• Rio Reset BRICS Summit ที่บราซิล ชี้ชะตาระบบการเงินโลก : คนเคาะข่าว 20-05-68
    : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์
    #คนเคาะข่าว #RioReset #BRICSSummit #ระบบการเงินโลก #BRICS #บราซิล #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #เศรษฐกิจโลก #Geopolitics #ข่าวต่างประเทศ #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #การเงินระหว่างประเทศ #thaitimes #โลกหลายขั้ว #นโยบายการเงินโลก
    Rio Reset BRICS Summit ที่บราซิล ชี้ชะตาระบบการเงินโลก : คนเคาะข่าว 20-05-68 : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #RioReset #BRICSSummit #ระบบการเงินโลก #BRICS #บราซิล #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #เศรษฐกิจโลก #Geopolitics #ข่าวต่างประเทศ #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #การเงินระหว่างประเทศ #thaitimes #โลกหลายขั้ว #นโยบายการเงินโลก
    Like
    2
    0 Comments 1 Shares 205 Views 9 0 Reviews
  • การคอร์รัปชันระดับโลก (Global Corruption) เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาที่มักมีระบบตรวจสอบและกลไกต่อต้านคอร์รัปชันที่อ่อนแอ

    ### **รูปแบบของการคอร์รัปชันระดับโลก**
    1. **การทุจริตข้ามชาติ (Transnational Corruption)**
    - การติดสินบนระหว่างประเทศ (เช่น บริษัทข้ามชาติให้สินบนเจ้าหน้าที่รัฐเพื่อชนะโครงการใหญ่)
    - การฟอกเงินผ่านระบบการเงินระหว่างประเทศ

    2. **การหลีกเลี่ยงภาษี (Tax Evasion)**
    - การใช้บัญชีธนาคารลับในต่างประเทศ (เช่น เอกสารลับ Panama Papers, Paradise Papers)
    - การโอนผลกำไรไปยังประเทศที่มีภาษีต่ำ (Tax Havens)

    3. **การคอร์รัปชันในองค์กรระหว่างประเทศ**
    - การทุจริตในโครงการช่วยเหลือของสหประชาชาติ (UN) หรือกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
    - การใช้อำนาจในองค์กรโลกบาลเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว

    4. **การคอร์รัปชันในห่วงโซ่อุปทานโลก**
    - การใช้แรงงานบังคับหรือการจ่ายเงินใต้โต๊ะในอุตสาหกรรมเหมืองแร่และพลังงาน

    ### **กรณีศึกษาที่โดดเด่น**
    - **Panama Papers (2016)** – เอกสารรั่วไหลเผยให้เห็นว่าผู้นำโลกและคนรวยใช้บริษัทหลอกเพื่อซ่อนทรัพย์สิน
    - **Operation Car Wash (巴西洗车行动)** – คดีทุจริตใหญ่ในบราซิลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทน้ำมัน Petrobras และนักการเมืองหลายประเทศ
    - **1MDB Scandal (มาเลเซีย)** – อดีตนายกฯ นาจิบ ราซัก ถูกกล่าวหาลักลอบใช้เงินกองทุนรัฐ

    ### **ผลกระทบ**
    - **เศรษฐกิจ** : สร้างความเสียหายมหาศาล ทำลายความเชื่อมั่นนักลงทุน
    - **สังคม** : เพิ่มความเหลื่อมล้ำ ทำลายระบบสวัสดิการ
    - **การเมือง** : บ่อนทำลายประชาธิปไตย สร้างระบอบอำนาจนิยม

    ### **ความพยายามต่อต้านคอร์รัปชันระดับโลก**
    - **UN Convention Against Corruption (UNCAC)** – ข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อปราบปรามคอร์รัปชัน
    - **OECD Anti-Bribery Convention** – ควบคุมการติดสินบนข้ามชาติของบริษัท
    - **Transparency International** – องค์กรนอกภาครัฐที่จัดดัชนีชี้วัดความโปร่งใส (CPI)

    ### **ความท้าทาย**
    - การบังคับใช้กฎหมายในบางประเทศยังอ่อนแอ
    - การใช้เทคโนโลยี (Cryptocurrency, Shell Companies) ทำให้การตรวจจับยากขึ้น

    การแก้ปัญหาคอร์รัปชันระดับโลกต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศ การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง และการสร้างวัฒนธรรมความโปร่งใสในภาครัฐและเอกชน
    การคอร์รัปชันระดับโลก (Global Corruption) เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาที่มักมีระบบตรวจสอบและกลไกต่อต้านคอร์รัปชันที่อ่อนแอ ### **รูปแบบของการคอร์รัปชันระดับโลก** 1. **การทุจริตข้ามชาติ (Transnational Corruption)** - การติดสินบนระหว่างประเทศ (เช่น บริษัทข้ามชาติให้สินบนเจ้าหน้าที่รัฐเพื่อชนะโครงการใหญ่) - การฟอกเงินผ่านระบบการเงินระหว่างประเทศ 2. **การหลีกเลี่ยงภาษี (Tax Evasion)** - การใช้บัญชีธนาคารลับในต่างประเทศ (เช่น เอกสารลับ Panama Papers, Paradise Papers) - การโอนผลกำไรไปยังประเทศที่มีภาษีต่ำ (Tax Havens) 3. **การคอร์รัปชันในองค์กรระหว่างประเทศ** - การทุจริตในโครงการช่วยเหลือของสหประชาชาติ (UN) หรือกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) - การใช้อำนาจในองค์กรโลกบาลเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว 4. **การคอร์รัปชันในห่วงโซ่อุปทานโลก** - การใช้แรงงานบังคับหรือการจ่ายเงินใต้โต๊ะในอุตสาหกรรมเหมืองแร่และพลังงาน ### **กรณีศึกษาที่โดดเด่น** - **Panama Papers (2016)** – เอกสารรั่วไหลเผยให้เห็นว่าผู้นำโลกและคนรวยใช้บริษัทหลอกเพื่อซ่อนทรัพย์สิน - **Operation Car Wash (巴西洗车行动)** – คดีทุจริตใหญ่ในบราซิลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทน้ำมัน Petrobras และนักการเมืองหลายประเทศ - **1MDB Scandal (มาเลเซีย)** – อดีตนายกฯ นาจิบ ราซัก ถูกกล่าวหาลักลอบใช้เงินกองทุนรัฐ ### **ผลกระทบ** - **เศรษฐกิจ** : สร้างความเสียหายมหาศาล ทำลายความเชื่อมั่นนักลงทุน - **สังคม** : เพิ่มความเหลื่อมล้ำ ทำลายระบบสวัสดิการ - **การเมือง** : บ่อนทำลายประชาธิปไตย สร้างระบอบอำนาจนิยม ### **ความพยายามต่อต้านคอร์รัปชันระดับโลก** - **UN Convention Against Corruption (UNCAC)** – ข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อปราบปรามคอร์รัปชัน - **OECD Anti-Bribery Convention** – ควบคุมการติดสินบนข้ามชาติของบริษัท - **Transparency International** – องค์กรนอกภาครัฐที่จัดดัชนีชี้วัดความโปร่งใส (CPI) ### **ความท้าทาย** - การบังคับใช้กฎหมายในบางประเทศยังอ่อนแอ - การใช้เทคโนโลยี (Cryptocurrency, Shell Companies) ทำให้การตรวจจับยากขึ้น การแก้ปัญหาคอร์รัปชันระดับโลกต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศ การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง และการสร้างวัฒนธรรมความโปร่งใสในภาครัฐและเอกชน
    0 Comments 0 Shares 407 Views 0 Reviews
  • สั่ง 'พิชัย' ปั๊มเศรษฐกิจ มองโลกสวยงาม ในวิกฤตมีโอกาส
    .
    สถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศไทยในเวลานี้เรียกได้ว่าตามหลังเพื่อนบ้านพอสมควร ส่งผลให้ประเทศไทยถูกลดระดับความน่าเชื่อถือลงจากหลายสถาบันพอสมควร อีกทั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) ยังปรับลดคาดการณ์อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือเพียงประมาณ 2% เท่านั้น ทำให้คณะรัฐมนตรีไม่อาจอยู่เฉยได้อีกแล้ว
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000042537

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    สั่ง 'พิชัย' ปั๊มเศรษฐกิจ มองโลกสวยงาม ในวิกฤตมีโอกาส . สถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศไทยในเวลานี้เรียกได้ว่าตามหลังเพื่อนบ้านพอสมควร ส่งผลให้ประเทศไทยถูกลดระดับความน่าเชื่อถือลงจากหลายสถาบันพอสมควร อีกทั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) ยังปรับลดคาดการณ์อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือเพียงประมาณ 2% เท่านั้น ทำให้คณะรัฐมนตรีไม่อาจอยู่เฉยได้อีกแล้ว . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000042537 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    7
    1 Comments 0 Shares 1235 Views 0 Reviews
  • กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปีนี้เมื่อวันอังคาร (22 เม.ย.) พร้อมเตือนความเสี่ยงต่อเสถียรภาพทางการเงินที่เพิ่มสูงขึ้น สืบเนื่องจากผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกของมาตรการขึ้นภาษีศุลกากรที่ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ นำมาใช้

    การประเมินของ IMF ซึ่งนำมาตรการภาษีบางส่วนที่ถูกประกาศในปีนี้มาคิดคำนวณ ระบุว่าเศรษฐกิจโลกปีนี้จะขยายตัวเพียง 2.8% ลดลง 0.5% จากคาดการณ์ World Economic Outlook (WEO) เมื่อช่วงเดือน ม.ค. ที่ผ่านมา

    สำหรับคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกในปีหน้าอยู่ที่ 3.0% ซึ่งก็ลดลง 0.3% จากที่ประเมินไว้เมื่อเดือน ม.ค.

    “เรากำลังก้าวเข้าสู่ยุคใหม่ที่ระบบเศรษฐกิจโลกซึ่งดำเนินมาตลอด 80 ปีกำลังถูกรีเซ็ต” ปิแอร์-โอลิวิเยร์ กูรินชาส์ (Pierre-Olivier Gourinchas) นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสของ IMF ให้สัมภาษณ์สื่อที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อวานนี้ (22)

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/around/detail/9680000038009

