• จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา มีอารมณ์หลากหลายมาก ตั้งแต่
    วิตก กังวล กลัว ในใจคิดไปถึง Worst-case scenario ว่าจะทำอย่างไรดีถ้าต้องเจอเหตุการณ์ในรูปแบบต่างๆ

    ส่วนตัวรู้สึกว่าโชคดีที่ในอดีตเคยเป็น แอร์โอสเตสมาก่อน ซึ่งอาชีพนี้สอนให้เราเตรียมพร้อมกับการเจอสถานการณ์ฉุกเฉินในหลายรูปแบบอย่างมีสติ

    แม้แต่เพื่อนร่วมอาชีพ ที่อยู่คอนโดสูง
    และเจอภาวะตึกสั่นไหวอย่างรุนแรง
    ก็ยังมีสติพอที่จะหลบเข้าไปอยู่ใต้โต๊ะ
    ตามที่เราถูกสอนมาว่าจะรับมือกับสถานการณ์ แผ่นดินไหวอย่างไร?

    ส่วนตัวโชคดีที่ไม่ได้ติดอยู่ในอาคารสูง
    แต่ติดอยู่ในรถ และติดอยู่ในท้องถนน
    ตัดสินใจกลับมาตั้งหลักที่คอนโด ตอนราวบ่ายสอง (เพราะการจราจรเริ่มติดแล้วตั้งแต่บ่ายสอง )
    จากนั้นก็มารวมพลที่ล้อบบี้คอนโด ในใจก็คาดเดาสถานการณ์ไม่ได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นจากนั้น แต่ที่แน่แน่ พยายามเซฟแบตเตอรี่มือถือไว้ให้มากที่สุด (ดูข้อมูลแต่ที่จำเป็น/ เลยไม่มีเวลาตอบ LINE กับผู้ที่ส่งความห่วงใยมาในวันแรกครบทุกคน)
    ในใจก็เริ่มคิดว่า ถ้าเกิด after shock และไม่สามารถกลับขึ้นไปนอนคอนโดได้ เราจะไปนอนที่ไหน?

    เพื่อนบ้าน หลายหลายคน ( คิดว่าเกินครึ่ง) เริ่มอพยพออกจากอาคาร
    บ้างก็ไปเช่าโรงแรม ( low rise)
    บ้างก็ไปอยู่บ้านญาติ

    ส่วนตัวก็คิดอยู่ว่า ถ้าคืนนี้ไม่สามารถกลับขึ้นไปไปนอนคอนโดได้ เราจะไปอยู่บ้านใคร ? แต่ไม่ว่าจะไปอยู่บ้านใครมันก็ต้องเดินทาง ประเด็นคือการจราจรเป็นอัมพาต ไม่สามารถพาเราไปถึงจุดหมายได้แน่นอน จึงตัดสินใจไม่ไปไหน รอดูท่าทีอยู่ที่คอนโด สุดท้ายตอนค่ำ ทางคอนโดมีข้อความถึงลูกบ้านว่าสามารถกลับเข้าตึกได้ แต่ลิฟท์ที่ตึกไม่สามารถใช้ได้ จึงต้องเดินขึ้นบันไดหลายสิบชั้น และมีเหตุให้ต้องเดินขึ้นลงอยู่หลายรอบ จึงมีอาการปวดน่องมาก ( เชื่อว่าหลายคน ประสบเหตุการณ์แบบเดียวกัน😅)

    เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
    ✨ ต้องกลับไปออกกำลังกายให้ฟิตกว่านี้ 💪
    ✨มีกระเป๋าพร้อม สำหรับการอพยพแบบฉุกเฉิน เช่น เสื้อผ้า, ไฟฉาย, น้ำขวดเล็ก, ลูกอม สำหรับให้พลังงานเมื่อยามต้องอดอาหาร, Power bank, เป็นต้น (1ชุดไว้ที่บ้าน/ 1 ชุดทิ้งไว้ในรถ)
    ปล. ลองปรับดูว่าอะไรสำคัญกับชีวิตคุณและคิดว่าต้องมีก็จัดสิ่งนั้นไว้
    ข้อแนะนำคือ ชุดที่ไว้ในรถไม่ควรมี Power bank เพราะถ้าเจอแดด อาจจะอันตรายได้)

    จากเหตุการณ์ในครั้งนี้ เรียนรู้ได้เลยว่า
    มนุษย์เรานั้นตัวเล็กนิดเดียว
    ไม่สามารถสู้กับธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ได้
    เราควรใช้ชีวิตอยู่บนโลกใบนี้อย่างมีสติ และไม่ทำลายโลกให้มากไปกว่านี้
    แม้จะทำไม่ได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ก็พยายามจะทำให้มากขึ้นและมากขึ้น

    ขอบคุณที่เรารอดปลอดภัย
    และขอแสดงความเสียใจกับผู้ที่สูญเสียทุกคน

    We shall pass this together.🌈💕

    #earthquake
    #savethailand
    #togetherwewin
    #simplytally
    #simplyugo



    จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา มีอารมณ์หลากหลายมาก ตั้งแต่ วิตก กังวล กลัว ในใจคิดไปถึง Worst-case scenario ว่าจะทำอย่างไรดีถ้าต้องเจอเหตุการณ์ในรูปแบบต่างๆ ส่วนตัวรู้สึกว่าโชคดีที่ในอดีตเคยเป็น แอร์โอสเตสมาก่อน ซึ่งอาชีพนี้สอนให้เราเตรียมพร้อมกับการเจอสถานการณ์ฉุกเฉินในหลายรูปแบบอย่างมีสติ แม้แต่เพื่อนร่วมอาชีพ ที่อยู่คอนโดสูง และเจอภาวะตึกสั่นไหวอย่างรุนแรง ก็ยังมีสติพอที่จะหลบเข้าไปอยู่ใต้โต๊ะ ตามที่เราถูกสอนมาว่าจะรับมือกับสถานการณ์ แผ่นดินไหวอย่างไร? ส่วนตัวโชคดีที่ไม่ได้ติดอยู่ในอาคารสูง แต่ติดอยู่ในรถ และติดอยู่ในท้องถนน ตัดสินใจกลับมาตั้งหลักที่คอนโด ตอนราวบ่ายสอง (เพราะการจราจรเริ่มติดแล้วตั้งแต่บ่ายสอง ) จากนั้นก็มารวมพลที่ล้อบบี้คอนโด ในใจก็คาดเดาสถานการณ์ไม่ได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นจากนั้น แต่ที่แน่แน่ พยายามเซฟแบตเตอรี่มือถือไว้ให้มากที่สุด (ดูข้อมูลแต่ที่จำเป็น/ เลยไม่มีเวลาตอบ LINE กับผู้ที่ส่งความห่วงใยมาในวันแรกครบทุกคน) ในใจก็เริ่มคิดว่า ถ้าเกิด after shock และไม่สามารถกลับขึ้นไปนอนคอนโดได้ เราจะไปนอนที่ไหน? เพื่อนบ้าน หลายหลายคน ( คิดว่าเกินครึ่ง) เริ่มอพยพออกจากอาคาร บ้างก็ไปเช่าโรงแรม ( low rise) บ้างก็ไปอยู่บ้านญาติ ส่วนตัวก็คิดอยู่ว่า ถ้าคืนนี้ไม่สามารถกลับขึ้นไปไปนอนคอนโดได้ เราจะไปอยู่บ้านใคร ? แต่ไม่ว่าจะไปอยู่บ้านใครมันก็ต้องเดินทาง ประเด็นคือการจราจรเป็นอัมพาต ไม่สามารถพาเราไปถึงจุดหมายได้แน่นอน จึงตัดสินใจไม่ไปไหน รอดูท่าทีอยู่ที่คอนโด สุดท้ายตอนค่ำ ทางคอนโดมีข้อความถึงลูกบ้านว่าสามารถกลับเข้าตึกได้ แต่ลิฟท์ที่ตึกไม่สามารถใช้ได้ จึงต้องเดินขึ้นบันไดหลายสิบชั้น และมีเหตุให้ต้องเดินขึ้นลงอยู่หลายรอบ จึงมีอาการปวดน่องมาก ( เชื่อว่าหลายคน ประสบเหตุการณ์แบบเดียวกัน😅) เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ✨ ต้องกลับไปออกกำลังกายให้ฟิตกว่านี้ 💪 ✨มีกระเป๋าพร้อม สำหรับการอพยพแบบฉุกเฉิน เช่น เสื้อผ้า, ไฟฉาย, น้ำขวดเล็ก, ลูกอม สำหรับให้พลังงานเมื่อยามต้องอดอาหาร, Power bank, เป็นต้น (1ชุดไว้ที่บ้าน/ 1 ชุดทิ้งไว้ในรถ) ปล. ลองปรับดูว่าอะไรสำคัญกับชีวิตคุณและคิดว่าต้องมีก็จัดสิ่งนั้นไว้ ข้อแนะนำคือ ชุดที่ไว้ในรถไม่ควรมี Power bank เพราะถ้าเจอแดด อาจจะอันตรายได้) จากเหตุการณ์ในครั้งนี้ เรียนรู้ได้เลยว่า มนุษย์เรานั้นตัวเล็กนิดเดียว ไม่สามารถสู้กับธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ได้ เราควรใช้ชีวิตอยู่บนโลกใบนี้อย่างมีสติ และไม่ทำลายโลกให้มากไปกว่านี้ แม้จะทำไม่ได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ก็พยายามจะทำให้มากขึ้นและมากขึ้น ขอบคุณที่เรารอดปลอดภัย และขอแสดงความเสียใจกับผู้ที่สูญเสียทุกคน We shall pass this together.🌈💕 #earthquake #savethailand #togetherwewin #simplytally #simplyugo
    0 Comments 0 Shares 134 Views 0 Reviews
  • ผู้ว่าฯ ชัชชาติ ย้ำ “ทุกคนช่วยกันได้ มีสติ อย่าตื่นตระหนก อย่าส่งข่าวลือ ความหวังของเราทุกคนคือ ผู้รอดชีวิตในทุกวัน
    https://www.thai-tai.tv/news/17979/
    ผู้ว่าฯ ชัชชาติ ย้ำ “ทุกคนช่วยกันได้ มีสติ อย่าตื่นตระหนก อย่าส่งข่าวลือ ความหวังของเราทุกคนคือ ผู้รอดชีวิตในทุกวัน https://www.thai-tai.tv/news/17979/
    0 Comments 0 Shares 41 Views 0 Reviews
  • ดาวเหินจรคู่ผสมระหว่างปีและเดือน ประจำเดือนเมษายน 2568

    ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 4 เดือนเมษายน ไปจนถึง วันอาทิตย์ที่ 4 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2568 เป็นเดือนจร庚辰 (แกซิ้ง) มะโรงทอง ธาตุทอง มีกระแสพลังดาว九紫 (เก๋าจี้) ธาตุไฟ ดาวชื่อเสียง ดาวความยินดี ดาวยศฐาบรรดาศักดิ์ ก่อเกิดแก่กระแสพลังดาวคู่ผสม二黑 (หยี่เฮก) ธาตุดิน ดาวป่วยไข้ ดาวโรคภัย ดาวความเสื่อมถอย ประจำอยู่ ในปีจรมะเส็งไม้ 乙巳 (อิกจี๋) ธาตุไฟ ส่งผลให้การดำเนินกิจกรรมงานใหม่ๆหรือการคิดริเริ่มโครงการใดๆ จะประสบพบความสำเร็จได้รับผลประโยชน์ที่ลงตัว หรือหากประชุมตกลงหาฉันทามติจะสัมฤทธิ์ผลเสร็จกิจ สมหวังได้ แต่ความวุ่นวายยังคงดำรงอยู่จากอุณหภูมิร้อนๆทางการเมือง ส่งผลให้เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยว อ้างว้าง เก็บกด อารมณ์พุ่งพล่าน แปรปรวน กลายเป็นวิวาทะกระทบถึงความเสื่อมเสียชื่อเสียงจนเป็นประเด็น ทางการเมืองได้อีกเช่นกัน ถึงอย่างไรสังคมยังยอมรับให้กำลังใจสนับสนุนเช่นเดิม ส่วนการเดินทางขับรถไป สถานที่ใดจะใกล้หรือไกลควรมีสติสัมปชัญญะจะได้พ้นจากอุบัติเหตุเภทภัย

    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    ดาวเหินจรคู่ผสมระหว่างปีและเดือน ประจำเดือนเมษายน 2568 ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 4 เดือนเมษายน ไปจนถึง วันอาทิตย์ที่ 4 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2568 เป็นเดือนจร庚辰 (แกซิ้ง) มะโรงทอง ธาตุทอง มีกระแสพลังดาว九紫 (เก๋าจี้) ธาตุไฟ ดาวชื่อเสียง ดาวความยินดี ดาวยศฐาบรรดาศักดิ์ ก่อเกิดแก่กระแสพลังดาวคู่ผสม二黑 (หยี่เฮก) ธาตุดิน ดาวป่วยไข้ ดาวโรคภัย ดาวความเสื่อมถอย ประจำอยู่ ในปีจรมะเส็งไม้ 乙巳 (อิกจี๋) ธาตุไฟ ส่งผลให้การดำเนินกิจกรรมงานใหม่ๆหรือการคิดริเริ่มโครงการใดๆ จะประสบพบความสำเร็จได้รับผลประโยชน์ที่ลงตัว หรือหากประชุมตกลงหาฉันทามติจะสัมฤทธิ์ผลเสร็จกิจ สมหวังได้ แต่ความวุ่นวายยังคงดำรงอยู่จากอุณหภูมิร้อนๆทางการเมือง ส่งผลให้เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยว อ้างว้าง เก็บกด อารมณ์พุ่งพล่าน แปรปรวน กลายเป็นวิวาทะกระทบถึงความเสื่อมเสียชื่อเสียงจนเป็นประเด็น ทางการเมืองได้อีกเช่นกัน ถึงอย่างไรสังคมยังยอมรับให้กำลังใจสนับสนุนเช่นเดิม ส่วนการเดินทางขับรถไป สถานที่ใดจะใกล้หรือไกลควรมีสติสัมปชัญญะจะได้พ้นจากอุบัติเหตุเภทภัย ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ 🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 Comments 0 Shares 79 Views 0 Reviews
  • โพสต์ล้อเล่น “วันโกหก” ระวังเจอคุก! รู้ทันกฎหมายก่อนแชร์ ในวันเอพริลฟูลเดย์

    🤡 วันเอพริลฟูลเดย์ วัฒนธรรมตะวันตกที่คนไทยควร “เล่นอย่างมีสติ” เพราะพลาดเพียงนิดเดียว อาจโดนโทษหนักจาก พ.ร.บ.คอมพ์ฯ 😰

    🧠 วันโกหกที่ไม่ควรโกหก ในทุกวันที่ 1 เมษายนของทุกปี ผู้คนทั่วโลกเฉลิมฉลอง “วันเมษาหน้าโง่” หรือที่รู้จักกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า April Fool’s Day วันที่คนส่วนใหญ่ มักใช้เล่นมุกล้อขำขัน สร้างเสียงหัวเราะให้คนรอบข้าง...แต่เดี๋ยวก่อน!

    ✋📱 แม้จะดูเหมือนไม่มีพิษภัย แต่ในประเทศไทย การโพสต์หรือแชร์ “ข่าวปลอม” หรือ “ข้อมูลอันเป็นเท็จ” ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม อาจทำให้คุณต้องเผชิญกับ โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี และ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท 😱

    🎭 วันเอพริลฟูลเดย์ (April Fool's Day) เป็นเทศกาลที่คนในประเทศตะวันตก เช่น อังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และหลายประเทศในยุโรป เล่นมุกหลอกกันเพื่อความสนุกสนาน ในวันที่ 1 เมษายน

    ตามธรรมเนียม วัตถุประสงค์ของวันนี้ ไม่ใช่การโกหกแบบจริงจัง แต่เป็นการ เล่นมุกขำขัน โดยต้องระมัดระวัง ไม่ให้เกิดผลเสียจริง เช่น ทำให้คนตกใจ เข้าใจผิด หรือเสียหาย

    🌍 ความนิยมของวันโกหก เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยสื่อและบุคคลต่าง ๆ จะโพสต์เรื่องหลอกในวันนี้ และเฉลยความจริงในวันถัดมา

    📚 ต้นกำเนิดของวันโกหกจากตะวันตก มีหลายทฤษฎี เกี่ยวกับต้นกำเนิดของ April Fool’s Day

    ยุคกลางของยุโรป เคยมีการฉลองปีใหม่ ในช่วงปลายเดือนมีนาคมถึง 1 เมษายน เมื่อมีการเปลี่ยนมาใช้วันที่ 1 มกราคมแทน คนที่ยังเฉลิมฉลองในช่วงเดิม จึงถูกมองว่า "โง่" 🤦

    มีการเชื่อมโยงกับเทศกาลโรมันชื่อว่า Hilaria ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 25 มีนาคม เป็นการเฉลิมฉลองความสนุกสนาน และการแต่งตัวล้อเลียน

    ตำนานแคนเตอร์บรีของชอเซอร์ (ปี ค.ศ. 1392) มีคำบรรยายที่ตีความว่า “32 มีนาคม” ซึ่งก็คือวันที่ 1 เมษายน

    🕰️ ไม่ว่าต้นกำเนิดจะมาจากไหน แต่แน่นอนว่าวันนี้กลายเป็น “วันแห่งการหลอกแบบเบา ๆ” ที่ยังมีอิทธิพลจนถึงปัจจุบัน

    ⚖️ กฎหมายไทยไม่ขำด้วย! รู้จัก พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 แม้ว่าจะเป็นวันล้อเล่น ในวัฒนธรรมตะวันตก แต่ในประเทศไทย การโพสต์ ข้อมูลเท็จ หรือข่าวปลอม ไม่ว่าจะมีเจตนาขำหรือไม่ ก็ถือว่าผิดกฎหมาย!

