว่าจีนสะสมทองคำได้เยอะกว่ามากกว่าไม่ได้หรอก,และจริงๆค่าเงินบนโลกนี้สมควรรีเซ็ตใหม่หมด,ใช้สกุลมาตราฐานเดียวพอ,เช่น ใช้ชื่อ บาท ก็บาททั้งโลก ใช้แลกเปลี่ยนกัน ไปอเมริกาก็ใช้เงินบาท ไปจีนก็ใช้เงินบาท พอใจตั้งราคาแบบนั่นๆเลย,อาจใช้ชื่อสากลว่า คิง(King) ทั่วโลกเลย,บาทเปลี่ยนว่าคิง,หยวนเปลี่ยนว่าคิง,เยนวอนเปลี่ยนว่าคิง,ดอลล่าร์เปลี่ยนว่าคิง,มือถือขายทราคา0.10King(0.10K.),มาม่าขายซองละ0.01King(0.01K.ก็ว่าไป) ไม่ต้องใช้เงินสกุลของbricsก็ได้,ทั้งโลกใช้สกุลเดียว,ยุติความแตกต่างและเก็งกำไรทันที,ความขัดแย้งบนข้อแตกต่างก็จบลงนั้นเองฝ่ายมืดในปัจจุบันใช้ความแตกต่างนี้ล่ะก่อเกิดทุกๆการสงครามบนโลก,สงครามความแตกต่างทางศาสนา&ผิวพรรณ&เชื้อชาติ&ภาษา&วัฒนธรรม เป็นต้น

    https://youtube.com/shorts/IfKy27L5iUo?si=DGCgHCZ1b-Iibo-6
    ..คนจีนดีๆนะมีอยู่จริง ..แต่คนจีนดีๆจะไม่ทำแบบนี้ในต่างประเทศ,คนดีที่ขีนส่งออกมาในนามคนประเทศจีนนั้นคือประเทศจีนรับรองสถานะและคุณภาพแล้วจึงอนุญาต&อนุมัติให้ออกมาหากินบนต่างแดนนอกประเทศตนได้,หรือลุกไปต่างประเทศได้,เช่นนัันประเทศไทยต้องมองจีนใหม่ทั้งหมดจริงๆ,คนจีนที่เกิดในไทยเชื้อสายจีนหากเนรคุณแผ่นดินไทยตนที่มาอาศัยเกิดกินสร้างอาชีพขนตายบนแผ่นดินไทย,หากใจจิตยังหมายทรยศคตอยู่แสดงว่าเชื้อสายจีนมีปัญหาคบไม่ได้จริงๆ,ไม่ต่างจากมวยไทยที่ไปชกที่จีนแบบนั้นล่ะ โกงมวยไทยสาระพัดเช่นกัน,สันดานแท้จริงปรากฎชัดแบบนั้น สามารถมองเทียบมุมมองลักษณะอื่นๆคงไม่ต่างจากกรณีมวยไทยเรานััน,ตำราคุณธรรมจีนก็คงเขียนเท่ๆแค่นั้น,และเพราะคุณธรรมจีนจอมปลอมนี้เอง คนจีนมากมายจึงมาสร้างสาระพัดปัญหาเต็มตรึมบนแผ่นดินไทยเรา,เราควรให้จีนแลกตังเราที่1บาทต่อ5หยวนดีกว่า,ผีบ้าอะไรไปด้อยค่าให้ราคาเงินหยวนทุบเงินไทยแบบนั้น,1หยวนต่อ5บาทไทย,ค่าเงินหยวนสมควรอ่อนค่าได้แล้ว,ในประเทศไทย,เบื้องต้นจะลดคุณค่าเงินหยวนมาทุ่มสกุลเงินค่าไทยแบบอ้างว่าเขาค่าเงินดีกว่าเรา มีมูลค่าแลกเปลี่ยนได้เปรียบอีกจึงมาทุ่มตลาดเงินซื้อนั้นนี้ในไทยในราคาว่าถูกก็ว่า,จริงๆค่าเงินหยวนสมควรมีค่าแค่25-30หยวนต่อ1บาทไทยนะ,เมื่อแถมคุณภาพสินค้าและภาพรวมสินค้าจีนที่มีคุณภาพแบบไหนก็คนไทยรับรู้ชัดเจนปกติอยู่แล้ว,จะไปเอาแค่ว่าจีนสะสมทองคำได้เยอะกว่ามากกว่าไม่ได้หรอก,และจริงๆค่าเงินบนโลกนี้สมควรรีเซ็ตใหม่หมด,ใช้สกุลมาตราฐานเดียวพอ,เช่น ใช้ชื่อ บาท ก็บาททั้งโลก ใช้แลกเปลี่ยนกัน ไปอเมริกาก็ใช้เงินบาท ไปจีนก็ใช้เงินบาท พอใจตั้งราคาแบบนั่นๆเลย,อาจใช้ชื่อสากลว่า คิง(King) ทั่วโลกเลย,บาทเปลี่ยนว่าคิง,หยวนเปลี่ยนว่าคิง,เยนวอนเปลี่ยนว่าคิง,ดอลล่าร์เปลี่ยนว่าคิง,มือถือขายทราคา0.10King(0.10K.),มาม่าขายซองละ0.01King(0.01K.ก็ว่าไป) ไม่ต้องใช้เงินสกุลของbricsก็ได้,ทั้งโลกใช้สกุลเดียว,ยุติความแตกต่างและเก็งกำไรทันที,ความขัดแย้งบนข้อแตกต่างก็จบลงนั้นเองฝ่ายมืดในปัจจุบันใช้ความแตกต่างนี้ล่ะก่อเกิดทุกๆการสงครามบนโลก,สงครามความแตกต่างทางศาสนา&ผิวพรรณ&เชื้อชาติ&ภาษา&วัฒนธรรม เป็นต้น https://youtube.com/shorts/IfKy27L5iUo?si=DGCgHCZ1b-Iibo-6
    0 Comments 0 Shares 182 Views 0 Reviews
  • สัมผัสเสน่ห์ประเพณีของชาวอีสานในงาน “ประเพณีวัฒนธรรมผู้ไทบุญบั้งไฟตะไลล้าน ประจำปี 2568” วันที่ 17-18 พฤษภาคม 2568 ณ เทศบาลตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