    #MGROnline #กองทุนการเงินระหว่างประเทศ #เศรษฐกิจโลก
    กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปีนี้เมื่อวันอังคาร (22 เม.ย.) พร้อมเตือนความเสี่ยงต่อเสถียรภาพทางการเงินที่เพิ่มสูงขึ้น สืบเนื่องจากผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกของมาตรการขึ้นภาษีศุลกากรที่ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ นำมาใช้ • การประเมินของ IMF ซึ่งนำมาตรการภาษีบางส่วนที่ถูกประกาศในปีนี้มาคิดคำนวณ ระบุว่าเศรษฐกิจโลกปีนี้จะขยายตัวเพียง 2.8% ลดลง 0.5% จากคาดการณ์ World Economic Outlook (WEO) เมื่อช่วงเดือน ม.ค. ที่ผ่านมา • สำหรับคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกในปีหน้าอยู่ที่ 3.0% ซึ่งก็ลดลง 0.3% จากที่ประเมินไว้เมื่อเดือน ม.ค. • “เรากำลังก้าวเข้าสู่ยุคใหม่ที่ระบบเศรษฐกิจโลกซึ่งดำเนินมาตลอด 80 ปีกำลังถูกรีเซ็ต” ปิแอร์-โอลิวิเยร์ กูรินชาส์ (Pierre-Olivier Gourinchas) นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสของ IMF ให้สัมภาษณ์สื่อที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อวานนี้ (22) • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/around/detail/9680000038009 • #MGROnline #กองทุนการเงินระหว่างประเทศ #เศรษฐกิจโลก
    0 Comments 0 Shares 279 Views 0 Reviews
  • บทวิเคราะห์ของ สมหมาย ภาษี อดีตรัฐมนตรีคลัง “นโยบายปรับภาษี (Tariff) ของ Trump จะทำให้โลกใบนี้ไม่เหมือนเดิมอีกแล้วพัฒนาการของการค้าโลกในช่วงประมาณ 50 ปีที่ผ่านมา มีการตั้งองค์การด้านการค้าโลกขึ้น เริ่มด้วยการตั้ง GATTS แล้วต่อมาปรับเป็น WTO (World Trade Organization) เพื่อสร้างกฎเกณฑ์การค้าขายระหว่างประเทศและกำกับให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแนวทางการค้าเสรี ช่วงนี้จะมีประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา รัสเซีย ประเทศใหญ่ๆในยุโรป และประเทศญี่ปุ่นได้ปรับตัวให้ตนเองมั่งคั่งและสะสมความร่ำรวย เข้าไปควบคุมตลาดเงินและสกุลเงินตราสำคัญ รวมทั้งควบคุมตลาดการค้าหลักๆให้เป็นระเบียบและเอื้อต่อการขยายตัวของการค้าขายของแต่ละประเทศเพื่อประโยชน์ต่อตนเองมากขึ้นเรื่อยๆ .แต่แล้วในช่วงดังกล่าวนี้ประเทศจีนเสือหลับแห่งเอเชีย ที่ได้ผู้นำประเทศที่ขึ้นมาพลิกผันประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรมได้รวดเร็วและต่อเนื่อง ชื่อ เติ้ง เสี่ยวผิง เติ้งได้ทำการปฏิวัติและปฏิรูปประเทศในทุกด้านโดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมตั้งแต่แบบเก่าจนแบบที่ต้องใช้เทคนิคล้ำหน้า จนขณะนี้จีนภายใต้ผู้นำชื่อ สี จิ้น ผิง ที่เข้มแข็ง มือสะอาด มีฝีมือ มีคุณธรรม มีความตั้งใจจริง เข้ามาบริหารประเทศที่มีพลเมืองมากที่สุดให้ใหญ่โตจนทัดเทียมกับประเทศสหรัฐอเมริกาในทุกด้าน จนผู้นำของสหรัฐอย่าง Trump รู้สึกเสียหน้ามาก. ที่มาของการใช้มาตรการทำสงครามการค้าของ Trump ความแข็งแกร่งของจีนในขณะนี้ Trump ได้เฝ้าดูแลมาร่วม 8 ปี เมื่อเขาสามารถเข้ามาเป็นประธานาธิบดีของสหรัฐอีกครั้งก็ไม่รีรอที่จะลงมือนำนโยบายปรับภาษีสินค้านำเข้าและส่งออก (Tariff) ชนิดสุดโต่งและจำเพาะเจาะจงมาใช้กับประเทศจีนโดยทันที ขณะเดียวกันก็ได้ประกาศใช้กับประเทศคู่ค้าอื่นๆ ทั่วโลกด้วย แต่มาตรการจะเบากว่าที่ใช้กับจีน. สิ่งที่เห็นตามที่เป็นข่าวอยู่ทุกวันนี้ก็คือ การเกิดแรงกระแทกอย่างมากต่อวิถีการค้าระหว่างประเทศที่เป็นอยู่ทั่วโลก ไม่ต้องถามว่าทำไม Trump ต้องทำแบบนี้ เพราะเขาเองเห็นชัดว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาของเขากำลังตกต่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดดุลการค้าอย่างมากที่เกิดต่อเนื่องมานานและมีหนี้สาธารณะสูงมาก .Trump ยังได้เห็นชัดว่า ฝ่ายของจีนมีพวกพ้องมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดตั้งกลุ่ม BRICS ประกอบด้วย Brazil, Russia, India, China และ South Africa รวมหัวกันทำการค้าต่อกันอย่างใกล้ชิด คิดใช้สกุลเงินตราของตนเอง โดยหันหน้าหนีการใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ.เท่านั้นยังไม่พอ กลุ่ม BRICS ยังค่อยๆลดการลงทุนในพันธบัตรของสหรัฐที่แต่ละประเทศถือไว้มากมายลงไปโดยการขายออก และหันไปซื้อทองคำหรือกระจายการลงทุนเป็นอย่างอื่น ขณะเดียวกันนักลงทุนรายใหญ่อื่นๆ ในตลาดเงินก็ทำการทิ้งพันธบัตรสหรัฐตามกันไปด้วย มีผลทำให้พันธบัตรซึ่งเป็นสินทรัพย์ในอนาคตจำนวนมากของสหรัฐด้อยค่าลงมากอย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อน.สรุปได้ว่า Trump ได้มองเห็นอย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาตอนนี้ได้ต่ำต้อยลงอย่างรวดเร็วมาก ตัวเองจึงจำเป็นต้องทำตัวเป็นอัศวินขี่ม้าขาวเข้ามากู้ประเทศให้พลิกผันให้สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งอย่างเต็มตัวต่อไป ที่ Trump ตั้งใจจะทำก่อนและให้แรงมากคือเล่นงานด้วยการขึ้นภาษีนำเข้าของสินค้าจีนอย่างบ้าระห่ำ ซึ่งจีนก็ได้ตอบโต้ด้วยมาตรการทำนองเดียวกัน แบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน นี่เป็นแค่ยกแรกแค่นั้น.ประเทศน้อยใหญ่ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศทั้งหลายต่างก็มองการกระทำของ Trump ในแง่ลบ แม้แต่ประธาน Federal Reserve ของสหรัฐเองอย่าง Jerome Powell เองก็มีอาการกึ่งช็อคกึ่งหัวหมุนกับนโยบายประเภทบ้าบิ่นที่ประธานาธิบดีของเขาจัดมาเป็นชุดๆ Powell ถึงกับกล่าวว่านโยบายของ Trump ที่นำออกมาใช้นี้จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้เงินเฟ้อสูงขึ้น ภาวะเศรษฐกิจจะตกต่ำและการว่างงานจะมีมากขึ้น ตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหุ้นก็จะปั่นป่วนมาก ความตั้งใจที่ Fed จะลดดอกเบี้ยลงจึงทำได้ยากขึ้นซึ่งความเห็นของประธาน Fed ดังกล่าว Trump ไม่พอใจมากเพราะเขาอยากให้มีการลดดอกเบี้ยถึงกับเอ่ยออกมาว่าคงต้องคิดเรื่องการเด้งประธาน Fed ซะแล้ว ฟังคล้ายกำลังจะเอาอย่างประเทศไทย.แนวทางของไทยที่จะรับมือเพื่อบรรเทาผลกระทบต่อประเทศทุกประเทศที่โดนผลกระทบในเรื่องการขึ้น Tariff ของ Trump ต่างก็กำลังระดมความคิดและเตรียมตัวที่จะส่งผู้แทนไปเจรจา ยกเว้นจีนประเทศเดียวที่ขึ้นป้ายจะสู้กับสหรัฐอย่างแน่วแน่.สำหรับประเทศไทย ยังฟังไม่ได้ศัพท์จากฝ่ายรัฐบาลว่าจะมีกลยุทธ์ในการรับมือกับเรื่องนี้อย่างไร ชี้ให้เห็นชัดว่าศักยภาพของรัฐบาลไทยในการแก้ปัญหาใหญ่ต่ำมาก ฟังความได้อย่างเดียวจากท่านนายกรัฐมนตรีว่าจะใช้นโยบายและแนวทางเหมือนกับประเทศอาเซียนอื่นๆเท่านั้นตอนนี้ก็เห็นภาพชัดขึ้นอีกจากคณะผู้แทนที่เตรียมการจะไปเจรจา โดยจะไปบอกทางสหรัฐว่าไทยเราจะซื้อสินค้าจากเขามากขึ้น เช่น LNG ข้าวโพด ถั่วเหลือง เป็นต้น ถ้าจะเดาก็จะขอให้ทางสหรัฐบันยะบันยังกับการเพิ่มภาษีสินค้าที่นำเข้าจากไทยที่มีมูลค่าถึง 18 % ของมูลค่าการส่งออกของไทยทั้งหมด.ส่วนผลกระทบต่อไทย เท่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) พยายามจะบอกพอสังเขป สรุปได้ว่าการส่งออกของไทยจะโดนกระทบมากโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า และอาหารแปรรูป และจะทำให้การเติบโตของ GDP ในปีนี้ลดต่ำกว่าเป้าเหลือโตไม่ถึง 2.5 % และอัตราเงินเฟ้อของไทยก็จะชะลอลงด้วย นี่ยังไม่พูดถึงผลกระทบในปีหน้าและต่อๆไป ว่าจะรุนแรงสักแค่ไหน เชื่อได้เถอะครับมันแรงเกินคาด.ความเห็นผมนั้น เห็นว่าไทยเราจะโดนหนักกว่าที่รัฐบาลและหน่วยราชการไทยประเมินไว้มาก เกินศักยภาพของรัฐบาลไทยชุดนี้จะรับมือได้ วิกฤตที่จะเกิดขึ้นจากเรื่อง Tariff หนนี้ ไม่ใช่ Covid 19 นะครับ มันเป็นเรื่องประเทศใครประเทศมัน ใครมีผู้นำเก่งก็ทำให้เบาได้ สามารถเปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาสได้.แนวทางในการคิดแก้วิกฤตของประเทศขนาดเล็กผมอยากนำท่านผู้อ่านไปดูว่าผู้นำของสิงคโปร์อย่างอดีตนายกลี เซียนลุง ได้พูดเมื่อไม่กี่วันมานี้ซึ่งดีมาก เขาเริ่มบอกประชาชนรวมทั้งคณะรัฐมนตรีที่บริหารประเทศและนักธุรกิจ นักลงทุนของเขาว่าแม้จะมีความไม่แน่นอนในช่วง 90 วันที่ Trump จะให้ประเทศอื่นๆ นอกจากจีนไปคิดกันให้ดี แต่ก็ต้องมองให้ออกว่าทุกอย่างจะไม่กลับไปเหมือนก่อนหน้านี้อีกแล้ว ดังนั้น เราต้องกังวลและคิดให้ตกว่ามันจะส่งผลกับเรามากแค่ไหน ต้องตระหนักให้ได้ว่าวิกฤตที่จะเกิดทั่วโลกนี้ บางสิ่งบางอย่างที่สำคัญมันแตกต่างไปจากเดิมมาก .ลี เซียนลุง ชี้ให้เห็นชัดว่า การขึ้นภาษีหรือ Tariff ไปทั่วโลกครั้งนี้มันจะก่อกวนต่อการผลิตมากกว่าที่คิด เพราะ Supply Chain หรือ ห่วงโซ่การผลิตทุกอย่างจะหยุดชะงัก แผนการผลิตเดิมทุกอย่างจะหายไป และจะนำไปสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ (Recession) อย่างรวดเร็ว และขอให้คาดหวังไว้ได้เลยว่า ปัญหานี้จะอยู่กับเราไปอีกนาน.หลังจากลี เซียนลุง พูดเรื่องนี้ได้ไม่กี่วัน นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ที่มีเสียงสนับสนุนหนาแน่นอยู่ได้ประเทศยุบสภาไปเมื่อวันที่ 18 เมษายน นี้เอง เหตุผลเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเลือกผู้นำใหม่ขึ้นมา นี่คือสิงคโปร์ นี่คือสิ่งที่เขาเป็นชาติที่เจริญได้อย่างรวดเร็วและมั่นคงจนเราไม่สามารถแหงนหน้าขึ้นไปมองเขาได้แล้ว.ทางรอดของไทยจะเป็นอย่างไร ท้ายที่สุดนี้ เรามาดูว่าประเทศไทยเราจะมีทางรอดแค่ไหนก่อนเราต้องส่องกระจกดูตัวเอง และต้องฟังดูว่ามีใครมองเราอย่างไรบ้างให้ชัดก่อน เมื่อไม่กี่เดือนมานี้เองได้มีการชี้แนะจากสถาบันการเงินระหว่างประเทศแห่งหนึ่งว่า “ประเทศไทยนั้นมีเรื่องคอร์รัปชั่นเป็นตัวหลักที่ทำให้การบริหารประเทศในทุกด้านเดินหน้าไม่ได้” และเมื่อมีนาคม 2568 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ชี้ว่าเศรษฐกิจไทยน่าห่วงเทียบได้เป็น “คนป่วยแห่งเอเชีย”เป็นคนป่วยยังไงหรือ ทางด้านเศรษฐกิจก็เห็นกันชัดอยู่แล้วว่าไทยเรา กำลังเผชิญกับหนี้สาธารณะสูงมาก ภาษีเก็บได้น้อย ช่องทางในการหาเงินมาบริหารประเทศยังชักหน้าไม่ถึงหลัง อนาคตด้านการคลังริบหรี่ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเรื่องหนี้ครัวเรือนก็ไม่มีทางจะแก้ให้เบาบางลงได้ แม้ไม่มีเรื่องการปรับ Tariff ของ Trump ประเทศไทยเราก็มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจมากเกินอยู่แล้ว นี่คืออาการของคนป่วยเรื้อรังแห่งเอเชีย.ไม่ต้องสาธยายกันมาก อีกเรื่องทุกคนก็รู้ดีอยู่ว่า การเมืองของไทยยักแย่ยักยันอยู่ในปลักโคลนตมเดิมจนโงหัวไม่ขึ้นมานานแล้ว การเล่นการเมืองของนักการเมืองไทยเด็กๆก็รู้ว่าเพื่ออำนาจและผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้องเท่านั้น ใครจะเห็นต่างกี่คนก็บอกมา.เมื่อองคาพยพของการเมืองไทยซึ่งมีการแต่งตั้งคณะรัฐบาลมาบริหารประเทศจากรากเหง้าเก่าๆที่รู้กันอยู่ เมื่อเจอกับปัญหาใหญ่ระดับโลกชนิดที่ว่าหันไปทางไหนก็มากระทบเราทั้งนั้น ท่านผู้ที่ได้ใช้สิทธิใช้เสียงเลือกพวกเขาเข้ามาบริหารประเทศ เชื่อและมั่นใจหรือไม่ว่าเขาจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมากระทบประเทศเราได้ .หันไปดูนโยบายของพรรคการเมืองผู้กุมอำนาจบริหารประเทศอยู่ในขณะนี้ก็จะเห็นชัดเจนว่า ตอนนี้นโยบายของพวกเขาเหล่านั้น มันเน่าบูดกันแทบหมดแล้วครับ ถ้าจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมีแรงกระแทกก่อให้เกิดวิกฤตที่ใหญ่เกินคาด ด้วยการปรับ ครม. แต่ยังดันทุรังคงสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ไว้ น่าจะไม่เป็นการกระทำของผู้นำที่รักชาติจริง”
    บทวิเคราะห์ของ สมหมาย ภาษี อดีตรัฐมนตรีคลัง “นโยบายปรับภาษี (Tariff) ของ Trump จะทำให้โลกใบนี้ไม่เหมือนเดิมอีกแล้วพัฒนาการของการค้าโลกในช่วงประมาณ 50 ปีที่ผ่านมา มีการตั้งองค์การด้านการค้าโลกขึ้น เริ่มด้วยการตั้ง GATTS แล้วต่อมาปรับเป็น WTO (World Trade Organization) เพื่อสร้างกฎเกณฑ์การค้าขายระหว่างประเทศและกำกับให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแนวทางการค้าเสรี ช่วงนี้จะมีประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา รัสเซีย ประเทศใหญ่ๆในยุโรป และประเทศญี่ปุ่นได้ปรับตัวให้ตนเองมั่งคั่งและสะสมความร่ำรวย เข้าไปควบคุมตลาดเงินและสกุลเงินตราสำคัญ รวมทั้งควบคุมตลาดการค้าหลักๆให้เป็นระเบียบและเอื้อต่อการขยายตัวของการค้าขายของแต่ละประเทศเพื่อประโยชน์ต่อตนเองมากขึ้นเรื่อยๆ .แต่แล้วในช่วงดังกล่าวนี้ประเทศจีนเสือหลับแห่งเอเชีย ที่ได้ผู้นำประเทศที่ขึ้นมาพลิกผันประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรมได้รวดเร็วและต่อเนื่อง ชื่อ เติ้ง เสี่ยวผิง เติ้งได้ทำการปฏิวัติและปฏิรูปประเทศในทุกด้านโดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมตั้งแต่แบบเก่าจนแบบที่ต้องใช้เทคนิคล้ำหน้า จนขณะนี้จีนภายใต้ผู้นำชื่อ สี จิ้น ผิง ที่เข้มแข็ง มือสะอาด มีฝีมือ มีคุณธรรม มีความตั้งใจจริง เข้ามาบริหารประเทศที่มีพลเมืองมากที่สุดให้ใหญ่โตจนทัดเทียมกับประเทศสหรัฐอเมริกาในทุกด้าน จนผู้นำของสหรัฐอย่าง Trump รู้สึกเสียหน้ามาก. ที่มาของการใช้มาตรการทำสงครามการค้าของ Trump ความแข็งแกร่งของจีนในขณะนี้ Trump ได้เฝ้าดูแลมาร่วม 8 ปี เมื่อเขาสามารถเข้ามาเป็นประธานาธิบดีของสหรัฐอีกครั้งก็ไม่รีรอที่จะลงมือนำนโยบายปรับภาษีสินค้านำเข้าและส่งออก (Tariff) ชนิดสุดโต่งและจำเพาะเจาะจงมาใช้กับประเทศจีนโดยทันที ขณะเดียวกันก็ได้ประกาศใช้กับประเทศคู่ค้าอื่นๆ ทั่วโลกด้วย แต่มาตรการจะเบากว่าที่ใช้กับจีน. สิ่งที่เห็นตามที่เป็นข่าวอยู่ทุกวันนี้ก็คือ การเกิดแรงกระแทกอย่างมากต่อวิถีการค้าระหว่างประเทศที่เป็นอยู่ทั่วโลก ไม่ต้องถามว่าทำไม Trump ต้องทำแบบนี้ เพราะเขาเองเห็นชัดว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาของเขากำลังตกต่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดดุลการค้าอย่างมากที่เกิดต่อเนื่องมานานและมีหนี้สาธารณะสูงมาก .Trump ยังได้เห็นชัดว่า ฝ่ายของจีนมีพวกพ้องมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดตั้งกลุ่ม BRICS ประกอบด้วย Brazil, Russia, India, China และ South Africa รวมหัวกันทำการค้าต่อกันอย่างใกล้ชิด คิดใช้สกุลเงินตราของตนเอง โดยหันหน้าหนีการใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ.เท่านั้นยังไม่พอ กลุ่ม BRICS ยังค่อยๆลดการลงทุนในพันธบัตรของสหรัฐที่แต่ละประเทศถือไว้มากมายลงไปโดยการขายออก และหันไปซื้อทองคำหรือกระจายการลงทุนเป็นอย่างอื่น ขณะเดียวกันนักลงทุนรายใหญ่อื่นๆ ในตลาดเงินก็ทำการทิ้งพันธบัตรสหรัฐตามกันไปด้วย มีผลทำให้พันธบัตรซึ่งเป็นสินทรัพย์ในอนาคตจำนวนมากของสหรัฐด้อยค่าลงมากอย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อน.สรุปได้ว่า Trump ได้มองเห็นอย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาตอนนี้ได้ต่ำต้อยลงอย่างรวดเร็วมาก ตัวเองจึงจำเป็นต้องทำตัวเป็นอัศวินขี่ม้าขาวเข้ามากู้ประเทศให้พลิกผันให้สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งอย่างเต็มตัวต่อไป ที่ Trump ตั้งใจจะทำก่อนและให้แรงมากคือเล่นงานด้วยการขึ้นภาษีนำเข้าของสินค้าจีนอย่างบ้าระห่ำ ซึ่งจีนก็ได้ตอบโต้ด้วยมาตรการทำนองเดียวกัน แบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน นี่เป็นแค่ยกแรกแค่นั้น.ประเทศน้อยใหญ่ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศทั้งหลายต่างก็มองการกระทำของ Trump ในแง่ลบ แม้แต่ประธาน Federal Reserve ของสหรัฐเองอย่าง Jerome Powell เองก็มีอาการกึ่งช็อคกึ่งหัวหมุนกับนโยบายประเภทบ้าบิ่นที่ประธานาธิบดีของเขาจัดมาเป็นชุดๆ Powell ถึงกับกล่าวว่านโยบายของ Trump ที่นำออกมาใช้นี้จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้เงินเฟ้อสูงขึ้น ภาวะเศรษฐกิจจะตกต่ำและการว่างงานจะมีมากขึ้น ตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหุ้นก็จะปั่นป่วนมาก ความตั้งใจที่ Fed จะลดดอกเบี้ยลงจึงทำได้ยากขึ้นซึ่งความเห็นของประธาน Fed ดังกล่าว Trump ไม่พอใจมากเพราะเขาอยากให้มีการลดดอกเบี้ยถึงกับเอ่ยออกมาว่าคงต้องคิดเรื่องการเด้งประธาน Fed ซะแล้ว ฟังคล้ายกำลังจะเอาอย่างประเทศไทย.แนวทางของไทยที่จะรับมือเพื่อบรรเทาผลกระทบต่อประเทศทุกประเทศที่โดนผลกระทบในเรื่องการขึ้น Tariff ของ Trump ต่างก็กำลังระดมความคิดและเตรียมตัวที่จะส่งผู้แทนไปเจรจา ยกเว้นจีนประเทศเดียวที่ขึ้นป้ายจะสู้กับสหรัฐอย่างแน่วแน่.สำหรับประเทศไทย ยังฟังไม่ได้ศัพท์จากฝ่ายรัฐบาลว่าจะมีกลยุทธ์ในการรับมือกับเรื่องนี้อย่างไร ชี้ให้เห็นชัดว่าศักยภาพของรัฐบาลไทยในการแก้ปัญหาใหญ่ต่ำมาก ฟังความได้อย่างเดียวจากท่านนายกรัฐมนตรีว่าจะใช้นโยบายและแนวทางเหมือนกับประเทศอาเซียนอื่นๆเท่านั้นตอนนี้ก็เห็นภาพชัดขึ้นอีกจากคณะผู้แทนที่เตรียมการจะไปเจรจา โดยจะไปบอกทางสหรัฐว่าไทยเราจะซื้อสินค้าจากเขามากขึ้น เช่น LNG ข้าวโพด ถั่วเหลือง เป็นต้น ถ้าจะเดาก็จะขอให้ทางสหรัฐบันยะบันยังกับการเพิ่มภาษีสินค้าที่นำเข้าจากไทยที่มีมูลค่าถึง 18 % ของมูลค่าการส่งออกของไทยทั้งหมด.ส่วนผลกระทบต่อไทย เท่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) พยายามจะบอกพอสังเขป สรุปได้ว่าการส่งออกของไทยจะโดนกระทบมากโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า และอาหารแปรรูป และจะทำให้การเติบโตของ GDP ในปีนี้ลดต่ำกว่าเป้าเหลือโตไม่ถึง 2.5 % และอัตราเงินเฟ้อของไทยก็จะชะลอลงด้วย นี่ยังไม่พูดถึงผลกระทบในปีหน้าและต่อๆไป ว่าจะรุนแรงสักแค่ไหน เชื่อได้เถอะครับมันแรงเกินคาด.ความเห็นผมนั้น เห็นว่าไทยเราจะโดนหนักกว่าที่รัฐบาลและหน่วยราชการไทยประเมินไว้มาก เกินศักยภาพของรัฐบาลไทยชุดนี้จะรับมือได้ วิกฤตที่จะเกิดขึ้นจากเรื่อง Tariff หนนี้ ไม่ใช่ Covid 19 นะครับ มันเป็นเรื่องประเทศใครประเทศมัน ใครมีผู้นำเก่งก็ทำให้เบาได้ สามารถเปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาสได้.แนวทางในการคิดแก้วิกฤตของประเทศขนาดเล็กผมอยากนำท่านผู้อ่านไปดูว่าผู้นำของสิงคโปร์อย่างอดีตนายกลี เซียนลุง ได้พูดเมื่อไม่กี่วันมานี้ซึ่งดีมาก เขาเริ่มบอกประชาชนรวมทั้งคณะรัฐมนตรีที่บริหารประเทศและนักธุรกิจ นักลงทุนของเขาว่าแม้จะมีความไม่แน่นอนในช่วง 90 วันที่ Trump จะให้ประเทศอื่นๆ นอกจากจีนไปคิดกันให้ดี แต่ก็ต้องมองให้ออกว่าทุกอย่างจะไม่กลับไปเหมือนก่อนหน้านี้อีกแล้ว ดังนั้น เราต้องกังวลและคิดให้ตกว่ามันจะส่งผลกับเรามากแค่ไหน ต้องตระหนักให้ได้ว่าวิกฤตที่จะเกิดทั่วโลกนี้ บางสิ่งบางอย่างที่สำคัญมันแตกต่างไปจากเดิมมาก .ลี เซียนลุง ชี้ให้เห็นชัดว่า การขึ้นภาษีหรือ Tariff ไปทั่วโลกครั้งนี้มันจะก่อกวนต่อการผลิตมากกว่าที่คิด เพราะ Supply Chain หรือ ห่วงโซ่การผลิตทุกอย่างจะหยุดชะงัก แผนการผลิตเดิมทุกอย่างจะหายไป และจะนำไปสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ (Recession) อย่างรวดเร็ว และขอให้คาดหวังไว้ได้เลยว่า ปัญหานี้จะอยู่กับเราไปอีกนาน.หลังจากลี เซียนลุง พูดเรื่องนี้ได้ไม่กี่วัน นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ที่มีเสียงสนับสนุนหนาแน่นอยู่ได้ประเทศยุบสภาไปเมื่อวันที่ 18 เมษายน นี้เอง เหตุผลเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเลือกผู้นำใหม่ขึ้นมา นี่คือสิงคโปร์ นี่คือสิ่งที่เขาเป็นชาติที่เจริญได้อย่างรวดเร็วและมั่นคงจนเราไม่สามารถแหงนหน้าขึ้นไปมองเขาได้แล้ว.ทางรอดของไทยจะเป็นอย่างไร ท้ายที่สุดนี้ เรามาดูว่าประเทศไทยเราจะมีทางรอดแค่ไหนก่อนเราต้องส่องกระจกดูตัวเอง และต้องฟังดูว่ามีใครมองเราอย่างไรบ้างให้ชัดก่อน เมื่อไม่กี่เดือนมานี้เองได้มีการชี้แนะจากสถาบันการเงินระหว่างประเทศแห่งหนึ่งว่า “ประเทศไทยนั้นมีเรื่องคอร์รัปชั่นเป็นตัวหลักที่ทำให้การบริหารประเทศในทุกด้านเดินหน้าไม่ได้” และเมื่อมีนาคม 2568 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ชี้ว่าเศรษฐกิจไทยน่าห่วงเทียบได้เป็น “คนป่วยแห่งเอเชีย”เป็นคนป่วยยังไงหรือ ทางด้านเศรษฐกิจก็เห็นกันชัดอยู่แล้วว่าไทยเรา กำลังเผชิญกับหนี้สาธารณะสูงมาก ภาษีเก็บได้น้อย ช่องทางในการหาเงินมาบริหารประเทศยังชักหน้าไม่ถึงหลัง อนาคตด้านการคลังริบหรี่ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเรื่องหนี้ครัวเรือนก็ไม่มีทางจะแก้ให้เบาบางลงได้ แม้ไม่มีเรื่องการปรับ Tariff ของ Trump ประเทศไทยเราก็มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจมากเกินอยู่แล้ว นี่คืออาการของคนป่วยเรื้อรังแห่งเอเชีย.ไม่ต้องสาธยายกันมาก อีกเรื่องทุกคนก็รู้ดีอยู่ว่า การเมืองของไทยยักแย่ยักยันอยู่ในปลักโคลนตมเดิมจนโงหัวไม่ขึ้นมานานแล้ว การเล่นการเมืองของนักการเมืองไทยเด็กๆก็รู้ว่าเพื่ออำนาจและผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้องเท่านั้น ใครจะเห็นต่างกี่คนก็บอกมา.เมื่อองคาพยพของการเมืองไทยซึ่งมีการแต่งตั้งคณะรัฐบาลมาบริหารประเทศจากรากเหง้าเก่าๆที่รู้กันอยู่ เมื่อเจอกับปัญหาใหญ่ระดับโลกชนิดที่ว่าหันไปทางไหนก็มากระทบเราทั้งนั้น ท่านผู้ที่ได้ใช้สิทธิใช้เสียงเลือกพวกเขาเข้ามาบริหารประเทศ เชื่อและมั่นใจหรือไม่ว่าเขาจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมากระทบประเทศเราได้ .หันไปดูนโยบายของพรรคการเมืองผู้กุมอำนาจบริหารประเทศอยู่ในขณะนี้ก็จะเห็นชัดเจนว่า ตอนนี้นโยบายของพวกเขาเหล่านั้น มันเน่าบูดกันแทบหมดแล้วครับ ถ้าจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมีแรงกระแทกก่อให้เกิดวิกฤตที่ใหญ่เกินคาด ด้วยการปรับ ครม. แต่ยังดันทุรังคงสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ไว้ น่าจะไม่เป็นการกระทำของผู้นำที่รักชาติจริง”
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 755 Views 0 Reviews
  • รัฐบาลเอลซัลวาดอร์ได้ประกาศซื้อบิทคอยน์เพิ่มเติม ทำให้ยอดรวมบิทคอยน์ในกองทุนสำรองของประเทศเพิ่มขึ้นกว่า 6,102 เหรียญ สำนักงานบิทคอยน์แห่งชาติได้โพสต์ข้อมูลนี้บนสื่อสังคมออนไลน์

    การประกาศซื้อบิทคอยน์ครั้งนี้เกิดขึ้นไม่กี่วันหลังจากคณะกรรมการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อนุมัติโครงการ 40 เดือนกับเอลซัลวาดอร์มูลค่า 1.4 พันล้านดอลลาร์ อย่างไรก็ตาม การยอมรับของสาธารณะเกี่ยวกับการใช้บิทคอยน์เป็นเงินตรายังคงเป็นเรื่องสมัครใจ และไม่สามารถใช้ชำระภาษีได้ ซึ่งไม่ได้เป็นไปตามที่คาดหวังเมื่อบิทคอยน์ได้รับสถานะเป็นเงินตราที่ถูกต้องตามกฎหมายในปี 2021

    รัฐบาลเอลซัลวาดอร์ได้รับรองกับ IMF ว่าการเพิ่มจำนวนบิทคอยน์ในกองทุนสำรองนั้นสอดคล้องกับเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้ และจะไม่สะสมบิทคอยน์เพิ่มเติมในระดับของภาครัฐอย่างเป็นทางการ ตามที่โฆษกของ IMF กล่าวไว้

    การประกาศซื้อบิทคอยน์ทำให้พันธบัตรดอลลาร์ของรัฐบาลเอลซัลวาดอร์ลดลงในตลาดในวันพุธ โดยพันธบัตรที่ครบกำหนดในปี 2050 และ 2041 ลดลง 0.75 เซ็นต์ต่อดอลลาร์

    รัฐบาลเอลซัลวาดอร์ได้ซื้อบิทคอยน์เพิ่มอีก 12 เหรียญตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้วเมื่อ IMF อนุมัติข้อตกลงปัจจุบัน ซึ่งรัฐบาลถือบิทคอยน์มูลค่าประมาณ 550 ล้านดอลลาร์

    การซื้อบิทคอยน์เพิ่มเติมนี้อาจเป็นการพยายามเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับกองทุนสำรองของเอลซัลวาดอร์ แต่ยังคงมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากบิทคอยน์ยังคงมีความผันผวนในตลาด การรับรองจาก IMF ว่ารัฐบาลจะไม่สะสมบิทคอยน์เพิ่มเติมในภาครัฐอาจเป็นการพยายามสร้างเสถียรภาพให้กับตลาดการเงินในประเทศ

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/06/el-salvador-announces-more-bitcoin-purchases-gives-imf-assurances
    รัฐบาลเอลซัลวาดอร์ได้ประกาศซื้อบิทคอยน์เพิ่มเติม ทำให้ยอดรวมบิทคอยน์ในกองทุนสำรองของประเทศเพิ่มขึ้นกว่า 6,102 เหรียญ สำนักงานบิทคอยน์แห่งชาติได้โพสต์ข้อมูลนี้บนสื่อสังคมออนไลน์ การประกาศซื้อบิทคอยน์ครั้งนี้เกิดขึ้นไม่กี่วันหลังจากคณะกรรมการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อนุมัติโครงการ 40 เดือนกับเอลซัลวาดอร์มูลค่า 1.4 พันล้านดอลลาร์ อย่างไรก็ตาม การยอมรับของสาธารณะเกี่ยวกับการใช้บิทคอยน์เป็นเงินตรายังคงเป็นเรื่องสมัครใจ และไม่สามารถใช้ชำระภาษีได้ ซึ่งไม่ได้เป็นไปตามที่คาดหวังเมื่อบิทคอยน์ได้รับสถานะเป็นเงินตราที่ถูกต้องตามกฎหมายในปี 2021 รัฐบาลเอลซัลวาดอร์ได้รับรองกับ IMF ว่าการเพิ่มจำนวนบิทคอยน์ในกองทุนสำรองนั้นสอดคล้องกับเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้ และจะไม่สะสมบิทคอยน์เพิ่มเติมในระดับของภาครัฐอย่างเป็นทางการ ตามที่โฆษกของ IMF กล่าวไว้ การประกาศซื้อบิทคอยน์ทำให้พันธบัตรดอลลาร์ของรัฐบาลเอลซัลวาดอร์ลดลงในตลาดในวันพุธ โดยพันธบัตรที่ครบกำหนดในปี 2050 และ 2041 ลดลง 0.75 เซ็นต์ต่อดอลลาร์ รัฐบาลเอลซัลวาดอร์ได้ซื้อบิทคอยน์เพิ่มอีก 12 เหรียญตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้วเมื่อ IMF อนุมัติข้อตกลงปัจจุบัน ซึ่งรัฐบาลถือบิทคอยน์มูลค่าประมาณ 550 ล้านดอลลาร์ การซื้อบิทคอยน์เพิ่มเติมนี้อาจเป็นการพยายามเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับกองทุนสำรองของเอลซัลวาดอร์ แต่ยังคงมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากบิทคอยน์ยังคงมีความผันผวนในตลาด การรับรองจาก IMF ว่ารัฐบาลจะไม่สะสมบิทคอยน์เพิ่มเติมในภาครัฐอาจเป็นการพยายามสร้างเสถียรภาพให้กับตลาดการเงินในประเทศ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/06/el-salvador-announces-more-bitcoin-purchases-gives-imf-assurances
    WWW.THESTAR.COM.MY
    El Salvador announces more bitcoin purchases, gives IMF assurances
    SAN SALVADOR (Reuters) - El Salvador announced on Wednesday the purchase of a bitcoin, which takes the total in the country's strategic reserve to above 6,102 coins, the National Bitcoin Office posted on social media.
    0 Comments 0 Shares 419 Views 0 Reviews
  • ข้อมูลจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ (IMF) อัพเดทเมื่อเดือนมกราคม 2025

    "เศรษฐกิจรัสเซียเติบโต 3.8% ในขณะที่ต้องทำสงครามกับยูเครนต่อเนื่องติดต่อกันเป็นปีที่ 3 และกำลังเข้าสู่ปีที่ 4"