    📌 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 มาตรา 14 ระบุว่า "ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลอันเป็นเท็จ ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน หรือประเทศชาติ ถือว่ามีความผิด"

    👮‍♂️ โทษหนักมาก! จำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ!

    ❗ แม้จะเป็นการล้อเล่น ถ้าทำให้คนตื่นตระหนก หรือเชื่อผิดจริง ก็ถือว่ามีความผิด ตามกฎหมายนี้ได้เช่นกัน

    🧨 ข่าวปลอมที่คิดว่า “เล่นๆ” แต่ผิดจริง! หลายคนอาจเคยเห็นโพสต์ ในวันเอพริลฟูล เช่น

    “รัฐบาลจะล็อกดาวน์ประเทศ!”
    “ธนาคารกำลังจะล้ม”
    “มีเอเลี่ยนบุกกรุงเทพ”

    แม้จะโพสต์แบบขำ ๆ แต่หากไม่มีการระบุชัดเจนว่าเป็น “มุกล้อเล่น” และส่งผลให้คนตื่นตกใจ หรือแชร์ต่อกันเป็นวงกว้าง ก็มีโอกาสโดนแจ้งความจริง!

    📂 ตัวอย่างคดีจริงในไทยจากวันโกหก เคสข่าวลือวัคซีนหมด ผู้โพสต์บอกว่า "วัคซีนโควิดหมดแล้ว!" แต่ประชาชนบางส่วนเชื่อจริง และแห่กันไปโรงพยาบาล ถูกตำรวจเรียกตัว และแจ้งความผิดตามมาตรา 14 พ.ร.บ. คอมฯ

    เคสข่าวปลอมเกี่ยวกับเหตุการณ์ภัยพิบัติ โพสต์ข่าวแผ่นดินไหวรุนแรงในเชียงใหม่ ทำให้คนตกใจกลัว สุดท้ายพบว่า เป็นมุกในวันเอพริลฟูล แต่เจ้าหน้าที่ก็ไม่ขำด้วย 😬

    ✅ วิธีโพสต์มุกวันโกหกแบบ “ปลอดภัย” เพื่อไม่ให้เจอปัญหา นี่คือแนวทางการล้อเล่นแบบ “ขำได้ไม่ผิดกฎหมาย

    💡 ต้องมี “คำชี้แจง” ใส่ #มุกวันโกหก หรือ #AprilFools ใช้ emoji อย่าง 🤡😂🃏 เพื่อสื่อความขำขัน เขียนท้ายโพสต์ว่า “เรื่องนี้ไม่จริงนะครับ/ค่ะ เป็นมุกวันโกหก”

    🙅‍♂️ หลีกเลี่ยงประเด็นอ่อนไหว ความมั่นคงของประเทศ เศรษฐกิจ เช่น “ธนาคารล้ม” สุขภาพ เช่น “โรคใหม่ระบาด” เหตุการณ์ร้ายแรง เช่น “มีระเบิดในห้าง”

    🎨 ตัวอย่างมุกล้อเล่นที่ปลอดภัย และสร้างสรรค์
    “วันนี้จะลาออกไปเปิดร้านกาแฟบนดาวอังคารแล้วนะ ☕🚀”
    “Apple จะออก iPhone กลิ่นต้มยำในรุ่นถัดไป 🍜📱”
    “บีทีเอสเปิดให้ขึ้นฟรีตลอดปี ถ้าใส่เสื้อสีม่วงทุกวัน 😆”

    🔍 วิธีตรวจสอบข่าว ก่อนโพสต์หรือแชร์ ก่อนจะแชร์อะไรในวันโกหก อย่าลืมตรวจสอบว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่!

    ✅ เช็คยังไง? ดูแหล่งข่าว ตรวจสอบว่าเป็นสื่อชั้นนำที่น่าเชื่อถือ ดูวันที่ข่าว ข่าวเก่าบางข่าวถูกนำมาแชร์ใหม่ ใช้เว็บไซต์ตรวจสอบข่าวปลอม เช่น Anti-Fake News Center

    👤 ความรับผิดชอบของผู้ใช้โซเชียล การใช้โซเชียลมีเดียไม่ใช่แค่ความสนุก แต่คือ “ความรับผิดชอบ” เราทุกคนมีส่วนในการสร้างสังคมออนไลน์ที่ปลอดภัย อย่าแชร์ถ้าไม่แน่ใจ อย่าทำให้คนอื่นตกใจ อย่าล้อในเรื่องที่กระทบสังคม

    ⚠️ ข้อควรระวัง แชร์โพสต์ของคนอื่นก็ผิดได้! แม้ไม่ได้เป็นคนเขียนโพสต์ต้นฉบับ แต่หาก “แชร์” ข้อมูลที่เป็นเท็จ โดยไม่ได้ตรวจสอบก่อน ก็อาจถือว่ามีความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เช่นกัน!

    👩‍⚖️ ถ้าโดนแจ้งความ ให้ติดต่อทนายความทันที อย่าเพิกเฉยต่อหมายเรียก ให้ข้อมูลตามจริง และให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่

    🔚 ขำได้...แต่อย่าผิดกฎหมาย! วันเอพริลฟูลเดย์ เป็นวันที่ให้เสียงหัวเราะ แต่ในโลกยุคดิจิทัล การล้อเล่นโดยไม่ระวัง อาจทำให้เกิดปัญหาใหญ่ โดยเฉพาะในประเทศที่มีกฎหมายควบคุม “ข้อมูลเท็จ” อย่างจริงจัง เช่นประเทศไทย

    คิดก่อนโพสต์ แชร์อย่างรับผิดชอบ ล้อเล่นแบบสร้างสรรค์ เพื่อให้วันโกหกยังคงเป็นวันสนุก...โดยไม่ต้องเจอคุก! 🤝✨

    📌 อยากให้วันโกหกเป็นเรื่องขำ...ไม่ใช่เรื่องคุก ขอแค่ “คิดก่อนคลิก แชร์อย่างรู้ทัน” ก็ปลอดภัยทุกฝ่าย 😊

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 011152 เม.ย. 2568

    📌 #วันเอพริลฟูลเดย์ #ข่าวปลอม #โพสต์ล้อเล่น #พรกคอมพ์ #วันโกหก #AprilFools #ล้อเล่นอย่างมีสติ #แชร์อย่างรับผิดชอบ #กฎหมายออนไลน์ #โทษโพสต์เท็จ

    โพสต์ล้อเล่น “วันโกหก” ระวังเจอคุก! รู้ทันกฎหมายก่อนแชร์ ในวันเอพริลฟูลเดย์ 🤡 วันเอพริลฟูลเดย์ วัฒนธรรมตะวันตกที่คนไทยควร “เล่นอย่างมีสติ” เพราะพลาดเพียงนิดเดียว อาจโดนโทษหนักจาก พ.ร.บ.คอมพ์ฯ 😰 🧠 วันโกหกที่ไม่ควรโกหก ในทุกวันที่ 1 เมษายนของทุกปี ผู้คนทั่วโลกเฉลิมฉลอง “วันเมษาหน้าโง่” หรือที่รู้จักกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า April Fool’s Day วันที่คนส่วนใหญ่ มักใช้เล่นมุกล้อขำขัน สร้างเสียงหัวเราะให้คนรอบข้าง...แต่เดี๋ยวก่อน! ✋📱 แม้จะดูเหมือนไม่มีพิษภัย แต่ในประเทศไทย การโพสต์หรือแชร์ “ข่าวปลอม” หรือ “ข้อมูลอันเป็นเท็จ” ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม อาจทำให้คุณต้องเผชิญกับ โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี และ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท 😱 🎭 วันเอพริลฟูลเดย์ (April Fool's Day) เป็นเทศกาลที่คนในประเทศตะวันตก เช่น อังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และหลายประเทศในยุโรป เล่นมุกหลอกกันเพื่อความสนุกสนาน ในวันที่ 1 เมษายน ตามธรรมเนียม วัตถุประสงค์ของวันนี้ ไม่ใช่การโกหกแบบจริงจัง แต่เป็นการ เล่นมุกขำขัน โดยต้องระมัดระวัง ไม่ให้เกิดผลเสียจริง เช่น ทำให้คนตกใจ เข้าใจผิด หรือเสียหาย 🌍 ความนิยมของวันโกหก เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยสื่อและบุคคลต่าง ๆ จะโพสต์เรื่องหลอกในวันนี้ และเฉลยความจริงในวันถัดมา 📚 ต้นกำเนิดของวันโกหกจากตะวันตก มีหลายทฤษฎี เกี่ยวกับต้นกำเนิดของ April Fool’s Day ยุคกลางของยุโรป เคยมีการฉลองปีใหม่ ในช่วงปลายเดือนมีนาคมถึง 1 เมษายน เมื่อมีการเปลี่ยนมาใช้วันที่ 1 มกราคมแทน คนที่ยังเฉลิมฉลองในช่วงเดิม จึงถูกมองว่า "โง่" 🤦 มีการเชื่อมโยงกับเทศกาลโรมันชื่อว่า Hilaria ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 25 มีนาคม เป็นการเฉลิมฉลองความสนุกสนาน และการแต่งตัวล้อเลียน ตำนานแคนเตอร์บรีของชอเซอร์ (ปี ค.ศ. 1392) มีคำบรรยายที่ตีความว่า “32 มีนาคม” ซึ่งก็คือวันที่ 1 เมษายน 🕰️ ไม่ว่าต้นกำเนิดจะมาจากไหน แต่แน่นอนว่าวันนี้กลายเป็น “วันแห่งการหลอกแบบเบา ๆ” ที่ยังมีอิทธิพลจนถึงปัจจุบัน ⚖️ กฎหมายไทยไม่ขำด้วย! รู้จัก พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 แม้ว่าจะเป็นวันล้อเล่น ในวัฒนธรรมตะวันตก แต่ในประเทศไทย การโพสต์ ข้อมูลเท็จ หรือข่าวปลอม ไม่ว่าจะมีเจตนาขำหรือไม่ ก็ถือว่าผิดกฎหมาย! 📌 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 มาตรา 14 ระบุว่า "ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลอันเป็นเท็จ ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน หรือประเทศชาติ ถือว่ามีความผิด" 👮‍♂️ โทษหนักมาก! จำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ! ❗ แม้จะเป็นการล้อเล่น ถ้าทำให้คนตื่นตระหนก หรือเชื่อผิดจริง ก็ถือว่ามีความผิด ตามกฎหมายนี้ได้เช่นกัน 🧨 ข่าวปลอมที่คิดว่า “เล่นๆ” แต่ผิดจริง! หลายคนอาจเคยเห็นโพสต์ ในวันเอพริลฟูล เช่น “รัฐบาลจะล็อกดาวน์ประเทศ!” “ธนาคารกำลังจะล้ม” “มีเอเลี่ยนบุกกรุงเทพ” แม้จะโพสต์แบบขำ ๆ แต่หากไม่มีการระบุชัดเจนว่าเป็น “มุกล้อเล่น” และส่งผลให้คนตื่นตกใจ หรือแชร์ต่อกันเป็นวงกว้าง ก็มีโอกาสโดนแจ้งความจริง! 📂 ตัวอย่างคดีจริงในไทยจากวันโกหก เคสข่าวลือวัคซีนหมด ผู้โพสต์บอกว่า "วัคซีนโควิดหมดแล้ว!" แต่ประชาชนบางส่วนเชื่อจริง และแห่กันไปโรงพยาบาล ถูกตำรวจเรียกตัว และแจ้งความผิดตามมาตรา 14 พ.ร.บ. คอมฯ เคสข่าวปลอมเกี่ยวกับเหตุการณ์ภัยพิบัติ โพสต์ข่าวแผ่นดินไหวรุนแรงในเชียงใหม่ ทำให้คนตกใจกลัว สุดท้ายพบว่า เป็นมุกในวันเอพริลฟูล แต่เจ้าหน้าที่ก็ไม่ขำด้วย 😬 ✅ วิธีโพสต์มุกวันโกหกแบบ “ปลอดภัย” เพื่อไม่ให้เจอปัญหา นี่คือแนวทางการล้อเล่นแบบ “ขำได้ไม่ผิดกฎหมาย 💡 ต้องมี “คำชี้แจง” ใส่ #มุกวันโกหก หรือ #AprilFools ใช้ emoji อย่าง 🤡😂🃏 เพื่อสื่อความขำขัน เขียนท้ายโพสต์ว่า “เรื่องนี้ไม่จริงนะครับ/ค่ะ เป็นมุกวันโกหก” 🙅‍♂️ หลีกเลี่ยงประเด็นอ่อนไหว ความมั่นคงของประเทศ เศรษฐกิจ เช่น “ธนาคารล้ม” สุขภาพ เช่น “โรคใหม่ระบาด” เหตุการณ์ร้ายแรง เช่น “มีระเบิดในห้าง” 🎨 ตัวอย่างมุกล้อเล่นที่ปลอดภัย และสร้างสรรค์ “วันนี้จะลาออกไปเปิดร้านกาแฟบนดาวอังคารแล้วนะ ☕🚀” “Apple จะออก iPhone กลิ่นต้มยำในรุ่นถัดไป 🍜📱” “บีทีเอสเปิดให้ขึ้นฟรีตลอดปี ถ้าใส่เสื้อสีม่วงทุกวัน 😆” 🔍 วิธีตรวจสอบข่าว ก่อนโพสต์หรือแชร์ ก่อนจะแชร์อะไรในวันโกหก อย่าลืมตรวจสอบว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่! ✅ เช็คยังไง? ดูแหล่งข่าว ตรวจสอบว่าเป็นสื่อชั้นนำที่น่าเชื่อถือ ดูวันที่ข่าว ข่าวเก่าบางข่าวถูกนำมาแชร์ใหม่ ใช้เว็บไซต์ตรวจสอบข่าวปลอม เช่น Anti-Fake News Center 👤 ความรับผิดชอบของผู้ใช้โซเชียล การใช้โซเชียลมีเดียไม่ใช่แค่ความสนุก แต่คือ “ความรับผิดชอบ” เราทุกคนมีส่วนในการสร้างสังคมออนไลน์ที่ปลอดภัย อย่าแชร์ถ้าไม่แน่ใจ อย่าทำให้คนอื่นตกใจ อย่าล้อในเรื่องที่กระทบสังคม ⚠️ ข้อควรระวัง แชร์โพสต์ของคนอื่นก็ผิดได้! แม้ไม่ได้เป็นคนเขียนโพสต์ต้นฉบับ แต่หาก “แชร์” ข้อมูลที่เป็นเท็จ โดยไม่ได้ตรวจสอบก่อน ก็อาจถือว่ามีความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เช่นกัน! 👩‍⚖️ ถ้าโดนแจ้งความ ให้ติดต่อทนายความทันที อย่าเพิกเฉยต่อหมายเรียก ให้ข้อมูลตามจริง และให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ 🔚 ขำได้...แต่อย่าผิดกฎหมาย! วันเอพริลฟูลเดย์ เป็นวันที่ให้เสียงหัวเราะ แต่ในโลกยุคดิจิทัล การล้อเล่นโดยไม่ระวัง อาจทำให้เกิดปัญหาใหญ่ โดยเฉพาะในประเทศที่มีกฎหมายควบคุม “ข้อมูลเท็จ” อย่างจริงจัง เช่นประเทศไทย คิดก่อนโพสต์ แชร์อย่างรับผิดชอบ ล้อเล่นแบบสร้างสรรค์ เพื่อให้วันโกหกยังคงเป็นวันสนุก...โดยไม่ต้องเจอคุก! 🤝✨ 📌 อยากให้วันโกหกเป็นเรื่องขำ...ไม่ใช่เรื่องคุก ขอแค่ “คิดก่อนคลิก แชร์อย่างรู้ทัน” ก็ปลอดภัยทุกฝ่าย 😊 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 011152 เม.ย. 2568 📌 #วันเอพริลฟูลเดย์ #ข่าวปลอม #โพสต์ล้อเล่น #พรกคอมพ์ #วันโกหก #AprilFools #ล้อเล่นอย่างมีสติ #แชร์อย่างรับผิดชอบ #กฎหมายออนไลน์ #โทษโพสต์เท็จ
    0 Comments 0 Shares 178 Views 0 Reviews
  • "โชคที่แท้: มั่นคงด้วยธรรมในโลกแห่งความปั่นป่วน"

    1. ความหมายของโชคแท้
    • โชคไม่ใช่แค่ได้สิ่งดีโดยไม่คาดหมาย
    • แต่คือ จิตที่มั่นคง เย็นได้ท่ามกลางความวุ่นวาย
    • และการที่ "มีธรรม" อยู่กลางใจแล้ว

    2. สถานการณ์โลกปัจจุบัน
    • ความโกลาหลในโลกสร้างความกลัว กังวล คลุ้มคลั่ง
    • คนทั่วไปห่วงแต่อนาคต หายใจไม่ทั่วท้อง ไม่มีเป้าหมาย
    • แต่ผู้มีธรรม จะไม่วุ่นไปตามโลก

    3. การตอบสนองอย่างมีสติ
    • ผู้มีปัญญา ใช้ธรรมะเป็นเครื่องตรวจสอบใจตน
    • วุ่นหรือว่าง?
    • กลัวตายหรือเตรียมพร้อมแล้ว?
    • กลัวอนาคต หรือมีแสงสว่างในใจแล้ว?