    วันนี้ 18 พ.ค. 2568 การท่องเที่ยวแห่งประเทศ (ททท.) ร่วมสนับสนุนและประชาสัมพันธ์การจัดงาน “ประเพณีวัฒนธรรมผู้ไทบุญบั้งไฟตะไลล้าน ประจำปี 2568 ณ เทศบาลตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อรักษาไว้ซึ่งวีถีประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยงานประเพณีบุญบั้งไฟตะไลล้านนี้ เป็นอัตลักษณ์เพียงแห่งเดียงที่หาชมไได้ที่ จังหวัดกาฬสินธุ์เท่านั้นกำหนดจัดขึ้นในวันเสาร์ - อาทิตย์ที่สามของเดือนพฤษภาคมในทุกปี

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/travel/detail/9680000046373

    #MGROnline #ประเพณีวัฒนธรรมผู้ไทบุญบั้งไฟตะไลล้าน
    สัมผัสเสน่ห์ประเพณีของชาวอีสานในงาน “ประเพณีวัฒนธรรมผู้ไทบุญบั้งไฟตะไลล้าน ประจำปี 2568” วันที่ 17-18 พฤษภาคม 2568 ณ เทศบาลตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ • วันนี้ 18 พ.ค. 2568 การท่องเที่ยวแห่งประเทศ (ททท.) ร่วมสนับสนุนและประชาสัมพันธ์การจัดงาน “ประเพณีวัฒนธรรมผู้ไทบุญบั้งไฟตะไลล้าน ประจำปี 2568 ณ เทศบาลตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อรักษาไว้ซึ่งวีถีประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยงานประเพณีบุญบั้งไฟตะไลล้านนี้ เป็นอัตลักษณ์เพียงแห่งเดียงที่หาชมไได้ที่ จังหวัดกาฬสินธุ์เท่านั้นกำหนดจัดขึ้นในวันเสาร์ - อาทิตย์ที่สามของเดือนพฤษภาคมในทุกปี • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/travel/detail/9680000046373 • #MGROnline #ประเพณีวัฒนธรรมผู้ไทบุญบั้งไฟตะไลล้าน
    0 Comments 0 Shares 221 Views 0 Reviews
  • Tails Linux ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบความปลอดภัยเพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ใช้