    ขณะเดียวกันเศรษฐกิจเยอรมนีเติบโตติดลบที่ -0.2 %
    ฝรั่งเศส 1.1%
    อิตาลี 0.6%
    อังกฤษ 0.9%

    https://www.imf.org/en/Publications/WEO/Issues/2025/01/17/world-economic-outlook-update-january-2025
    ข้อมูลจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ (IMF) อัพเดทเมื่อเดือนมกราคม 2025 "เศรษฐกิจรัสเซียเติบโต 3.8% ในขณะที่ต้องทำสงครามกับยูเครนต่อเนื่องติดต่อกันเป็นปีที่ 3 และกำลังเข้าสู่ปีที่ 4" ขณะเดียวกันเศรษฐกิจเยอรมนีเติบโตติดลบที่ -0.2 % ฝรั่งเศส 1.1% อิตาลี 0.6% อังกฤษ 0.9% https://www.imf.org/en/Publications/WEO/Issues/2025/01/17/world-economic-outlook-update-january-2025
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 454 Views 0 Reviews
  • ## เบื้องหลังมายากลระดับตำนาน ทักษิณ ผู้ปลดหนี้ IMF ด้วยเงิน 5 แสนล้าน ที่ตนเองไม่ได้หา ##
    ..
    ..
    วิกฤตต้มยำกุ้ง เกิดขึ้นในสมัยพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ช่วงปีพศ. 2540 มีการโจมตีค่าเงินบาทจากต่างชาติ
    .
    ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในเวลานั้นตัดสินใจใช้ทุนสำรองระหว่างประเทศสู้การโจมตี ในการพยุงค่าเงินบาท ที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเอาไว้คงที่ ที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งถือเป็นการตัดสินใจที่ผิดพลาด
    .
    จนในที่สุด ทุนสำรองระหว่างประเทศที่มีอยู่จำนวนมาก ก็แทบจะไม่เหลือ เมื่อพลเอกชวลิตทราบเรื่อง จึงตัดสินใจลอยตัวค่าเงินบาท คือไม่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ แต่ให้ขึ้นลง ตามมูลค่าจริง ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2540
    .
    ค่าเงินบาทต่อ 1 ดอลล่าห์สหรัฐเคยขึ้นไปสูงถึง 50-56 บาท
    .
    คนที่เคยเป็นหนี้เงินกู้ต่างประเทศ 1000 ดอลล่าร์ เทียบเป็นเงินไทย 27000 บาท กลายเป็น 50000 – 56000 บาท
    .
    ทุกอย่างพังพินาศในชั่วคืน
    .
    หลังเกิดวิกฤต รัฐบาล ขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF
    และทาง IMF ก็ออกมาตรการที่เข้มงวดต่อระบบการเงินการคลังให้ไทยตัดรายจ่ายงบประมาณแผ่นดินและเพิ่มภาษีมูลค่าเป็นร้อยละ 10 ทั้ง ๆ ที่วิกฤตนี้เป็นวิกฤตภาคการเงิน ไม่ได้มาจากการใช้จ่ายเกินตัวของภาครัฐ และไทยเองก็มีการเกินดุลการคลังมาตลอดก่อนหน้า 10 ปี ทำให้มีเงินสะสมในคลังจำนวนมาก แต่ก็อาจจะเป็นเพราะสถานการณ์ในขณะนั้นที่ไทยมีการเติบโตที่ติดลบไปแล้วจึงต้องยอมปฏิบัติตาม
    .
    ผลจากวิกฤตนี้ ทำให้นายกชวลิต ลาออก ได้นายกคนใหม่ชื่อ ชวน หลีกภัย
    .
    รัฐบาลชวน หลีกภัย ในสมัยที่เข้ามารับช่วงต่อปี 2540 ได้เจรจาให้ IMF ยอมลดเงื่อนไขโดยให้ภาษีมูลค่าเพิ่มไปอยู่ที่ร้อยละ 7 และยอมให้มีการขยายรายจ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยเงินกู้จากญี่ปุ่นหลังจากที่เหล่าธนาคารไม่ยอมปล่อยกู้จนทำให้เศรษฐกิจไม่สามารถเดินได้
    นอกจากนี้การกอบกู้ไทยจาก IMF โดยมีญี่ปุ่นเป็นหัวหอกและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนร่วมใจกัน ซึ่งสามารถระดมเงินมาได้ 17.2 พันล้านเหรียญฯ
    รัฐบาลชวน ได้เข้ามาควบคุม บริหารจัดการทั้งภาครัฐและเอกชนให้ไปในทิศทางเดียวกัน โดยการจัดตั้ง องค์การเพื่อการปฏิรูปสถาบันการเงิน (ปรส.) เพื่อจัดการควบรวมกิจการ ประกาศขายกิจการที่มีปัญหาเรื่องสินทรัพย์และหนี้สิน ท่ามกลางข้อครหาว่า เอากิจการที่มีมูลค่าสูงมาขายเลหลังในราคาถูก จนเรียกกันแบบล้อเลียนว่า ออกกฎหมายขายชาติ และมีแปรรูปหน่วยงานรัฐวิสาหกิจต่างๆ จนกระทั่งสถานการณ์ทางการเงินการคลังค่อยๆ ดีขึ้น
    .
    รัฐบาลไทยเบิกเงินจาก IMF จริงเพียงแค่ 14 พันล้านเหรียญ และทิ้งเงินส่วนที่เหลือ ราว 3 พันล้านเหรียญ และไม่เบิกจาก IMF ต่อในเดือนกันยายน 2542 ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศอื่นที่ต้องกู้เพิ่มเพราะการกู้มักจะยืดเยื้อไม่จบสิ้น
    เท่ากับว่า รัฐบาลชวนฯ สามารถกอบกู้ปัญหาดุลการชำระเงินให้เข้าสู่สภาวะปกติและมีเงินสำรองระหว่างประเทศกลับคืนมาอย่างรวดเร็วกว่าที่ IMF คาดไว้
    .
    ดังนั้นกระทรวงการคลังของไทยจึงได้ขอให้ธนาคารแห่งประเทศไทยคืนหนี้ IMF ก่อนกำหนด เพราะเงินสำรองที่ถูกใช้เกือบหมดนั้น ได้กลับเข้าสู่สภาวะปกติ แต่ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อยากให้เก็บเงินสำรองไว้ก่อน จนรัฐบาลชวนหมดวาระในปี 2543
    .
    ประเทศไทยได้นายกคนใหม่ชื่อ ทักษิณ ชินวัตร ในปีพ.ศ. 2544
    .
    นายกทักษิณ ชินวัตรได้เข้ามาบริหารประเทศ เห็นว่ารัฐบาลที่แล้ว เพิ่งใช้หนี้ IMF ไปแค่ส่วนหนึ่ง และเห็นว่า ทุนสำรองระหว่างประเทศ ที่รัฐบาลที่แล้วสะสมเอาไว้มีมากพอที่จะใช้หนี้ เพื่อดึงเงินทุนสำรองนี้มาใช้ นายกทักษิณจึงปลดผู้ว่าของธนาคารแห่งประเทศไทยในขณะนั้นออก แล้วนำเงินจากกองทุนเงินสำรองที่ได้สะสมเอาไว้จากการบริหารงานของรัฐบาลก่อนหน้าบวกกับเงินกู้จาก ADB อีกส่วนหนึ่ง คืนเจ้าหนี้ IMF ก่อนกำหนด
    .
    ข้อดีคือ ความเชื่อมั่นที่มีต่อประเทศไทยของนักลงทุนดีขึ้น สถานการณ์ของประเทศดีขึ้น
    และใช่ ทักษิณเป็นคนปลดหนี้จาก IMF
    .
    แต่เราจะพูดถึงแต่คนที่เอาเงินจากกระเป๋าที่มีเงินอยู่แล้ว ไปปลดหนี้
    โดยที่ไม่พูดถึงหรือไม่ให้เครดิตคนที่หาเงิน และบริหารเงินจนมีเงินในกระเป๋ามากพอที่จะใช้หนี้เลย คงจะไม่เป็นการยุติธรรมต่อกลุ่มคนเหล่านั้น มิใช่หรือ
    ....
    ....
    โดย เพจ ฤๅ - Lue History
    .
    https://www.facebook.com/share/p/1EqubFQLrq/
    ## เบื้องหลังมายากลระดับตำนาน ทักษิณ ผู้ปลดหนี้ IMF ด้วยเงิน 5 แสนล้าน ที่ตนเองไม่ได้หา ## .. .. วิกฤตต้มยำกุ้ง เกิดขึ้นในสมัยพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ช่วงปีพศ. 2540 มีการโจมตีค่าเงินบาทจากต่างชาติ . ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในเวลานั้นตัดสินใจใช้ทุนสำรองระหว่างประเทศสู้การโจมตี ในการพยุงค่าเงินบาท ที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเอาไว้คงที่ ที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งถือเป็นการตัดสินใจที่ผิดพลาด . จนในที่สุด ทุนสำรองระหว่างประเทศที่มีอยู่จำนวนมาก ก็แทบจะไม่เหลือ เมื่อพลเอกชวลิตทราบเรื่อง จึงตัดสินใจลอยตัวค่าเงินบาท คือไม่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ แต่ให้ขึ้นลง ตามมูลค่าจริง ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 . ค่าเงินบาทต่อ 1 ดอลล่าห์สหรัฐเคยขึ้นไปสูงถึง 50-56 บาท . คนที่เคยเป็นหนี้เงินกู้ต่างประเทศ 1000 ดอลล่าร์ เทียบเป็นเงินไทย 27000 บาท กลายเป็น 50000 – 56000 บาท . ทุกอย่างพังพินาศในชั่วคืน . หลังเกิดวิกฤต รัฐบาล ขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF และทาง IMF ก็ออกมาตรการที่เข้มงวดต่อระบบการเงินการคลังให้ไทยตัดรายจ่ายงบประมาณแผ่นดินและเพิ่มภาษีมูลค่าเป็นร้อยละ 10 ทั้ง ๆ ที่วิกฤตนี้เป็นวิกฤตภาคการเงิน ไม่ได้มาจากการใช้จ่ายเกินตัวของภาครัฐ และไทยเองก็มีการเกินดุลการคลังมาตลอดก่อนหน้า 10 ปี ทำให้มีเงินสะสมในคลังจำนวนมาก แต่ก็อาจจะเป็นเพราะสถานการณ์ในขณะนั้นที่ไทยมีการเติบโตที่ติดลบไปแล้วจึงต้องยอมปฏิบัติตาม . ผลจากวิกฤตนี้ ทำให้นายกชวลิต ลาออก ได้นายกคนใหม่ชื่อ ชวน หลีกภัย . รัฐบาลชวน หลีกภัย ในสมัยที่เข้ามารับช่วงต่อปี 2540 ได้เจรจาให้ IMF ยอมลดเงื่อนไขโดยให้ภาษีมูลค่าเพิ่มไปอยู่ที่ร้อยละ 7 และยอมให้มีการขยายรายจ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยเงินกู้จากญี่ปุ่นหลังจากที่เหล่าธนาคารไม่ยอมปล่อยกู้จนทำให้เศรษฐกิจไม่สามารถเดินได้ นอกจากนี้การกอบกู้ไทยจาก IMF โดยมีญี่ปุ่นเป็นหัวหอกและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนร่วมใจกัน ซึ่งสามารถระดมเงินมาได้ 17.2 พันล้านเหรียญฯ รัฐบาลชวน ได้เข้ามาควบคุม บริหารจัดการทั้งภาครัฐและเอกชนให้ไปในทิศทางเดียวกัน โดยการจัดตั้ง องค์การเพื่อการปฏิรูปสถาบันการเงิน (ปรส.) เพื่อจัดการควบรวมกิจการ ประกาศขายกิจการที่มีปัญหาเรื่องสินทรัพย์และหนี้สิน ท่ามกลางข้อครหาว่า เอากิจการที่มีมูลค่าสูงมาขายเลหลังในราคาถูก จนเรียกกันแบบล้อเลียนว่า ออกกฎหมายขายชาติ และมีแปรรูปหน่วยงานรัฐวิสาหกิจต่างๆ จนกระทั่งสถานการณ์ทางการเงินการคลังค่อยๆ ดีขึ้น . รัฐบาลไทยเบิกเงินจาก IMF จริงเพียงแค่ 14 พันล้านเหรียญ และทิ้งเงินส่วนที่เหลือ ราว 3 พันล้านเหรียญ และไม่เบิกจาก IMF ต่อในเดือนกันยายน 2542 ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศอื่นที่ต้องกู้เพิ่มเพราะการกู้มักจะยืดเยื้อไม่จบสิ้น เท่ากับว่า รัฐบาลชวนฯ สามารถกอบกู้ปัญหาดุลการชำระเงินให้เข้าสู่สภาวะปกติและมีเงินสำรองระหว่างประเทศกลับคืนมาอย่างรวดเร็วกว่าที่ IMF คาดไว้ . ดังนั้นกระทรวงการคลังของไทยจึงได้ขอให้ธนาคารแห่งประเทศไทยคืนหนี้ IMF ก่อนกำหนด เพราะเงินสำรองที่ถูกใช้เกือบหมดนั้น ได้กลับเข้าสู่สภาวะปกติ แต่ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อยากให้เก็บเงินสำรองไว้ก่อน จนรัฐบาลชวนหมดวาระในปี 2543 . ประเทศไทยได้นายกคนใหม่ชื่อ ทักษิณ ชินวัตร ในปีพ.ศ. 2544 . นายกทักษิณ ชินวัตรได้เข้ามาบริหารประเทศ เห็นว่ารัฐบาลที่แล้ว เพิ่งใช้หนี้ IMF ไปแค่ส่วนหนึ่ง และเห็นว่า ทุนสำรองระหว่างประเทศ ที่รัฐบาลที่แล้วสะสมเอาไว้มีมากพอที่จะใช้หนี้ เพื่อดึงเงินทุนสำรองนี้มาใช้ นายกทักษิณจึงปลดผู้ว่าของธนาคารแห่งประเทศไทยในขณะนั้นออก แล้วนำเงินจากกองทุนเงินสำรองที่ได้สะสมเอาไว้จากการบริหารงานของรัฐบาลก่อนหน้าบวกกับเงินกู้จาก ADB อีกส่วนหนึ่ง คืนเจ้าหนี้ IMF ก่อนกำหนด . ข้อดีคือ ความเชื่อมั่นที่มีต่อประเทศไทยของนักลงทุนดีขึ้น สถานการณ์ของประเทศดีขึ้น และใช่ ทักษิณเป็นคนปลดหนี้จาก IMF . แต่เราจะพูดถึงแต่คนที่เอาเงินจากกระเป๋าที่มีเงินอยู่แล้ว ไปปลดหนี้ โดยที่ไม่พูดถึงหรือไม่ให้เครดิตคนที่หาเงิน และบริหารเงินจนมีเงินในกระเป๋ามากพอที่จะใช้หนี้เลย คงจะไม่เป็นการยุติธรรมต่อกลุ่มคนเหล่านั้น มิใช่หรือ .... .... โดย เพจ ฤๅ - Lue History . https://www.facebook.com/share/p/1EqubFQLrq/
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 955 Views 0 Reviews
  • รัสเซียเชื่อว่าบรรดาชาติสมาชิกกลุ่ม BRICS จะมีผลผลิตทางเศรษฐกิจในสัดส่วนเกินครึ่งของเศรษฐกิจโลก ในอีก 10-15 ปีข้างหน้า ส่งสัญญาณการเปลี่ยนแปลงทางอำนาจที่อาจท้าทายความเป็นเจ้าโลกของตะวันตก
    .
    BRICS กำลังโผล่ขึ้นมาอย่างรวดเร็วในฐานะผู้เล่นสำคัญในเศรษฐกิจโลก ด้วยจีดีพีรวมกันของทางกลุ่มคาดหมายว่าจะมีสัดส่วนเกินครึ่งของผลผลิตทางเศรษฐกิจของโลก ภายใน 10 ถึง 15 ปีข้างหน้า จากการคาดการณ์ของอเล็กซานเดอร์ โนวัค รองนายกรัฐมนตรีรัสเซีย ระหว่างให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนท้องถิ่นเมื่อสัปดาห์แล้ว พร้อมเน้นย้ำถึงอิทธิพลที่เติบโตขึ้นเรื่อยของ BRICS

    โนวัค กล่าวว่า "BRICS มีศักยภาพในระดับสูงในจีพีดีโลก คิดเป็นสัดส่วนราว 35% และกำลังเติบโตขึ้นทุกๆ ปี องค์กรแห่งนี้รวมไปถึงบรรดาประเทศขนาดใหญ่ อย่างบราซิลและจีน เราคาดหมายว่าในปี 10-15 ปีข้างหน้า จีดีพีรวมกันของ BRICS จะมีสัดส่วนมากกว่าครึ่งของเศรษฐกิจโลกทั้งหมด"
    .
    มุมมองในแง่บวกดังกล่าวสะท้อนถึงน้ำหนักทางเศรษฐกิจที่เพิ่มข้นเรื่อยๆ ของบรรดาสมาชิกกลุ่ม BRICS ซึ่งปัจจุบันมีผลผลิตทางเศรษฐกิจรวมกันแซงหน้ากลุ่ม G7 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
    .
    เบื้องต้น BRICS ประกอบไปด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้ ก่อนขยายขอบเขตสมาชิกเพิ่มขึ้นอย่างมากในปี 2024 อ้าแขนต้อนรับอียิปต์ เอธิโอเปีย อิหร่าน และสหรัฐอาหรับเอมิเตส์ การขยายตัวดังกล่าวสะท้อนอิทธิพลที่เติบโตขึ้นของ BRICS ในฐานะตัวถ่วงดุลสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ที่อยู่ภายใต้การครอบงำของตะวันตก
    .
    การขยายวงกลุ่มยังช่วยเสริมอิทธิพลด้านพลังงานโลกของ BRICS เนื่องจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และอาจรวมถึงซาอุดีอาระเบีย เป็นผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ และช่วยยกระดับการมีส่วนร่วมในด้านภูมิรัฐศาสตร์ของทางกลุ่ม ในนั้นรวมถึงประเทศต่างๆ จากตะวันออกกลางและแอฟริกา
    .
    ทั้งนี้ เหล่าสมาชิกใหม่จะนำมาซึ่งความหลากหลายและความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ โดย อิหร่าน ช่วยเสริมยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางการค้าและทางพลังงาน ส่วนอียิปต์และเอธิโอเปีย ช่วยสนับสนุนการเป็นตัวแทนของแอฟริกา การเปลี่ยนแปลงนี้ส่งสัญญาณว่า BRICS มีเจตนาปรับโฉมธรรมาภิบาลโลก ด้วยการขยายสุ้มเสียงจากซีกโลกใต้ให้ดังยิ่งขึ้น
    .
    ณ เวทีประชุมบิสซิเนส ฟอรัม BRICS เมื่อเดือนธันวาคม ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย อ้างว่า BRICS มีสัดส่วนเศรษฐกิจในจีดีพีโลก แซงหน้าจี 7 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และกำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ เขาเน้นย้ำว่าบทบาทสำคัญของ BRICS คือปรับโฉมเศรษฐกิจโลก ให้จำกัดความเหล่าสมาชิกว่าเป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญสำหรับการเติบโตและพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
    .
    จากข้อมูลที่เผยแพร่ต่อสาธารณะในปี 2024 เศรษฐกิจของ BRICS คิดเป็นสัดส่วนราว 37.3% ของจีพีดีโลก บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ (PPP) แซงหน้าจี7 ที่อยู่ที่ 30% สะท้อนถึงผลผลิตทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งกว่าเมื่อเทียบกับค่าครองชีพ
    .
    อ้างอิงข้อมูลจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) จีน เพียงชาติเดียวมีผลผลิตทางเศรษฐกิจคิดเป็นสัดส่วน 19.05% ของจีดีพีโลก ส่วน อินเดีย มีสัดส่วนคิดเป็น 8.23% ขณะที่อีกฟากหนึ่ง สหรัฐฯ มีผลผลิตทางเศรษฐกิจคิดเป็นสัดส่วน 14.5% ของเศรษฐกิจโลก เช่นเดียวกับสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตาม จี7 ยังคงนำหน้าในด้านจีพีดีปกติ โดยมีสัดส่วนคิดเป็น 44% ด้าน BRICS มีสัดส่วนเศรษฐกิจคิดเป็น 28% ตามข้อมูลของไอเอ็มเอฟ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000000047
    ..............
    Sondhi X
    รัสเซียเชื่อว่าบรรดาชาติสมาชิกกลุ่ม BRICS จะมีผลผลิตทางเศรษฐกิจในสัดส่วนเกินครึ่งของเศรษฐกิจโลก ในอีก 10-15 ปีข้างหน้า ส่งสัญญาณการเปลี่ยนแปลงทางอำนาจที่อาจท้าทายความเป็นเจ้าโลกของตะวันตก . BRICS กำลังโผล่ขึ้นมาอย่างรวดเร็วในฐานะผู้เล่นสำคัญในเศรษฐกิจโลก ด้วยจีดีพีรวมกันของทางกลุ่มคาดหมายว่าจะมีสัดส่วนเกินครึ่งของผลผลิตทางเศรษฐกิจของโลก ภายใน 10 ถึง 15 ปีข้างหน้า จากการคาดการณ์ของอเล็กซานเดอร์ โนวัค รองนายกรัฐมนตรีรัสเซีย ระหว่างให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนท้องถิ่นเมื่อสัปดาห์แล้ว พร้อมเน้นย้ำถึงอิทธิพลที่เติบโตขึ้นเรื่อยของ BRICS โนวัค กล่าวว่า "BRICS มีศักยภาพในระดับสูงในจีพีดีโลก คิดเป็นสัดส่วนราว 35% และกำลังเติบโตขึ้นทุกๆ ปี องค์กรแห่งนี้รวมไปถึงบรรดาประเทศขนาดใหญ่ อย่างบราซิลและจีน เราคาดหมายว่าในปี 10-15 ปีข้างหน้า จีดีพีรวมกันของ BRICS จะมีสัดส่วนมากกว่าครึ่งของเศรษฐกิจโลกทั้งหมด" . มุมมองในแง่บวกดังกล่าวสะท้อนถึงน้ำหนักทางเศรษฐกิจที่เพิ่มข้นเรื่อยๆ ของบรรดาสมาชิกกลุ่ม BRICS ซึ่งปัจจุบันมีผลผลิตทางเศรษฐกิจรวมกันแซงหน้ากลุ่ม G7 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว . เบื้องต้น BRICS ประกอบไปด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้ ก่อนขยายขอบเขตสมาชิกเพิ่มขึ้นอย่างมากในปี 2024 อ้าแขนต้อนรับอียิปต์ เอธิโอเปีย อิหร่าน และสหรัฐอาหรับเอมิเตส์ การขยายตัวดังกล่าวสะท้อนอิทธิพลที่เติบโตขึ้นของ BRICS ในฐานะตัวถ่วงดุลสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ที่อยู่ภายใต้การครอบงำของตะวันตก . การขยายวงกลุ่มยังช่วยเสริมอิทธิพลด้านพลังงานโลกของ BRICS เนื่องจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และอาจรวมถึงซาอุดีอาระเบีย เป็นผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ และช่วยยกระดับการมีส่วนร่วมในด้านภูมิรัฐศาสตร์ของทางกลุ่ม ในนั้นรวมถึงประเทศต่างๆ จากตะวันออกกลางและแอฟริกา . ทั้งนี้ เหล่าสมาชิกใหม่จะนำมาซึ่งความหลากหลายและความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ โดย อิหร่าน ช่วยเสริมยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางการค้าและทางพลังงาน ส่วนอียิปต์และเอธิโอเปีย ช่วยสนับสนุนการเป็นตัวแทนของแอฟริกา การเปลี่ยนแปลงนี้ส่งสัญญาณว่า BRICS มีเจตนาปรับโฉมธรรมาภิบาลโลก ด้วยการขยายสุ้มเสียงจากซีกโลกใต้ให้ดังยิ่งขึ้น . ณ เวทีประชุมบิสซิเนส ฟอรัม BRICS เมื่อเดือนธันวาคม ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย อ้างว่า BRICS มีสัดส่วนเศรษฐกิจในจีดีพีโลก แซงหน้าจี 7 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และกำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ เขาเน้นย้ำว่าบทบาทสำคัญของ BRICS คือปรับโฉมเศรษฐกิจโลก ให้จำกัดความเหล่าสมาชิกว่าเป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญสำหรับการเติบโตและพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ . จากข้อมูลที่เผยแพร่ต่อสาธารณะในปี 2024 เศรษฐกิจของ BRICS คิดเป็นสัดส่วนราว 37.3% ของจีพีดีโลก บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ (PPP) แซงหน้าจี7 ที่อยู่ที่ 30% สะท้อนถึงผลผลิตทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งกว่าเมื่อเทียบกับค่าครองชีพ . อ้างอิงข้อมูลจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) จีน เพียงชาติเดียวมีผลผลิตทางเศรษฐกิจคิดเป็นสัดส่วน 19.05% ของจีดีพีโลก ส่วน อินเดีย มีสัดส่วนคิดเป็น 8.23% ขณะที่อีกฟากหนึ่ง สหรัฐฯ มีผลผลิตทางเศรษฐกิจคิดเป็นสัดส่วน 14.5% ของเศรษฐกิจโลก เช่นเดียวกับสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตาม จี7 ยังคงนำหน้าในด้านจีพีดีปกติ โดยมีสัดส่วนคิดเป็น 44% ด้าน BRICS มีสัดส่วนเศรษฐกิจคิดเป็น 28% ตามข้อมูลของไอเอ็มเอฟ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000000047 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    10
    0 Comments 0 Shares 1674 Views 0 Reviews
  • หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    เพิ่มพูนความรู้ ด้วยหนังสือเป็นของขวัญปีใหม่ ให้ตัวเองและคนที่คุณรักด้วยหนังสือดีๆ ที่ช่วยเปิดมุมมองใหม่ๆ