    4. ธรรมะที่ควรมี
    • มรณสติ: ทำให้กลัวตายเป็นเรื่องธรรมดา ไม่ใช่เหตุให้ตระหนก
    • อริยมรรค: ทำให้มั่นคงแม้โลกภายนอกมืดมน
    • สติและสมาธิ: ทำให้แยกแยะใจร้อน vs ใจเย็นได้ทัน

    5. บทสรุปเพื่อปฏิบัติ
    • โชคที่แท้คือ การได้ธรรมประดิษฐานอยู่กลางใจ
    • หากยังไม่มี ต้องเร่งหา
    • หากมีแล้ว ให้อุ่นใจและเดินหน้าด้วยความมั่นคง

    Essence
    "ผู้มีโชคไม่ใช่ผู้ที่ได้อะไรมาง่าย ๆ แต่คือผู้ที่มีธรรมประจำใจท่ามกลางโลกที่กำลังคลุ้มคลั่ง!"
    "โชคที่แท้: มั่นคงด้วยธรรมในโลกแห่งความปั่นป่วน" 1. ความหมายของโชคแท้ • โชคไม่ใช่แค่ได้สิ่งดีโดยไม่คาดหมาย • แต่คือ จิตที่มั่นคง เย็นได้ท่ามกลางความวุ่นวาย • และการที่ "มีธรรม" อยู่กลางใจแล้ว 2. สถานการณ์โลกปัจจุบัน • ความโกลาหลในโลกสร้างความกลัว กังวล คลุ้มคลั่ง • คนทั่วไปห่วงแต่อนาคต หายใจไม่ทั่วท้อง ไม่มีเป้าหมาย • แต่ผู้มีธรรม จะไม่วุ่นไปตามโลก 3. การตอบสนองอย่างมีสติ • ผู้มีปัญญา ใช้ธรรมะเป็นเครื่องตรวจสอบใจตน • วุ่นหรือว่าง? • กลัวตายหรือเตรียมพร้อมแล้ว? • กลัวอนาคต หรือมีแสงสว่างในใจแล้ว? 4. ธรรมะที่ควรมี • มรณสติ: ทำให้กลัวตายเป็นเรื่องธรรมดา ไม่ใช่เหตุให้ตระหนก • อริยมรรค: ทำให้มั่นคงแม้โลกภายนอกมืดมน • สติและสมาธิ: ทำให้แยกแยะใจร้อน vs ใจเย็นได้ทัน 5. บทสรุปเพื่อปฏิบัติ • โชคที่แท้คือ การได้ธรรมประดิษฐานอยู่กลางใจ • หากยังไม่มี ต้องเร่งหา • หากมีแล้ว ให้อุ่นใจและเดินหน้าด้วยความมั่นคง Essence "ผู้มีโชคไม่ใช่ผู้ที่ได้อะไรมาง่าย ๆ แต่คือผู้ที่มีธรรมประจำใจท่ามกลางโลกที่กำลังคลุ้มคลั่ง!"
    0 Comments 0 Shares 55 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 139
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด
    ซึ่งเวทนา
    ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา
    ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา
    ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา),
    --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท.
    -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่
    เป็นสุขก็ตาม
    เป็นทุกข์ก็ตาม
    เป็นอทุกขมสุขก็ตาม
    เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์
    มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว
    เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา
    : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ.
    -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข
    อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่.
    --เมื่อใดภิกษุ
    มีความเพียรเผากิเลส
    ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ
    ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง
    --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร.
    -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ;
    -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ;
    -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ผู้ใด
    เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์
    เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร
    เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง ;
    --ผู้นั้นเป็นภิกษุ
    ผู้รู้เห็นโดยชอบ
    ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา
    เพราะรอบรู้เวทนา
    จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร,

    -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90

    --วิภาคแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย,
    พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สามอย่างนั้น คือ
    สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข)
    ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์)
    และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข).
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา หกอย่างนั้น คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย,
    และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง,
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง,
    และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง.
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง,
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ
    เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต,
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 139 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด ซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม เป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. --เมื่อใดภิกษุ มีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. -ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; --ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90 --วิภาคแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7. http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัดซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตามเป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุขอันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. เมื่อใดภิกษุมีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึง เป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. วิภาคแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนาแม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่างเราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัสหกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัสหกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่ เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และอุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และเวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.
    0 Comments 0 Shares 189 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    สัทธรรมลำดับที่ : 944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    เนื้อความทั้งหมด :-

    --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.
    ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น,
    และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย,
    เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว)
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ;
    อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล
    ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด
    เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น
    ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา.
    (ในกรณีแห่ง
    อินทรีย์คือหู...
    อินทรีย์คือจมูก...
    อินทรีย์คือลิ้น...
    อินทรีย์คือกาย... และ
    อินทรีย์ คือใจ...
    ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว
    ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด
    คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง).
    เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง
    ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ
    ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่;
    ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท
    เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง
    ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ
    มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่;
    ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่;
    ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร”
    ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่.
    --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ
    ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว,
    เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง
    ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    เข้าถึง
    ทุติยฌาน ....
    ตติยฌาน ....
    จตุตถฌาน ....
    แล้วแลอยู่.
    (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ).
    --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว
    ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ.
    -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ
    เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์,
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์;

    และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ,
    นี้เหตุให้เกิดอาสวะ,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ.
    เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ;

    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว.
    เธอ ย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง สัทธรรมลำดับที่ : 944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง เนื้อความทั้งหมด :- --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต. ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู... อินทรีย์คือจมูก... อินทรีย์คือลิ้น... อินทรีย์คือกาย... และ อินทรีย์ คือใจ... ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ). --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ. -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอ ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76. http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ” จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    -(ข้อความนั้น มีลักษณะแห่ง การเจริญสมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์ อาจจะใช้เป็นคำอธิบายแห่งคำว่า “อุปสุมานุสสติ” แห่งอนุสสติสิบ ได้ดี ดีกว่าที่อธิบายกันอยู่อย่างคลุมเครือ. ยิ่งกว่านั้นยังมีความวิเศษตรงที่ว่า ง่ายสำหรับทุกคนที่จะแยกจิตออกมาเสียจากสิ่งทั้งปวง มากำหนดอยู่เฉพาะสิ่งที่เป็นอสังขตะนี้เพียงสิ่งเดียว ทำให้แสวงหาความสุขหรือความเย็นจากพระนิพพานได้ง่ายขึ้น). ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู อินทรีย์คือจมูก อินทรีย์คือลิ้น อินทรีย์คือกาย และอินทรีย์ คือใจ ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มีรูปฌานทั้งสี่ เช่นที่หน้า ๑๒๗๘ แห่งหนังสือเล่มนี้). เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสเป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสวักขยญาณ. เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 265 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าบาดาลนี้เป็นชื่อของทุกขเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 136
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร.
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ #ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=ปาตาโล
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง.
    --ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/220/365.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/220/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๕/๓๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ่านเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าบาดาลนี้เป็นชื่อของทุกขเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 136 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136 ชื่อบทธรรม :- ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. --ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ #ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=ปาตาโล --ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. --ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/220/365. http://etipitaka.com/read/pali/18/220/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๕/๓๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95 อ่านเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    -ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้. ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.
    0 Comments 0 Shares 206 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 940
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940
    ชื่อบทธรรม : -ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
    เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า อยู่เถิด.
    เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
    เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่,
    ญาณ ๕ ประการย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว.

    ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการ คือ :-
    http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=ปญฺจ+ญาณ
    ๑--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
    “สมาธินี้ ให้เกิดสุขในปัจจุบันด้วย มีสุขเป็นวิบากต่อไปด้วย”;
    ๒--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
    “สมาธินี้ เป็นธรรมอันประเสริฐ ปราศจากอามิส”;
    ๓--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
    “สมาธินี้ คนชั่วคนถ่อยเสพไม่ได้”;
    ๔--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
    “สมาธินี้ รำงับประณีตได้แล้วด้วยปฏิปัสสัทธิ
    ถึงทับแล้วด้วยเอโกทิภาวะ (ความที่จิตมีธรรมอันเอก)
    ไม่ใช่บรรลุได้เพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสังขารธรรม (การปรุงและประกอบ)";
    ๕--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั้นเทียว ดังนี้ ว่า
    “เรามีสติเข้าถึงสมาธินี้ มีสติออกจากสมาธินี้”.

    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
    เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า
    เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
    เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่,
    ญาณ ๕ ประการเหล่านี้ ย่อม เกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว
    http://etipitaka.com/read/pali/22/26/?keywords=ปญฺจ+ญาณ
    อย่างนี้แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/22/27.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๕/๒๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=940
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน สัทธรรมลำดับที่ : 940 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940 ชื่อบทธรรม : -ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน เนื้อความทั้งหมด :- --ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า อยู่เถิด. เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว. ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการ คือ :- http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=ปญฺจ+ญาณ ๑--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ ให้เกิดสุขในปัจจุบันด้วย มีสุขเป็นวิบากต่อไปด้วย”; ๒--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ เป็นธรรมอันประเสริฐ ปราศจากอามิส”; ๓--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ คนชั่วคนถ่อยเสพไม่ได้”; ๔--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ รำงับประณีตได้แล้วด้วยปฏิปัสสัทธิ ถึงทับแล้วด้วยเอโกทิภาวะ (ความที่จิตมีธรรมอันเอก) ไม่ใช่บรรลุได้เพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสังขารธรรม (การปรุงและประกอบ)"; ๕--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั้นเทียว ดังนี้ ว่า “เรามีสติเข้าถึงสมาธินี้ มีสติออกจากสมาธินี้”. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการเหล่านี้ ย่อม เกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว http://etipitaka.com/read/pali/22/26/?keywords=ปญฺจ+ญาณ อย่างนี้แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/22/27. http://etipitaka.com/read/thai/22/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๕/๒๗. http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=940 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง. อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนาเช่นกายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ; ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ; อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง). ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า อยู่เถิด. เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มี ประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว. ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการ คือ : ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ ให้เกิดสุขในปัจจุบันด้วย มีสุขเป็นวิบากต่อไปด้วย”; ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ เป็นธรรมอันประเสริฐ ปราศจากอามิส”; ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ คนชั่วคนถ่อยเสพไม่ได้”; ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ รำงับประณีตได้แล้วด้วยปฏิปัสสัทธิ ถึงทับแล้วด้วยเอโกทิภาวะ (ความที่จิตมีธรรมอันเอก) ไม่ใช่บรรลุได้เพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสังขารธรรม (เครื่องปรุงแต่ง); ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั้นเทียว ดังนี้ ว่า “เรามีสติเข้าถึงสมาธินี้มีสติออกจากสมาธินี้”. ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการเหล่านี้ ย่อม เกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว อย่างนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 217 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    สัทธรรมลำดับที่ : 939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส
    ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ
    อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง
    แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !”
    --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ
    โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม
    ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น
    (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว).
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์
    ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์
    ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”.
    --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :-

    (๑ หมวดตระเตรียม)
    --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน;
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.

    (๒ หมวดพรหมวิหาร)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) .

    (๓ หมวดสติปัฏฐาน)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้)
    อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย
    อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
    มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา
    ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส
    มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง
    อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน).

    (๔.หมวดอานิสงส์)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอ
    จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ;
    จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ;
    จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ;
    จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว
    แล.-
    ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ
    สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ
    ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง.
    อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า
    สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี
    และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี
    สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ;
    ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา
    แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ;
    อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง).
    ---
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79
    ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ สัทธรรมลำดับที่ : 939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :- (๑ หมวดตระเตรียม) --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (๔.หมวดอานิสงส์) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอ จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก. http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว แล.- ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง. อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ; ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ; อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง). --- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160. http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79 ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    -(ในกรณีแห่งการเจริญธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ และเทวนุสสติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน ผู้ปรารถนาโดยรายละเอียด พึงดูจากที่มาแห่งกรณีนั้นๆ. สิ่งซึ่งอาจจะเป็นที่ประหลาดใจแก่พวกเรา ในที่นี้ ก็คือข้อที่ว่า อนุสสติภาวนานั้นเป็นสิ่งที่อาจเจริญได้ในทุกอิริยาบถ แม้ในขณะที่ผู้ที่เป็นพ่อแม่นอนกกลูกอยู่) . สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า : (๑ หมวดตระเตรียม) “จิตของเรา จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; .ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ๑. ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔. พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง มุทิตาเจโตวิมุตติ และ อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับข้างบนนี้) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (หมวดอานิสงส์) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอจักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก แล.
    0 Comments 0 Shares 310 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 565
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565
    ชื่อบทธรรม :- ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    --ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน
    ฉันนั้นก็เหมือนกัน.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ;
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &​ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &​ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ;
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &​จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่
    http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=จตฺตาโร+ฌาน
    กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    #ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน
    ลาดไปทางนิพพาน
    เทไปทางนิพพาน.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/316/1301-1302.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/316/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๒/๑๓๐๑-๑๓๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=565
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37
    ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 565 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565 ชื่อบทธรรม :- ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน --ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน ฉันนั้นก็เหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &​ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &​ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &​จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=จตฺตาโร+ฌาน กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ #ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/316/1301-1302. http://etipitaka.com/read/thai/19/316/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๒/๑๓๐๑-๑๓๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=565 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37 ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    -ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน ฉันนั้นก็เหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌานเป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน.
    0 Comments 0 Shares 320 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 934
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=934
    ชื่อบทธรรม :- หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ
    --บุพพภาคแห่งการเจริญสมาธิ ๕ ขั้น
    --มหาราช ! ภิกษุนั้น
    (๑) ประกอบแล้วด้วย &​ศีลขันธ์อันเป็นอริยะ นี้ด้วย
    (๒) ประกอบแล้วด้วย &​อินทรียสังวรอันเป็นอริยะ นี้ด้วย
    (๓) ประกอบด้วย &​สติสัมปชัญญะอันเป็นอริยะ นี้ด้วย
    (๔) ประกอบแล้วด้วย &​สันโดษอันเป็นอริยะ นี้ด้วย
    (๕) &​เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ
    ป่าช้า ป่าชัฎ ที่แจ้ง ลอมฟาง.
    เธอนั้น ในเวลาภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว
    &​นั่งคู้บัลลังก์ (ขัดสมาธิ) ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอนั่น
    http://etipitaka.com/read/pali/9/95/?keywords=ปลฺลงฺกํ+อาภุชิตฺวา
    ๑.ละ &​อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา คอยชำระจิตจากอภิชฌา อยู่;
    ๒.ละ &​พยาบาทเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท
    เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งหลาย
    คอยชำระจิตจากพยาบาทเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ๓.ละ &​ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ
    มีสติมีสัมปชัญญะรู้สึกตัวคอยชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่;
    ๔.ละ &​อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน
    คอยชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจะอยู่;
    ๕.ละ &​วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่านี่อะไรนี่อย่างไร
    ในกุศลธรรมทั้งหลาย (เพราะความสงสัย) คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี.ที. 9/68/125.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/68/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี.ที. ๙/๙๕/๑๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/95/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=934
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=934
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79
    ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 934 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=934 ชื่อบทธรรม :- หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ --บุพพภาคแห่งการเจริญสมาธิ ๕ ขั้น --มหาราช ! ภิกษุนั้น (๑) ประกอบแล้วด้วย &​ศีลขันธ์อันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๒) ประกอบแล้วด้วย &​อินทรียสังวรอันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๓) ประกอบด้วย &​สติสัมปชัญญะอันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๔) ประกอบแล้วด้วย &​สันโดษอันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๕) &​เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฎ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ในเวลาภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว &​นั่งคู้บัลลังก์ (ขัดสมาธิ) ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอนั่น http://etipitaka.com/read/pali/9/95/?keywords=ปลฺลงฺกํ+อาภุชิตฺวา ๑.ละ &​อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา คอยชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ๒.ละ &​พยาบาทเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งหลาย คอยชำระจิตจากพยาบาทเครื่องประทุษร้าย อยู่; ๓.ละ &​ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติมีสัมปชัญญะรู้สึกตัวคอยชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ๔.ละ &​อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน คอยชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจะอยู่; ๕.ละ &​วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่านี่อะไรนี่อย่างไร ในกุศลธรรมทั้งหลาย (เพราะความสงสัย) คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี.ที. 9/68/125. http://etipitaka.com/read/thai/9/68/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี.ที. ๙/๙๕/๑๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/9/95/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=934 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=934 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79 ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ
    -หมวด ง. ว่าด้วย หลักการปฏิบัติ ของสัมมาสมาธิ บุพพภาคแห่งการเจริญสมาธิ ๕ ขั้น มหาราช ! ภิกษุนั้น (๑) ประกอบแล้วด้วย ศีลขันธ์อันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๒) ประกอบแล้วด้วย อินทรียสังวรอันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๓) ประกอบ ด้วยสติสัมปชัญญะอันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๔) ประกอบแล้วด้วย สันโดษอันเป็นอริยะ นี้ด้วย (๕) เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฎ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ในเวลาภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว นั่งคู้บัลลังก์ (ขัดสมาธิ) ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา คอยชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาทเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งหลาย คอยชำระจิตจากพยาบาทเครื่องประทุษร้ายอยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติมีสัมปชัญญะรู้สึกตัวคอยชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน คอยชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจะอยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่านี่อะไรนี่อย่างไร ในกุศลธรรมทั้งหลาย (เพราะความสงสัย) คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่.
    0 Comments 0 Shares 239 Views 0 Reviews
  • 📌 ความเข้มแข็ง : ทางออกจากวงจรเวรกรรมและทุกข์


    ---

    🔍 1️⃣ "ใจอ่อน" คืออะไร? ทำไมต้องเลิกให้ได้?