    Tails Linux ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่เน้นความเป็นส่วนตัว ได้ดำเนินการตรวจสอบความปลอดภัยโดย Radically Open Security และพบว่า ไม่มีช่องโหว่ที่สามารถถูกใช้โจมตีจากระยะไกล อย่างไรก็ตาม มีช่องโหว่บางส่วนที่ต้องอาศัยการเข้าถึงระบบในระดับต่ำ ซึ่งทีมพัฒนาได้แก้ไขแล้ว

    🔍 รายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับการตรวจสอบความปลอดภัยของ Tails Linux
    ✅ Radically Open Security ตรวจสอบระบบปฏิบัติการ Tails เพื่อค้นหาช่องโหว่
    - พบว่า ไม่มีช่องโหว่ที่สามารถถูกใช้โจมตีจากระยะไกล

    ✅ ช่องโหว่ที่พบต้องอาศัยการเข้าถึงระบบในระดับต่ำ
    - เช่น ช่องโหว่ที่เกี่ยวข้องกับบัญชีผู้ใช้ amnesia ซึ่งเป็นบัญชีเริ่มต้นของ Tails

    ✅ ทีมพัฒนา Tails ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับช่องโหว่ก่อนรายงานถูกเผยแพร่
    - ทำให้สามารถ ออกแพตช์แก้ไขได้ทันทีใน Tails 6.11 และ 6.12

    ✅ การเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมของทีมพัฒนา Tails
    - จากเดิมที่ เก็บข้อมูลช่องโหว่เป็นความลับ ตอนนี้ ใช้แนวทางการเปิดเผยข้อมูลตามนโยบายของ Tor Project

    ✅ Tails จะลดการปรับโครงสร้างโค้ดครั้งใหญ่เพื่อลดโอกาสเกิดช่องโหว่ใหม่
    - จะทำ เฉพาะเมื่อมีความจำเป็นจริง ๆ เท่านั้น