    The House of Rothschild จักรวรรดิที่มองไม่เห็น

    ผู้เขียน: ทวีสุข ธรรมศักดิ์
    สำนักพิมพ์: บ้านพระอาทิตย์/baanphraathit
    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    อ.ทวีสุข ธรรมศักดิ์ เจ้าของผลงานหนังสือขายดี The Great Reset – ปฏิวัติระเบียบโลกใหม่ทุบสถิติยอดจองสูงสุดทางออนไลน์ของสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ และหนังสือขายดีในงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 29 จนถึงร้านออนไลน์ในปัจจุบัน

    · เตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงรอบใหญ่ในเชิงโครงสร้าง ที่ต้องไปจบที่สงครามใหญ่ เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างของระบบไปสู่อีกระบบหนึ่ง
    · พร้อมเปิดมุมมองใหม่ในการต่อยอดระบบวิธีคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบโลกใหม่ที่มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ
    · ระเบียบโลกใหม่ New World Order ไม่ใช่เหตุบังเอิญ
    · ศึกษาข้อมูลครอบครัวรอธส์ไชลด์ (Rothschild) ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบโลกมากที่สุดครอบครัวหนึ่งมากว่า 200 ปี ทั้งข้อมูลประวัติศาสตร์ ข้อมูลแนวทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy) รวมถึงการทำงานทางการเงินระหว่างประเทศ

    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    · ภายในเล่ม พบกับ

    o ถอดหน้ากากองค์กรลับอิลลูมินาติ (Illuminati) กับอุดมการณ์ One World Government

    o ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เพื่อการยึดครองโลก

    o ขบวนการสมคบคิดการปฏิวัติครั้งสำคัญ รวมทั้งสงครามโลกที่ผ่านมา และครั้งต่อไป

    o พ่อมดการเงิน ผู้กุมชะตาวิกฤตเศรษฐกิจโลก
    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    #TheHouseofRothschild #Rothchild #รอธไชลด์ #ตระกูลรอธไชลด์ #Elite #อีลิท#NewWorldOrder #นิวเวิล์ดออเดอร์ #ทวีสุขธรรมศักดิ์ #สำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ #บ้านพระอาทิตย์ #baanpraathit #หนังสือขายดี #TheGreatReset #Conspiracy #ทฤษฎีสมคบคิด #Illuminati #อิลลูมินาติ #Zionism #ไซออนนิสต์ #สงครามโลก #OneWorldGovernment
    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV เพิ่มพูนความรู้ ด้วยหนังสือเป็นของขวัญปีใหม่ ให้ตัวเองและคนที่คุณรักด้วยหนังสือดีๆ ที่ช่วยเปิดมุมมองใหม่ๆ The House of Rothschild จักรวรรดิที่มองไม่เห็น ผู้เขียน: ทวีสุข ธรรมศักดิ์ สำนักพิมพ์: บ้านพระอาทิตย์/baanphraathit หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV อ.ทวีสุข ธรรมศักดิ์ เจ้าของผลงานหนังสือขายดี The Great Reset – ปฏิวัติระเบียบโลกใหม่ทุบสถิติยอดจองสูงสุดทางออนไลน์ของสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ และหนังสือขายดีในงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 29 จนถึงร้านออนไลน์ในปัจจุบัน · เตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงรอบใหญ่ในเชิงโครงสร้าง ที่ต้องไปจบที่สงครามใหญ่ เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างของระบบไปสู่อีกระบบหนึ่ง · พร้อมเปิดมุมมองใหม่ในการต่อยอดระบบวิธีคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบโลกใหม่ที่มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ · ระเบียบโลกใหม่ New World Order ไม่ใช่เหตุบังเอิญ · ศึกษาข้อมูลครอบครัวรอธส์ไชลด์ (Rothschild) ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบโลกมากที่สุดครอบครัวหนึ่งมากว่า 200 ปี ทั้งข้อมูลประวัติศาสตร์ ข้อมูลแนวทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy) รวมถึงการทำงานทางการเงินระหว่างประเทศ หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV · ภายในเล่ม พบกับ o ถอดหน้ากากองค์กรลับอิลลูมินาติ (Illuminati) กับอุดมการณ์ One World Government o ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เพื่อการยึดครองโลก o ขบวนการสมคบคิดการปฏิวัติครั้งสำคัญ รวมทั้งสงครามโลกที่ผ่านมา และครั้งต่อไป o พ่อมดการเงิน ผู้กุมชะตาวิกฤตเศรษฐกิจโลก หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV #TheHouseofRothschild #Rothchild #รอธไชลด์ #ตระกูลรอธไชลด์ #Elite #อีลิท#NewWorldOrder #นิวเวิล์ดออเดอร์ #ทวีสุขธรรมศักดิ์ #สำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ #บ้านพระอาทิตย์ #baanpraathit #หนังสือขายดี #TheGreatReset #Conspiracy #ทฤษฎีสมคบคิด #Illuminati #อิลลูมินาติ #Zionism #ไซออนนิสต์ #สงครามโลก #OneWorldGovernment
    Like
    1
    1 Comments 0 Shares 1632 Views 0 Reviews
  • หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    เพิ่มพูนความรู้ ด้วยหนังสือเป็นของขวัญปีใหม่ ให้ตัวเองและคนที่คุณรักด้วยหนังสือดีๆ ที่ช่วยเปิดมุมมองใหม่ๆ

    The House of Rothschild จักรวรรดิที่มองไม่เห็น

    ผู้เขียน: ทวีสุข ธรรมศักดิ์
    สำนักพิมพ์: บ้านพระอาทิตย์/baanphraathit
    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    อ.ทวีสุข ธรรมศักดิ์ เจ้าของผลงานหนังสือขายดี The Great Reset – ปฏิวัติระเบียบโลกใหม่ทุบสถิติยอดจองสูงสุดทางออนไลน์ของสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ และหนังสือขายดีในงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 29 จนถึงร้านออนไลน์ในปัจจุบัน

    · เตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงรอบใหญ่ในเชิงโครงสร้าง ที่ต้องไปจบที่สงครามใหญ่ เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างของระบบไปสู่อีกระบบหนึ่ง
    · พร้อมเปิดมุมมองใหม่ในการต่อยอดระบบวิธีคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบโลกใหม่ที่มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ
    · ระเบียบโลกใหม่ New World Order ไม่ใช่เหตุบังเอิญ
    · ศึกษาข้อมูลครอบครัวรอธส์ไชลด์ (Rothschild) ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบโลกมากที่สุดครอบครัวหนึ่งมากว่า 200 ปี ทั้งข้อมูลประวัติศาสตร์ ข้อมูลแนวทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy) รวมถึงการทำงานทางการเงินระหว่างประเทศ

    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    · ภายในเล่ม พบกับ

    o ถอดหน้ากากองค์กรลับอิลลูมินาติ (Illuminati) กับอุดมการณ์ One World Government

    o ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เพื่อการยึดครองโลก

    o ขบวนการสมคบคิดการปฏิวัติครั้งสำคัญ รวมทั้งสงครามโลกที่ผ่านมา และครั้งต่อไป

    o พ่อมดการเงิน ผู้กุมชะตาวิกฤตเศรษฐกิจโลก
    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV

    #TheHouseofRothschild #Rothchild #รอธไชลด์ #ตระกูลรอธไชลด์ #Elite #อีลิท#NewWorldOrder #นิวเวิล์ดออเดอร์ #ทวีสุขธรรมศักดิ์ #สำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ #บ้านพระอาทิตย์ #baanpraathit #หนังสือขายดี #TheGreatReset #Conspiracy #ทฤษฎีสมคบคิด #Illuminati #อิลลูมินาติ #Zionism #ไซออนนิสต์ #สงครามโลก #OneWorldGovernment

    หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV เพิ่มพูนความรู้ ด้วยหนังสือเป็นของขวัญปีใหม่ ให้ตัวเองและคนที่คุณรักด้วยหนังสือดีๆ ที่ช่วยเปิดมุมมองใหม่ๆ The House of Rothschild จักรวรรดิที่มองไม่เห็น ผู้เขียน: ทวีสุข ธรรมศักดิ์ สำนักพิมพ์: บ้านพระอาทิตย์/baanphraathit หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV อ.ทวีสุข ธรรมศักดิ์ เจ้าของผลงานหนังสือขายดี The Great Reset – ปฏิวัติระเบียบโลกใหม่ทุบสถิติยอดจองสูงสุดทางออนไลน์ของสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ และหนังสือขายดีในงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 29 จนถึงร้านออนไลน์ในปัจจุบัน · เตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงรอบใหญ่ในเชิงโครงสร้าง ที่ต้องไปจบที่สงครามใหญ่ เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างของระบบไปสู่อีกระบบหนึ่ง · พร้อมเปิดมุมมองใหม่ในการต่อยอดระบบวิธีคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบโลกใหม่ที่มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ · ระเบียบโลกใหม่ New World Order ไม่ใช่เหตุบังเอิญ · ศึกษาข้อมูลครอบครัวรอธส์ไชลด์ (Rothschild) ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบโลกมากที่สุดครอบครัวหนึ่งมากว่า 200 ปี ทั้งข้อมูลประวัติศาสตร์ ข้อมูลแนวทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy) รวมถึงการทำงานทางการเงินระหว่างประเทศ หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV · ภายในเล่ม พบกับ o ถอดหน้ากากองค์กรลับอิลลูมินาติ (Illuminati) กับอุดมการณ์ One World Government o ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เพื่อการยึดครองโลก o ขบวนการสมคบคิดการปฏิวัติครั้งสำคัญ รวมทั้งสงครามโลกที่ผ่านมา และครั้งต่อไป o พ่อมดการเงิน ผู้กุมชะตาวิกฤตเศรษฐกิจโลก หนังสือ ปกแข็ง 272 หน้า (พร้อมลายเซ็นอาจารย์)👉👉 https://s.shopee.co.th/3LAXfkzFNV #TheHouseofRothschild #Rothchild #รอธไชลด์ #ตระกูลรอธไชลด์ #Elite #อีลิท#NewWorldOrder #นิวเวิล์ดออเดอร์ #ทวีสุขธรรมศักดิ์ #สำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ #บ้านพระอาทิตย์ #baanpraathit #หนังสือขายดี #TheGreatReset #Conspiracy #ทฤษฎีสมคบคิด #Illuminati #อิลลูมินาติ #Zionism #ไซออนนิสต์ #สงครามโลก #OneWorldGovernment
    1 Comments 0 Shares 1626 Views 0 Reviews
  • สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีจีน ส่งเสียงเตือนไปยังสหรัฐฯ เกี่ยวกับการกระพือสงครามการค้ารอบใหม่ ระบุจะ "ไม่มีผู้ชนะ" แม้ในขณะเดียวกันผู้นำรายนี้ประกาศกร้าวจะปกป้องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ
    .
    ประธานธิบดีสี แสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้เมื่อวันอังคาร (10 ธ.ค.) ระหว่างพบปะกับเหล่าผู้นำสถาบันการเงินระดับโลกหลายแห่ง ในนั้นรวมถึงเวิลด์แบงก์ และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) หนึ่งวันหลังจากคณะผู้ควบคุมกฎระเบียบของจีน แถลงสืบสวนบริษัทเอ็นวิเดีย ผู้ผลิตชิปสัญชาติสหรัฐฯ ฐานต้องสงสัยละเมิดกฎหมายต่อต้านการผูกขาด
    .
    การตรวจสอบดังกล่าวถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นการยกระดับครั้งสำคัญในการต่อสู้ที่หนักหน่วงขึ้นเรื่อยๆ เพื่อครองความเป็นเจ้าปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) ซึ่งทั้งวอชิงตันและปักกิ่งเชื่อว่ามีความสำคัญยิ่งสำหรับปกป้องความมั่นคงของชาติ แม้กระทั่งก่อนหน้าที่ โดนัลด์ ทรัมป์ จะกลับคืนสู่ทำเนียบขาวก็ตาม
    .
    "สงครามรีดภาษี สงครามการค้าและสงครามเทคโนโลยีล้วนแต่สวนทางกับแนวโน้มทางประวัติศาสตร์และกฎหมายทางเศรษฐกิจ และจะไม่มีผู้ชนะ" สถานีโทรทัศน์ซีซีทีวี สื่อมวลชนหแงรัฐของจีน รายงานโดยอ้างคำกล่าวของสี
    .
    สี บอกต่อว่า "การปิดกั้นลานบ้านเล็กๆ ด้วยกำแพงสูงลิ่ว การแยกและทำลายห่วงโซ่อุปทาน จะสร้างความเจ็บปวดแก่คนอื่นๆ และไม่เป็นประโยชน์กับตนเอง จีนเชื่อเสมอว่าถ้าจีนดีโลกก็ดีด้วย และเมื่อโลกดี จีนก็ดียิ่งขึ้นไปอีก" เขากล่าว
    .
    เจค ซัลลิแวน ที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐฯ เคยใช้คำพูดเกี่ยวกับ "ลานบ้านเล็กๆ และกำแพงสูง" จำกัดความยุทธศาสตร์หนึ่งที่จะเปิดทางให้การค้าส่วนใหญ่กับจีนดำเนินไปตามปกติ แต่จะกำหนดข้อจำกัดกับสินค้าบางประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีขั้นสูงต่างๆ อย่างเช่นเซมิคอนดัคเตอร์ ที่เชื่อว่าอาจถูกนำไปใช้งานด้านการทหาร
    .
    เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว รัฐบาลไบเดน แถลงมาตรการควบคุมการส่งออกรอบที่ 3 ในรอบหลายปี จำกัดปักกิ่งจากการเข้าถึงเครื่องไม้เครื่องมือที่ใช้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์หลายสิบรุ่นและชิปความจำล้ำสมัย เช่นเดียวกับกำหนดมาตรการควบคุมบริษัทจีนมากกว่า 100 แห่ง
    .
    ว่าที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ เตือนเมื่อเดือนที่แล้ว ว่า จีนจะต้องเจอกับการขึ้นภาษีสินค้านำเข้าอีก 10% เพิ่มเติมจากระดับภาษีใดๆ ในปัจจุบัน จนกว่าปักกิ่งจะสกัดไม่ให้กระแสยาผิดกฎหมายไหลบ่าเข้าสู่สหรัฐฯ
    .
    ระหว่างให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวเอ็นบีซี ที่ออกอากาศในวันอาทิตย์ (8 ธ.ค.) ทรัมป์ บอกว่าเขาและสี "ได้พูดคุยสื่อสารกัน" ในช่วงไม่กี่วันก่อนหน้านี้ ขณะที่โฆษกระทรวงการต่างประเทศจีน ไม่ยืนยันหรือปฏิเสธใดๆ เมื่อถูกถามเกี่ยวกับการสนทนาระหว่าง 2 ฝ่าย
    .
    จึง พึ่งพิงการส่งออก โดยเฉพาะกับคู่ค้ารายใหญ่อย่างเช่นสหรัฐฯ เป็นเครื่องยนต์ในการขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในระหว่างที่อุปสงค์ภายในประเทศดำดิ่ง สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจต่างๆ โดยข้อมูลของทางการที่เผยแพร่ออกมาในวันอังคาร (10 ธ.ค.) พบว่าการส่งออกลดลงอย่างมาก ส่วนการนำเข้าก็หดตัวอย่างไม่คาดคิดเมื่อเดือนที่แล้ว
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000118740
    ..............
    Sondhi X
    สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีจีน ส่งเสียงเตือนไปยังสหรัฐฯ เกี่ยวกับการกระพือสงครามการค้ารอบใหม่ ระบุจะ "ไม่มีผู้ชนะ" แม้ในขณะเดียวกันผู้นำรายนี้ประกาศกร้าวจะปกป้องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ . ประธานธิบดีสี แสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้เมื่อวันอังคาร (10 ธ.ค.) ระหว่างพบปะกับเหล่าผู้นำสถาบันการเงินระดับโลกหลายแห่ง ในนั้นรวมถึงเวิลด์แบงก์ และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) หนึ่งวันหลังจากคณะผู้ควบคุมกฎระเบียบของจีน แถลงสืบสวนบริษัทเอ็นวิเดีย ผู้ผลิตชิปสัญชาติสหรัฐฯ ฐานต้องสงสัยละเมิดกฎหมายต่อต้านการผูกขาด . การตรวจสอบดังกล่าวถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นการยกระดับครั้งสำคัญในการต่อสู้ที่หนักหน่วงขึ้นเรื่อยๆ เพื่อครองความเป็นเจ้าปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) ซึ่งทั้งวอชิงตันและปักกิ่งเชื่อว่ามีความสำคัญยิ่งสำหรับปกป้องความมั่นคงของชาติ แม้กระทั่งก่อนหน้าที่ โดนัลด์ ทรัมป์ จะกลับคืนสู่ทำเนียบขาวก็ตาม . "สงครามรีดภาษี สงครามการค้าและสงครามเทคโนโลยีล้วนแต่สวนทางกับแนวโน้มทางประวัติศาสตร์และกฎหมายทางเศรษฐกิจ และจะไม่มีผู้ชนะ" สถานีโทรทัศน์ซีซีทีวี สื่อมวลชนหแงรัฐของจีน รายงานโดยอ้างคำกล่าวของสี . สี บอกต่อว่า "การปิดกั้นลานบ้านเล็กๆ ด้วยกำแพงสูงลิ่ว การแยกและทำลายห่วงโซ่อุปทาน จะสร้างความเจ็บปวดแก่คนอื่นๆ และไม่เป็นประโยชน์กับตนเอง จีนเชื่อเสมอว่าถ้าจีนดีโลกก็ดีด้วย และเมื่อโลกดี จีนก็ดียิ่งขึ้นไปอีก" เขากล่าว . เจค ซัลลิแวน ที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐฯ เคยใช้คำพูดเกี่ยวกับ "ลานบ้านเล็กๆ และกำแพงสูง" จำกัดความยุทธศาสตร์หนึ่งที่จะเปิดทางให้การค้าส่วนใหญ่กับจีนดำเนินไปตามปกติ แต่จะกำหนดข้อจำกัดกับสินค้าบางประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีขั้นสูงต่างๆ อย่างเช่นเซมิคอนดัคเตอร์ ที่เชื่อว่าอาจถูกนำไปใช้งานด้านการทหาร . เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว รัฐบาลไบเดน แถลงมาตรการควบคุมการส่งออกรอบที่ 3 ในรอบหลายปี จำกัดปักกิ่งจากการเข้าถึงเครื่องไม้เครื่องมือที่ใช้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์หลายสิบรุ่นและชิปความจำล้ำสมัย เช่นเดียวกับกำหนดมาตรการควบคุมบริษัทจีนมากกว่า 100 แห่ง . ว่าที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ เตือนเมื่อเดือนที่แล้ว ว่า จีนจะต้องเจอกับการขึ้นภาษีสินค้านำเข้าอีก 10% เพิ่มเติมจากระดับภาษีใดๆ ในปัจจุบัน จนกว่าปักกิ่งจะสกัดไม่ให้กระแสยาผิดกฎหมายไหลบ่าเข้าสู่สหรัฐฯ . ระหว่างให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวเอ็นบีซี ที่ออกอากาศในวันอาทิตย์ (8 ธ.ค.) ทรัมป์ บอกว่าเขาและสี "ได้พูดคุยสื่อสารกัน" ในช่วงไม่กี่วันก่อนหน้านี้ ขณะที่โฆษกระทรวงการต่างประเทศจีน ไม่ยืนยันหรือปฏิเสธใดๆ เมื่อถูกถามเกี่ยวกับการสนทนาระหว่าง 2 ฝ่าย . จึง พึ่งพิงการส่งออก โดยเฉพาะกับคู่ค้ารายใหญ่อย่างเช่นสหรัฐฯ เป็นเครื่องยนต์ในการขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในระหว่างที่อุปสงค์ภายในประเทศดำดิ่ง สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจต่างๆ โดยข้อมูลของทางการที่เผยแพร่ออกมาในวันอังคาร (10 ธ.ค.) พบว่าการส่งออกลดลงอย่างมาก ส่วนการนำเข้าก็หดตัวอย่างไม่คาดคิดเมื่อเดือนที่แล้ว . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000118740 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    5
    0 Comments 0 Shares 1277 Views 0 Reviews
  • "อุตสาหกรรมที่ชี้เป็นชี้ตาย" หมายถึงกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญมากต่อเศรษฐกิจของประเทศหรือโลก และหากเกิดปัญหาในอุตสาหกรรมเหล่านี้จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโดยรวม โดยปกติจะหมายถึงอุตสาหกรรมหลัก เช่น:1. อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ2. อุตสาหกรรมพลังงาน3. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ4. อุตสาหกรรมการเกษตรและอาหาร5. อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์6. อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์7. อุตสาหกรรมการขนส่งและโลจิสติกส์8. อุตสาหกรรมการก่อสร้าง9. อุตสาหกรรมโทรคมนาคม10. อุตสาหกรรมการธนาคารและการเงิน11. อุตสาหกรรมเหมืองแร่12. อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ13. อุตสาหกรรมปิโตรเคมี14. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร15. อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและอาวุธ16. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์17. อุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ18. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ19. อุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอ20. อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ21. อุตสาหกรรมการศึกษาและการฝึกอบรม22. อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม)23. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ24. อุตสาหกรรมสุขภาพและการแพทย์25. อุตสาหกรรมสื่อดิจิทัลและแพลตฟอร์มออนไลน์26. อุตสาหกรรมเกมและการพัฒนาแอปพลิเคชัน27. อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์พิเศษ28. อุตสาหกรรมการขนส่งสาธารณะและโครงสร้างพื้นฐานนี่คืออุตสาหกรรมเพิ่มเติมที่มีความสำคัญ:29. อุตสาหกรรมการรีไซเคิลและการจัดการของเสีย30. อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ31. อุตสาหกรรมการประมงและผลิตภัณฑ์จากทะเล32. อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุก่อสร้าง33. อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์34. อุตสาหกรรมอุปกรณ์กีฬา35. อุตสาหกรรมเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์บำรุงผิว36. อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และการออกแบบตกแต่งภายใน37. อุตสาหกรรมการศึกษาออนไลน์และการเรียนรู้ดิจิทัล38. อุตสาหกรรมการค้าปลีก (ทั้งแบบดั้งเดิมและออนไลน์)39. อุตสาหกรรมการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (เช่น ข้าวสาลี, ข้าวโพด, อ้อย)40. อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ41. อุตสาหกรรมการพัฒนาและขายซอฟต์แวร์42. อุตสาหกรรมดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง43. อุตสาหกรรมบริการด้านการเงิน (เช่น บริษัทประกันภัย)44. อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์45. อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และการผลิตแบตเตอรี่46. อุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์47. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (เช่น พืชดัดแปลงพันธุกรรม)48. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ49. อุตสาหกรรมการพิมพ์สามมิติ (3D Printing)50. อุตสาหกรรมโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที (Data Centers)51. อุตสาหกรรมการออกแบบสถาปัตยกรรมและการวางผังเมือง52. อุตสาหกรรมการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)53. อุตสาหกรรมการวิเคราะห์และวิจัยตลาด54. อุตสาหกรรมการทดสอบและควบคุมคุณภาพ55. อุตสาหกรรมความปลอดภัยทางไซเบอร์56. อุตสาหกรรมอุปกรณ์การแพทย์57. อุตสาหกรรมการแพทย์ทางเลือกและการรักษาสุขภาพแบบองค์รวม58. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีและแพลตฟอร์มการจัดการโครงข่ายพลังงาน (Smart Grid)59. อุตสาหกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีรถไร้คนขับ60. อุตสาหกรรมโลจิสติกส์อัจฉริยะและห่วงโซ่อุปทาน61. อุตสาหกรรมการออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรูหรา62. อุตสาหกรรมการผลิตวัคซีนและยาชีววัตถุ63. อุตสาหกรรมการส่งเสริมและสนับสนุนเทคโนโลยีสีเขียว64. อุตสาหกรรมระบบการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีเกษตร (AgriTech)65. อุตสาหกรรมที่พักอาศัยและการบริการ (Hospitality)66. อุตสาหกรรมสถาบันทางการเงินระหว่างประเทศ67. อุตสาหกรรมการจัดการและบำบัดน้ำ
    "อุตสาหกรรมที่ชี้เป็นชี้ตาย" หมายถึงกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญมากต่อเศรษฐกิจของประเทศหรือโลก และหากเกิดปัญหาในอุตสาหกรรมเหล่านี้จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโดยรวม โดยปกติจะหมายถึงอุตสาหกรรมหลัก เช่น:1. อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ2. อุตสาหกรรมพลังงาน3. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ4. อุตสาหกรรมการเกษตรและอาหาร5. อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์6. อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์7. อุตสาหกรรมการขนส่งและโลจิสติกส์8. อุตสาหกรรมการก่อสร้าง9. อุตสาหกรรมโทรคมนาคม10. อุตสาหกรรมการธนาคารและการเงิน11. อุตสาหกรรมเหมืองแร่12. อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ13. อุตสาหกรรมปิโตรเคมี14. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร15. อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและอาวุธ16. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์17. อุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ18. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ19. อุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอ20. อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ21. อุตสาหกรรมการศึกษาและการฝึกอบรม22. อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม)23. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ24. อุตสาหกรรมสุขภาพและการแพทย์25. อุตสาหกรรมสื่อดิจิทัลและแพลตฟอร์มออนไลน์26. อุตสาหกรรมเกมและการพัฒนาแอปพลิเคชัน27. อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์พิเศษ28. อุตสาหกรรมการขนส่งสาธารณะและโครงสร้างพื้นฐานนี่คืออุตสาหกรรมเพิ่มเติมที่มีความสำคัญ:29. อุตสาหกรรมการรีไซเคิลและการจัดการของเสีย30. อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ31. อุตสาหกรรมการประมงและผลิตภัณฑ์จากทะเล32. อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุก่อสร้าง33. อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์34. อุตสาหกรรมอุปกรณ์กีฬา35. อุตสาหกรรมเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์บำรุงผิว36. อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และการออกแบบตกแต่งภายใน37. อุตสาหกรรมการศึกษาออนไลน์และการเรียนรู้ดิจิทัล38. อุตสาหกรรมการค้าปลีก (ทั้งแบบดั้งเดิมและออนไลน์)39. อุตสาหกรรมการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (เช่น ข้าวสาลี, ข้าวโพด, อ้อย)40. อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ41. อุตสาหกรรมการพัฒนาและขายซอฟต์แวร์42. อุตสาหกรรมดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง43. อุตสาหกรรมบริการด้านการเงิน (เช่น บริษัทประกันภัย)44. อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์45. อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และการผลิตแบตเตอรี่46. อุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์47. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (เช่น พืชดัดแปลงพันธุกรรม)48. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ49. อุตสาหกรรมการพิมพ์สามมิติ (3D Printing)50. อุตสาหกรรมโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที (Data Centers)51. อุตสาหกรรมการออกแบบสถาปัตยกรรมและการวางผังเมือง52. อุตสาหกรรมการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)53. อุตสาหกรรมการวิเคราะห์และวิจัยตลาด54. อุตสาหกรรมการทดสอบและควบคุมคุณภาพ55. อุตสาหกรรมความปลอดภัยทางไซเบอร์56. อุตสาหกรรมอุปกรณ์การแพทย์57. อุตสาหกรรมการแพทย์ทางเลือกและการรักษาสุขภาพแบบองค์รวม58. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีและแพลตฟอร์มการจัดการโครงข่ายพลังงาน (Smart Grid)59. อุตสาหกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีรถไร้คนขับ60. อุตสาหกรรมโลจิสติกส์อัจฉริยะและห่วงโซ่อุปทาน61. อุตสาหกรรมการออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรูหรา62. อุตสาหกรรมการผลิตวัคซีนและยาชีววัตถุ63. อุตสาหกรรมการส่งเสริมและสนับสนุนเทคโนโลยีสีเขียว64. อุตสาหกรรมระบบการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีเกษตร (AgriTech)65. อุตสาหกรรมที่พักอาศัยและการบริการ (Hospitality)66. อุตสาหกรรมสถาบันทางการเงินระหว่างประเทศ67. อุตสาหกรรมการจัดการและบำบัดน้ำ
    0 Comments 0 Shares 1202 Views 0 Reviews
  • สิ้น สมชัย ฤชุพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพสามิต-อดีตสปช. อายุ 86 ปี 

    เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2567 มีรายงานว่า นายสมชัย ฤชุพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพสามิต สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปช.) เสียชีวิต เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2567 สิริอายุ 86 ปี

    สำหรับ นายสมชัย เป็นน้องชายของ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ อดีตประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) เกิดเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2481 สำเร็จการศึกษา เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คุรุศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Master of Philosophy The University of Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา และ Doctor of Philosophy The University of Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา

    นายสมชัย เคยดำรงตำแหน่ง สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง นักเศรษฐศาสตร์ประจำกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อีกทั้งยัง ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ และกรรมการองค์กร และบริษัทชั้นนำอีกหลายแห่ง

    ที่มา https://www.matichon.co.th/politics/news_4885914

    #Thaitimes
    สิ้น สมชัย ฤชุพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพสามิต-อดีตสปช. อายุ 86 ปี  เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2567 มีรายงานว่า นายสมชัย ฤชุพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพสามิต สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปช.) เสียชีวิต เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2567 สิริอายุ 86 ปี สำหรับ นายสมชัย เป็นน้องชายของ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ อดีตประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) เกิดเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2481 สำเร็จการศึกษา เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คุรุศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Master of Philosophy The University of Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา และ Doctor of Philosophy The University of Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา นายสมชัย เคยดำรงตำแหน่ง สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง นักเศรษฐศาสตร์ประจำกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อีกทั้งยัง ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ และกรรมการองค์กร และบริษัทชั้นนำอีกหลายแห่ง ที่มา https://www.matichon.co.th/politics/news_4885914 #Thaitimes
    WWW.MATICHON.CO.TH
    สิ้น สมชัย ฤชุพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพสามิต อายุ 86 ปี
    สิ้น สมชัย ฤชุพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพสามิต อายุ 86 ปี
    0 Comments 0 Shares 705 Views 0 Reviews
  • 🔥🔥กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ IMF
    คาดหนี้สาธารณะโลกจะพุ่งแตะ 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
    หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้

    🚩กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ออกคำเตือน
    เมื่อวันพุธที่ผ่านมาว่า สถานการณ์หนี้สาธารณะทั่วโลก
    อาจเลวร้ายกว่าที่หลายคนคิด โดยเน้นย้ำถึงการขาดดุล
    การคลัง ที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐและจีน

    🚩หน่วยงานดังกล่าวคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลก
    จะพุ่งสูงเกิน 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ
    ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปี 2567
    โดยคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลกจะพุ่งสูงถึง 100%
    ของ GDP ของโลกภายในสิ้นทศวรรษนี้

    🚩สหรัฐฯ และจีนมีสัดส่วนหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก
    หากไม่รวมทั้งสองประเทศนี้ในการคำนวณ อัตราส่วน
    หนี้สาธารณะต่อ GDP ทั่วโลกจะลดลงประมาณ 20%

    ที่มา : cnbc

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #IMF #thaitimes
    🔥🔥กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ IMF คาดหนี้สาธารณะโลกจะพุ่งแตะ 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้ 🚩กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ออกคำเตือน เมื่อวันพุธที่ผ่านมาว่า สถานการณ์หนี้สาธารณะทั่วโลก อาจเลวร้ายกว่าที่หลายคนคิด โดยเน้นย้ำถึงการขาดดุล การคลัง ที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐและจีน 🚩หน่วยงานดังกล่าวคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลก จะพุ่งสูงเกิน 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปี 2567 โดยคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลกจะพุ่งสูงถึง 100% ของ GDP ของโลกภายในสิ้นทศวรรษนี้ 🚩สหรัฐฯ และจีนมีสัดส่วนหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก หากไม่รวมทั้งสองประเทศนี้ในการคำนวณ อัตราส่วน หนี้สาธารณะต่อ GDP ทั่วโลกจะลดลงประมาณ 20% ที่มา : cnbc #หุ้นติดดอย #การลงทุน #IMF #thaitimes
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 1274 Views 0 Reviews
  • 🇺🇳เลขาธิการสหประชาชาติเรียกร้องให้เร่งปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศที่ล้าสมัย, ไร้ประสิทธิภาพ และ ไม่เป็นธรรม

    💬"ผมรู้สึกขอบคุณที่ได้มีส่วนร่วมในการประชุมสุดยอด BRIC ครั้งที่ ๑๖ โดยรวมแล้ว, ประเทศของคุณเป็นตัวแทนของประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของโลก และผมขอชื่นชมความมุ่งมั่นและการสนับสนุนอันมีค่าของคุณต่อพหุภาคีและการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนในทีมของคุณในปีนี้... จำเป็นต้องมีชุมชนของประเทศต่างๆ ที่ทำงานเป็นครอบครัวเดียวกันเพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลก," อันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวในการประชุมครั้งสุดท้ายของการประชุมสุดยอด BRICS ในรูปแบบ BRICS+ และการเข้าถึงที่เมืองคาซานของรัสเซีย

    ตามที่เขากล่าว, ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบันไม่ได้ให้ตาข่ายความปลอดภัยหรือระดับการสนับสนุนที่ประเทศที่เปราะบางจำนวนมากต้องการ

    กูเตอร์เรสยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกสันติภาพ, รวมถึงการกล่าวถึงการนำอาวุธจากอวกาศมาใช้และการใช้อาวุธสังหารอัตโนมัติ

    #BRICS2024
    .
    🇺🇳UN CHIEF CALLS FOR ACCELERATING THE REFORM OF THE INTERNATIONAL OUTDATED, INEFFECTIVE AND UNFAIR FINANCIAL ARCHITECTURE

    💬"I am grateful to participate in the 16th BRIC Summit. Collectively, your countries represent nearly half of the world's population. And I salute your valuable commitment and support for multilateralism and international problem solving as clearly reflected in your team this year... It takes a community of nations working as one global family to address global challenges," United Nations Secretary-General Antonio Guterres said at the final meeting of the BRICS summit in the BRICS+ and outreach format in Russia's Kazan.

    According to him, today's international financial system does not provide many vulnerable countries with the safety net or level of support they need.

    Guterres also stressed the need for strengthening and updating the machinery of peace, as well as addressing the weaponization of outer space and use of lethal autonomous weapons.

    #BRICS2024
    .
    7:52 PM · Oct 24, 2024 · 20.8K Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1849433743972290684
    🇺🇳เลขาธิการสหประชาชาติเรียกร้องให้เร่งปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศที่ล้าสมัย, ไร้ประสิทธิภาพ และ ไม่เป็นธรรม 💬"ผมรู้สึกขอบคุณที่ได้มีส่วนร่วมในการประชุมสุดยอด BRIC ครั้งที่ ๑๖ โดยรวมแล้ว, ประเทศของคุณเป็นตัวแทนของประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของโลก และผมขอชื่นชมความมุ่งมั่นและการสนับสนุนอันมีค่าของคุณต่อพหุภาคีและการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนในทีมของคุณในปีนี้... จำเป็นต้องมีชุมชนของประเทศต่างๆ ที่ทำงานเป็นครอบครัวเดียวกันเพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลก," อันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวในการประชุมครั้งสุดท้ายของการประชุมสุดยอด BRICS ในรูปแบบ BRICS+ และการเข้าถึงที่เมืองคาซานของรัสเซีย ตามที่เขากล่าว, ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบันไม่ได้ให้ตาข่ายความปลอดภัยหรือระดับการสนับสนุนที่ประเทศที่เปราะบางจำนวนมากต้องการ กูเตอร์เรสยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกสันติภาพ, รวมถึงการกล่าวถึงการนำอาวุธจากอวกาศมาใช้และการใช้อาวุธสังหารอัตโนมัติ #BRICS2024 . 🇺🇳UN CHIEF CALLS FOR ACCELERATING THE REFORM OF THE INTERNATIONAL OUTDATED, INEFFECTIVE AND UNFAIR FINANCIAL ARCHITECTURE 💬"I am grateful to participate in the 16th BRIC Summit. Collectively, your countries represent nearly half of the world's population. And I salute your valuable commitment and support for multilateralism and international problem solving as clearly reflected in your team this year... It takes a community of nations working as one global family to address global challenges," United Nations Secretary-General Antonio Guterres said at the final meeting of the BRICS summit in the BRICS+ and outreach format in Russia's Kazan. According to him, today's international financial system does not provide many vulnerable countries with the safety net or level of support they need. Guterres also stressed the need for strengthening and updating the machinery of peace, as well as addressing the weaponization of outer space and use of lethal autonomous weapons. #BRICS2024 . 7:52 PM · Oct 24, 2024 · 20.8K Views https://x.com/SputnikInt/status/1849433743972290684
    Like
    Haha
    3
    0 Comments 0 Shares 624 Views 121 0 Reviews
  • ปฏิญญาคาซาน BRICS2024 มีอะไรอยู่ในคำประกาศคาซานของการประชุมสุดยอดกลุ่ม BRICS

    BRICS ได้รับรองคำประกาศปฏิญญาขั้นสุดท้ายของการประชุมสุดยอดBRICS Plus Summit 2024 ครั้งที่ 16 ที่เมืองคาซาน ประเทศรัสเซีย และมีแผนที่จะยื่นเอกสารปฏิญญาดังกล่าวต่อสหประชาชาติ โดยมีเนื้อหาดังนี้:

    1 .ความจำเป็นในการปฏิรูปสถาบันระดับโลก:

    - สถาบันในระบบการเงินระหว่างประเทศของเบรตตันวูดส์ รวมทั้งองค์กรการค้าโลก ควรได้รับการปฏิรูปเพื่อให้สามารถเป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศกำลังพัฒนาได้ดีขึ้น

    - BRICS คัดค้านมาตรการ“ฝ่ายเดียว”ห้ามเลือกปฏิบัติ และคุ้มครองทางการค้าที่ดำเนินการภายใต้ข้ออ้างในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ซึ่งรวมถึงกลไกการปรับการปล่อยคาร์บอนและภาษี

    2.BRICS สนับสนุนการปฏิรูปสหประชาชาติอย่างครอบคลุม รวมถึงคณะมนตรีความมั่นคง เพื่อให้เป็นตัวแทนประชาคมโลกมากขึ้น และระบุถึงความสำคัญขององค์การนี้ในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆ

    3.โครงการริเริ่มใหม่:

    - สมาชิก BRICS ตระหนักถึงศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเชื่อมช่องว่างทางดิจิทัลระหว่างประเทศต่างๆ เพื่อช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

    -BRICS ตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลงธนาคารพัฒนาใหม่ NDB ให้สามารถตอบสนองความต้องการของศตวรรษที่ 21

    -BRICS สนับสนุนการจัดทำแพลตฟอร์มเทคโนโลยีใหม่เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือเพื่อการพัฒนา รวมถึงการสร้างผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีขั้นสูงโดยใช้ศักยภาพทางเทคโนโลยีในประเทศเพื่อขับเคลื่อนการเติบโตที่ “ยั่งยืนและครอบคลุม”

    องค์กรBRICS ตกลงที่จะสำรวจการสร้างโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงินและการฝากเงินข้ามพรมแดนแบบอิสระที่เรียกว่า BRICS Clear

    - BRICS พร้อมที่จะเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนายารักษาโรค รวมถึงวัคซีนและโครงการเวชศาสตร์นิวเคลียร์

    - BRICS ยินดีต้อนรับการสร้างแพลตฟอร์มการขนส่งและโลจิสติกส์ที่เป็นหนึ่งเดียว
    คำประกาศดังกล่าวสนับสนุนข้อเสนอของรัสเซียในการสร้างตลาดแลกเปลี่ยนธัญพืชเพื่อ "ส่งเสริมการค้าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและปุ๋ยตามกฎเกณฑ์ และลดการหยุดชะงักให้เหลือน้อยที่สุด"

    4.การขยายความร่วมมือ:

    - คำประกาศดังกล่าวยินดีกับการขยายการใช้สกุลเงินประจำชาติในการทำธุรกรรมระหว่างสมาชิก BRICS และพันธมิตรทางการค้า

    -เอกสารปฏิญญาดังกล่าวเน้นย้ำถึงความสำคัญของการขยายความร่วมมือบนพื้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกัน และการสร้างความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ให้มากยิ่งขึ้นระหว่างสมาชิกกลุ่ม BRICS รวมถึงการดำเนินการตามกลยุทธ์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มต่อไป

    และทางกลุ่มBRICSยินดีต้อนรับความสนใจของประเทศต่างๆ ในโลกใต้ที่มีต่อกลุ่ม BRICS และเรียกร้องให้ประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด โดยเฉพาะในแอฟริกา เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นใน
    กระบวนการระดับโลก

    5.วิกฤตการณ์โลกที่BRICSประกาศต่อต้าน:

    -เอกสารปฏิญญาดังกล่าว “ประณาม” การใช้มาตรการคว่ำบาตรที่เลือกปฏิบัติและมีแรงจูงใจทางการเมืองอย่างผิดกฎหมาย และเน้นย้ำถึงผลกระทบเชิงลบต่อเศรษฐกิจโลก

    -กลุ่ม BRICS คัดค้านการนำอาวุธไปใช้ในอวกาศ และสนับสนุนการเสริมสร้างระบอบการไม่แพร่ขยายอาวุธและการปลดอาวุธทั่วโลก รวมถึงการปฏิบัติตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเกี่ยวกับมาตรการป้องกันไม่ให้อาวุธทำลายล้างสูงตกไปอยู่ในมือของผู้ก่อการร้าย โดยเรียกร้องให้มีการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายเพื่อช่วยเหลือในการต่อสู้กับยาเสพติด

    -สมาชิกกลุ่มได้สรุปจุดยืนของตนเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ในยูเครน และรับทราบข้อเสนอในการไกล่เกลี่ยเพื่อยุติความขัดแย้งโดยผ่านการเจรจา

    - กลุ่ม BRICS แสดงการสนับสนุนต่อการเข้าเป็นสมาชิกอย่างเต็มตัวของปาเลสไตน์ในสหประชาชาติ

    -คำประกาศดังกล่าวประณามการโจมตีของอิสราเอลต่อเจ้าหน้าที่ UN ในเลบานอน และการโจมตีด้วยการก่อการร้ายด้วยระเบิดเพจเจอร์สังหารเมื่อวันที่ 17 กันยายน2567

    -BRICS ยินดีต้อนรับการจัดตั้งประธานสภาช่วงเปลี่ยนผ่านของเฮติและสภาการเลือกตั้งเพื่อแก้ไขวิกฤตที่กำลังรุมเร้าประเทศแคริบเบียน

    -กลุ่ม BRICS แสดงความกังวลเกี่ยวกับความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นและสถานการณ์ด้านมนุษยธรรมที่เลวร้ายลงในซูดาน และเรียกร้องให้หยุดยิง

    -คำประกาศนี้วิพากษ์วิจารณ์การนำสิทธิมนุษยชนเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองและมาตรฐานที่ไม่เท่าเทียมกันในพื้นที่นี้

    -เอกสารนี้แสดงการต่อต้านการเลือกปฏิบัติทุกรูปแบบในกีฬา

    ที่มา สำนักข่าว Sputnik
    https://x.com/sputnikint/status/1849128202633166937?s=46&t=nn3z3yuHSlOFcPbFyzmrQA