    🌿 "ใจอ่อน" ไม่ได้หมายถึงความเมตตาเสมอไป
    แต่หมายถึง "การปล่อยให้กิเลสครอบงำ"

    ใจอ่อนให้กับ ความกลัว → ไม่กล้าเปลี่ยนแปลง

    ใจอ่อนให้กับ ความหลง → เชื่อแต่สิ่งที่ถูกใจ

    ใจอ่อนให้กับ อารมณ์ชั่ววูบ → ทำผิดซ้ำๆ แม้รู้ว่าไม่ดี


    💡 ทุกครั้งที่ใจอ่อน → เท่ากับให้กิเลสชนะ

    เราจะติดอยู่ในวงจรเดิม เจอทุกข์เดิมๆ

    เหมือนอยู่ใน "เวรกรรม" ที่สร้างซ้ำไปมา


    📌 "เมื่อใดเลิกใจอ่อนเสียได้ → ก็เหมือนหมดเวรหมดกรรมกับทุกข์นั้นๆ"


    ---

    🔍 2️⃣ วิธีพ้นจากการถูก "ครอบงำ" โดยชีวิต

    📌 คนส่วนใหญ่ใช้ชีวิตตาม อารมณ์ ไม่ใช่ สติ

    อารมณ์ดี → คิดว่าทุกอย่างดี

    อารมณ์ร้าย → คิดว่าทุกอย่างแย่

    อารมณ์หลง → คิดว่าไม่มีทางเลือกอื่น


    🌱 แต่แท้จริงแล้ว ชีวิตเป็นของเรา
    เราไม่จำเป็นต้องถูกอารมณ์ หรือสภาพแวดล้อม "ครอบงำ"

    💡 ทางออกคือ... "ฝึกจิตให้เป็นอิสระจากอารมณ์"
    ✅ ฝึกหยุดคิดก่อนทำ → อย่าให้ความอยากหรือโกรธพาไป
    ✅ ฝึกมีสติรู้ทันอารมณ์ → สังเกตว่ากำลังรู้สึกแบบไหน
    ✅ ฝึกปล่อยวาง → ไม่ตามใจตัวเองตลอดเวลา

    📌 "ที่สุดของความคุ้มในชีวิต ไม่ใช่ได้ใช้ชีวิตตามอำเภอใจ
    แต่คือการไม่ต้องถูกชีวิตครอบงำตามอำเภอใจ"


    ---

    🔍 3️⃣ ความเข้มแข็ง = พลังของ "สติ"

    🌟 "ความเข้มแข็งที่แท้จริง" ไม่ใช่แค่ใจแข็ง แต่คือ...
    ✅ "ไม่ใจอ่อนให้กิเลส" → เลือกทางที่ถูก แม้จะยาก
    ✅ "ไม่หวั่นไหวกับอารมณ์ชั่วคราว" → รู้ว่าทุกข์ก็แค่ชั่วคราว
    ✅ "ไม่ปล่อยให้สิ่งไม่ดีครอบงำ" → มีสติรู้ทันใจตัวเอง

    📌 ความเข้มแข็งแท้จริง → คือฝึกสติจนชนะกิเลสได้
    🌱 สติที่แข็งแรง = ใจที่เข้มแข็ง = ชีวิตที่อิสระจากทุกข์


    ---

    🔍 4️⃣ สรุป : อยากหมดทุกข์ ต้องเลิก "ใจอ่อน"

    ✅ ใจอ่อน = ยอมแพ้ให้กิเลส → ต้องทุกข์ซ้ำๆ
    ✅ ใจแข็ง = ไม่ยอมให้กิเลสครอบงำ → หมดเวรหมดกรรม
    ✅ ความเข้มแข็ง = ฝึกสติให้รู้เท่าทันใจตัวเอง

    🌿 "ที่สุดของความสุข ไม่ใช่ได้ทุกอย่างที่อยากได้
    แต่คือไม่ต้องเป็นทาสของกิเลสอีกต่อไป"

    💡 เริ่มตั้งแต่วันนี้ ฝึกใจให้แข็งแรงขึ้นทุกวัน
    💙 แล้ววันหนึ่ง... ชีวิตจะเป็นของเราจริงๆ!

    📌 ความเข้มแข็ง : ทางออกจากวงจรเวรกรรมและทุกข์ --- 🔍 1️⃣ "ใจอ่อน" คืออะไร? ทำไมต้องเลิกให้ได้? 🌿 "ใจอ่อน" ไม่ได้หมายถึงความเมตตาเสมอไป แต่หมายถึง "การปล่อยให้กิเลสครอบงำ" ใจอ่อนให้กับ ความกลัว → ไม่กล้าเปลี่ยนแปลง ใจอ่อนให้กับ ความหลง → เชื่อแต่สิ่งที่ถูกใจ ใจอ่อนให้กับ อารมณ์ชั่ววูบ → ทำผิดซ้ำๆ แม้รู้ว่าไม่ดี 💡 ทุกครั้งที่ใจอ่อน → เท่ากับให้กิเลสชนะ เราจะติดอยู่ในวงจรเดิม เจอทุกข์เดิมๆ เหมือนอยู่ใน "เวรกรรม" ที่สร้างซ้ำไปมา 📌 "เมื่อใดเลิกใจอ่อนเสียได้ → ก็เหมือนหมดเวรหมดกรรมกับทุกข์นั้นๆ" --- 🔍 2️⃣ วิธีพ้นจากการถูก "ครอบงำ" โดยชีวิต 📌 คนส่วนใหญ่ใช้ชีวิตตาม อารมณ์ ไม่ใช่ สติ อารมณ์ดี → คิดว่าทุกอย่างดี อารมณ์ร้าย → คิดว่าทุกอย่างแย่ อารมณ์หลง → คิดว่าไม่มีทางเลือกอื่น 🌱 แต่แท้จริงแล้ว ชีวิตเป็นของเรา เราไม่จำเป็นต้องถูกอารมณ์ หรือสภาพแวดล้อม "ครอบงำ" 💡 ทางออกคือ... "ฝึกจิตให้เป็นอิสระจากอารมณ์" ✅ ฝึกหยุดคิดก่อนทำ → อย่าให้ความอยากหรือโกรธพาไป ✅ ฝึกมีสติรู้ทันอารมณ์ → สังเกตว่ากำลังรู้สึกแบบไหน ✅ ฝึกปล่อยวาง → ไม่ตามใจตัวเองตลอดเวลา 📌 "ที่สุดของความคุ้มในชีวิต ไม่ใช่ได้ใช้ชีวิตตามอำเภอใจ แต่คือการไม่ต้องถูกชีวิตครอบงำตามอำเภอใจ" --- 🔍 3️⃣ ความเข้มแข็ง = พลังของ "สติ" 🌟 "ความเข้มแข็งที่แท้จริง" ไม่ใช่แค่ใจแข็ง แต่คือ... ✅ "ไม่ใจอ่อนให้กิเลส" → เลือกทางที่ถูก แม้จะยาก ✅ "ไม่หวั่นไหวกับอารมณ์ชั่วคราว" → รู้ว่าทุกข์ก็แค่ชั่วคราว ✅ "ไม่ปล่อยให้สิ่งไม่ดีครอบงำ" → มีสติรู้ทันใจตัวเอง 📌 ความเข้มแข็งแท้จริง → คือฝึกสติจนชนะกิเลสได้ 🌱 สติที่แข็งแรง = ใจที่เข้มแข็ง = ชีวิตที่อิสระจากทุกข์ --- 🔍 4️⃣ สรุป : อยากหมดทุกข์ ต้องเลิก "ใจอ่อน" ✅ ใจอ่อน = ยอมแพ้ให้กิเลส → ต้องทุกข์ซ้ำๆ ✅ ใจแข็ง = ไม่ยอมให้กิเลสครอบงำ → หมดเวรหมดกรรม ✅ ความเข้มแข็ง = ฝึกสติให้รู้เท่าทันใจตัวเอง 🌿 "ที่สุดของความสุข ไม่ใช่ได้ทุกอย่างที่อยากได้ แต่คือไม่ต้องเป็นทาสของกิเลสอีกต่อไป" 💡 เริ่มตั้งแต่วันนี้ ฝึกใจให้แข็งแรงขึ้นทุกวัน 💙 แล้ววันหนึ่ง... ชีวิตจะเป็นของเราจริงๆ!
    0 Comments 0 Shares 368 Views 0 Reviews
  • 📌 ความรักในทางพุทธ : มีจริงแค่ไหน?

    (วิเคราะห์จากหลักพุทธศาสนา และจิตวิทยาความรัก)


    ---

    🔍 1️⃣ รักแท้จริงๆ มีอยู่หรือไม่ในทางพุทธ?

    ในพระพุทธศาสนา "รัก" เป็นสังขารขันธ์

    คือ "สิ่งที่เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป"

    ไม่มีอะไรคงที่ ไม่ว่าเราจะอยากให้มันนิรันดร์แค่ไหน

    ความรักเกิดขึ้น-เปลี่ยนแปลง-ดับไป ตามเหตุปัจจัยเสมอ


    🌿 "รักนิรันดร์" ในแบบที่ไม่เปลี่ยนแปลงไม่มีจริง
    แต่ "รักที่ดี" คือ รักที่ปรับตัวได้ตามเหตุปัจจัย

    📌 ความรักจึงขึ้นกับสิ่งเหล่านี้
    ✅ การมองเห็นคุณค่าของกันและกัน
    ✅ การช่วยเหลือ สนับสนุนกัน
    ✅ ความเข้าใจและการให้อภัย
    ✅ การมีจิตใจเกื้อกูล ไม่ใช่แค่ยึดครอง


    ---

    🔍 2️⃣ เหตุใดรักจึงขึ้นลง ไม่คงที่?

    พุทธศาสนาสอนว่า ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงได้เสมอ
    แม้แต่จิตใจคน

    📌 เหตุที่ทำให้รักเปลี่ยนไป
    ❌ ภาวะทางอารมณ์ → วันหนึ่งรู้สึกดี อีกวันหงุดหงิด
    ❌ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป → คนรักอาจเปลี่ยนแปลง
    ❌ สภาพแวดล้อมและปัจจัยภายนอก → เช่น ปัญหาเงินทอง ครอบครัว
    ❌ การสะสมบุญกรรมร่วมกัน → คนที่รักกันแต่มีวิบากแตกต่างกัน อาจค่อยๆ ห่างกันไป

    💡 สรุป : ความรักเป็นสิ่งที่ "พัฒนาได้" หรือ "เสื่อมถอยได้"
    ขึ้นอยู่กับ เหตุปัจจัยที่ก่อร่างสร้างขึ้นในแต่ละวัน


    ---

    🔍 3️⃣ ทำไมคนบางคน "พิสูจน์รัก" จนเสียรักไป?

    📌 พฤติกรรมที่ทำลายความรักโดยไม่รู้ตัว
    ❌ "ถ้ารักฉัน ต้องรับได้ทุกอย่าง" → นี่ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความคาดหวัง
    ❌ "รักแท้ต้องทดสอบ" → การลองใจซ้ำๆ คือการผลักอีกฝ่ายออกไป
    ❌ "ต้องให้ฉันก่อน แล้วฉันถึงจะรัก" → นี่คือเงื่อนไข ไม่ใช่รักแท้

    💡 ความรักไม่ใช่สนามสอบ

    คนที่ต้องเจอการลองใจบ่อยๆ มักหมดแรงและเลือกเดินจากไป

    การรักใครอย่างแท้จริง คือการเป็นผู้ให้ โดยไม่ต้องพิสูจน์อะไร



    ---

    🔍 4️⃣ รักที่มั่นคงเป็นอย่างไร?

    🌿 รักที่มั่นคงในพุทธศาสนา ไม่ใช่รักที่ไม่เปลี่ยนแปลง
    แต่คือ รักที่ไม่ขึ้นลงตามอารมณ์ชั่ววูบ

    📌 รักแบบที่มีสติและปัญญา คือ
    ✅ เข้าใจว่า "ความรักต้องอาศัยเหตุปัจจัย"
    ✅ มีเมตตาต่อกัน ไม่ใช่แค่ต้องการครอบครอง
    ✅ ปรับตัวให้กันและกันได้
    ✅ มีความมั่นคงภายใน ไม่ต้องพึ่งพิงจนหมดตัวตน

    🌿 "รักที่ดี" ไม่ใช่รักที่ทนได้ทุกอย่าง
    แต่คือ รักที่ให้โอกาสกัน แต่อยู่บนพื้นฐานของศีลและความเคารพกัน


    ---

    🔍 5️⃣ จะรู้ได้อย่างไรว่าความรักที่เรามีเป็นรักแท้หรือไม่?

    💡 ไม่ต้องหาทางพิสูจน์หรือทดสอบ
    💡 ใช้เวลาและชีวิตเป็นเครื่องวัด

    📌 วิธีเช็คความรักของคุณ
    ✅ คุณมีความสุขในการให้ โดยไม่ต้องรอรับหรือไม่?
    ✅ คุณสามารถเข้าใจและให้อภัยได้โดยไม่ฝืนใจหรือไม่?
    ✅ เวลาผ่านไป คุณยังอยากทำดีให้กันอยู่หรือไม่?
    ✅ คุณเห็นเขาเป็น "เพื่อนชีวิต" ที่ก้าวไปด้วยกัน หรือแค่ "คนที่ต้องทำให้คุณมีความสุข"?

    🌿 "ความรักที่แท้จริง" คือการเดินทางไปด้วยกัน ไม่ใช่การคุมสอบกันไปตลอดทาง


    ---

    ✅ สรุป : ความรักที่ยั่งยืนในแบบพุทธ คืออะไร?

    📌 1. ยอมรับว่า "รักนิรันดร์แบบไม่เปลี่ยนแปลง" ไม่มีจริง
    📌 2. ความรักขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัย และสามารถพัฒนาได้
    📌 3. อย่าทดลองความรัก เพราะมันคือการผลักอีกฝ่ายออกไป
    📌 4. รักที่ดีต้องมี "เมตตา ศีล และปัญญา"
    📌 5. ใช้เวลาและชีวิตเป็นเครื่องวัด อย่ารีบตัดสินแค่จากอารมณ์ชั่วคราว

    🌿 รักที่แท้ คือรักที่มีสติ เข้าใจ และเติบโตไปด้วยกัน
    ไม่ใช่แค่รักที่หวังให้เหมือนเดิมตลอดไป! 💙

    📌 ความรักในทางพุทธ : มีจริงแค่ไหน? (วิเคราะห์จากหลักพุทธศาสนา และจิตวิทยาความรัก) --- 🔍 1️⃣ รักแท้จริงๆ มีอยู่หรือไม่ในทางพุทธ? ในพระพุทธศาสนา "รัก" เป็นสังขารขันธ์ คือ "สิ่งที่เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป" ไม่มีอะไรคงที่ ไม่ว่าเราจะอยากให้มันนิรันดร์แค่ไหน ความรักเกิดขึ้น-เปลี่ยนแปลง-ดับไป ตามเหตุปัจจัยเสมอ 🌿 "รักนิรันดร์" ในแบบที่ไม่เปลี่ยนแปลงไม่มีจริง แต่ "รักที่ดี" คือ รักที่ปรับตัวได้ตามเหตุปัจจัย 📌 ความรักจึงขึ้นกับสิ่งเหล่านี้ ✅ การมองเห็นคุณค่าของกันและกัน ✅ การช่วยเหลือ สนับสนุนกัน ✅ ความเข้าใจและการให้อภัย ✅ การมีจิตใจเกื้อกูล ไม่ใช่แค่ยึดครอง --- 🔍 2️⃣ เหตุใดรักจึงขึ้นลง ไม่คงที่? พุทธศาสนาสอนว่า ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงได้เสมอ แม้แต่จิตใจคน 📌 เหตุที่ทำให้รักเปลี่ยนไป ❌ ภาวะทางอารมณ์ → วันหนึ่งรู้สึกดี อีกวันหงุดหงิด ❌ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป → คนรักอาจเปลี่ยนแปลง ❌ สภาพแวดล้อมและปัจจัยภายนอก → เช่น ปัญหาเงินทอง ครอบครัว ❌ การสะสมบุญกรรมร่วมกัน → คนที่รักกันแต่มีวิบากแตกต่างกัน อาจค่อยๆ ห่างกันไป 💡 สรุป : ความรักเป็นสิ่งที่ "พัฒนาได้" หรือ "เสื่อมถอยได้" ขึ้นอยู่กับ เหตุปัจจัยที่ก่อร่างสร้างขึ้นในแต่ละวัน --- 🔍 3️⃣ ทำไมคนบางคน "พิสูจน์รัก" จนเสียรักไป? 📌 พฤติกรรมที่ทำลายความรักโดยไม่รู้ตัว ❌ "ถ้ารักฉัน ต้องรับได้ทุกอย่าง" → นี่ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความคาดหวัง ❌ "รักแท้ต้องทดสอบ" → การลองใจซ้ำๆ คือการผลักอีกฝ่ายออกไป ❌ "ต้องให้ฉันก่อน แล้วฉันถึงจะรัก" → นี่คือเงื่อนไข ไม่ใช่รักแท้ 💡 ความรักไม่ใช่สนามสอบ คนที่ต้องเจอการลองใจบ่อยๆ มักหมดแรงและเลือกเดินจากไป การรักใครอย่างแท้จริง คือการเป็นผู้ให้ โดยไม่ต้องพิสูจน์อะไร --- 🔍 4️⃣ รักที่มั่นคงเป็นอย่างไร? 🌿 รักที่มั่นคงในพุทธศาสนา ไม่ใช่รักที่ไม่เปลี่ยนแปลง แต่คือ รักที่ไม่ขึ้นลงตามอารมณ์ชั่ววูบ 📌 รักแบบที่มีสติและปัญญา คือ ✅ เข้าใจว่า "ความรักต้องอาศัยเหตุปัจจัย" ✅ มีเมตตาต่อกัน ไม่ใช่แค่ต้องการครอบครอง ✅ ปรับตัวให้กันและกันได้ ✅ มีความมั่นคงภายใน ไม่ต้องพึ่งพิงจนหมดตัวตน 🌿 "รักที่ดี" ไม่ใช่รักที่ทนได้ทุกอย่าง แต่คือ รักที่ให้โอกาสกัน แต่อยู่บนพื้นฐานของศีลและความเคารพกัน --- 🔍 5️⃣ จะรู้ได้อย่างไรว่าความรักที่เรามีเป็นรักแท้หรือไม่? 💡 ไม่ต้องหาทางพิสูจน์หรือทดสอบ 💡 ใช้เวลาและชีวิตเป็นเครื่องวัด 📌 วิธีเช็คความรักของคุณ ✅ คุณมีความสุขในการให้ โดยไม่ต้องรอรับหรือไม่? ✅ คุณสามารถเข้าใจและให้อภัยได้โดยไม่ฝืนใจหรือไม่? ✅ เวลาผ่านไป คุณยังอยากทำดีให้กันอยู่หรือไม่? ✅ คุณเห็นเขาเป็น "เพื่อนชีวิต" ที่ก้าวไปด้วยกัน หรือแค่ "คนที่ต้องทำให้คุณมีความสุข"? 🌿 "ความรักที่แท้จริง" คือการเดินทางไปด้วยกัน ไม่ใช่การคุมสอบกันไปตลอดทาง --- ✅ สรุป : ความรักที่ยั่งยืนในแบบพุทธ คืออะไร? 📌 1. ยอมรับว่า "รักนิรันดร์แบบไม่เปลี่ยนแปลง" ไม่มีจริง 📌 2. ความรักขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัย และสามารถพัฒนาได้ 📌 3. อย่าทดลองความรัก เพราะมันคือการผลักอีกฝ่ายออกไป 📌 4. รักที่ดีต้องมี "เมตตา ศีล และปัญญา" 📌 5. ใช้เวลาและชีวิตเป็นเครื่องวัด อย่ารีบตัดสินแค่จากอารมณ์ชั่วคราว 🌿 รักที่แท้ คือรักที่มีสติ เข้าใจ และเติบโตไปด้วยกัน ไม่ใช่แค่รักที่หวังให้เหมือนเดิมตลอดไป! 💙
    0 Comments 0 Shares 346 Views 0 Reviews
  • คนไทยต้องมีสติตามรู้ลมหายใจเข้า-ออก เช้า เที่ยง เย็น เป็นอย่างน้อย ซึ่งเป็นการอยู่ในกองกุศล..มิใช่ตามข่าวชาวบ้าน