    https://www.neowin.net/news/tails-linux-introduces-reforms-in-security-audit-postmortem-to-make-you-safer/
    Tails Linux ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบความปลอดภัยเพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ใช้ Tails Linux ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่เน้นความเป็นส่วนตัว ได้ดำเนินการตรวจสอบความปลอดภัยโดย Radically Open Security และพบว่า ไม่มีช่องโหว่ที่สามารถถูกใช้โจมตีจากระยะไกล อย่างไรก็ตาม มีช่องโหว่บางส่วนที่ต้องอาศัยการเข้าถึงระบบในระดับต่ำ ซึ่งทีมพัฒนาได้แก้ไขแล้ว 🔍 รายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับการตรวจสอบความปลอดภัยของ Tails Linux ✅ Radically Open Security ตรวจสอบระบบปฏิบัติการ Tails เพื่อค้นหาช่องโหว่ - พบว่า ไม่มีช่องโหว่ที่สามารถถูกใช้โจมตีจากระยะไกล ✅ ช่องโหว่ที่พบต้องอาศัยการเข้าถึงระบบในระดับต่ำ - เช่น ช่องโหว่ที่เกี่ยวข้องกับบัญชีผู้ใช้ amnesia ซึ่งเป็นบัญชีเริ่มต้นของ Tails ✅ ทีมพัฒนา Tails ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับช่องโหว่ก่อนรายงานถูกเผยแพร่ - ทำให้สามารถ ออกแพตช์แก้ไขได้ทันทีใน Tails 6.11 และ 6.12 ✅ การเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมของทีมพัฒนา Tails - จากเดิมที่ เก็บข้อมูลช่องโหว่เป็นความลับ ตอนนี้ ใช้แนวทางการเปิดเผยข้อมูลตามนโยบายของ Tor Project ✅ Tails จะลดการปรับโครงสร้างโค้ดครั้งใหญ่เพื่อลดโอกาสเกิดช่องโหว่ใหม่ - จะทำ เฉพาะเมื่อมีความจำเป็นจริง ๆ เท่านั้น https://www.neowin.net/news/tails-linux-introduces-reforms-in-security-audit-postmortem-to-make-you-safer/
    WWW.NEOWIN.NET
    Tails Linux introduces reforms in security audit postmortem to make you safer
    The privacy-focused Linux distribution, Tails OS, has just had a security audit postmortem in which it has introduced cultural and technical changes to reduce new bug incidences.
    0 Comments 0 Shares 68 Views 0 Reviews
  • ประธานสหพันธ์นักดนตรีอเมริกันออกแถลงการณ์ตอบโต้ทรัมป์!“สหพันธ์นักดนตรีอเมริกันจะไม่นิ่งเฉยเมื่อสมาชิกสองคนของเรา — บรูซ สปริงส์ทีนและเทย์เลอร์ สวิฟต์ — ถูกประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาโจมตีและโจมตีเป็นการส่วนตัว บรูซ สปริงส์ทีนและเทย์เลอร์ สวิฟต์ไม่เพียงแต่เป็นนักดนตรีที่ยอดเยี่ยมเท่านั้น แต่พวกเขายังเป็นแบบอย่างและแรงบันดาลใจให้กับผู้คนนับล้านในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นเพลง Born in the USA หรือ Eras Tour เพลงของพวกเขาล้วนเป็นอมตะ มีอิทธิพล และมีความหมายทางวัฒนธรรมที่ลึกซึ้ง นักดนตรีมีสิทธิที่จะแสดงออกอย่างอิสระ และเราขอแสดงความสามัคคีร่วมกับสมาชิกทุกคนของเรา”
    ประธานสหพันธ์นักดนตรีอเมริกันออกแถลงการณ์ตอบโต้ทรัมป์!“สหพันธ์นักดนตรีอเมริกันจะไม่นิ่งเฉยเมื่อสมาชิกสองคนของเรา — บรูซ สปริงส์ทีนและเทย์เลอร์ สวิฟต์ — ถูกประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาโจมตีและโจมตีเป็นการส่วนตัว บรูซ สปริงส์ทีนและเทย์เลอร์ สวิฟต์ไม่เพียงแต่เป็นนักดนตรีที่ยอดเยี่ยมเท่านั้น แต่พวกเขายังเป็นแบบอย่างและแรงบันดาลใจให้กับผู้คนนับล้านในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นเพลง Born in the USA หรือ Eras Tour เพลงของพวกเขาล้วนเป็นอมตะ มีอิทธิพล และมีความหมายทางวัฒนธรรมที่ลึกซึ้ง นักดนตรีมีสิทธิที่จะแสดงออกอย่างอิสระ และเราขอแสดงความสามัคคีร่วมกับสมาชิกทุกคนของเรา”
    0 Comments 0 Shares 191 Views 0 Reviews
  • คำพูดตลกของประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซียเกี่ยวกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย อันวาร์ อิบราฮิม และ “ภรรยาคนที่สอง” ทำให้คนในประเทศเกิดปฏิกิริยาที่หลากหลาย โดยทำให้ผู้ใช้โซเชียลมีเดียรู้สึกขบขัน แต่ในขณะเดียวกันก็ทำให้คนอื่นๆรู้สึกไม่พอใจเพราะยังคงไว้อาลัยเที่ยวบิน MH17 ของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ หลังจากที่รัสเซียถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังเหตุการณ์เครื่องบินตกเมื่อปี 2014 ระหว่างที่อันวาร์เยือนกรุงมอสโก

    อันวาร์อยู่ระหว่างการเยือนรัสเซียอย่างเป็นทางการ 4 วันตามคำเชิญของปูติน โดยทั้งสองฝ่ายต่างยกย่องความร่วมมือที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นในภาคส่วนต่างๆ เช่น อวกาศ ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีดิจิทัล

    แต่คำพูดที่หลุดจากปากของปูตินเองต่างหากที่ดึงดูดความสนใจ

    ในการแถลงข่าวร่วมกันที่กรุงมอสโกเมื่อวันพุธที่14 พ.ค. ผู้นำรัสเซียเล่าว่าพาอันวาร์ชมห้องโถงเซนต์แอนดรูว์อันโอ่อ่าในเครมลิน ซึ่งเป็นที่ตั้งของบัลลังก์พิธีการ 3 บัลลังก์ที่ราชวงศ์รัสเซียเคยใช้ ผู้นำรัสเซียอธิบายว่าบัลลังก์หนึ่งเป็นของซาร์ และอีกบัลลังก์หนึ่งเป็นของภรรยา จากนั้นจึงถามผู้นำมาเลเซียว่าบัลลังก์ที่สามเป็นของใคร