    #Thaitimes
    ปฏิญญาคาซาน BRICS2024 มีอะไรอยู่ในคำประกาศคาซานของการประชุมสุดยอดกลุ่ม BRICS BRICS ได้รับรองคำประกาศปฏิญญาขั้นสุดท้ายของการประชุมสุดยอดBRICS Plus Summit 2024 ครั้งที่ 16 ที่เมืองคาซาน ประเทศรัสเซีย และมีแผนที่จะยื่นเอกสารปฏิญญาดังกล่าวต่อสหประชาชาติ โดยมีเนื้อหาดังนี้: 1 .ความจำเป็นในการปฏิรูปสถาบันระดับโลก: - สถาบันในระบบการเงินระหว่างประเทศของเบรตตันวูดส์ รวมทั้งองค์กรการค้าโลก ควรได้รับการปฏิรูปเพื่อให้สามารถเป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศกำลังพัฒนาได้ดีขึ้น - BRICS คัดค้านมาตรการ“ฝ่ายเดียว”ห้ามเลือกปฏิบัติ และคุ้มครองทางการค้าที่ดำเนินการภายใต้ข้ออ้างในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ซึ่งรวมถึงกลไกการปรับการปล่อยคาร์บอนและภาษี 2.BRICS สนับสนุนการปฏิรูปสหประชาชาติอย่างครอบคลุม รวมถึงคณะมนตรีความมั่นคง เพื่อให้เป็นตัวแทนประชาคมโลกมากขึ้น และระบุถึงความสำคัญขององค์การนี้ในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆ 3.โครงการริเริ่มใหม่: - สมาชิก BRICS ตระหนักถึงศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเชื่อมช่องว่างทางดิจิทัลระหว่างประเทศต่างๆ เพื่อช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม -BRICS ตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลงธนาคารพัฒนาใหม่ NDB ให้สามารถตอบสนองความต้องการของศตวรรษที่ 21 -BRICS สนับสนุนการจัดทำแพลตฟอร์มเทคโนโลยีใหม่เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือเพื่อการพัฒนา รวมถึงการสร้างผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีขั้นสูงโดยใช้ศักยภาพทางเทคโนโลยีในประเทศเพื่อขับเคลื่อนการเติบโตที่ “ยั่งยืนและครอบคลุม” องค์กรBRICS ตกลงที่จะสำรวจการสร้างโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงินและการฝากเงินข้ามพรมแดนแบบอิสระที่เรียกว่า BRICS Clear - BRICS พร้อมที่จะเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนายารักษาโรค รวมถึงวัคซีนและโครงการเวชศาสตร์นิวเคลียร์ - BRICS ยินดีต้อนรับการสร้างแพลตฟอร์มการขนส่งและโลจิสติกส์ที่เป็นหนึ่งเดียว คำประกาศดังกล่าวสนับสนุนข้อเสนอของรัสเซียในการสร้างตลาดแลกเปลี่ยนธัญพืชเพื่อ "ส่งเสริมการค้าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและปุ๋ยตามกฎเกณฑ์ และลดการหยุดชะงักให้เหลือน้อยที่สุด" 4.การขยายความร่วมมือ: - คำประกาศดังกล่าวยินดีกับการขยายการใช้สกุลเงินประจำชาติในการทำธุรกรรมระหว่างสมาชิก BRICS และพันธมิตรทางการค้า -เอกสารปฏิญญาดังกล่าวเน้นย้ำถึงความสำคัญของการขยายความร่วมมือบนพื้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกัน และการสร้างความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ให้มากยิ่งขึ้นระหว่างสมาชิกกลุ่ม BRICS รวมถึงการดำเนินการตามกลยุทธ์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มต่อไป และทางกลุ่มBRICSยินดีต้อนรับความสนใจของประเทศต่างๆ ในโลกใต้ที่มีต่อกลุ่ม BRICS และเรียกร้องให้ประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด โดยเฉพาะในแอฟริกา เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นใน กระบวนการระดับโลก 5.วิกฤตการณ์โลกที่BRICSประกาศต่อต้าน: -เอกสารปฏิญญาดังกล่าว “ประณาม” การใช้มาตรการคว่ำบาตรที่เลือกปฏิบัติและมีแรงจูงใจทางการเมืองอย่างผิดกฎหมาย และเน้นย้ำถึงผลกระทบเชิงลบต่อเศรษฐกิจโลก -กลุ่ม BRICS คัดค้านการนำอาวุธไปใช้ในอวกาศ และสนับสนุนการเสริมสร้างระบอบการไม่แพร่ขยายอาวุธและการปลดอาวุธทั่วโลก รวมถึงการปฏิบัติตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเกี่ยวกับมาตรการป้องกันไม่ให้อาวุธทำลายล้างสูงตกไปอยู่ในมือของผู้ก่อการร้าย โดยเรียกร้องให้มีการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายเพื่อช่วยเหลือในการต่อสู้กับยาเสพติด -สมาชิกกลุ่มได้สรุปจุดยืนของตนเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ในยูเครน และรับทราบข้อเสนอในการไกล่เกลี่ยเพื่อยุติความขัดแย้งโดยผ่านการเจรจา - กลุ่ม BRICS แสดงการสนับสนุนต่อการเข้าเป็นสมาชิกอย่างเต็มตัวของปาเลสไตน์ในสหประชาชาติ -คำประกาศดังกล่าวประณามการโจมตีของอิสราเอลต่อเจ้าหน้าที่ UN ในเลบานอน และการโจมตีด้วยการก่อการร้ายด้วยระเบิดเพจเจอร์สังหารเมื่อวันที่ 17 กันยายน2567 -BRICS ยินดีต้อนรับการจัดตั้งประธานสภาช่วงเปลี่ยนผ่านของเฮติและสภาการเลือกตั้งเพื่อแก้ไขวิกฤตที่กำลังรุมเร้าประเทศแคริบเบียน -กลุ่ม BRICS แสดงความกังวลเกี่ยวกับความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นและสถานการณ์ด้านมนุษยธรรมที่เลวร้ายลงในซูดาน และเรียกร้องให้หยุดยิง -คำประกาศนี้วิพากษ์วิจารณ์การนำสิทธิมนุษยชนเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองและมาตรฐานที่ไม่เท่าเทียมกันในพื้นที่นี้ -เอกสารนี้แสดงการต่อต้านการเลือกปฏิบัติทุกรูปแบบในกีฬา ที่มา สำนักข่าว Sputnik https://x.com/sputnikint/status/1849128202633166937?s=46&t=nn3z3yuHSlOFcPbFyzmrQA #Thaitimes
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 1116 Views 0 Reviews
  • ปูตินปลุกเร้าสร้าง “ระเบียบโลกแบบมีหลายขั้วอำนาจ” ในงานประชุมสุดยอดกลุ่มบริกส์ที่มีผู้นำจากนานาประเทศเข้าร่วมหารือ และประมุขทำเนียบเครมลินมุ่งใช้เป็นบทพิสูจน์ว่า ความพยายามโดดเดี่ยวมอสโกของฝ่ายตะวันตกล้มเหลวโดยสิ้นเชิง ขณะที่ในอีกด้านหนึ่ง สี จิ้นผิง พันธมิตรสำคัญซึ่งเข้าประชุมครั้งนี้ด้วย เรียกร้องบริกส์กระชับความร่วมมือด้านการเงินและเศรษฐกิจ ชี้จำเป็นต้องปฏิรูปโครงสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศอย่างเร่งด่วนยิ่งขึ้น
    .
    การประชุมสุดยอดคราวนี้ที่จัดขึ้นที่เมืองคาซาน ทางด้านตะวันตกกลางของแดนหมีขาว ถือเป็นการประชุมทางการทูตใหญ่ที่สุดซึ่งรัสเซียเป็นเจ้าภาพ นับจากที่ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน สั่งยกทัพบุกยูเครนในปี 2022 ส่งผลให้รัสเซียถูกตะวันตกรุมประณามและแซงก์ชัน
    .
    มีผู้นำราว 20 คนจากนานาชาติ รวมทั้งประเทศเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนาขนาดใหญ่อย่าง จีน อินเดีย ตุรกี และอิหร่าน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เข้าร่วมการประชุมที่เมืองคาซานครั้งนี้ ในหัวข้อต่างๆ เช่น การพัฒนาระบบการชำระเงินข้ามพรมแดนของบริกส์ และความขัดแย้งในตะวันออกกลาง
    .
    มอสโกมองว่า ที่ประชุมนี้เป็นทางเลือกซึ่งกำลังทวีความสำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับพวกองค์การระหว่างประเทศรุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่สองและสงครามเย็นที่นำโดยฝ่ายตะวันตก เช่น กลุ่มจี7 และนี่ก็เป็นจุดยืนที่ได้รับการสนับสนุนจากประธานาธิบดีสี จิ้นผิงของจีน ผู้เป็นพันธมิตรสำคัญของปูติน
    .
    ปูตินกล่าวเปิดประชุมอย่างเป็นทางการเมื่อวันพุธ (23 ต.ค.) ว่า การสร้างระเบียบโลกแบบที่ยอมรับให้มีหลายขั้วอำนาจนั้นเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ และเป็นขั้นตอนที่มีพลวัตและไม่อาจย้อนกลับได้ พร้อมกับเรียกร้องให้เหล่าชาติสมาชิกของบริกส์ พิจารณาว่าจะช่วยแก้ปัญหาที่เร่งด่วนที่สุดได้อย่างไร ซึ่งรวมถึงสถานการณ์ความขัดแย้งรุนแรงระดับภูมิภาค
    .
    ก่อนหน้านี้ตั้งแต่วันอังคาร (22) ปูตินยังได้ประชุมข้างเคียงกับพวกผู้นำของหลายประเทศที่มารวมการประชุมซัมมิตบริกส์ รวมทั้ง สี และนายกรัฐมนตรีนเรนทรา โมดีของอินเดีย ซึ่งผู้นำรัสเซียได้กล่าวยกย่องความสัมพันธ์ใกล้ชิดและการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ระหว่างกัน
    .
    ขณะที่ สี ก็กล่าวยกย่องความสัมพันธ์แนบแน่นที่จีนมีอยู่กับรัสเซีย ในโลกที่ “วุ่นวาย” และเสริมว่า ความสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นแรงผลักดันสำคัญในการพัฒนา การฟื้นฟู และการปรับปรุงให้ทันสมัยสำหรับทั้งสองประเทศ
    .
    ด้านปูตินขานรับว่า ความสัมพันธ์กับปักกิ่งเป็นรากฐานเสถียรภาพของโลก
    .
    ในวันพุธ ระหว่างกล่าวปราศรัยกับที่ประชุมซัมมิตกลุ่มบริกส์ สี ได้กล่าวเรียกร้องให้สมาชิกบริกส์กระชับความร่วมมือด้านการเงินและเศรษฐกิจ พร้อมชี้ว่าจำเป็นต้องปฏิรูปโครงสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศอย่างเร่งด่วนยิ่งขึ้น รวมทั้งยังเรียกร้องให้ปลดชนวนความขัดแย้งในวิกฤตยูเครน และให้มีการหยุดยิงในเลบานอนและกาซา
    .
    กลุ่มบริกส์ (BRICS) ตอนแรกใช้ชื่อว่า บริก (BRIC) ก่อตั้งขึ้นในปี 2009 โดยมีสมาชิกเพียง 4 ประเทศ ได้แก่ บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน จากนั้นจึงขยายเป็นบริกส์ เมื่อรับแอฟริกาใต้เข้าเป็นสมาชิกรายที่ 5 และในปีที่แล้ว ก็ได้เปิดกว้างรับพวกประเทศเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่อีกหลายราย เป็นต้นว่า อียิปต์ เอธิโอเปีย เวเนซุเอลา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และอิหร่าน ทั้งนี้ ซาอุดีอาระเบียก็ได้สมัครและได้รับเชิญเข้าเป็นสมาชิกแล้ว ทว่ายังไม่ได้ทำกระบวนการรับรองให้สัตยาบัน ขณะที่อาร์เจนตินา ปฏิเสธที่จะเข้าร่วม หลังจากมีการเลือกตั้งและประธานาธิบดีคนใหม่เป็นพวกโปรตะวันตกเข้มข้น
    .
    เพื่อตอกย้ำวิสัยทัศน์ในการท้าทายตะวันตก ในวันพุธปูตินยังมีนัดหมายหารือแบบประชุมข้างเคียงกับประธานาธิบดีมาซูด เปเซชเคียนของอิหร่าน และประธานาธิบดีนิโคลัส มาดูโรของเวเนซุเอลา รวมทั้งจะพบกับประธานาธิบดีเรเจป ไตยิป แอร์โดอัน ของตุรกี ซึ่งกำลังแสดงความสนใจขอสมัครเป็นสมาชิกของบริกส์ ตลอดจนหารือกับอันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ ในวันพฤหัสฯ (24 ต.ค.) ในประเด็นความขัดแย้งในยูเครน
    .
    รายงานระบุว่า กูเตอร์เรสเดินทางถึงรัสเซียในวันพุธ ซึ่งเป็นการเยือนรัสเซียครั้งแรกในรอบกว่า 2 ปี และสร้างความไม่พอใจอย่างยิ่งให้แก่ยูเครน
    .
    กระทรวงการต่างประเทศยูเครนโพสต์บนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ ต่อว่ากูเตอร์เรสว่า ปฏิเสธคำเชิญร่วมงานประชุมสุดยอดสันติภาพโลกครั้งแรกของเคียฟที่จัดขึ้นในสวิตเซอร์แลนด์เมื่อหลายเดือนก่อน แต่กลับรับคำเชิญจากอาชญากรอย่างปูติน
    .
    ทางด้านโฆษกกูเตอร์เรสอธิบายว่า ทริปนี้เป็นส่วนหนึ่งของการร่วมงานประชุมในองค์กรที่มีชาติสมาชิกจำนวนมากที่ถือเป็นแนวทางปฏิบัติปกติของกูเตอร์เรส อีกทั้งยังเป็นโอกาสดีในการย้ำจุดยืนเกี่ยวกับความขัดแย้งในยูเครนและเงื่อนไขสำหรับสันติภาพที่เป็นธรรม
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000102300
    ..............
    Sondhi X
    ปูตินปลุกเร้าสร้าง “ระเบียบโลกแบบมีหลายขั้วอำนาจ” ในงานประชุมสุดยอดกลุ่มบริกส์ที่มีผู้นำจากนานาประเทศเข้าร่วมหารือ และประมุขทำเนียบเครมลินมุ่งใช้เป็นบทพิสูจน์ว่า ความพยายามโดดเดี่ยวมอสโกของฝ่ายตะวันตกล้มเหลวโดยสิ้นเชิง ขณะที่ในอีกด้านหนึ่ง สี จิ้นผิง พันธมิตรสำคัญซึ่งเข้าประชุมครั้งนี้ด้วย เรียกร้องบริกส์กระชับความร่วมมือด้านการเงินและเศรษฐกิจ ชี้จำเป็นต้องปฏิรูปโครงสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศอย่างเร่งด่วนยิ่งขึ้น . การประชุมสุดยอดคราวนี้ที่จัดขึ้นที่เมืองคาซาน ทางด้านตะวันตกกลางของแดนหมีขาว ถือเป็นการประชุมทางการทูตใหญ่ที่สุดซึ่งรัสเซียเป็นเจ้าภาพ นับจากที่ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน สั่งยกทัพบุกยูเครนในปี 2022 ส่งผลให้รัสเซียถูกตะวันตกรุมประณามและแซงก์ชัน . มีผู้นำราว 20 คนจากนานาชาติ รวมทั้งประเทศเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนาขนาดใหญ่อย่าง จีน อินเดีย ตุรกี และอิหร่าน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เข้าร่วมการประชุมที่เมืองคาซานครั้งนี้ ในหัวข้อต่างๆ เช่น การพัฒนาระบบการชำระเงินข้ามพรมแดนของบริกส์ และความขัดแย้งในตะวันออกกลาง . มอสโกมองว่า ที่ประชุมนี้เป็นทางเลือกซึ่งกำลังทวีความสำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับพวกองค์การระหว่างประเทศรุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่สองและสงครามเย็นที่นำโดยฝ่ายตะวันตก เช่น กลุ่มจี7 และนี่ก็เป็นจุดยืนที่ได้รับการสนับสนุนจากประธานาธิบดีสี จิ้นผิงของจีน ผู้เป็นพันธมิตรสำคัญของปูติน . ปูตินกล่าวเปิดประชุมอย่างเป็นทางการเมื่อวันพุธ (23 ต.ค.) ว่า การสร้างระเบียบโลกแบบที่ยอมรับให้มีหลายขั้วอำนาจนั้นเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ และเป็นขั้นตอนที่มีพลวัตและไม่อาจย้อนกลับได้ พร้อมกับเรียกร้องให้เหล่าชาติสมาชิกของบริกส์ พิจารณาว่าจะช่วยแก้ปัญหาที่เร่งด่วนที่สุดได้อย่างไร ซึ่งรวมถึงสถานการณ์ความขัดแย้งรุนแรงระดับภูมิภาค . ก่อนหน้านี้ตั้งแต่วันอังคาร (22) ปูตินยังได้ประชุมข้างเคียงกับพวกผู้นำของหลายประเทศที่มารวมการประชุมซัมมิตบริกส์ รวมทั้ง สี และนายกรัฐมนตรีนเรนทรา โมดีของอินเดีย ซึ่งผู้นำรัสเซียได้กล่าวยกย่องความสัมพันธ์ใกล้ชิดและการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ระหว่างกัน . ขณะที่ สี ก็กล่าวยกย่องความสัมพันธ์แนบแน่นที่จีนมีอยู่กับรัสเซีย ในโลกที่ “วุ่นวาย” และเสริมว่า ความสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นแรงผลักดันสำคัญในการพัฒนา การฟื้นฟู และการปรับปรุงให้ทันสมัยสำหรับทั้งสองประเทศ . ด้านปูตินขานรับว่า ความสัมพันธ์กับปักกิ่งเป็นรากฐานเสถียรภาพของโลก . ในวันพุธ ระหว่างกล่าวปราศรัยกับที่ประชุมซัมมิตกลุ่มบริกส์ สี ได้กล่าวเรียกร้องให้สมาชิกบริกส์กระชับความร่วมมือด้านการเงินและเศรษฐกิจ พร้อมชี้ว่าจำเป็นต้องปฏิรูปโครงสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศอย่างเร่งด่วนยิ่งขึ้น รวมทั้งยังเรียกร้องให้ปลดชนวนความขัดแย้งในวิกฤตยูเครน และให้มีการหยุดยิงในเลบานอนและกาซา . กลุ่มบริกส์ (BRICS) ตอนแรกใช้ชื่อว่า บริก (BRIC) ก่อตั้งขึ้นในปี 2009 โดยมีสมาชิกเพียง 4 ประเทศ ได้แก่ บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน จากนั้นจึงขยายเป็นบริกส์ เมื่อรับแอฟริกาใต้เข้าเป็นสมาชิกรายที่ 5 และในปีที่แล้ว ก็ได้เปิดกว้างรับพวกประเทศเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่อีกหลายราย เป็นต้นว่า อียิปต์ เอธิโอเปีย เวเนซุเอลา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และอิหร่าน ทั้งนี้ ซาอุดีอาระเบียก็ได้สมัครและได้รับเชิญเข้าเป็นสมาชิกแล้ว ทว่ายังไม่ได้ทำกระบวนการรับรองให้สัตยาบัน ขณะที่อาร์เจนตินา ปฏิเสธที่จะเข้าร่วม หลังจากมีการเลือกตั้งและประธานาธิบดีคนใหม่เป็นพวกโปรตะวันตกเข้มข้น . เพื่อตอกย้ำวิสัยทัศน์ในการท้าทายตะวันตก ในวันพุธปูตินยังมีนัดหมายหารือแบบประชุมข้างเคียงกับประธานาธิบดีมาซูด เปเซชเคียนของอิหร่าน และประธานาธิบดีนิโคลัส มาดูโรของเวเนซุเอลา รวมทั้งจะพบกับประธานาธิบดีเรเจป ไตยิป แอร์โดอัน ของตุรกี ซึ่งกำลังแสดงความสนใจขอสมัครเป็นสมาชิกของบริกส์ ตลอดจนหารือกับอันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ ในวันพฤหัสฯ (24 ต.ค.) ในประเด็นความขัดแย้งในยูเครน . รายงานระบุว่า กูเตอร์เรสเดินทางถึงรัสเซียในวันพุธ ซึ่งเป็นการเยือนรัสเซียครั้งแรกในรอบกว่า 2 ปี และสร้างความไม่พอใจอย่างยิ่งให้แก่ยูเครน . กระทรวงการต่างประเทศยูเครนโพสต์บนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ ต่อว่ากูเตอร์เรสว่า ปฏิเสธคำเชิญร่วมงานประชุมสุดยอดสันติภาพโลกครั้งแรกของเคียฟที่จัดขึ้นในสวิตเซอร์แลนด์เมื่อหลายเดือนก่อน แต่กลับรับคำเชิญจากอาชญากรอย่างปูติน . ทางด้านโฆษกกูเตอร์เรสอธิบายว่า ทริปนี้เป็นส่วนหนึ่งของการร่วมงานประชุมในองค์กรที่มีชาติสมาชิกจำนวนมากที่ถือเป็นแนวทางปฏิบัติปกติของกูเตอร์เรส อีกทั้งยังเป็นโอกาสดีในการย้ำจุดยืนเกี่ยวกับความขัดแย้งในยูเครนและเงื่อนไขสำหรับสันติภาพที่เป็นธรรม . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000102300 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    7
    0 Comments 1 Shares 2403 Views 1 Reviews
  • 🇨🇳 ประธานาธิบดีจีน สี จิ้นผิง กล่าวว่า กลุ่ม BRICS จะต้องส่งเสริมระบบการเงินใหม่

    “มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศ, และกลุ่ม BRICS จะต้องมีบทบาทนำในการส่งเสริมระบบใหม่ที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในดุลอำนาจทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศได้ดีกว่า”
    .
    JUST IN: 🇨🇳 Chinese President Xi Jinping says BRICS must promote a new financial system.

    "There is an urgent need to reform the international financial architecture, and BRICS must play a leading role in promoting a new system that better reflects the profound changes in the international economic balance of power."
    .
    10:05 PM · Oct 23, 2024 · 513.1K Views
    https://x.com/BRICSinfo/status/1849104870030111109
    🇨🇳 ประธานาธิบดีจีน สี จิ้นผิง กล่าวว่า กลุ่ม BRICS จะต้องส่งเสริมระบบการเงินใหม่ “มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศ, และกลุ่ม BRICS จะต้องมีบทบาทนำในการส่งเสริมระบบใหม่ที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในดุลอำนาจทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศได้ดีกว่า” . JUST IN: 🇨🇳 Chinese President Xi Jinping says BRICS must promote a new financial system. "There is an urgent need to reform the international financial architecture, and BRICS must play a leading role in promoting a new system that better reflects the profound changes in the international economic balance of power." . 10:05 PM · Oct 23, 2024 · 513.1K Views https://x.com/BRICSinfo/status/1849104870030111109
    Like
    1
    1 Comments 0 Shares 307 Views 0 Reviews
  • IMF จัดอันดับรัสเซียเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก

    23 ตุลาคม 2567- รายงานกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ประกาศว่ารัสเซียเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลกตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ (PPP) รองจากสหรัฐอเมริกา จีน และอินเดีย โดยเศรษฐกิจรัสเซียแซงหน้าญี่ปุ่นขึ้นมาอยู่อันดับที่ 4 ของโลกในแง่ PPP (ความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ) ตามข้อมูลแก้ไขของธนาคารโลกที่เผยแพร่เมื่อต้นเดือนมิถุนายน

    IMF คาดการณ์ว่ารัสเซียจะคงสถานะนี้ไว้ได้อย่างน้อยจนถึงปี 2029 นอกจากนี้ กองทุนยังได้ปรับเพิ่มประมาณการการเติบโตของ GDP ของรัสเซีย โดยคาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น 3.6% ภายในสิ้นปีนี้

    #Thaitimes
    IMF จัดอันดับรัสเซียเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก 23 ตุลาคม 2567- รายงานกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ประกาศว่ารัสเซียเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลกตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ (PPP) รองจากสหรัฐอเมริกา จีน และอินเดีย โดยเศรษฐกิจรัสเซียแซงหน้าญี่ปุ่นขึ้นมาอยู่อันดับที่ 4 ของโลกในแง่ PPP (ความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ) ตามข้อมูลแก้ไขของธนาคารโลกที่เผยแพร่เมื่อต้นเดือนมิถุนายน IMF คาดการณ์ว่ารัสเซียจะคงสถานะนี้ไว้ได้อย่างน้อยจนถึงปี 2029 นอกจากนี้ กองทุนยังได้ปรับเพิ่มประมาณการการเติบโตของ GDP ของรัสเซีย โดยคาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น 3.6% ภายในสิ้นปีนี้ #Thaitimes
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 464 Views 0 Reviews
  • The House of Rothschild
    จักรวรรดิที่มองไม่เห็น

    เขียนโดย : ทวีสุข ธรรมศักดิ์

    กล่าวถึง ข้อมูลครอบครัวรอธส์ไชลด์ (Rothschild) ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบโลก ตั้งแต่ศัตวรรษที่ 18

    - ข้อมูลประวัติศาสตร์ ข้อมูลแนวทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy)
    - การทำงานทางการเงินระหว่างประเทศ
    - ระเบียบโลกใหม่ New World Order
    - ถอดหน้ากากองค์กรลับ อิลลูมินาติ (Illuminati)
    - อุดมการณ์ One World Government
    - ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เพื่อการยึดครองโลก
    - ขบวนการสมคบคิดการปฏิวัติครั้งสำคัญ
    - พ่อมดการเงิน ผู้กุมชะตาวิกฤตเศรษฐกิจโลก
    - สงครามโลกที่ผ่านมา และครั้งต่อไป

    เหมาะสำหรับ นักบริหาร นักการเงิน-ธนาคาร นักลงทุนรุ่นใหม่ นักลงทุน start up และนักบริหารกองทุน เพื่อ

    • เตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงรอบใหญ่ ในเชิงโครงสร้าง ที่ต้องจบลงที่สงครามใหญ่ เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างของระบบไปสู่อีกระบบหนึ่ง

    • พร้อมเปิดมุมมองใหม่ในการต่อยอดระบบวิธีคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบโลกใหม่ที่มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ

    The House of Rothschild จักรวรรดิที่มองไม่เห็น เขียนโดย : ทวีสุข ธรรมศักดิ์ กล่าวถึง ข้อมูลครอบครัวรอธส์ไชลด์ (Rothschild) ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบโลก ตั้งแต่ศัตวรรษที่ 18 - ข้อมูลประวัติศาสตร์ ข้อมูลแนวทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy) - การทำงานทางการเงินระหว่างประเทศ - ระเบียบโลกใหม่ New World Order - ถอดหน้ากากองค์กรลับ อิลลูมินาติ (Illuminati) - อุดมการณ์ One World Government - ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เพื่อการยึดครองโลก - ขบวนการสมคบคิดการปฏิวัติครั้งสำคัญ - พ่อมดการเงิน ผู้กุมชะตาวิกฤตเศรษฐกิจโลก - สงครามโลกที่ผ่านมา และครั้งต่อไป เหมาะสำหรับ นักบริหาร นักการเงิน-ธนาคาร นักลงทุนรุ่นใหม่ นักลงทุน start up และนักบริหารกองทุน เพื่อ • เตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงรอบใหญ่ ในเชิงโครงสร้าง ที่ต้องจบลงที่สงครามใหญ่ เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างของระบบไปสู่อีกระบบหนึ่ง • พร้อมเปิดมุมมองใหม่ในการต่อยอดระบบวิธีคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบโลกใหม่ที่มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยบังเอิญ
    Like
    Yay
    3
    0 Comments 0 Shares 671 Views 0 Reviews
  • 🧵💲 เหตุการณ์สำคัญใดบ้างที่นำไปสู่การล่มสลายของระบบดอลลาร์ทั่วโลก?