    ยิ่งทำมากยิ่งดี กุศลทั้งหลายจะไหลลงสู่ใจของผู้ประพฤติธรรมนั้น เปรียบดังน้ำในมหาสมุทร ซึ่งเกิดจากสายน้ำทุกสายจากภูเขาสูง ไหลลงมารวมกัน

    ความสำเร็จสมหวังอันเกิดจากกุศลธรรมนั้น จึงมีมาทุกทิศทุกทาง ไม่นานเกินรอ แม้ไม่ได้คาดหวังตั้งใจมาก่อนก็ตาม

    #อานาปานสติ
    #กายาคตาสติ
    #พุทธวจน

    คนไทยต้องมีสติตามรู้ลมหายใจเข้า-ออก เช้า เที่ยง เย็น เป็นอย่างน้อย ซึ่งเป็นการอยู่ในกองกุศล..มิใช่ตามข่าวชาวบ้าน ยิ่งทำมากยิ่งดี กุศลทั้งหลายจะไหลลงสู่ใจของผู้ประพฤติธรรมนั้น เปรียบดังน้ำในมหาสมุทร ซึ่งเกิดจากสายน้ำทุกสายจากภูเขาสูง ไหลลงมารวมกัน ความสำเร็จสมหวังอันเกิดจากกุศลธรรมนั้น จึงมีมาทุกทิศทุกทาง ไม่นานเกินรอ แม้ไม่ได้คาดหวังตั้งใจมาก่อนก็ตาม #อานาปานสติ #กายาคตาสติ #พุทธวจน
    0 Comments 0 Shares 267 Views 0 Reviews
  • หู หูคนฟังสารพัดเรื่อง เรื่องดีเรื่องร้าย หูเบาบ้าง หูหนักบ้าง เอาหูฟังเทศน์บ้าง เสียงเทศน์ผ่านหูเข้าสู่จิต ให้จิตมีสติ มีศิลธรรม
    หู หูคนฟังสารพัดเรื่อง เรื่องดีเรื่องร้าย หูเบาบ้าง หูหนักบ้าง เอาหูฟังเทศน์บ้าง เสียงเทศน์ผ่านหูเข้าสู่จิต ให้จิตมีสติ มีศิลธรรม
    0 Comments 0 Shares 106 Views 0 Reviews
  • บริษัท Cortical Labs ในออสเตรเลียได้เปิดตัว CL1 ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ชีวภาพตัวแรกของโลกที่ผสมผสานเซลล์สมองมนุษย์เข้ากับเทคโนโลยีซิลิคอนแบบดั้งเดิม CL1 ถูกเปิดตัวครั้งแรกในงาน Mobile World Congress ที่บาร์เซโลนา และถูกพัฒนามาเพื่อใช้ในการศึกษาความเป็นไปได้ของ AI และ Machine Learning ที่มีความใกล้เคียงกับสมองของมนุษย์

    CL1 ใช้ชิปซิลิคอนที่มีเซลล์สมองมนุษย์เพาะเลี้ยงอยู่บนพื้นผิว เซลล์สมองเหล่านี้สามารถตอบสนองต่อสัญญาณไฟฟ้าและสร้างเครือข่ายที่ประมวลผลข้อมูลในลักษณะเดียวกับสมองมนุษย์ สิ่งที่น่าสนใจคือ ระบบนี้สามารถสื่อสารสองทางได้ โดยใช้สัญญาณไฟฟ้ากระตุ้นเซลล์สมอง และเก็บข้อมูลการตอบสนองเพื่อนำมาวิเคราะห์ต่อ

    เพื่อให้เซลล์สมองเหล่านี้ยังคงทำงานได้ดี CL1 มาพร้อมระบบช่วยชีวิตที่ควบคุมอุณหภูมิ การแลกเปลี่ยนก๊าซ และเงื่อนไขที่จำเป็นอื่น ๆ

    CL1 ถูกออกแบบมาเพื่อเรียนรู้และปรับตัว เช่นเดียวกับสมองมนุษย์ ตัวอย่างที่เคยมีการทดลอง เช่น การฝึกเซลล์สมองให้เล่นวิดีโอเกมพื้นฐาน สิ่งนี้ชี้ให้เห็นว่า คอมพิวเตอร์ชีวภาพสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในด้านที่ AI แบบเดิมยังไม่สมบูรณ์ เช่น การจดจำรูปแบบและการตัดสินใจในสภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน

    นอกจากนี้ ความสามารถของเซลล์สมองในการปรับตัวทำให้เกิดศักยภาพใหม่ ๆ ในการประยุกต์ใช้งาน เช่น การพัฒนาหุ่นยนต์ที่ฉลาดยิ่งขึ้น หรือระบบวิเคราะห์ข้อมูลที่ซับซ้อน

    ปัญหาและข้อควรระวัง
    - ความซับซ้อนในการผลิต: การสร้างและดูแลระบบ CL1 ต้องใช้กระบวนการที่ซับซ้อนและยังไม่สามารถผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้
    - ปัญหาด้านจริยธรรม: แม้ว่าเซลล์สมองที่ใช้จะถูกเพาะเลี้ยงในห้องแล็บและไม่มีสติสัมปชัญญะ แต่ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีนี้อาจต้องการกรอบกฎหมายและจริยธรรมที่ชัดเจนในอนาคต เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ชีวภาพมนุษย์

    CL1 จะพร้อมจำหน่ายตั้งแต่เดือนมิถุนายน โดยมีราคาอยู่ที่ประมาณ $35,000 เหมาะสำหรับองค์กรและสถาบันวิจัยที่ต้องการทดสอบหรือสำรวจการใช้งานคอมพิวเตอร์ชีวภาพในเชิงลึก

    CL1 ถือเป็นก้าวใหม่ที่น่าตื่นเต้นในวงการเทคโนโลยีชีวภาพและ AI ซึ่งอาจช่วยพัฒนาอนาคตของการเรียนรู้และการประมวลผลข้อมูล หากคุณสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ CL1 และความเป็นไปได้ในอนาคตของเทคโนโลยีนี้

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/worlds-first-body-in-a-box-biological-computer-uses-human-brain-cells-with-silicon-based-computing
    บริษัท Cortical Labs ในออสเตรเลียได้เปิดตัว CL1 ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ชีวภาพตัวแรกของโลกที่ผสมผสานเซลล์สมองมนุษย์เข้ากับเทคโนโลยีซิลิคอนแบบดั้งเดิม CL1 ถูกเปิดตัวครั้งแรกในงาน Mobile World Congress ที่บาร์เซโลนา และถูกพัฒนามาเพื่อใช้ในการศึกษาความเป็นไปได้ของ AI และ Machine Learning ที่มีความใกล้เคียงกับสมองของมนุษย์ CL1 ใช้ชิปซิลิคอนที่มีเซลล์สมองมนุษย์เพาะเลี้ยงอยู่บนพื้นผิว เซลล์สมองเหล่านี้สามารถตอบสนองต่อสัญญาณไฟฟ้าและสร้างเครือข่ายที่ประมวลผลข้อมูลในลักษณะเดียวกับสมองมนุษย์ สิ่งที่น่าสนใจคือ ระบบนี้สามารถสื่อสารสองทางได้ โดยใช้สัญญาณไฟฟ้ากระตุ้นเซลล์สมอง และเก็บข้อมูลการตอบสนองเพื่อนำมาวิเคราะห์ต่อ เพื่อให้เซลล์สมองเหล่านี้ยังคงทำงานได้ดี CL1 มาพร้อมระบบช่วยชีวิตที่ควบคุมอุณหภูมิ การแลกเปลี่ยนก๊าซ และเงื่อนไขที่จำเป็นอื่น ๆ CL1 ถูกออกแบบมาเพื่อเรียนรู้และปรับตัว เช่นเดียวกับสมองมนุษย์ ตัวอย่างที่เคยมีการทดลอง เช่น การฝึกเซลล์สมองให้เล่นวิดีโอเกมพื้นฐาน สิ่งนี้ชี้ให้เห็นว่า คอมพิวเตอร์ชีวภาพสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในด้านที่ AI แบบเดิมยังไม่สมบูรณ์ เช่น การจดจำรูปแบบและการตัดสินใจในสภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน นอกจากนี้ ความสามารถของเซลล์สมองในการปรับตัวทำให้เกิดศักยภาพใหม่ ๆ ในการประยุกต์ใช้งาน เช่น การพัฒนาหุ่นยนต์ที่ฉลาดยิ่งขึ้น หรือระบบวิเคราะห์ข้อมูลที่ซับซ้อน ปัญหาและข้อควรระวัง - ความซับซ้อนในการผลิต: การสร้างและดูแลระบบ CL1 ต้องใช้กระบวนการที่ซับซ้อนและยังไม่สามารถผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ - ปัญหาด้านจริยธรรม: แม้ว่าเซลล์สมองที่ใช้จะถูกเพาะเลี้ยงในห้องแล็บและไม่มีสติสัมปชัญญะ แต่ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีนี้อาจต้องการกรอบกฎหมายและจริยธรรมที่ชัดเจนในอนาคต เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ชีวภาพมนุษย์ CL1 จะพร้อมจำหน่ายตั้งแต่เดือนมิถุนายน โดยมีราคาอยู่ที่ประมาณ $35,000 เหมาะสำหรับองค์กรและสถาบันวิจัยที่ต้องการทดสอบหรือสำรวจการใช้งานคอมพิวเตอร์ชีวภาพในเชิงลึก CL1 ถือเป็นก้าวใหม่ที่น่าตื่นเต้นในวงการเทคโนโลยีชีวภาพและ AI ซึ่งอาจช่วยพัฒนาอนาคตของการเรียนรู้และการประมวลผลข้อมูล หากคุณสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ CL1 และความเป็นไปได้ในอนาคตของเทคโนโลยีนี้ https://www.tomshardware.com/tech-industry/worlds-first-body-in-a-box-biological-computer-uses-human-brain-cells-with-silicon-based-computing
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    World's first 'body in a box' biological computer uses human brain cells with silicon-based computing
    Cortical Labs said the CL1 will be available from June, priced at around $35,000.
    0 Comments 0 Shares 313 Views 0 Reviews
  • กลับมาคุยกันต่อถึงภาพที่ 9 ของ 12 กงซวิ่นถู (宫训图) ที่ในละคร <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> ฮ่องเต้เฉียนหลงได้ทรงพระราชทานให้บรรดาพระภรรยาแห่งสิบสองตำหนัก โดยเป็นภาพที่เล่าเรื่องราวของพระภรรยาในประวัติศาสตร์ที่ถูกจารึกไว้ซึ่งคุณงามความดี

    ภาพที่เราจะคุยกันในวันนี้มีชื่อว่า ‘ฝานจีเจี้ยนเลี่ย’ (樊姬谏猎 / ฝานจีเตือนสติให้หยุดล่าสัตว์) ถูกพระราชทานไปที่พระตำหนักหย่งเหอกง ภาพจริงหน้าตาอย่างไร Storyฯ หาไม่พบเพราะมันสูญหายไปแล้ว ภาพที่นำมาให้ดูเป็นภาพเรื่องราวเดียวกัน แต่มีชื่อเรียกว่า ‘ฝานจีก่านจวง’ (ฝานจีดลใจจวงหวาง) ซึ่งเป็นตอนหนึ่งของภาพม้วนยาว ‘หนีว์สื่อเจิน’ (女史箴图 / ข้าราชสำนักหญิงเตือนสติ) ผลงานของกู้ข่ายจือ ซึ่งปัจจุบันเหลือเพียงฉบับคัดลอกที่มี 9 ตอนจากเดิม 12 ตอน

    Storyฯ เคยกล่าวถึงภาพ ‘หนีว์สื่อเจิน’ นี้มาบ้างแล้วในบทความก่อนๆ เกี่ยวกับกงซวิ่นถู แต่ไม่ได้เล่าว่า ภาพทั้ง 12 ตอนของ ‘หนีว์สื่อเจิน’ นี้วาดขึ้นตามเนื้อหาจากบันทึก ‘เลี่ยหนี่ว์จ้วน’ (列女传 / บันทึกเรื่องราวสตรีตัวอย่าง) ที่จัดทำขึ้นในสมัยฮั่นตะวันตกโดยหลี่เซี่ยง แบ่งเป็น 7 หมวดรวมเหตุการณ์ที่ถูกยกมาเป็นตัวอย่างของจรรยาที่สตรีพึงมี จัดเป็นงานวรรณกรรมจำพวก ‘เหวินเหยียนเหวิน’ หรืองานวรรณกรรมภาษาโบราณ ปัจจุบันเป็นเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ทำให้ชนรุ่นหลังเข้าใจมากขึ้นถึงมุมมองของสังคมในสมัยนั้น

    ‘ฝานจี’ ที่กล่าวถึงในภาพ ‘ฝานจีเจี้ยนเลี่ย’ นี้ก็เป็นพระธิดาของกษัตริย์ผู้ครองแคว้นฝานและเป็นพระภรรยาของฉู่จวงหวาง (จวงอ๋อง) กษัตริย์แห่งแคว้นฉู่ในสมัยชุนชิว (ประมาณ 613-691 ปีก่อนคริสตกาล) จวงหวางแห่งแคว้นฉู่นี้ต่อมาถูกยกย่องเป็นหนึ่งในห้าของผู้ครองแคว้นที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งยุคสมัยชุนชิว หรือที่เรียกว่า ‘ชุนชิวอู่ป้า’ (霸 /ป้า แปลได้ประมาณว่า เจ้าผู้ครองโลก)

    หลี่เซี่ยงเคยเขียนถึงจวงหวางไว้ว่า “ความยิ่งใหญ่ของฉู่จวงหวาง คือผลงานของฝานจี”

    ฝานจีไม่ได้มีความสามารถพิเศษอะไรที่จะช่วยจวงหวางยึดครองอาณาจักร ที่นางได้รับการยกย่องอย่างนี้เป็นเพราะนางคอยเตือนสติให้จวงหวางใส่ใจการบริหารบ้านเมือง ไม่หลงไหลเคลิบเคลิ้มไปกับเรื่องใดหรือใครจนทำให้ละเลยการบริหารบ้านเมือง แม้แต่สนมนางในฝานจีก็เป็นคนคัดเลือกเอง เพราะต้องการให้คนใกล้ชิดจวงหวางล้วนเป็นคนที่มีจรรยาและวางตัวได้ดี ไม่ยั่วยวนฉู่จวงหวางให้ลุ่มหลงมัวเมา (ขออภัยไม่ใช้ราชาศัพท์ในบทความนี้)

    มีหลายเหตุการณ์เกี่ยวกับการเตือนสติของฝานจีได้รับการบันทึกไว้และเล่ากันต่อมา แต่ ‘ผลงานสำคัญ’ เป็นเรื่องเกี่ยวกับอัครมหาเสนาบดีอวี๋ชิวจื่อ เขาเป็นขุนนางที่มีฝีมือและจงรักภักดี เป็นที่เคารพยกย่องและมีอิทธิพลมากในราชสำนัก... ว่ากันว่า มีอยู่ช่วงหนึ่งจวงหวางโปรดปรานอวี๋ชิวจื่อมากจนเสวนาด้วยจนดึกดื่นทุกวัน อยู่มาวันหนึ่งฝานจีเห็นจวงหวางกลับดึกมากจึงถามไถ่สาเหตุ จวงหวางตอบว่าอวี๋ซิวจื่อคนนี้มิเพียงฉลาดปราดเปรื่อง หากยังจงรักภักดี จึงชอบเสวนาด้วย แต่ฝานจีกลับหัวเราะขบขันแล้วยกตัวอย่างว่า ตัวนางเองก็เป็นที่โปรดปรานของจวงหวาง แต่ยังไม่คิดจะเหนี่ยวรั้งจวงหวางไว้กับตนเพียงผู้เดียว หากแต่ยังช่วยสรรหาหญิงที่งามพร้อมจรรยามาช่วยดูแลปรนนิบัติ อวี๋ซิวจื่อผู้นี้แม้ฉลาดปราดเปรื่อง แต่สิบปีที่ผ่านมาไม่เปิดโอกาสให้คนดีมีฝีมือนอกแวดวงของเขาเข้ามารับราชการ เสนอชื่อแต่เพียงคนใกล้ชิดและลูกศิษย์ให้เจริญก้าวหน้าไม่ลงโทษหนักแม้ทำผิด จะเรียกว่าจงรักภักดีทำเพื่อคุณประโยชน์ของประเทศได้อย่างไร?