    “นายกรัฐมนตรีอันวาร์กล่าวโดยไม่คิดอะไรเลยว่า ‘เพื่อภรรยาคนที่สอง’” ปูตินกล่าว ทำให้ผู้ฟังหัวเราะ “ฉันหวังว่าเขาจะไม่โกรธฉันที่พูดแบบนั้น แต่นี่คือคำตอบของมุสลิมแท้ ตัวแทนที่แท้จริงของวัฒนธรรมอิสลาม”

    อันวาร์ซึ่งหัวเราะขณะที่ปูตินเล่าเรื่องนี้ตอบกลับว่า “ผมมีภรรยาคนเดียวเท่านั้น ท่านประธานาธิบดี” และเสริมว่าภายหลังเขาเพิ่งตระหนักว่าบัลลังก์ที่สามนั้นเป็นของพระมารดาของซาร์

    ชาวมาเลเซียรีบล้อเลียนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนี้บนโซเชียลมีเดีย โดยบางคนเสนอว่าควรมีเพลง “Russia Sayang” เป็นเพลงประกอบการเยือนของอันวาร์ ซึ่งเป็นการเล่นคำกับเพลง “Rasa Sayang” ซึ่งเป็นเพลงพื้นบ้านยอดนิยมของชาวมาเลย์ที่แปลว่า “ความรู้สึกรัก”

    “จากรัสเซียด้วยความรัก” ผู้ใช้รายหนึ่งชื่ออัซลัน อับดุลลาห์ เขียน พร้อมเพิ่มอีโมจิหัวเราะในความคิดเห็นบนเฟซบุ๊กของเขา

    อย่างไรก็ตาม ชาวมาเลเซียบางคนก็ไม่ได้รู้สึกขบขัน นักวิจารณ์โต้แย้งว่าความตลกโปกฮานี้ขาดความจริงจัง เนื่องจากรัสเซียมีบทบาทในเหตุโศกนาฏกรรม MH17 ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไป 298 ราย รวมถึงชาวมาเลเซีย 43 ราย เมื่อเครื่องบินถูกขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ Buk ที่ผลิตโดยรัสเซียโจมตีเหนือยูเครนตะวันออกในเดือนกรกฎาคม 2557 ระหว่างการสู้รบระหว่างกลุ่มแบ่งแยกดินแดนที่สนับสนุนมอสโกวและกองกำลังยูเครน

    ผู้ใช้รายหนึ่งแสดงความคิดเห็นว่า “เขาคิดว่าเขาไปมอสโกวเพื่อเรียกร้องคำตอบเกี่ยวกับ MH17 แต่กลับกลายเป็นว่าเขากำลังเล่าเรื่องตลกเกี่ยวกับภรรยาคนที่สองกับปูตินแทน” ผู้ใช้อีกรายเขียนว่า “หัวเราะและเล่าเรื่องตลกในขณะที่ครอบครัวของผู้เสียชีวิตจาก MH17 ร้องไห้” ในโพสต์ที่แชร์คลิปการแถลงข่าวที่กลายเป็นไวรัล

    เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา คณะกรรมการองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ตัดสินว่ารัสเซียต้องรับผิดชอบต่อเหตุการณ์เครื่องบิน MH17 ของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ถูกยิงตก

    คำตัดสินดังกล่าวระบุว่ารัสเซียละเมิดอนุสัญญาชิคาโก ซึ่งห้ามใช้อาวุธโจมตีเครื่องบินพลเรือนขณะบิน และเปิดโอกาสให้รัฐที่ได้รับผลกระทบเรียกร้องค่าชดเชยแทนครอบครัวของผู้เสียชีวิตผ่านกลไกทางกฎหมายระหว่างประเทศ

    เครมลินปฏิเสธคำตัดสินดังกล่าวโดยระบุว่า “ลำเอียง” โดยให้เหตุผลว่ามอสโกไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการสอบสวน

    ในการแถลงข่าวแยกกับสื่อมาเลเซียในกรุงมอสโก อันวาร์กล่าวว่าปูตินบอกกับเขาว่ารัสเซียเปิดกว้างที่จะให้ความร่วมมือในคดีนี้ แต่เฉพาะกับหน่วยงานสอบสวนที่ถือว่าเป็นกลางเท่านั้น

    “สิ่งที่ฉันยืนยันได้คือเขากล่าวว่าไม่เป็นความจริงที่จะบอกว่าพวกเขาไม่เต็มใจที่จะให้ความร่วมมือ แต่พวกเขาไม่สามารถให้ความร่วมมือกับใครก็ตามที่รัสเซียถือว่าไม่เป็นอิสระ” เขากล่าว

    มาเลเซียซึ่งสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับรัสเซียในช่วงยุคโซเวียตในทศวรรษ 1960 นำเข้าธัญพืช น้ำมันกลั่น และอาวุธจากรัสเซีย และล่าสุดหันไปหามอสโกเพื่อขอการสนับสนุนในการพยายามเข้าร่วมกลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่บริกส์

    ที่มา Putin’s ‘second wife’ joke about Anwar draws laughs and backlash in Malaysia
    https://www.scmp.com/week-asia/politics/article/3310606/putins-second-wife-joke-about-malaysias-anwar-draws-laughs-and-anger-amid-mh17-ruling?share=mYixsqD3Gx74oC2WLCVGDbUSw3YQ5trX%2FyBWyU9E0%2F%2FQDIcV%2Ba96vAUpBw3v%2BoxVR4RAImnq9JxgzHKpT4WMZjU%2BOyv%2BvSxYeWul0pVvbj0%3D&utm_campaign=social_share
    คำพูดตลกของประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซียเกี่ยวกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย อันวาร์ อิบราฮิม และ “ภรรยาคนที่สอง” ทำให้คนในประเทศเกิดปฏิกิริยาที่หลากหลาย โดยทำให้ผู้ใช้โซเชียลมีเดียรู้สึกขบขัน แต่ในขณะเดียวกันก็ทำให้คนอื่นๆรู้สึกไม่พอใจเพราะยังคงไว้อาลัยเที่ยวบิน MH17 ของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ หลังจากที่รัสเซียถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังเหตุการณ์เครื่องบินตกเมื่อปี 2014 ระหว่างที่อันวาร์เยือนกรุงมอสโก อันวาร์อยู่ระหว่างการเยือนรัสเซียอย่างเป็นทางการ 4 วันตามคำเชิญของปูติน โดยทั้งสองฝ่ายต่างยกย่องความร่วมมือที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นในภาคส่วนต่างๆ เช่น อวกาศ ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีดิจิทัล แต่คำพูดที่หลุดจากปากของปูตินเองต่างหากที่ดึงดูดความสนใจ ในการแถลงข่าวร่วมกันที่กรุงมอสโกเมื่อวันพุธที่14 พ.ค. ผู้นำรัสเซียเล่าว่าพาอันวาร์ชมห้องโถงเซนต์แอนดรูว์อันโอ่อ่าในเครมลิน ซึ่งเป็นที่ตั้งของบัลลังก์พิธีการ 3 บัลลังก์ที่ราชวงศ์รัสเซียเคยใช้ ผู้นำรัสเซียอธิบายว่าบัลลังก์หนึ่งเป็นของซาร์ และอีกบัลลังก์หนึ่งเป็นของภรรยา จากนั้นจึงถามผู้นำมาเลเซียว่าบัลลังก์ที่สามเป็นของใคร “นายกรัฐมนตรีอันวาร์กล่าวโดยไม่คิดอะไรเลยว่า ‘เพื่อภรรยาคนที่สอง’” ปูตินกล่าว ทำให้ผู้ฟังหัวเราะ “ฉันหวังว่าเขาจะไม่โกรธฉันที่พูดแบบนั้น แต่นี่คือคำตอบของมุสลิมแท้ ตัวแทนที่แท้จริงของวัฒนธรรมอิสลาม” อันวาร์ซึ่งหัวเราะขณะที่ปูตินเล่าเรื่องนี้ตอบกลับว่า “ผมมีภรรยาคนเดียวเท่านั้น ท่านประธานาธิบดี” และเสริมว่าภายหลังเขาเพิ่งตระหนักว่าบัลลังก์ที่สามนั้นเป็นของพระมารดาของซาร์ ชาวมาเลเซียรีบล้อเลียนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนี้บนโซเชียลมีเดีย