    การประชุมประจำปี ๒๐๒๔ ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และกลุ่มธนาคารโลก (WBG) จะเปิดขึ้นในวันที่ ๒๑ ตุลาคม เพื่อมุ่งเน้นไปที่หนี้สาธารณะทั่วโลกที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว, ซึ่งคาดว่าจะสูงถึง ๑๐๐ ล้านล้านดอลลาร์ภายในสิ้นปีนี้ หนี้, ส่วนใหญ่, เกิดจากการกู้ยืมเงินของสหรัฐฯมากเกินไป, โดยปัจจุบันหนี้ของรัฐบาลอยู่ที่ ๓๕.๖๘ ล้านล้านดอลลาร์
    .
    ในขณะเดียวกัน, ส่วนแบ่งของสหรัฐฯในเศรษฐกิจโลกที่คำนวณโดยใช้ความเท่าเทียมของอำนาจซื้อได้แตะระดับต่ำสุดในประวัติศาสตร์, โดยร่วงลงต่ำกว่า ๑๕%, จากการวิเคราะห์ของธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศของสปุตนิก คาดว่าจะลดลงอีก, โดยแตะระดับ ๑๔.๗๖% เมื่อสิ้นสุดวาระของประธานาธิบดีโจ ไบเดน
    .
    ระบบการเงินของสหรัฐฯและระบบดอลลาร์ทั่วโลก เริ่มสูญเสียอิทธิพลเมื่อใด?

    ◻️ สหรัฐฯคาดว่ามี ๔๘-๕๒% ของ GDP ทั่วโลก และประมาณ ๖๐% ของการผลิตภาคอุตสาหกรรมทั่วโลกในปี ๑๙๔๔
    .
    ◻️ อเมริกาได้รับสถานะมหาอำนาจทางเศรษฐกิจเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒, เมื่อมีการสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศที่เรียกว่าระบบเบรตตันวูดส์ขึ้นในเดือนกรกฎาคม ๑๙๔๔ การประชุมเบรตตันวูดส์ได้แต่งตั้งให้ดอลลาร์สหรัฐฯเป็นสกุลเงินสำรองของโลกอย่างเป็นทางการ, โดยมีทองคำสำรองที่ใหญ่ที่สุดในโลกหนุนหลังอยู่ สกุลเงินอื่นๆจะถูกผูกไว้กับค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ
    .
    ◻️ กฎเกณฑ์ระหว่างประเทศสำหรับการค้าระหว่างประเทศได้ถูกกำหนดไว้ในข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) ในปี ๑๙๔๗ ในปี ๑๙๙๕, ข้อตกลงดังกล่าวได้ถูกแปลงเป็นองค์การการค้าโลก (WTO) สหรัฐอเมริกาใช้ "เครื่องมือ" เหล่านี้เพื่อรักษาอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์ในยุโรปและญี่ปุ่น ยุโรปตะวันออก, สหภาพโซเวียต, และจีน ยังคงอยู่ภายนอกเขตการขยายตัวของอเมริกา
    .
    ◻️ ภายใต้แผนการมาร์แชลล์, สหรัฐฯจัดสรรเงิน, โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของเงินช่วยเหลือ, เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากสงคราม ในเวลาเดียวกัน, สหรัฐฯยังได้ส่งคำสั่งซื้อที่ทำกำไรมหาศาลให้กับบริษัทในอเมริกา, กระตุ้นเศรษฐกิจของตนเองไปพร้อมกับเสริมสร้างอิทธิพลที่มีต่อระบบเศรษฐกิจของยุโรปตะวันตก ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากประมาณ ๒๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๔๐ เป็นมากกว่า ๕๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๖๐
    .
    🧵💲 What were the milestones leading to the global dollar system’s collapse?

    The 2024 Annual Meetings of the International Monetary Fund (IMF) and the World Bank Group (WBG) are opening on October 21 to focus on skyrocketing global public debt, which is expected to reach $100 trillion by the end of this year. The debt, in large part, is driven by the borrowing binge of the US, where the government debt currently stands at $35.68 trillion.
    .
    Meanwhile, the US’ share of the global economy calculated using purchasing power parity has reached a historic low, plunging below 15%, Sputnik’s analysis of World Bank and IMF calculations has showed. It is expected to sag further, to reach 14.76% by the end of President Joe Biden's term.
    .
    When did US finances and the global dollar system start losing clout?

    ◻️ The US is estimated to have accounted for 48-52% of global GDP and about 60% of global industrial production in 1944.
    .
    ◻️ America secured its economic superpower status at the end of WWII, when the international monetary system known as the Bretton Woods system was forged in July 1944. The Bretton Woods Conference officially crowned the US dollar as the global reserve currency, backed by the world’s largest gold reserves. Other currencies were pegged to the US dollar’s value.
    .
    ◻️ International rules for foreign trade were laid out in the General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) in 1947. In 1995, the agreement was transformed into the WTO. The US wielded these “tools” to secure geopolitical influence across Europe and Japan. Eastern Europe, the USSR, and China remained outside the zone of American expansion.
    .
    ◻️ Under the Marshall Plan, the US provided money, chiefly in the form of grants, to rebuild war-ravaged European economies. At the same time, it funneled lucrative orders to American companies, stimulating its own economy while solidifying its influence over Western Europe's economic systems. US gross national product rose from about $200 billion in 1940 to more than $500 billion in 1960.
    .
    10:27 PM · Oct 21, 2024 · 8,506 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1848385613361225740
    🧵💲 เหตุการณ์สำคัญใดบ้างที่นำไปสู่การล่มสลายของระบบดอลลาร์ทั่วโลก? การประชุมประจำปี ๒๐๒๔ ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และกลุ่มธนาคารโลก (WBG) จะเปิดขึ้นในวันที่ ๒๑ ตุลาคม เพื่อมุ่งเน้นไปที่หนี้สาธารณะทั่วโลกที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว, ซึ่งคาดว่าจะสูงถึง ๑๐๐ ล้านล้านดอลลาร์ภายในสิ้นปีนี้ หนี้, ส่วนใหญ่, เกิดจากการกู้ยืมเงินของสหรัฐฯมากเกินไป, โดยปัจจุบันหนี้ของรัฐบาลอยู่ที่ ๓๕.๖๘ ล้านล้านดอลลาร์ . ในขณะเดียวกัน, ส่วนแบ่งของสหรัฐฯในเศรษฐกิจโลกที่คำนวณโดยใช้ความเท่าเทียมของอำนาจซื้อได้แตะระดับต่ำสุดในประวัติศาสตร์, โดยร่วงลงต่ำกว่า ๑๕%, จากการวิเคราะห์ของธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศของสปุตนิก คาดว่าจะลดลงอีก, โดยแตะระดับ ๑๔.๗๖% เมื่อสิ้นสุดวาระของประธานาธิบดีโจ ไบเดน . ระบบการเงินของสหรัฐฯและระบบดอลลาร์ทั่วโลก เริ่มสูญเสียอิทธิพลเมื่อใด? ◻️ สหรัฐฯคาดว่ามี ๔๘-๕๒% ของ GDP ทั่วโลก และประมาณ ๖๐% ของการผลิตภาคอุตสาหกรรมทั่วโลกในปี ๑๙๔๔ . ◻️ อเมริกาได้รับสถานะมหาอำนาจทางเศรษฐกิจเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒, เมื่อมีการสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศที่เรียกว่าระบบเบรตตันวูดส์ขึ้นในเดือนกรกฎาคม ๑๙๔๔ การประชุมเบรตตันวูดส์ได้แต่งตั้งให้ดอลลาร์สหรัฐฯเป็นสกุลเงินสำรองของโลกอย่างเป็นทางการ, โดยมีทองคำสำรองที่ใหญ่ที่สุดในโลกหนุนหลังอยู่ สกุลเงินอื่นๆจะถูกผูกไว้กับค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ . ◻️ กฎเกณฑ์ระหว่างประเทศสำหรับการค้าระหว่างประเทศได้ถูกกำหนดไว้ในข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) ในปี ๑๙๔๗ ในปี ๑๙๙๕, ข้อตกลงดังกล่าวได้ถูกแปลงเป็นองค์การการค้าโลก (WTO) สหรัฐอเมริกาใช้ "เครื่องมือ" เหล่านี้เพื่อรักษาอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์ในยุโรปและญี่ปุ่น ยุโรปตะวันออก, สหภาพโซเวียต, และจีน ยังคงอยู่ภายนอกเขตการขยายตัวของอเมริกา . ◻️ ภายใต้แผนการมาร์แชลล์, สหรัฐฯจัดสรรเงิน, โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของเงินช่วยเหลือ, เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากสงคราม ในเวลาเดียวกัน, สหรัฐฯยังได้ส่งคำสั่งซื้อที่ทำกำไรมหาศาลให้กับบริษัทในอเมริกา, กระตุ้นเศรษฐกิจของตนเองไปพร้อมกับเสริมสร้างอิทธิพลที่มีต่อระบบเศรษฐกิจของยุโรปตะวันตก ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากประมาณ ๒๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๔๐ เป็นมากกว่า ๕๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๖๐ . 🧵💲 What were the milestones leading to the global dollar system’s collapse? The 2024 Annual Meetings of the International Monetary Fund (IMF) and the World Bank Group (WBG) are opening on October 21 to focus on skyrocketing global public debt, which is expected to reach $100 trillion by the end of this year. The debt, in large part, is driven by the borrowing binge of the US, where the government debt currently stands at $35.68 trillion. . Meanwhile, the US’ share of the global economy calculated using purchasing power parity has reached a historic low, plunging below 15%, Sputnik’s analysis of World Bank and IMF calculations has showed. It is expected to sag further, to reach 14.76% by the end of President Joe Biden's term. . When did US finances and the global dollar system start losing clout? ◻️ The US is estimated to have accounted for 48-52% of global GDP and about 60% of global industrial production in 1944. . ◻️ America secured its economic superpower status at the end of WWII, when the international monetary system known as the Bretton Woods system was forged in July 1944. The Bretton Woods Conference officially crowned the US dollar as the global reserve currency, backed by the world’s largest gold reserves. Other currencies were pegged to the US dollar’s value. . ◻️ International rules for foreign trade were laid out in the General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) in 1947. In 1995, the agreement was transformed into the WTO. The US wielded these “tools” to secure geopolitical influence across Europe and Japan. Eastern Europe, the USSR, and China remained outside the zone of American expansion. . ◻️ Under the Marshall Plan, the US provided money, chiefly in the form of grants, to rebuild war-ravaged European economies. At the same time, it funneled lucrative orders to American companies, stimulating its own economy while solidifying its influence over Western Europe's economic systems. US gross national product rose from about $200 billion in 1940 to more than $500 billion in 1960. . 10:27 PM · Oct 21, 2024 · 8,506 Views https://x.com/SputnikInt/status/1848385613361225740
    Like
    Wow
    2
    8 Comments 0 Shares 1690 Views 0 Reviews
  • ราคาทองคำที่พุ่งสูงสะท้อนทางเลือกใหม่ ที่ตะวันตกต้องตื่นรับรู้

    ประเทศตะวันตกควรให้ความสำคัญกับราคาทองคำที่พุ่งสูงขึ้น เนื่องจากการขึ้นราคาอย่างต่อเนื่องของโลหะมีค่าสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจที่เพิ่มขึ้นในทางเลือกอื่นนอกเหนือจากระบบการเงินที่ใช้เงินดอลลาร์ ตามที่ Mohamed El-Erian อดีต CEO ของ PIMCO และประธานคนปัจจุบันของ Queens' College แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้เขียนในบทความ

    “มีสิ่งแปลก ๆ เกิดขึ้นกับราคาทองคำในปีที่ผ่านมา” El-Erian เขียนใน Financial Times เมื่อวันจันทร์ “ทองคำการสร้างระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ดูเหมือนว่าทองคำจะแยกตัวออกจากปัจจัยที่มีอิทธิพลทางประวัติศาสตร์แบบดั้งเดิม เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ และเงินดอลลาร์ ยิ่งไปกว่านั้น ความสม่ำเสมอของการเพิ่มขึ้นนั้นตรงกันข้ามกับความผันผวนในสถานการณ์ทางภูมิรัฐศาสตร์ที่สำคัญ”

    เขากล่าวว่าการเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ 'ทุกสภาพบรรยากาศ' บ่งชี้ถึงการมีอยู่ของบางสิ่งที่นอกเหนือไปจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเลือกตั้ง และภูมิรัฐศาสตร์ในระยะสั้น “มันสะท้อนแนวโน้มพฤติกรรมที่ต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศจีนและประเทศ “มหาอำนาจกลาง” รวมถึงประเทศอื่นๆ และเป็นกระแสที่ชาติตะวันตกควรให้ความสนใจให้มากขึ้น”

    El-Erian ตั้งข้อสังเกตว่าราคาทองคำหนึ่งออนซ์เพิ่มขึ้นจาก 1,947 ดอลลาร์ต่อออนซ์เป็นมากกว่า 2,700 ดอลลาร์ เพิ่มขึ้นเกือบ 40 เปอร์เซ็นต์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา “สิ่งที่น่าสนใจคือ ราคาที่เพิ่มขึ้นนี้ค่อนข้างเป็นเส้นตรง โดยแม้ราคาจะมีการดึงกลับแต่ก็เพื่อดึงดูดผู้ซื้อมากขึ้น” เขากล่าว “มันเกิดขึ้นแม้ว่าอัตรานโยบายที่คาดหวังจะผันผวนอย่างมาก มีความผันผวนอย่างกว้างขวางสำหรับอัตราผลตอบแทนของสหรัฐ อัตราเงินเฟ้อที่ลดลง และความผันผวนของค่าเงิน”

    “บางคนอาจมองข้ามผลการดำเนินงานของทองคำ โดยมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของราคาสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นโดยทั่วไป ซึ่งดัชนี S&P ของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นประมาณ 35 เปอร์เซ็นต์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาเป็นตัวอย่าง” เขากล่าว “แต่ความสัมพันธ์นั้นก็ไม่ธรรมดา คนอื่นๆ อาจมองว่าเป็นเพราะความเสี่ยงของความขัดแย้งทางทหารที่ทำให้พลเรือนผู้บริสุทธิ์จำนวนมากเสียชีวิตและความเป็นอยู่ของตน ร่วมกับการทำลายโครงสร้างพื้นฐานครั้งใหญ่ การเดินทางของราคาทองคำยังชี้ให้เห็นว่าอาจมีอะไรเกิดขึ้นอีกมากมาย”

    El-Erian ชี้ว่าการซื้อทองคำแท่งอย่างต่อเนื่องโดยธนาคารกลางเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนความแข็งแกร่งของทองคำ “การซื้อดังกล่าวดูเหมือนจะไม่เพียงแค่เกี่ยวข้องกับความปรารถนาของคนจำนวนมากที่จะค่อยๆ กระจายการถือครองทุนสำรองของตนออกจากการครอบงำเงินดอลลาร์ที่มีนัยสำคัญ แม้ว่าอเมริกาจะมี ‘ความพิเศษทางเศรษฐกิจ’ ของอเมริกาก็ตาม” เขาเขียน “ยังมีความสนใจในการสำรวจทางเลือกที่เป็นไปได้นอกเหนือจากระบบการชำระเงินแบบดอลลาร์ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของสถาปัตยกรรมระหว่างประเทศมาเป็นเวลา 80 ปี”

    “ถามว่าทำไมสิ่งนี้จึงเกิดขึ้น และโดยปกติแล้วคุณจะได้รับคำตอบที่กล่าวถึงการสูญเสียความมั่นใจในการจัดการระเบียบโลกของอเมริกาและการพัฒนาเฉพาะสองประการ” เขากล่าว “คุณจะได้ฟังเกี่ยวกับการใช้ภาษีการค้าและการคว่ำบาตรการลงทุนของอเมริกา ควบคู่ไปกับความสนใจที่ลดลงในระบบพหุภาคีที่ยึดหลักกฎเกณฑ์ซึ่งอเมริกามีบทบาทสำคัญในการออกแบบเมื่อ 80 ปีที่แล้ว”
    อีกปัจจัยหนึ่งเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในตะวันออกกลาง โดยที่เอล-เอเรียนเชื่อว่าสหรัฐฯ ถูกมองว่ามีนโยบายไม่สอดคล้องกันในการสนับสนุนสิทธิมนุษยชนและกฎหมายระหว่างประเทศ “การรับรู้นี้ขยายวงกว้างขึ้นจากการที่สหรัฐฯ ปกป้องพันธมิตรหลักของตนจากการตอบสนองต่อการกระทำที่ถูกประณามอย่างกว้างขวางในประชาคมระหว่างประเทศ” เขาเขียน

    “สิ่งที่เป็นเดิมพันที่นี่ไม่ใช่แค่การพังทลายของบทบาทที่โดดเด่นของดอลลาร์ แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปในการดำเนินงานของระบบโลกด้วย” เขาเขียน “ไม่มีสกุลเงินหรือระบบการชำระเงินอื่นใดที่สามารถและเต็มใจที่จะแทนที่ดอลลาร์ที่เป็นแกนหลักของระบบ และมีข้อ จำกัด ในทางปฏิบัติในการสำรองการกระจายความเสี่ยง แต่มีการสร้างท่อเล็กๆ จำนวนมากขึ้นเพื่อพันรอบแกนกลางนี้ และประเทศต่างๆ ก็มีความสนใจและมีส่วนร่วมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ”

    El-Erian กล่าวว่าการขึ้นราคาทองคำในปัจจุบัน “ไม่ใช่แค่ไม่ธรรมดาในแง่ของอิทธิพลทางเศรษฐกิจและการเงินแบบดั้งเดิม” แต่ยังเหนือกว่าอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์ที่เข้มงวดเพื่อจับปรากฏการณ์ในวงกว้างซึ่งกำลังสร้างโมเมนตัมทางโลก”

    เนื่องจากเส้นทางทางเลือกสำหรับการเงินระหว่างประเทศพัฒนาและเติบโต สิ่งเหล่านี้อาจทำให้เกิดการกระจายตัวของระบบโลก และการพังทลายของอำนาจของเงินดอลลาร์และระบบการเงินของสหรัฐอเมริกา “นั่นจะส่งผลกระทบต่อความสามารถของสหรัฐฯ ในการมีอิทธิพลต่อผลลัพธ์ และบ่อนทำลายความมั่นคงของสหรัฐเอง” เขากล่าว