    เป็นเรื่องเล่าต่อมาอีกว่า วันรุ่งขึ้นจวงหวางเล่าให้อวี๋ซิวจื่อฟังถึงคำพูดของฝานจี อวี๋ซิวจื่อได้ยินก็ฉุกใจคิดคล้อยตาม รู้สึกละอายใจจนเก็บตัวเงียบหลายวัน หลังจากนั้นเขาสรรหาและคัดเลือกคนดีมีฝีมือใหม่ๆ เข้าราชสำนัก สุดท้ายค้นพบและเสนอชื่อซุนซูเอ้าให้มารับหน้าที่อัครมหาเสนาบดีแทนตน จากนั้นก็ขอเกษียณจากราชการ

    เหตุการณ์นี้อาจเรียกได้ว่าเป็นจุดสำคัญของการเปลี่ยนโฉมแคว้นฉู่ ซุนซูเอ้าผู้นี้ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นหนึ่งในนักการเมืองและอัครมหาเสนาบดีที่เก่งกาจที่สุดในยุคสมัยนั้น เขาวางตนสมถะ ชี้นำให้จวงหวางยึดถือความสุขของประชาชนเป็นที่ตั้ง ให้คำปรึกษาที่ดีทั้งด้านเศรษฐกิจการเมืองและการทหาร กลายเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้แคว้นฉู่เจริญยิ่งใหญ่จนกลายเป็นหนึ่งในห้าแคว้นที่เข้มแข็งที่สุดในสมัยนั้น

    จึงเป็นที่มาของวลีที่ว่า “ความยิ่งใหญ่ของฉู่จวงหวาง คือผลงานของฝานจี”

    เหตุการณ์ที่เล่าถึงในภาพกงซวิ่นถูนี้ เป็นการกล่าวถึงสมัยที่ฉู่จวงหวางขึ้นครองราชย์แคว้นฉู่ใหม่ๆ หลงรักการล่าสัตว์จนละเลยกิจการบ้านเมือง ฝานจีทั้งเตือนทั้งหว่านล้อมให้รามือหันมาดูแลบ้านเมืองเท่าไหร่ก็ไม่ใส่ใจ สุดท้ายนางจึงงดกินเนื้อสัตว์เป็นการประท้วงจนจวงหวางได้คิด เลิกเห็นการล่าสัตว์เป็นเรื่องบันเทิงและหันกลับมาให้เวลากับการบริหารบ้านเมือง

    ส่วนป้ายที่องค์เฉียนหลงพระราชทานไปคู่กับภาพนี้เขียนไว้ว่า ‘อี๋เจาซูเจิ้น’ (仪昭淑慎) แปลได้ประมาณว่า โอบอ้อมอารีมีสติ รักษาไว้ซึ่งจรรยาและพิธีการอันดีงาม Storyฯ เหมือนผ่านตาว่าวรรคนี้มีการพูดถึงและอธิบายไว้ในละครเรื่อง <หรูอี้จอมนางเคียงบัลลังก์> ด้วย

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/40578846
    https://kknews.cc/zh-hk/news/m6lqj5g.html#google_vignette
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://baike.baidu.com/item/列女传/869659
    http://www.guoxue.com/?people=fanji
    https://baike.baidu.com/item/樊姬/10584406
    http://dzrb.dzng.com/articleContent/17_1032125.html
    https://hk.epochtimes.com/news/2018-05-29/28583343
    https://baike.baidu.com/item/孙叔敖/669927

    #เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่ #ฝานจี #ฉู่จวงหวาง #ชุนชิวอู่ป้า #ฝานจีเจี้ยนเลี่ย #หนีว์สื่อเจิน #เลี่ยหนี่ว์จ้วน #หลี่เซี่ยง #กงซวิ่นถู #เฉียนหลงสิบสองภาพวาด
    กลับมาคุยกันต่อถึงภาพที่ 9 ของ 12 กงซวิ่นถู (宫训图) ที่ในละคร <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> ฮ่องเต้เฉียนหลงได้ทรงพระราชทานให้บรรดาพระภรรยาแห่งสิบสองตำหนัก โดยเป็นภาพที่เล่าเรื่องราวของพระภรรยาในประวัติศาสตร์ที่ถูกจารึกไว้ซึ่งคุณงามความดี ภาพที่เราจะคุยกันในวันนี้มีชื่อว่า ‘ฝานจีเจี้ยนเลี่ย’ (樊姬谏猎 / ฝานจีเตือนสติให้หยุดล่าสัตว์) ถูกพระราชทานไปที่พระตำหนักหย่งเหอกง ภาพจริงหน้าตาอย่างไร Storyฯ หาไม่พบเพราะมันสูญหายไปแล้ว ภาพที่นำมาให้ดูเป็นภาพเรื่องราวเดียวกัน แต่มีชื่อเรียกว่า ‘ฝานจีก่านจวง’ (ฝานจีดลใจจวงหวาง) ซึ่งเป็นตอนหนึ่งของภาพม้วนยาว ‘หนีว์สื่อเจิน’ (女史箴图 / ข้าราชสำนักหญิงเตือนสติ) ผลงานของกู้ข่ายจือ ซึ่งปัจจุบันเหลือเพียงฉบับคัดลอกที่มี 9 ตอนจากเดิม 12 ตอน Storyฯ เคยกล่าวถึงภาพ ‘หนีว์สื่อเจิน’ นี้มาบ้างแล้วในบทความก่อนๆ เกี่ยวกับกงซวิ่นถู แต่ไม่ได้เล่าว่า ภาพทั้ง 12 ตอนของ ‘หนีว์สื่อเจิน’ นี้วาดขึ้นตามเนื้อหาจากบันทึก ‘เลี่ยหนี่ว์จ้วน’ (列女传 / บันทึกเรื่องราวสตรีตัวอย่าง) ที่จัดทำขึ้นในสมัยฮั่นตะวันตกโดยหลี่เซี่ยง แบ่งเป็น 7 หมวดรวมเหตุการณ์ที่ถูกยกมาเป็นตัวอย่างของจรรยาที่สตรีพึงมี จัดเป็นงานวรรณกรรมจำพวก ‘เหวินเหยียนเหวิน’ หรืองานวรรณกรรมภาษาโบราณ ปัจจุบันเป็นเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ทำให้ชนรุ่นหลังเข้าใจมากขึ้นถึงมุมมองของสังคมในสมัยนั้น ‘ฝานจี’ ที่กล่าวถึงในภาพ ‘ฝานจีเจี้ยนเลี่ย’ นี้ก็เป็นพระธิดาของกษัตริย์ผู้ครองแคว้นฝานและเป็นพระภรรยาของฉู่จวงหวาง (จวงอ๋อง) กษัตริย์แห่งแคว้นฉู่ในสมัยชุนชิว (ประมาณ 613-691 ปีก่อนคริสตกาล) จวงหวางแห่งแคว้นฉู่นี้ต่อมาถูกยกย่องเป็นหนึ่งในห้าของผู้ครองแคว้นที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งยุคสมัยชุนชิว หรือที่เรียกว่า ‘ชุนชิวอู่ป้า’ (霸 /ป้า แปลได้ประมาณว่า เจ้าผู้ครองโลก) หลี่เซี่ยงเคยเขียนถึงจวงหวางไว้ว่า “ความยิ่งใหญ่ของฉู่จวงหวาง คือผลงานของฝานจี” ฝานจีไม่ได้มีความสามารถพิเศษอะไรที่จะช่วยจวงหวางยึดครองอาณาจักร ที่นางได้รับการยกย่องอย่างนี้เป็นเพราะนางคอยเตือนสติให้จวงหวางใส่ใจการบริหารบ้านเมือง ไม่หลงไหลเคลิบเคลิ้มไปกับเรื่องใดหรือใครจนทำให้ละเลยการบริหารบ้านเมือง แม้แต่สนมนางในฝานจีก็เป็นคนคัดเลือกเอง เพราะต้องการให้คนใกล้ชิดจวงหวางล้วนเป็นคนที่มีจรรยาและวางตัวได้ดี ไม่ยั่วยวนฉู่จวงหวางให้ลุ่มหลงมัวเมา (ขออภัยไม่ใช้ราชาศัพท์ในบทความนี้) มีหลายเหตุการณ์เกี่ยวกับการเตือนสติของฝานจีได้รับการบันทึกไว้และเล่ากันต่อมา แต่ ‘ผลงานสำคัญ’ เป็นเรื่องเกี่ยวกับอัครมหาเสนาบดีอวี๋ชิวจื่อ เขาเป็นขุนนางที่มีฝีมือและจงรักภักดี เป็นที่เคารพยกย่องและมีอิทธิพลมากในราชสำนัก... ว่ากันว่า มีอยู่ช่วงหนึ่งจวงหวางโปรดปรานอวี๋ชิวจื่อมากจนเสวนาด้วยจนดึกดื่นทุกวัน อยู่มาวันหนึ่งฝานจีเห็นจวงหวางกลับดึกมากจึงถามไถ่สาเหตุ จวงหวางตอบว่าอวี๋ซิวจื่อคนนี้มิเพียงฉลาดปราดเปรื่อง หากยังจงรักภักดี จึงชอบเสวนาด้วย แต่ฝานจีกลับหัวเราะขบขันแล้วยกตัวอย่างว่า ตัวนางเองก็เป็นที่โปรดปรานของจวงหวาง แต่ยังไม่คิดจะเหนี่ยวรั้งจวงหวางไว้กับตนเพียงผู้เดียว หากแต่ยังช่วยสรรหาหญิงที่งามพร้อมจรรยามาช่วยดูแลปรนนิบัติ อวี๋ซิวจื่อผู้นี้แม้ฉลาดปราดเปรื่อง แต่สิบปีที่ผ่านมาไม่เปิดโอกาสให้คนดีมีฝีมือนอกแวดวงของเขาเข้ามารับราชการ เสนอชื่อแต่เพียงคนใกล้ชิดและลูกศิษย์ให้เจริญก้าวหน้าไม่ลงโทษหนักแม้ทำผิด จะเรียกว่าจงรักภักดีทำเพื่อคุณประโยชน์ของประเทศได้อย่างไร? เป็นเรื่องเล่าต่อมาอีกว่า วันรุ่งขึ้นจวงหวางเล่าให้อวี๋ซิวจื่อฟังถึงคำพูดของฝานจี อวี๋ซิวจื่อได้ยินก็ฉุกใจคิดคล้อยตาม รู้สึกละอายใจจนเก็บตัวเงียบหลายวัน หลังจากนั้นเขาสรรหาและคัดเลือกคนดีมีฝีมือใหม่ๆ เข้าราชสำนัก สุดท้ายค้นพบและเสนอชื่อซุนซูเอ้าให้มารับหน้าที่อัครมหาเสนาบดีแทนตน จากนั้นก็ขอเกษียณจากราชการ เหตุการณ์นี้อาจเรียกได้ว่าเป็นจุดสำคัญของการเปลี่ยนโฉมแคว้นฉู่ ซุนซูเอ้าผู้นี้ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นหนึ่งในนักการเมืองและอัครมหาเสนาบดีที่เก่งกาจที่สุดในยุคสมัยนั้น เขาวางตนสมถะ ชี้นำให้จวงหวางยึดถือความสุขของประชาชนเป็นที่ตั้ง ให้คำปรึกษาที่ดีทั้งด้านเศรษฐกิจการเมืองและการทหาร กลายเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้แคว้นฉู่เจริญยิ่งใหญ่จนกลายเป็นหนึ่งในห้าแคว้นที่เข้มแข็งที่สุดในสมัยนั้น จึงเป็นที่มาของวลีที่ว่า “ความยิ่งใหญ่ของฉู่จวงหวาง คือผลงานของฝานจี” เหตุการณ์ที่เล่าถึงในภาพกงซวิ่นถูนี้ เป็นการกล่าวถึงสมัยที่ฉู่จวงหวางขึ้นครองราชย์แคว้นฉู่ใหม่ๆ หลงรักการล่าสัตว์จนละเลยกิจการบ้านเมือง ฝานจีทั้งเตือนทั้งหว่านล้อมให้รามือหันมาดูแลบ้านเมืองเท่าไหร่ก็ไม่ใส่ใจ สุดท้ายนางจึงงดกินเนื้อสัตว์เป็นการประท้วงจนจวงหวางได้คิด เลิกเห็นการล่าสัตว์เป็นเรื่องบันเทิงและหันกลับมาให้เวลากับการบริหารบ้านเมือง ส่วนป้ายที่องค์เฉียนหลงพระราชทานไปคู่กับภาพนี้เขียนไว้ว่า ‘อี๋เจาซูเจิ้น’ (仪昭淑慎) แปลได้ประมาณว่า โอบอ้อมอารีมีสติ รักษาไว้ซึ่งจรรยาและพิธีการอันดีงาม Storyฯ เหมือนผ่านตาว่าวรรคนี้มีการพูดถึงและอธิบายไว้ในละครเรื่อง <หรูอี้จอมนางเคียงบัลลังก์> ด้วย (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://zhuanlan.zhihu.com/p/40578846 https://kknews.cc/zh-hk/news/m6lqj5g.html#google_vignette Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://baike.baidu.com/item/列女传/869659 http://www.guoxue.com/?people=fanji https://baike.baidu.com/item/樊姬/10584406 http://dzrb.dzng.com/articleContent/17_1032125.html https://hk.epochtimes.com/news/2018-05-29/28583343 https://baike.baidu.com/item/孙叔敖/669927 #เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่ #ฝานจี #ฉู่จวงหวาง #ชุนชิวอู่ป้า #ฝานจีเจี้ยนเลี่ย #หนีว์สื่อเจิน #เลี่ยหนี่ว์จ้วน #หลี่เซี่ยง #กงซวิ่นถู #เฉียนหลงสิบสองภาพวาด
    0 Comments 0 Shares 702 Views 0 Reviews
  • 📌 อารมณ์ vs. เหตุผล: ใช้อย่างไรให้ชีวิตเจริญ?


    ---

    🧠 มนุษย์ใช้เหตุผลได้… ถ้าอยากใช้!

    ✅ เราเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีสติปัญญา
    ✅ แต่ส่วนใหญ่เลือกใช้อารมณ์นำหน้า
    ✅ ใช้เหตุผล → ชีวิตเจริญ
    ✅ ใช้อารมณ์นำ → ชีวิตวุ่นวาย

    🎯 "การเลือกใช้เหตุผลหรืออารมณ์" คือสิ่งที่กำหนด "ทิศทางชีวิต"


    ---

    🚨 4 ประเภทของคน ตามการใช้ "อารมณ์ vs. เหตุผล"

    ❌ 1️⃣ ใช้อารมณ์ทั้งที่บ้านและที่ทำงาน

    🔴 ทำให้ทั้งสองสถานที่มืดมน
    🔴 ไม่มีใครอยากเข้าใกล้
    🔴 ชีวิตเต็มไปด้วยปัญหาและความขัดแย้ง

    🎯 "ออกจากบ้านไปสู่ความมืด → กลับมาบ้านก็ยังอยู่ในความมืด"


    ---

    🤔 2️⃣ ใช้เหตุผลที่ทำงาน แต่ใช้อารมณ์ที่บ้าน

    🔵 เป็นคนฉลาดและมีเหตุผลเมื่ออยู่ข้างนอก
    🔴 แต่กลับบ้านแล้วใช้อารมณ์ ทำให้ครอบครัวไม่มีความสุข
    🔴 คนในบ้านรับเคราะห์จากความเครียดและอารมณ์แปรปรวน

    🎯 "ทำงานแบบคนมีเหตุผล → แต่กลับบ้านแล้วเป็นคนโง่"


    ---

    🔥 3️⃣ ใช้อารมณ์ที่ทำงาน แต่ใช้เหตุผลที่บ้าน

    🔴 ทำให้ที่ทำงานวุ่นวายและเป็นพิษ
    🔵 แต่กลับบ้านแล้วสงบสุข เพราะใช้เหตุผลกับครอบครัว
    🔴 เสี่ยงต่อการมีปัญหากับเพื่อนร่วมงานและเจ้านาย

    🎯 "ก่อปัญหาให้สังคม → แต่ดูแลครอบครัวดี"


    ---

    💡 4️⃣ ใช้เหตุผลทั้งที่ทำงานและที่บ้าน

    ✅ ทำให้ชีวิตราบรื่นทั้งสองด้าน
    ✅ เป็นแสงสว่างให้คนรอบตัว
    ✅ สร้างความสงบสุขและความเจริญในทุกที่

    🎯 "ออกจากบ้านไปไล่ความมืด → กลับมาขจัดความมืดที่บ้าน"


    ---

    🔥 วิธีเปลี่ยนตัวเองให้เป็นคนใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์

    ✅ 1️⃣ หยุดคิดก่อนพูด

    🎯 หายใจลึกๆ ก่อนตอบโต้
    🎯 ถามตัวเอง → "ถ้าฉันพูดแบบนี้ จะเกิดอะไรขึ้น?"
    🎯 ฝึกนิ่งก่อนโต้ตอบ


    ---

    ✅ 2️⃣ ฝึก "เปลี่ยนมุมมอง" ก่อนใช้อารมณ์

    🎯 คนพูดไม่ดีใส่เรา → อาจเป็นเพราะเขาเครียด ไม่ใช่เพราะเรา
    🎯 เรื่องที่เกิดขึ้น → อาจมีแง่ดีให้เรียนรู้ ไม่ใช่แค่เรื่องแย่
    🎯 ทุกปัญหา → แก้ได้ด้วยสติ ไม่ใช่อารมณ์


    ---

    ✅ 3️⃣ สร้าง "พื้นที่ปลอดภัย" สำหรับครอบครัว

    🎯 อย่าเอาความเครียดจากงานมาลงที่บ้าน
    🎯 กลับบ้าน → เปลี่ยนเป็นโหมด "ใจเย็น-ให้กำลังใจ"
    🎯 ทำให้บ้านเป็น "แหล่งพลังบวก" ไม่ใช่ "สนามรบ"


    ---

    🎯 สรุป: ใช้เหตุผลให้มากขึ้น = ชีวิตเจริญขึ้น!