โดยบางคนเสนอว่าควรมีเพลง “Russia Sayang” เป็นเพลงประกอบการเยือนของอันวาร์ ซึ่งเป็นการเล่นคำกับเพลง “Rasa Sayang” ซึ่งเป็นเพลงพื้นบ้านยอดนิยมของชาวมาเลย์ที่แปลว่า “ความรู้สึกรัก” “จากรัสเซียด้วยความรัก” ผู้ใช้รายหนึ่งชื่ออัซลัน อับดุลลาห์ เขียน พร้อมเพิ่มอีโมจิหัวเราะในความคิดเห็นบนเฟซบุ๊กของเขา อย่างไรก็ตาม ชาวมาเลเซียบางคนก็ไม่ได้รู้สึกขบขัน นักวิจารณ์โต้แย้งว่าความตลกโปกฮานี้ขาดความจริงจัง เนื่องจากรัสเซียมีบทบาทในเหตุโศกนาฏกรรม MH17 ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไป 298 ราย รวมถึงชาวมาเลเซีย 43 ราย เมื่อเครื่องบินถูกขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ Buk ที่ผลิตโดยรัสเซียโจมตีเหนือยูเครนตะวันออกในเดือนกรกฎาคม 2557 ระหว่างการสู้รบระหว่างกลุ่มแบ่งแยกดินแดนที่สนับสนุนมอสโกวและกองกำลังยูเครน ผู้ใช้รายหนึ่งแสดงความคิดเห็นว่า “เขาคิดว่าเขาไปมอสโกวเพื่อเรียกร้องคำตอบเกี่ยวกับ MH17 แต่กลับกลายเป็นว่าเขากำลังเล่าเรื่องตลกเกี่ยวกับภรรยาคนที่สองกับปูตินแทน” ผู้ใช้อีกรายเขียนว่า “หัวเราะและเล่าเรื่องตลกในขณะที่ครอบครัวของผู้เสียชีวิตจาก MH17 ร้องไห้” ในโพสต์ที่แชร์คลิปการแถลงข่าวที่กลายเป็นไวรัล เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา คณะกรรมการองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ตัดสินว่ารัสเซียต้องรับผิดชอบต่อเหตุการณ์เครื่องบิน MH17 ของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ถูกยิงตก คำตัดสินดังกล่าวระบุว่ารัสเซียละเมิดอนุสัญญาชิคาโก ซึ่งห้ามใช้อาวุธโจมตีเครื่องบินพลเรือนขณะบิน และเปิดโอกาสให้รัฐที่ได้รับผลกระทบเรียกร้องค่าชดเชยแทนครอบครัวของผู้เสียชีวิตผ่านกลไกทางกฎหมายระหว่างประเทศ เครมลินปฏิเสธคำตัดสินดังกล่าวโดยระบุว่า “ลำเอียง” โดยให้เหตุผลว่ามอสโกไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการสอบสวน ในการแถลงข่าวแยกกับสื่อมาเลเซียในกรุงมอสโก อันวาร์กล่าวว่าปูตินบอกกับเขาว่ารัสเซียเปิดกว้างที่จะให้ความร่วมมือในคดีนี้ แต่เฉพาะกับหน่วยงานสอบสวนที่ถือว่าเป็นกลางเท่านั้น “สิ่งที่ฉันยืนยันได้คือเขากล่าวว่าไม่เป็นความจริงที่จะบอกว่าพวกเขาไม่เต็มใจที่จะให้ความร่วมมือ แต่พวกเขาไม่สามารถให้ความร่วมมือกับใครก็ตามที่รัสเซียถือว่าไม่เป็นอิสระ” เขากล่าว มาเลเซียซึ่งสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับรัสเซียในช่วงยุคโซเวียตในทศวรรษ 1960 นำเข้าธัญพืช น้ำมันกลั่น และอาวุธจากรัสเซีย และล่าสุดหันไปหามอสโกเพื่อขอการสนับสนุนในการพยายามเข้าร่วมกลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่บริกส์ ที่มา Putin’s ‘second wife’ joke about Anwar draws laughs and backlash in Malaysia https://www.scmp.com/week-asia/politics/article/3310606/putins-second-wife-joke-about-malaysias-anwar-draws-laughs-and-anger-amid-mh17-ruling?share=mYixsqD3Gx74oC2WLCVGDbUSw3YQ5trX%2FyBWyU9E0%2F%2FQDIcV%2Ba96vAUpBw3v%2BoxVR4RAImnq9JxgzHKpT4WMZjU%2BOyv%2BvSxYeWul0pVvbj0%3D&utm_campaign=social_share