    ✔ ใช้อารมณ์ทั้งที่บ้านและที่ทำงาน → ชีวิตมืดมน
    ✔ ใช้เหตุผลที่ทำงาน แต่ใช้อารมณ์ที่บ้าน → บ้านไม่มีความสุข
    ✔ ใช้อารมณ์ที่ทำงาน แต่ใช้เหตุผลที่บ้าน → งานมีปัญหา
    ✔ ใช้เหตุผลทั้งที่ทำงานและที่บ้าน → ชีวิตเจริญที่สุด!

    🔥 "เลือกใช้เหตุผลให้มากขึ้น → ชีวิตจะดีขึ้นทุกด้าน" 🔥

    📌 อารมณ์ vs. เหตุผล: ใช้อย่างไรให้ชีวิตเจริญ? --- 🧠 มนุษย์ใช้เหตุผลได้… ถ้าอยากใช้! ✅ เราเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีสติปัญญา ✅ แต่ส่วนใหญ่เลือกใช้อารมณ์นำหน้า ✅ ใช้เหตุผล → ชีวิตเจริญ ✅ ใช้อารมณ์นำ → ชีวิตวุ่นวาย 🎯 "การเลือกใช้เหตุผลหรืออารมณ์" คือสิ่งที่กำหนด "ทิศทางชีวิต" --- 🚨 4 ประเภทของคน ตามการใช้ "อารมณ์ vs. เหตุผล" ❌ 1️⃣ ใช้อารมณ์ทั้งที่บ้านและที่ทำงาน 🔴 ทำให้ทั้งสองสถานที่มืดมน 🔴 ไม่มีใครอยากเข้าใกล้ 🔴 ชีวิตเต็มไปด้วยปัญหาและความขัดแย้ง 🎯 "ออกจากบ้านไปสู่ความมืด → กลับมาบ้านก็ยังอยู่ในความมืด" --- 🤔 2️⃣ ใช้เหตุผลที่ทำงาน แต่ใช้อารมณ์ที่บ้าน 🔵 เป็นคนฉลาดและมีเหตุผลเมื่ออยู่ข้างนอก 🔴 แต่กลับบ้านแล้วใช้อารมณ์ ทำให้ครอบครัวไม่มีความสุข 🔴 คนในบ้านรับเคราะห์จากความเครียดและอารมณ์แปรปรวน 🎯 "ทำงานแบบคนมีเหตุผล → แต่กลับบ้านแล้วเป็นคนโง่" --- 🔥 3️⃣ ใช้อารมณ์ที่ทำงาน แต่ใช้เหตุผลที่บ้าน 🔴 ทำให้ที่ทำงานวุ่นวายและเป็นพิษ 🔵 แต่กลับบ้านแล้วสงบสุข เพราะใช้เหตุผลกับครอบครัว 🔴 เสี่ยงต่อการมีปัญหากับเพื่อนร่วมงานและเจ้านาย 🎯 "ก่อปัญหาให้สังคม → แต่ดูแลครอบครัวดี" --- 💡 4️⃣ ใช้เหตุผลทั้งที่ทำงานและที่บ้าน ✅ ทำให้ชีวิตราบรื่นทั้งสองด้าน ✅ เป็นแสงสว่างให้คนรอบตัว ✅ สร้างความสงบสุขและความเจริญในทุกที่ 🎯 "ออกจากบ้านไปไล่ความมืด → กลับมาขจัดความมืดที่บ้าน" --- 🔥 วิธีเปลี่ยนตัวเองให้เป็นคนใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ✅ 1️⃣ หยุดคิดก่อนพูด 🎯 หายใจลึกๆ ก่อนตอบโต้ 🎯 ถามตัวเอง → "ถ้าฉันพูดแบบนี้ จะเกิดอะไรขึ้น?" 🎯 ฝึกนิ่งก่อนโต้ตอบ --- ✅ 2️⃣ ฝึก "เปลี่ยนมุมมอง" ก่อนใช้อารมณ์ 🎯 คนพูดไม่ดีใส่เรา → อาจเป็นเพราะเขาเครียด ไม่ใช่เพราะเรา 🎯 เรื่องที่เกิดขึ้น → อาจมีแง่ดีให้เรียนรู้ ไม่ใช่แค่เรื่องแย่ 🎯 ทุกปัญหา → แก้ได้ด้วยสติ ไม่ใช่อารมณ์ --- ✅ 3️⃣ สร้าง "พื้นที่ปลอดภัย" สำหรับครอบครัว 🎯 อย่าเอาความเครียดจากงานมาลงที่บ้าน 🎯 กลับบ้าน → เปลี่ยนเป็นโหมด "ใจเย็น-ให้กำลังใจ" 🎯 ทำให้บ้านเป็น "แหล่งพลังบวก" ไม่ใช่ "สนามรบ" --- 🎯 สรุป: ใช้เหตุผลให้มากขึ้น = ชีวิตเจริญขึ้น! ✔ ใช้อารมณ์ทั้งที่บ้านและที่ทำงาน → ชีวิตมืดมน ✔ ใช้เหตุผลที่ทำงาน แต่ใช้อารมณ์ที่บ้าน → บ้านไม่มีความสุข ✔ ใช้อารมณ์ที่ทำงาน แต่ใช้เหตุผลที่บ้าน → งานมีปัญหา ✔ ใช้เหตุผลทั้งที่ทำงานและที่บ้าน → ชีวิตเจริญที่สุด! 🔥 "เลือกใช้เหตุผลให้มากขึ้น → ชีวิตจะดีขึ้นทุกด้าน" 🔥
    0 Comments 0 Shares 264 Views 0 Reviews
  • นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทียนจิน นอร์มอล และ UCLA ได้พบหลักฐานเกี่ยวกับ "สมอง TikTok" จากการสแกนสมองของคนหนุ่มสาว 112 คน อายุระหว่าง 17 ถึง 30 ปี พบว่าการติดคลิปวิดีโอสั้น ๆ ในโซเชียลมีเดียสามารถทำให้เกิดปัญหาด้านความจำ การเรียนรู้ และสมาธิ รวมถึงเพิ่มโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล

    การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าคนที่ติดคลิปวิดีโอสั้น ๆ บนแพลตฟอร์มเช่น TikTok และ Snapchat มีแนวโน้มที่จะ "บริโภคเนื้อหาส่วนตัวเกินควรจนกระทบกับกิจกรรมอื่น ๆ" การเสพติดนี้ทำให้โครงสร้างสมองของผู้ติดมีลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไป ซึ่งเรียกว่า "short video addiction" หรือ การเสพติดคลิปวิดีโอสั้น

    นักวิจัยกล่าวว่า ปัญหานี้กลายเป็นปัญหาพฤติกรรมและสังคมที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลที่มีเนื้อหาที่น่าสนใจและสั้น ๆ อย่างแพร่หลาย

    เรื่องนี้น่าสนใจเพราะเป็นการเตือนให้เราเห็นถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้งานโซเชียลมีเดียอย่างไม่เหมาะสม และทำให้เราตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เวลาในโลกดิจิทัลอย่างมีสติและสมดุลกับกิจกรรมอื่น ๆ ในชีวิตประจำวัน

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/02/039sorry-what-was-that039-researchers-find-proof-of-039tiktok-brain039
    นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทียนจิน นอร์มอล และ UCLA ได้พบหลักฐานเกี่ยวกับ "สมอง TikTok" จากการสแกนสมองของคนหนุ่มสาว 112 คน อายุระหว่าง 17 ถึง 30 ปี พบว่าการติดคลิปวิดีโอสั้น ๆ ในโซเชียลมีเดียสามารถทำให้เกิดปัญหาด้านความจำ การเรียนรู้ และสมาธิ รวมถึงเพิ่มโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าคนที่ติดคลิปวิดีโอสั้น ๆ บนแพลตฟอร์มเช่น TikTok และ Snapchat มีแนวโน้มที่จะ "บริโภคเนื้อหาส่วนตัวเกินควรจนกระทบกับกิจกรรมอื่น ๆ" การเสพติดนี้ทำให้โครงสร้างสมองของผู้ติดมีลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไป ซึ่งเรียกว่า "short video addiction" หรือ การเสพติดคลิปวิดีโอสั้น นักวิจัยกล่าวว่า ปัญหานี้กลายเป็นปัญหาพฤติกรรมและสังคมที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลที่มีเนื้อหาที่น่าสนใจและสั้น ๆ อย่างแพร่หลาย เรื่องนี้น่าสนใจเพราะเป็นการเตือนให้เราเห็นถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้งานโซเชียลมีเดียอย่างไม่เหมาะสม และทำให้เราตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เวลาในโลกดิจิทัลอย่างมีสติและสมดุลกับกิจกรรมอื่น ๆ ในชีวิตประจำวัน https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/02/039sorry-what-was-that039-researchers-find-proof-of-039tiktok-brain039
    WWW.THESTAR.COM.MY
    'Sorry, what was that?' Researchers find proof of 'TikTok brain'
    Anyone who has been accused of having 'TikTok brain' and taken offence should stop reading now, if they haven't already done so.
    0 Comments 0 Shares 195 Views 0 Reviews
  • ลุงทำใจไว้แล้วว่าของจะต้องแพงขึ้นมากแน่ๆ ใช้เงินอย่างมีสติกันนะครับ

    การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของ HP ที่จะย้ายการผลิตในภูมิภาคอเมริกาเหนือออกจากจีนถึง 90% ภายในปี 2025 การตัดสินใจครั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากความตึงเครียดทางการค้าที่มีอยู่ระหว่างสหรัฐฯ และจีน และการตั้งกำหนดการเพิ่มภาษีศุลกากร 10% กับสินค้านำเข้าจากจีน HP ต้องการเสริมความยืดหยุ่นในห่วงโซ่อุปทานและปรับตัวตามสภาวะตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป

    HP กำลังสำรองสินค้าคงคลังเพื่อเป็นเกราะป้องกันความไม่แน่นอนจากการเพิ่มภาษี ซึ่งล่าสุดมีมูลค่าถึง 8.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การจัดการนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การลดผลกระทบจากภาษีศุลกากร โดย HP ได้สำรองสินค้าคงคลังเป็นเวลา 72 วันแล้ว และมีแผนที่จะเลิกจ้างพนักงานถึง 2,000 คนเพื่อปรับสมดุลของค่าใช้จ่ายจากความไม่แน่นอนทางภาษีศุลกากร

    เรื่องที่น่าสนใจคือ ตลาดพีซีอาจเติบโตอย่างรวดเร็วในปีหน้า เนื่องจากการเลิกสนับสนุน Windows 10 ทำให้ผู้ใช้หลายล้านคนต้องการเปลี่ยนพีซีใหม่ นอกจากนี้ ผู้ผลิตยังคงนำเสนอพีซีที่รองรับ AI และโปรเซสเซอร์ที่ทันสมัย ซึ่งจะกระตุ้นความต้องการ

    การเปลี่ยนแปลงนี้สะท้อนถึงความพยายามของ HP ในการปรับตัวต่อความท้าทายของตลาดและการค้าที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ

    https://www.techspot.com/news/106979-hp-move-90-percent-north-american-production-out.html
    ลุงทำใจไว้แล้วว่าของจะต้องแพงขึ้นมากแน่ๆ ใช้เงินอย่างมีสติกันนะครับ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของ HP ที่จะย้ายการผลิตในภูมิภาคอเมริกาเหนือออกจากจีนถึง 90% ภายในปี 2025 การตัดสินใจครั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากความตึงเครียดทางการค้าที่มีอยู่ระหว่างสหรัฐฯ และจีน และการตั้งกำหนดการเพิ่มภาษีศุลกากร 10% กับสินค้านำเข้าจากจีน HP ต้องการเสริมความยืดหยุ่นในห่วงโซ่อุปทานและปรับตัวตามสภาวะตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป HP กำลังสำรองสินค้าคงคลังเพื่อเป็นเกราะป้องกันความไม่แน่นอนจากการเพิ่มภาษี ซึ่งล่าสุดมีมูลค่าถึง 8.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การจัดการนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การลดผลกระทบจากภาษีศุลกากร โดย HP ได้สำรองสินค้าคงคลังเป็นเวลา 72 วันแล้ว และมีแผนที่จะเลิกจ้างพนักงานถึง 2,000 คนเพื่อปรับสมดุลของค่าใช้จ่ายจากความไม่แน่นอนทางภาษีศุลกากร เรื่องที่น่าสนใจคือ ตลาดพีซีอาจเติบโตอย่างรวดเร็วในปีหน้า เนื่องจากการเลิกสนับสนุน Windows 10 ทำให้ผู้ใช้หลายล้านคนต้องการเปลี่ยนพีซีใหม่ นอกจากนี้ ผู้ผลิตยังคงนำเสนอพีซีที่รองรับ AI และโปรเซสเซอร์ที่ทันสมัย ซึ่งจะกระตุ้นความต้องการ การเปลี่ยนแปลงนี้สะท้อนถึงความพยายามของ HP ในการปรับตัวต่อความท้าทายของตลาดและการค้าที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ https://www.techspot.com/news/106979-hp-move-90-percent-north-american-production-out.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    HP to move 90% of North American production out of China by 2025
    As the US implements new tariffs, consumers could see higher prices for new computers. However, companies like HP are taking proactive steps to minimize disruptions and keep...
    0 Comments 0 Shares 182 Views 0 Reviews
  • "นิยามของศัตรู & ศิลปะการรับมือ"

    ศัตรู ไม่ใช่แค่คนที่เลวร้ายโดยสันดาน
    แต่คือ "คนที่ใจเราเลือกจะเห็นแต่แง่ร้ายของเขา"


    ---

    📌 "ศัตรู" เกิดจากมุมมองของใจเราเอง

    ✔ คนเดียวกัน แต่บางคนเกลียด บางคนรัก
    ✔ คนเดียวกัน แต่บางคนเห็นดี บางคนเห็นร้าย
    ✔ คนเดียวกัน แต่เรามองไม่เหมือนเมื่อวาน

    🎯 "ศัตรู" ไม่ได้เกิดจากตัวเขา
    🎯 "ศัตรู" เกิดจากใจเราที่สร้างเขาขึ้นมา!


    ---

    📌 วิธีทำให้ "ศัตรู" หายไปจากใจเรา

    1️⃣ มี "สติ" แทน "โทสะ" ขณะเผชิญหน้า

    ✅ ถ้าเรา "รู้ตัว" ว่ากำลังโกรธ → โกรธจะอ่อนกำลัง
    ✅ ถ้าเรา "รู้ตัว" ว่ากำลังมองแง่ร้าย → ใจจะเริ่มปรับสมดุล

    🎯 "สติ" คือการดึงตัวเองออกจากอคติที่สร้างศัตรู
    🎯 "สติ" ทำให้ใจสงบ → คลื่นจิตสงบ → ความเป็นศัตรูลดลง


    ---

    2️⃣ ฝึกพูด "ด้วยความนิ่ง" แทนอารมณ์

    ✅ "น้ำเสียง" เป็นพลังงานชนิดหนึ่ง
    ✅ "จิตที่มีอารมณ์" = น้ำเสียงกระแทก = คนฟังรู้สึกเป็นปฏิปักษ์
    ✅ "จิตที่มีสติ" = น้ำเสียงราบเรียบ = คนฟังรู้สึกสงบ

    🎯 "พูดด้วยใจที่สงบ → ทำให้ใจเขาสงบตาม"
    🎯 "พูดโดยไร้ความเป็นศัตรู → ทำให้เขาไม่อยากเป็นศัตรูด้วย"


    ---

    3️⃣ หัด "มองเห็นแง่ดี" ของคนที่เราไม่ชอบ

    ✅ ทุกคนมีข้อดี → ขึ้นอยู่กับว่าเราเลือกจะมองเห็นไหม
    ✅ ถ้ามองเขาแง่ดีบ้าง → ใจเราจะเริ่มคลายจากความเป็นศัตรู

    🎯 "ศัตรู = มายาคติของใจ"
    🎯 "พอใจมองเปลี่ยน → ศัตรูก็เปลี่ยนเป็นคนธรรมดาได้"


    ---

    🔥 สรุป: ถ้าใจเราไม่เป็นศัตรู → ศัตรูจะค่อยๆ หายไปเอง 🔥

    ✔ "ศัตรูไม่ได้อยู่ที่เขา → ศัตรูอยู่ในใจเรา"
    ✔ "สติ & การควบคุมอารมณ์ → คือกุญแจเปลี่ยนศัตรูให้กลายเป็นมิตร"
    ✔ "ฝึกพูดด้วยความนิ่ง → จะลดแรงต้านจากอีกฝ่ายโดยอัตโนมัติ"

    🎯 "สุดท้ายแล้ว… คนอื่นเปลี่ยนไม่ได้"
    🎯 "แต่ใจเราเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อเขาได้เสมอ!"

    "นิยามของศัตรู & ศิลปะการรับมือ" ศัตรู ไม่ใช่แค่คนที่เลวร้ายโดยสันดาน แต่คือ "คนที่ใจเราเลือกจะเห็นแต่แง่ร้ายของเขา" --- 📌 "ศัตรู" เกิดจากมุมมองของใจเราเอง ✔ คนเดียวกัน แต่บางคนเกลียด บางคนรัก ✔ คนเดียวกัน แต่บางคนเห็นดี บางคนเห็นร้าย ✔ คนเดียวกัน แต่เรามองไม่เหมือนเมื่อวาน 🎯 "ศัตรู" ไม่ได้เกิดจากตัวเขา 🎯 "ศัตรู" เกิดจากใจเราที่สร้างเขาขึ้นมา! --- 📌 วิธีทำให้ "ศัตรู" หายไปจากใจเรา 1️⃣ มี "สติ" แทน "โทสะ" ขณะเผชิญหน้า ✅ ถ้าเรา "รู้ตัว" ว่ากำลังโกรธ → โกรธจะอ่อนกำลัง ✅ ถ้าเรา "รู้ตัว" ว่ากำลังมองแง่ร้าย → ใจจะเริ่มปรับสมดุล 🎯 "สติ" คือการดึงตัวเองออกจากอคติที่สร้างศัตรู 🎯 "สติ" ทำให้ใจสงบ → คลื่นจิตสงบ → ความเป็นศัตรูลดลง --- 2️⃣ ฝึกพูด "ด้วยความนิ่ง" แทนอารมณ์ ✅ "น้ำเสียง" เป็นพลังงานชนิดหนึ่ง ✅ "จิตที่มีอารมณ์" = น้ำเสียงกระแทก = คนฟังรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ ✅ "จิตที่มีสติ" = น้ำเสียงราบเรียบ = คนฟังรู้สึกสงบ 🎯 "พูดด้วยใจที่สงบ → ทำให้ใจเขาสงบตาม" 🎯 "พูดโดยไร้ความเป็นศัตรู → ทำให้เขาไม่อยากเป็นศัตรูด้วย" --- 3️⃣ หัด "มองเห็นแง่ดี" ของคนที่เราไม่ชอบ ✅ ทุกคนมีข้อดี → ขึ้นอยู่กับว่าเราเลือกจะมองเห็นไหม ✅ ถ้ามองเขาแง่ดีบ้าง → ใจเราจะเริ่มคลายจากความเป็นศัตรู 🎯 "ศัตรู = มายาคติของใจ" 🎯 "พอใจมองเปลี่ยน → ศัตรูก็เปลี่ยนเป็นคนธรรมดาได้" --- 🔥 สรุป: ถ้าใจเราไม่เป็นศัตรู → ศัตรูจะค่อยๆ หายไปเอง 🔥 ✔ "ศัตรูไม่ได้อยู่ที่เขา → ศัตรูอยู่ในใจเรา" ✔ "สติ & การควบคุมอารมณ์ → คือกุญแจเปลี่ยนศัตรูให้กลายเป็นมิตร" ✔ "ฝึกพูดด้วยความนิ่ง → จะลดแรงต้านจากอีกฝ่ายโดยอัตโนมัติ" 🎯 "สุดท้ายแล้ว… คนอื่นเปลี่ยนไม่ได้" 🎯 "แต่ใจเราเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อเขาได้เสมอ!"
    0 Comments 0 Shares 282 Views 0 Reviews
  • 🍼 "ธรรมะของคุณพ่อลูกอ่อน" – ปฏิบัติได้ 24 ชั่วโมง 🍼

    การเป็นพ่อแม่ลูกอ่อนคือ การฝึกธรรมะรูปแบบหนึ่ง
    ✔ ไม่มีเวลาเข้าวัด? ไม่เป็นไร
    ✔ ไม่มีเวลาเดินจงกรม? ไม่เป็นไร
    ✔ ไม่มีเวลาเข้าฌานลึก? ไม่เป็นไร
    เพราะ ชีวิตจริงของคุณ คือห้องฝึกธรรมที่แท้จริง!


    ---

    📌 เปลี่ยนมุมมอง → การเลี้ยงลูกเป็น "การปฏิบัติธรรม"

    ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีเวลา" → เปลี่ยนเป็น "ได้เวลาปฏิบัติตลอด 24 ชั่วโมง"
    ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีสมาธิ" → เปลี่ยนเป็น "สมาธิแบบคุณพ่อ"
    ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีโอกาสภาวนา" → เปลี่ยนเป็น "หยอดกระปุกสติไปเรื่อยๆ"

    💡 หัวใจคือ สติ!
    ✔ เราไม่ได้ปฏิบัติธรรมเพื่อแค่ "มีสมาธิ"
    ✔ แต่ปฏิบัติเพื่อให้ "มีสติรู้กาย รู้ใจ"

    🎯 "ลูก = กระจกสะท้อนจิตเราเอง"

    เวลาลูกร้อง = ใจเราร้องตามไปด้วยไหม?

    เวลาลูกงอแง = เราอดทนหรือรำคาญ?

    เวลาลูกทำผิด = เราสอนด้วยเมตตาหรืออารมณ์?


    👶 ลูกไม่ได้มาทำให้เราลำบาก
    👶 ลูกมาทดสอบว่าเรามีธรรมะพอหรือยัง!


    ---

    🌱 วิธีปฏิบัติธรรมแบบ "หยอดกระปุกสติ"

    1️⃣ เปลี่ยน "การรำคาญ" → เป็น "การรู้ตัว"

    ✅ เวลาลูกร้องดังๆ → ดูว่า "ใจเราเป็นยังไง?"
    ✅ ถ้าหงุดหงิด = รู้ตัวว่าหงุดหงิด
    ✅ ถ้าหัวเสีย = รู้ตัวว่าหัวเสีย

    🎯 "รู้ทันความรู้สึก" ก็คือ สติ แล้ว!
    🎯 ยิ่งรู้ทัน = ใจยิ่งสงบเร็ว


    ---

    2️⃣ เปลี่ยน "การถูกบังคับ" → เป็น "การยอมรับ"

    ✅ เปลี่ยนจาก "ต้องทำ" → เป็น "ได้ทำ"
    ✅ เปลี่ยนจาก "จำใจเลี้ยงลูก" → เป็น "ขอบคุณที่มีโอกาสดูแลลูก"

    💡 ใจที่ "ยอมรับ" → คือ ใจที่ไม่ทุกข์!


    ---

    3️⃣ เปลี่ยน "อารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ" → เป็น "สมาธิระหว่างวัน"

    ✅ ใช้ลมหายใจช่วย → ลูกร้อง = หายใจเข้า - หายใจออกให้ยาวขึ้น
    ✅ ทำแบบนี้ทุกครั้ง → จะค่อยๆ สร้างสมาธิในชีวิตประจำวันได้เอง

    💡 "สมาธิ" ไม่ต้องนั่งหลับตาเสมอไป
    💡 "สมาธิ" คือ การที่ใจเราสงบขึ้นระหว่างเลี้ยงลูก!


    ---

    4️⃣ เปลี่ยน "ความเหนื่อย" → เป็น "การฝึกขันติ"

    ✅ เลี้ยงลูกคือ "การฝึกความอดทนที่ดีที่สุด"
    ✅ คนที่อดทนได้กับลูก จะอดทนกับชีวิตได้ทุกเรื่อง

    💡 "ขันติ" คือ ของขวัญที่ลูกให้เรา
    💡 "ขันติ" คือ กำไรจากการเป็นพ่อแม่!


    ---

    5️⃣ เปลี่ยน "การเลี้ยงลูก" → เป็น "การเจริญเมตตา"

    ✅ ลูกคืองานที่ละเอียดอ่อน → ต้องใช้เมตตาเป็นพื้นฐาน
    ✅ หัดมองลูกด้วย "สายตาแห่งเมตตา" ทุกวัน
    ✅ ไม่ต้องรอให้ลูกโต → ใช้ทุกวินาทีเป็นโอกาสสร้างบุญ!

    💡 "เมตตา" ที่มีต่อลูก = บุญมหาศาล
    💡 ยิ่งเมตตา = ยิ่งทำให้จิตสงบได้เร็ว


    ---

    🔥 สรุป: คุณพ่อคุณแม่ก็ "ปฏิบัติธรรม" ได้ทุกวัน 🔥

    ✔ ทุกการดูแลลูก = ฝึกสติ
    ✔ ทุกการอดทน = ฝึกขันติ
    ✔ ทุกการทำด้วยใจดี = สร้างบุญ
    ✔ ทุกการหายใจรับรู้ = เจริญสมาธิ

    🎯 "ปฏิบัติธรรม ไม่ต้องหนีไปวัด"
    🎯 "แค่ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ก็เป็นทางพุทธแล้ว!"

    🔔 สุดท้าย... เมื่อลูกโตขึ้น → เขาจะซึมซับธรรมะจากเรา
    🔔 เราปฏิบัติ = ลูกได้เห็น = ลูกซึมซับสิ่งดีๆ ไปเอง

    🌱 "ธรรมะที่ดีที่สุด คือ ธรรมะที่ทำให้ชีวิตเราสงบขึ้น ทันทีที่มีสติ!" 🌱

    🍼 "ธรรมะของคุณพ่อลูกอ่อน" – ปฏิบัติได้ 24 ชั่วโมง 🍼 การเป็นพ่อแม่ลูกอ่อนคือ การฝึกธรรมะรูปแบบหนึ่ง ✔ ไม่มีเวลาเข้าวัด? ไม่เป็นไร ✔ ไม่มีเวลาเดินจงกรม? ไม่เป็นไร ✔ ไม่มีเวลาเข้าฌานลึก? ไม่เป็นไร เพราะ ชีวิตจริงของคุณ คือห้องฝึกธรรมที่แท้จริง! --- 📌 เปลี่ยนมุมมอง → การเลี้ยงลูกเป็น "การปฏิบัติธรรม" ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีเวลา" → เปลี่ยนเป็น "ได้เวลาปฏิบัติตลอด 24 ชั่วโมง" ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีสมาธิ" → เปลี่ยนเป็น "สมาธิแบบคุณพ่อ" ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีโอกาสภาวนา" → เปลี่ยนเป็น "หยอดกระปุกสติไปเรื่อยๆ" 💡 หัวใจคือ สติ! ✔ เราไม่ได้ปฏิบัติธรรมเพื่อแค่ "มีสมาธิ" ✔ แต่ปฏิบัติเพื่อให้ "มีสติรู้กาย รู้ใจ" 🎯 "ลูก = กระจกสะท้อนจิตเราเอง" เวลาลูกร้อง = ใจเราร้องตามไปด้วยไหม? เวลาลูกงอแง = เราอดทนหรือรำคาญ? เวลาลูกทำผิด = เราสอนด้วยเมตตาหรืออารมณ์? 👶 ลูกไม่ได้มาทำให้เราลำบาก 👶 ลูกมาทดสอบว่าเรามีธรรมะพอหรือยัง! --- 🌱 วิธีปฏิบัติธรรมแบบ "หยอดกระปุกสติ" 1️⃣ เปลี่ยน "การรำคาญ" → เป็น "การรู้ตัว" ✅ เวลาลูกร้องดังๆ → ดูว่า "ใจเราเป็นยังไง?" ✅ ถ้าหงุดหงิด = รู้ตัวว่าหงุดหงิด ✅ ถ้าหัวเสีย = รู้ตัวว่าหัวเสีย 🎯 "รู้ทันความรู้สึก" ก็คือ สติ แล้ว! 🎯 ยิ่งรู้ทัน = ใจยิ่งสงบเร็ว --- 2️⃣ เปลี่ยน "การถูกบังคับ" → เป็น "การยอมรับ" ✅ เปลี่ยนจาก "ต้องทำ" → เป็น "ได้ทำ" ✅ เปลี่ยนจาก "จำใจเลี้ยงลูก" → เป็น "ขอบคุณที่มีโอกาสดูแลลูก" 💡 ใจที่ "ยอมรับ" → คือ ใจที่ไม่ทุกข์! --- 3️⃣ เปลี่ยน "อารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ" → เป็น "สมาธิระหว่างวัน" ✅ ใช้ลมหายใจช่วย → ลูกร้อง = หายใจเข้า - หายใจออกให้ยาวขึ้น ✅ ทำแบบนี้ทุกครั้ง → จะค่อยๆ สร้างสมาธิในชีวิตประจำวันได้เอง 💡 "สมาธิ" ไม่ต้องนั่งหลับตาเสมอไป 💡 "สมาธิ" คือ การที่ใจเราสงบขึ้นระหว่างเลี้ยงลูก! --- 4️⃣ เปลี่ยน "ความเหนื่อย" → เป็น "การฝึกขันติ" ✅ เลี้ยงลูกคือ "การฝึกความอดทนที่ดีที่สุด" ✅ คนที่อดทนได้กับลูก จะอดทนกับชีวิตได้ทุกเรื่อง 💡 "ขันติ" คือ ของขวัญที่ลูกให้เรา 💡 "ขันติ" คือ กำไรจากการเป็นพ่อแม่! --- 5️⃣ เปลี่ยน "การเลี้ยงลูก" → เป็น "การเจริญเมตตา" ✅ ลูกคืองานที่ละเอียดอ่อน → ต้องใช้เมตตาเป็นพื้นฐาน ✅ หัดมองลูกด้วย "สายตาแห่งเมตตา" ทุกวัน ✅ ไม่ต้องรอให้ลูกโต → ใช้ทุกวินาทีเป็นโอกาสสร้างบุญ! 💡 "เมตตา" ที่มีต่อลูก = บุญมหาศาล 💡 ยิ่งเมตตา = ยิ่งทำให้จิตสงบได้เร็ว --- 🔥 สรุป: คุณพ่อคุณแม่ก็ "ปฏิบัติธรรม" ได้ทุกวัน 🔥 ✔ ทุกการดูแลลูก = ฝึกสติ ✔ ทุกการอดทน = ฝึกขันติ ✔ ทุกการทำด้วยใจดี = สร้างบุญ ✔ ทุกการหายใจรับรู้ = เจริญสมาธิ 🎯 "ปฏิบัติธรรม ไม่ต้องหนีไปวัด" 🎯 "แค่ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ก็เป็นทางพุทธแล้ว!" 🔔 สุดท้าย... เมื่อลูกโตขึ้น → เขาจะซึมซับธรรมะจากเรา 🔔 เราปฏิบัติ = ลูกได้เห็น = ลูกซึมซับสิ่งดีๆ ไปเอง 🌱 "ธรรมะที่ดีที่สุด คือ ธรรมะที่ทำให้ชีวิตเราสงบขึ้น ทันทีที่มีสติ!" 🌱
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 361 Views 0 Reviews
  • Today is Buddhist Holy Day.
    "Spend time here and now"
    จงมีสติตื่นรู้อยู่กับปัจจุบันขณะ ที่นี่ เดี๋ยวนี้
    #AiImage #IamAmatureAiCreator #ตามหากลุ่มAiCreator
    Today is Buddhist Holy Day. "Spend time here and now" จงมีสติตื่นรู้อยู่กับปัจจุบันขณะ ที่นี่ เดี๋ยวนี้ #AiImage #IamAmatureAiCreator #ตามหากลุ่มAiCreator
    0 Comments 0 Shares 147 Views 0 Reviews
  • เราเคยเจอติ่งการเมืองบางกลุ่มดาร์ก
    ทักมาด่าด้อยค่า และโทรมาขู่ด้วยนะ
    แต่เราก็มองขำๆ ด้วยเวทนาเมตตา
    ที่เขามองอย่างตื้นเขิน เพียงเพราะ
    ไม่ถูกใจตนไม่สนใจถูกต้องกติกา
    สังคมใดๆ เหตุแบบนี้มีมาแต่ตอน
    จัดรายการนานมาแล้ว บอกจะเอา
    ระเบิดมาวางสถานี ดักหน้าซอยบ้าง
    หรือ จะบุกมาหาที่บ้านบ้าง ปัจจุบัน
    ก็มีลักษณะนี้อยู่นะ ซึ่งไม่มีมาหานะ
    แต่ก็ไม่ท้าทายนะ เพียงแต่ งงตรรกะ
    ต้องบอกว่า คนดีๆมีสติปัญญาเขา
    ไม่ทำแบบนี้กันดอกครับ

    ประชาธิปไตยอะไรกัน เราเห็นต่าง
    มองอีกมุม กลับจะท้าตีท้ายต่อยข่มขู่
    หาว่าเราโง่อีกนะ มันดูสิ้นคิดมากๆฮะ
    และเราเองก็มีสิทธิตามรัฐธรรมนูญฮะครับ

    คนไทยเหมือนกันเห็นต่างอย่างสร้างสรรค์
    อย่าหลงในภาพนักการเมืองจนเอาอารมณ์
    ตนเป็นใหญ่เหนือความถูกต้องจนไร้สติฮะ
    แล้วสังคมจะดีงามเอย

    คนเราเป็นคนเหมือนกันแต่ความเป็นคนมีไม่เท่ากัน
    สังคมดี บ้านเมืองดี ด้วยเรามีจิตสำนึกความเป็นคนดี
    มุมิมุมิ.. จุฟๆ
    เราเคยเจอติ่งการเมืองบางกลุ่มดาร์ก ทักมาด่าด้อยค่า และโทรมาขู่ด้วยนะ แต่เราก็มองขำๆ ด้วยเวทนาเมตตา ที่เขามองอย่างตื้นเขิน เพียงเพราะ ไม่ถูกใจตนไม่สนใจถูกต้องกติกา สังคมใดๆ เหตุแบบนี้มีมาแต่ตอน จัดรายการนานมาแล้ว บอกจะเอา ระเบิดมาวางสถานี ดักหน้าซอยบ้าง หรือ จะบุกมาหาที่บ้านบ้าง ปัจจุบัน ก็มีลักษณะนี้อยู่นะ ซึ่งไม่มีมาหานะ แต่ก็ไม่ท้าทายนะ เพียงแต่ งงตรรกะ ต้องบอกว่า คนดีๆมีสติปัญญาเขา ไม่ทำแบบนี้กันดอกครับ ประชาธิปไตยอะไรกัน เราเห็นต่าง มองอีกมุม กลับจะท้าตีท้ายต่อยข่มขู่ หาว่าเราโง่อีกนะ มันดูสิ้นคิดมากๆฮะ และเราเองก็มีสิทธิตามรัฐธรรมนูญฮะครับ คนไทยเหมือนกันเห็นต่างอย่างสร้างสรรค์ อย่าหลงในภาพนักการเมืองจนเอาอารมณ์ ตนเป็นใหญ่เหนือความถูกต้องจนไร้สติฮะ แล้วสังคมจะดีงามเอย คนเราเป็นคนเหมือนกันแต่ความเป็นคนมีไม่เท่ากัน สังคมดี บ้านเมืองดี ด้วยเรามีจิตสำนึกความเป็นคนดี มุมิมุมิ.. จุฟๆ
    Yay
    1
    0 Comments 0 Shares 232 Views 0 Reviews
More Results