    WWW.SCMP.COM
    Putin’s ‘second wife’ joke about Anwar draws laughs and backlash in Malaysia
    While some social media users were amused by the leaders’ moment of levity, others felt it was inappropriate in light of the MH17 tragedy.
    0 Comments 0 Shares 376 Views 0 Reviews
  • กิจกรรม การพัฒนามาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และ สถานประกอบการด้านท่องเที่ยวภูมิศาสตร์เชิงสร้างสรรค์ ตามแนวทาง จีโอพาร์คพาร์ทเนอร์ (Geopark Partner)
    วันนี้(15พ.ค.68) นายสมเกียรติ วิริยะกุลนันท์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา เปิดกิจกรรม การพัฒนามาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และ สถานประกอบการด้านท่องเที่ยวภูมิศาสตร์เชิงสร้างสรรค์ ตามแนวทาง จีโอพาร์คพาร์ทเนอร์ (Geopark Partner)เพื่อยกระดับมาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยว และสถานประกอบการในพื้นที่อุทยานธรณีโคราชให้มี ความ
    พร้อมในการให้บริการอย่างมีคณภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสอดคล้อง
    กับแนวทางของ ยูเนสโก้ โกบอล จีโอพาร์ค แนวทางดังกล่าวเน้นการอ
    ทรัพยากรทางธรณี การมีส่วนร่วมของ ชุมชน และการผสมผสานอัตลักษณ์
    ทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้ท่องเที่ยวในพื้นที่
    เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง โดยมีผู้อำนวยการอุทยาน ธรณีโคราช คณะผู้บริหารโคราชจีโอพาร์คโลก ชุมชน
    ต้นแบบโคราชจีโอพาร์ค ผู้ประกอบการในพื้นที่ อุทยานธรณีโคราชร่วมกิจกรรม ณ โรงแรมสีมาธานี จ.นครราชสีมา
    กิจกรรม การพัฒนามาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และ สถานประกอบการด้านท่องเที่ยวภูมิศาสตร์เชิงสร้างสรรค์ ตามแนวทาง จีโอพาร์คพาร์ทเนอร์ (Geopark Partner) วันนี้(15พ.ค.68) นายสมเกียรติ วิริยะกุลนันท์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา เปิดกิจกรรม การพัฒนามาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และ สถานประกอบการด้านท่องเที่ยวภูมิศาสตร์เชิงสร้างสรรค์ ตามแนวทาง จีโอพาร์คพาร์ทเนอร์ (Geopark Partner)เพื่อยกระดับมาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยว และสถานประกอบการในพื้นที่อุทยานธรณีโคราชให้มี ความ พร้อมในการให้บริการอย่างมีคณภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสอดคล้อง กับแนวทางของ ยูเนสโก้ โกบอล จีโอพาร์ค แนวทางดังกล่าวเน้นการอ ทรัพยากรทางธรณี การมีส่วนร่วมของ ชุมชน และการผสมผสานอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้ท่องเที่ยวในพื้นที่ เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง โดยมีผู้อำนวยการอุทยาน ธรณีโคราช คณะผู้บริหารโคราชจีโอพาร์คโลก ชุมชน ต้นแบบโคราชจีโอพาร์ค ผู้ประกอบการในพื้นที่ อุทยานธรณีโคราชร่วมกิจกรรม ณ โรงแรมสีมาธานี จ.นครราชสีมา
    0 Comments 0 Shares 179 Views 0 Reviews
More Results