    “นี่เป็นปรากฏการณ์ที่รัฐบาลตะวันตกควรให้ความสำคัญมากขึ้น” เอล-เอเรียนสรุป “และเป็นสิ่งหนึ่งที่ยังมีเวลาแก้ไข แม้ว่าจะไม่ได้มากเท่าที่บางคนคาดหวังก็ตาม”
    ที่มา Kitco
    ราคาทองคำที่พุ่งสูงสะท้อนทางเลือกใหม่ ที่ตะวันตกต้องตื่นรับรู้ ประเทศตะวันตกควรให้ความสำคัญกับราคาทองคำที่พุ่งสูงขึ้น เนื่องจากการขึ้นราคาอย่างต่อเนื่องของโลหะมีค่าสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจที่เพิ่มขึ้นในทางเลือกอื่นนอกเหนือจากระบบการเงินที่ใช้เงินดอลลาร์ ตามที่ Mohamed El-Erian อดีต CEO ของ PIMCO และประธานคนปัจจุบันของ Queens' College แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้เขียนในบทความ “มีสิ่งแปลก ๆ เกิดขึ้นกับราคาทองคำในปีที่ผ่านมา” El-Erian เขียนใน Financial Times เมื่อวันจันทร์ “ทองคำการสร้างระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ดูเหมือนว่าทองคำจะแยกตัวออกจากปัจจัยที่มีอิทธิพลทางประวัติศาสตร์แบบดั้งเดิม เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ และเงินดอลลาร์ ยิ่งไปกว่านั้น ความสม่ำเสมอของการเพิ่มขึ้นนั้นตรงกันข้ามกับความผันผวนในสถานการณ์ทางภูมิรัฐศาสตร์ที่สำคัญ” เขากล่าวว่าการเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ 'ทุกสภาพบรรยากาศ' บ่งชี้ถึงการมีอยู่ของบางสิ่งที่นอกเหนือไปจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเลือกตั้ง และภูมิรัฐศาสตร์ในระยะสั้น “มันสะท้อนแนวโน้มพฤติกรรมที่ต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศจีนและประเทศ “มหาอำนาจกลาง” รวมถึงประเทศอื่นๆ และเป็นกระแสที่ชาติตะวันตกควรให้ความสนใจให้มากขึ้น” El-Erian ตั้งข้อสังเกตว่าราคาทองคำหนึ่งออนซ์เพิ่มขึ้นจาก 1,947 ดอลลาร์ต่อออนซ์เป็นมากกว่า 2,700 ดอลลาร์ เพิ่มขึ้นเกือบ 40 เปอร์เซ็นต์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา “สิ่งที่น่าสนใจคือ ราคาที่เพิ่มขึ้นนี้ค่อนข้างเป็นเส้นตรง โดยแม้ราคาจะมีการดึงกลับแต่ก็เพื่อดึงดูดผู้ซื้อมากขึ้น” เขากล่าว “มันเกิดขึ้นแม้ว่าอัตรานโยบายที่คาดหวังจะผันผวนอย่างมาก มีความผันผวนอย่างกว้างขวางสำหรับอัตราผลตอบแทนของสหรัฐ อัตราเงินเฟ้อที่ลดลง และความผันผวนของค่าเงิน” “บางคนอาจมองข้ามผลการดำเนินงานของทองคำ โดยมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของราคาสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นโดยทั่วไป ซึ่งดัชนี S&P ของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นประมาณ 35 เปอร์เซ็นต์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาเป็นตัวอย่าง” เขากล่าว “แต่ความสัมพันธ์นั้นก็ไม่ธรรมดา คนอื่นๆ อาจมองว่าเป็นเพราะความเสี่ยงของความขัดแย้งทางทหารที่ทำให้พลเรือนผู้บริสุทธิ์จำนวนมากเสียชีวิตและความเป็นอยู่ของตน ร่วมกับการทำลายโครงสร้างพื้นฐานครั้งใหญ่ การเดินทางของราคาทองคำยังชี้ให้เห็นว่าอาจมีอะไรเกิดขึ้นอีกมากมาย” El-Erian ชี้ว่าการซื้อทองคำแท่งอย่างต่อเนื่องโดยธนาคารกลางเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนความแข็งแกร่งของทองคำ “การซื้อดังกล่าวดูเหมือนจะไม่เพียงแค่เกี่ยวข้องกับความปรารถนาของคนจำนวนมากที่จะค่อยๆ กระจายการถือครองทุนสำรองของตนออกจากการครอบงำเงินดอลลาร์ที่มีนัยสำคัญ แม้ว่าอเมริกาจะมี ‘ความพิเศษทางเศรษฐกิจ’ ของอเมริกาก็ตาม” เขาเขียน “ยังมีความสนใจในการสำรวจทางเลือกที่เป็นไปได้นอกเหนือจากระบบการชำระเงินแบบดอลลาร์ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของสถาปัตยกรรมระหว่างประเทศมาเป็นเวลา 80 ปี” “ถามว่าทำไมสิ่งนี้จึงเกิดขึ้น และโดยปกติแล้วคุณจะได้รับคำตอบที่กล่าวถึงการสูญเสียความมั่นใจในการจัดการระเบียบโลกของอเมริกาและการพัฒนาเฉพาะสองประการ” เขากล่าว “คุณจะได้ฟังเกี่ยวกับการใช้ภาษีการค้าและการคว่ำบาตรการลงทุนของอเมริกา ควบคู่ไปกับความสนใจที่ลดลงในระบบพหุภาคีที่ยึดหลักกฎเกณฑ์ซึ่งอเมริกามีบทบาทสำคัญในการออกแบบเมื่อ 80 ปีที่แล้ว” อีกปัจจัยหนึ่งเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในตะวันออกกลาง โดยที่เอล-เอเรียนเชื่อว่าสหรัฐฯ ถูกมองว่ามีนโยบายไม่สอดคล้องกันในการสนับสนุนสิทธิมนุษยชนและกฎหมายระหว่างประเทศ “การรับรู้นี้ขยายวงกว้างขึ้นจากการที่สหรัฐฯ ปกป้องพันธมิตรหลักของตนจากการตอบสนองต่อการกระทำที่ถูกประณามอย่างกว้างขวางในประชาคมระหว่างประเทศ” เขาเขียน “สิ่งที่เป็นเดิมพันที่นี่ไม่ใช่แค่การพังทลายของบทบาทที่โดดเด่นของดอลลาร์ แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปในการดำเนินงานของระบบโลกด้วย” เขาเขียน “ไม่มีสกุลเงินหรือระบบการชำระเงินอื่นใดที่สามารถและเต็มใจที่จะแทนที่ดอลลาร์ที่เป็นแกนหลักของระบบ และมีข้อ จำกัด ในทางปฏิบัติในการสำรองการกระจายความเสี่ยง แต่มีการสร้างท่อเล็กๆ จำนวนมากขึ้นเพื่อพันรอบแกนกลางนี้ และประเทศต่างๆ ก็มีความสนใจและมีส่วนร่วมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ” El-Erian กล่าวว่าการขึ้นราคาทองคำในปัจจุบัน “ไม่ใช่แค่ไม่ธรรมดาในแง่ของอิทธิพลทางเศรษฐกิจและการเงินแบบดั้งเดิม” แต่ยังเหนือกว่าอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์ที่เข้มงวดเพื่อจับปรากฏการณ์ในวงกว้างซึ่งกำลังสร้างโมเมนตัมทางโลก” เนื่องจากเส้นทางทางเลือกสำหรับการเงินระหว่างประเทศพัฒนาและเติบโต สิ่งเหล่านี้อาจทำให้เกิดการกระจายตัวของระบบโลก และการพังทลายของอำนาจของเงินดอลลาร์และระบบการเงินของสหรัฐอเมริกา “นั่นจะส่งผลกระทบต่อความสามารถของสหรัฐฯ ในการมีอิทธิพลต่อผลลัพธ์ และบ่อนทำลายความมั่นคงของสหรัฐเอง” เขากล่าว “นี่เป็นปรากฏการณ์ที่รัฐบาลตะวันตกควรให้ความสำคัญมากขึ้น” เอล-เอเรียนสรุป “และเป็นสิ่งหนึ่งที่ยังมีเวลาแก้ไข แม้ว่าจะไม่ได้มากเท่าที่บางคนคาดหวังก็ตาม” ที่มา Kitco
    Like
    Love
    Haha
    Wow
    16
    0 Comments 1 Shares 1950 Views 0 Reviews
  • ที่ประชุมซัมมิต BRICS ในสัปดาห์นี้ ที่เมืองคาซาน ประเทศรัสเซีย จะดึงดูดอีกหลายประเทศเข้าร่วมกลุ่มเพิ่มเติม ท่ามกลางสัญญาณว่ากลุ่ม BRICS กำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ และสถานการณ์เช่นนี้ วอชิงตัน ไม่อาจโทษใครอื่นได้ยกเว้นตนเอง จากความเห็นของ ไมเคิล มาลูฟ อดีตนักวิเคราะห์กระทรวงกลาโหมอเมริกา(เพนตากอน)
    .
    ระหว่างให้สัมภาษณ์กับรายงานมาเธอร์ ออฟ ออล ทอล์ค โชว์ (MOATS) ของจอร์จ กัลโลเวย์ อดีตสมาชิกรัฐสภาสหราชอาณาจักรเมื่อช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา มาลูฟ ชื่นชมประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย สำหรับการตระหนักว่าประเทศต่างๆทั่วโลกเหลือคณานับ ต่างกำลังเสาะหาระบบเศรษฐกิจที่มีความครอบคลุมมากกว่าเดิมและหาทางในสิ่งที่ มาลูฟ บอกว่า "ออกจากการอยู่ภายใต้มาตรการคว่ำบาตรอันน่ารังเกียจของตะวันตก และระบบการเงินที่กีดขวางพวกเขา"
    .
    "สหรัฐฯควบคุมระเบียบระหว่างประเทศที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกติกา(rules-based order) ซึ่งนั่นหมายความว่า พวกเขาไม่ใช่แค่เพียงเป็นคนสร้างกฏขึ้นมา แต่ยังสามารถละเมิดมันได้ตามความต้องการ และเราพบเห็นสิ่งนี้มาอย่างต่อเนื่อง ในการตัดสินใจทำสิ่งต่างๆของพวกเขา และโลกกำลังบอกว่าเราไม่เอาแล้ว พอแล้วสำหรับเรื่องแบบนี้" มาลูปบอกกับกัลโลเวย์
    .
    "สิ่งที่เรากำลังพบเห็นคือการท้าทายความเป็นเจ้าโลกของดอลลาร์ และการท้าทายการใช้ดอลลาร์เป็นอาวุธและระบบตะวันตก และเราได้พบเห็นกลไกต่างๆนานา ที่จะถูกนำเสนอ ณ ที่ประชุมซัมมิตครั้งนี้ ในสัปดาห์นี้"
    .
    หลังจากเสมือนถูกตัดขาดจากระบบการเงินของตะวันตก ต่อกรณีเปิดฉากรุกรานยูเครนในปี 2022 รัสเซียยกระดับความพยายามชำระการค้าต่างประเทศด้วยสกุลเงินรูเบิลและสกุลเงินอื่นๆ "เราไม่ได้เป็นคนปฏิเสธการทำธุรกรรมในรูปแบบของดอลลาร์ แต่เราถูกปฏิเสธ และเราถูกบีบให้มองหาทางเลือกอื่นๆ" ปูติน อธิบายระหว่างร่วมบรรยาย ณ เวที อิสเทิร์น อีโคโนมิค ฟอรัม ในเมืองวลาดิวอสตอค เมื่อเดือนที่แล้ว
    .
    ปูติน เน้นว่า รัสเซียและพันธมิตรในกลุ่ม BRICS เวลานี้กำลังใช้สกุลเงินท้องถิ่นในการค้าขายระหว่างกัน คิดเป็นสัดส่วนแล้วกว่า 65% และอ้างอิงจากรายงานของรอยเตอร์ รัสเซีย จะเสนอระบบการเงินระหว่างประเทศใหม่ที่อยู่บนพื้นฐาของบล็อคเชน ณ ที่ประชุมในสัปดาห์นี้
    .
    แม้มอสโกไม่ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงานของรอยเตอร์ แต่ อันทอน ซิลูอานอฟ รัฐมนตรีคลังของรัสเซีย ให้สัมภาษณ์กับอาร์ทีนิวส์ ว่ามอสโกและประเทศอื่นๆในกลุ่ม BRICS กำลังหาทางจัดตั้งโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงินข้ามชาติใหม่ ที่ไม่ต้องพึ่งพิงระบบ SWIFT ของตะวันตกอีกต่อไป
    .
    มาลูฟ กล่าวกับ กัลโลเวย์ ว่า "ความตั้งใจของสหรัฐฯและพันธมิตรที่ในการใช้ดอลลาร์เป็นอาวุธ และปิดตายมหาอำนาจคู่อริไม่ให้เข้าถึงระบบของตะวันตก กลับกลายเป็นการผลักดันให้บรรดาประเทศที่เป็นมิตรกับวอชิงตัน อย่างบราซิล อินเดียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กำลังหาทางเลือกอื่น"
    .
    "ประกอบกับที่ข้อเท็จจริงที่ว่า มาตรการคว่ำบาตรผลักให้รัสเซียและจีน เข้าสู่ความเป็นพันธมิตรใกล้ชิดที่สุดเท่าที่เคยมีมาก มันพิสูจน์แล้วว่า คุณไม่อาจพบเห็นความคิดเชิงกลยุทธ์ออกมาจากสหรัฐฯอีกต่อไปแล้ว" เขาบอกกับกัลโลเวย์
    .
    BRICS เดิมทีก่อตั้งโดย บราซิล จีน อินเดียและจีน ก่อนแอฟริกาเข้าร่วมในปี 2011 ขณะที่ล่าสุด อียิปต์, เอธิโอเปีย อิหร่านและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เข้าร่วมในปี 2024 ส่วน ซาอุดีอาระเบีย ยังไม่ได้ให้สัตยาบันความเป็นรัฐสมาชิก หลังจากได้รับเชิญให้เข้าร่วม
    .
    ปัจจุบัน รัสเซีย ดำรงตำแหน่งประธาน BRICS และมีมากกว่า 30 ประเทศ ในนั้นรวมถึงสมาชิกนาโตอย่างตุรกี ที่ยื่นสมัครเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000101624
    ..............
    Sondhi X
    ที่ประชุมซัมมิต BRICS ในสัปดาห์นี้ ที่เมืองคาซาน ประเทศรัสเซีย จะดึงดูดอีกหลายประเทศเข้าร่วมกลุ่มเพิ่มเติม ท่ามกลางสัญญาณว่ากลุ่ม BRICS กำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ และสถานการณ์เช่นนี้ วอชิงตัน ไม่อาจโทษใครอื่นได้ยกเว้นตนเอง จากความเห็นของ ไมเคิล มาลูฟ อดีตนักวิเคราะห์กระทรวงกลาโหมอเมริกา(เพนตากอน) . ระหว่างให้สัมภาษณ์กับรายงานมาเธอร์ ออฟ ออล ทอล์ค โชว์ (MOATS) ของจอร์จ กัลโลเวย์ อดีตสมาชิกรัฐสภาสหราชอาณาจักรเมื่อช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา มาลูฟ ชื่นชมประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย สำหรับการตระหนักว่าประเทศต่างๆทั่วโลกเหลือคณานับ ต่างกำลังเสาะหาระบบเศรษฐกิจที่มีความครอบคลุมมากกว่าเดิมและหาทางในสิ่งที่ มาลูฟ บอกว่า "ออกจากการอยู่ภายใต้มาตรการคว่ำบาตรอันน่ารังเกียจของตะวันตก และระบบการเงินที่กีดขวางพวกเขา" . "สหรัฐฯควบคุมระเบียบระหว่างประเทศที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกติกา(rules-based order) ซึ่งนั่นหมายความว่า พวกเขาไม่ใช่แค่เพียงเป็นคนสร้างกฏขึ้นมา แต่ยังสามารถละเมิดมันได้ตามความต้องการ และเราพบเห็นสิ่งนี้มาอย่างต่อเนื่อง ในการตัดสินใจทำสิ่งต่างๆของพวกเขา และโลกกำลังบอกว่าเราไม่เอาแล้ว พอแล้วสำหรับเรื่องแบบนี้" มาลูปบอกกับกัลโลเวย์ . "สิ่งที่เรากำลังพบเห็นคือการท้าทายความเป็นเจ้าโลกของดอลลาร์ และการท้าทายการใช้ดอลลาร์เป็นอาวุธและระบบตะวันตก และเราได้พบเห็นกลไกต่างๆนานา ที่จะถูกนำเสนอ ณ ที่ประชุมซัมมิตครั้งนี้ ในสัปดาห์นี้" . หลังจากเสมือนถูกตัดขาดจากระบบการเงินของตะวันตก ต่อกรณีเปิดฉากรุกรานยูเครนในปี 2022 รัสเซียยกระดับความพยายามชำระการค้าต่างประเทศด้วยสกุลเงินรูเบิลและสกุลเงินอื่นๆ "เราไม่ได้เป็นคนปฏิเสธการทำธุรกรรมในรูปแบบของดอลลาร์ แต่เราถูกปฏิเสธ และเราถูกบีบให้มองหาทางเลือกอื่นๆ" ปูติน อธิบายระหว่างร่วมบรรยาย ณ เวที อิสเทิร์น อีโคโนมิค ฟอรัม ในเมืองวลาดิวอสตอค เมื่อเดือนที่แล้ว . ปูติน เน้นว่า รัสเซียและพันธมิตรในกลุ่ม BRICS เวลานี้กำลังใช้สกุลเงินท้องถิ่นในการค้าขายระหว่างกัน คิดเป็นสัดส่วนแล้วกว่า 65% และอ้างอิงจากรายงานของรอยเตอร์ รัสเซีย จะเสนอระบบการเงินระหว่างประเทศใหม่ที่อยู่บนพื้นฐาของบล็อคเชน ณ ที่ประชุมในสัปดาห์นี้ . แม้มอสโกไม่ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงานของรอยเตอร์ แต่ อันทอน ซิลูอานอฟ รัฐมนตรีคลังของรัสเซีย ให้สัมภาษณ์กับอาร์ทีนิวส์ ว่ามอสโกและประเทศอื่นๆในกลุ่ม BRICS กำลังหาทางจัดตั้งโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงินข้ามชาติใหม่ ที่ไม่ต้องพึ่งพิงระบบ SWIFT ของตะวันตกอีกต่อไป . มาลูฟ กล่าวกับ กัลโลเวย์ ว่า "ความตั้งใจของสหรัฐฯและพันธมิตรที่ในการใช้ดอลลาร์เป็นอาวุธ และปิดตายมหาอำนาจคู่อริไม่ให้เข้าถึงระบบของตะวันตก กลับกลายเป็นการผลักดันให้บรรดาประเทศที่เป็นมิตรกับวอชิงตัน อย่างบราซิล อินเดียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กำลังหาทางเลือกอื่น" . "ประกอบกับที่ข้อเท็จจริงที่ว่า มาตรการคว่ำบาตรผลักให้รัสเซียและจีน เข้าสู่ความเป็นพันธมิตรใกล้ชิดที่สุดเท่าที่เคยมีมาก มันพิสูจน์แล้วว่า คุณไม่อาจพบเห็นความคิดเชิงกลยุทธ์ออกมาจากสหรัฐฯอีกต่อไปแล้ว" เขาบอกกับกัลโลเวย์ . BRICS เดิมทีก่อตั้งโดย บราซิล จีน อินเดียและจีน ก่อนแอฟริกาเข้าร่วมในปี 2011 ขณะที่ล่าสุด อียิปต์, เอธิโอเปีย อิหร่านและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เข้าร่วมในปี 2024 ส่วน ซาอุดีอาระเบีย ยังไม่ได้ให้สัตยาบันความเป็นรัฐสมาชิก หลังจากได้รับเชิญให้เข้าร่วม . ปัจจุบัน รัสเซีย ดำรงตำแหน่งประธาน BRICS และมีมากกว่า 30 ประเทศ ในนั้นรวมถึงสมาชิกนาโตอย่างตุรกี ที่ยื่นสมัครเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000101624 .............. Sondhi X
    Like
    8
    0 Comments 1 Shares 1298 Views 0 Reviews
  • ดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมค่าลง ถึงแม้จะพยายามก่อสงครามและโรคระบาดก็ตาม / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    สถานการณ์ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในปัญหาความไม่เชื่อมั่นต่อ ดอลลาร์สหรัฐ มี 2 เรื่องสำคัญ คือ 1.การพิมพ์แบงค์ก่อหนี้ไม่หยุดและไม่สามารถชำระหนี้ได้ และ 2. การยึดทุนสำรองระหว่างประเทศของรัสเซีย ทำให้ทั่วโลกกำลังหาสินทรัพย์อย่างอื่น

    อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงจุดที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถใช้นโยบายดอกเบี้ยสูงได้ต่อไป ก็ยิ่งทำให้เงินทั่วโลกเทขายพันธบัตรและเงินดอลลาร์หันไปลงทุนสินทรัพย์อย่างอื่น โดยเฉพาะตลาดหุ้นในเอเชีย (ซึ่งแปลงเป็นเงินสกุลอื่น) คริปโตเคอเรนซี่ และทองคำ ประเทศใดไม่ทันระวังตัว หลงเพลินกับดัชนีราคาหุ้นที่สูงขึ้น ก็อาจจะได้รับผลกระทบทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศเสื่อมค่าลงด้วยเพราะดอลลาร์ที่ท่วมในทุนสำรองระหว่างประเทศกำลังเสื่อมค่าลงเช่นกั

    ด้วยเหตุผลนี้ธนาคารกลางของหลายประเทศที่มีเงินทุนไหลเข้าจำนวนมาก ก็มีแนวโน้มจะซื้อทองคำมากขึ้น เพื่อรักษามูลค่าของทุนสำรองระหว่างประเทศให้มั่นคง กว่าการมีสินทรัพย์ที่มีเงินดอลลาร์มากเกินไป

    ด้วยเหตุผลนี้ทองคำมีแนวโน้มจะมีราคาสูงขึ้นต่อไปเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอเมริกา

    ดังนั้นในรอบหลายปีที่ผ่านมา การระบาดของโรคโควิด-19 ได้ช่วยทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกได้รับความเสียหาย อีกทั้งต้องสั่งซื้อวัคซีนและยารักษาโรคในรูปของเงินดอลลาร์สหรัฐจากอเมริกา และยุโรป

    การก่อหนี้สาธารณอันมหาศาลเพื่อรับมือกับโรคโควิด-19 ในการหาซื้อยา วัคซีน เวชภัณฑ์ รวมถึงการเยียวยาความเสียหายทางเศรษฐกิจ ทำให้หลายประเทศต่อก่อหนี้เพิ่มมากขึ้น บางประเทศที่ขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดอยู่แล้ว ก็ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF มากขึ้น

    และการที่ประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามหรือโรคระบาดที่ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศมากขึ้น ก็คือการรักษาความต้องการเงินดอลลาร์ให้ยังคงอยู่ต่อไป และต้องถูกแลกมาด้วยการสูบทรัพยากรจากประเทศลูกหนี้เหล่านั้นให้มาชดใช้หนี้ด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาและยุโรป

    และนี่คือเหตุผลสำคัญที่กระทรวงกลาโหมต้องออกมาปล่อยข่าวปลอมในการใส่ร้ายและทำลายวัคซีนจากจีน เพื่อต้องการสูบความมั่งคั่งจากทั่วโลกให้มาเพิ่งเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อไป

    อย่างไรก็ตาม เมื่อมาถึงจุดที่นโยบายดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะดำรงได้ต่อไป จึงถูกสถานการณ์ทางเศรษฐกิจบีบคั้นให้ลดอัตราดอกเบี้ยและมีแนวโน้มจะลดลงไปเรื่อยๆ โดยหวังว่าทำให้เศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาเดินหน้าต่อไป

    แต่การลดดอกเบี้ยธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา ก็แลกกลับมาด้วยเงินทุนไหลออกจากดอลลาร์สหรัฐอย่างรวดเร็ว ไปสู่สินทรัพย์อื่นที่ปลอดภัยมากกว่าอย่างรวดเร็ว ทั้งทองคำ เงินดิจิตอลคริปโตเคอเรนซี่ หุ้นในประเทศในเอเชีย

    ส่งผลทำให้ดัชนีเงินดอลลาร์สหรัฐมีแนวโน้มจะเสื่อมค่าลงเรื่อยๆ

    เมื่อนโยบายอัตราดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะถูกใช้เป็นเครื่องมือในการรักษาดอลลาร์อย่างสันติวิธีได้ ประชาคมโลกจึงมีความเสี่ยงที่จะได้เห็นปรากฏการณ์เร่งทำสงครามให้บานปลายมากขึ้น หรืออาจมีความเสี่ยงการก่อโรคระบาดใหม่ได้มากขึ้น

    เพราะการก่อสงครามของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ไม่ได้ทำให้สหรัฐอเมริกาต้องเผชิญความเสี่ยงในการสูญเสียในสมรภูมิสงครามโดยตรง ทำให้หลายประเทศต้องซื้ออาวุธสงครามด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐมากขึ้น

    และการปฏิบัติการด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ต่อสู้กันนั้น ก็ย่อมทำให้ต้องการใช้น้ำมันมากขึ้น ดังนั้นน้ำมันที่เพิ่มมูลค่ามากขึ้น ย่อมทำให้สหรัฐอเมริกาได้รับประโยชน์ทำกำไรมากขึ้น และรักษาเงินดอลลาร์ได้มากขึ้นเช่นกัน เพราะทำให้สหรัฐอเมริการมีรายได้มาช่วยชำระหนี้มากขึ้น

    ยังไม่นับความเสี่ยงประเทศคู่กรณีกับสหรัฐอเมริกา ก็อาจจะถูกประเทศสหรัฐอเมริกาชักดาบ ไม่ต้องชำระหนี้พันธบัตรสหรัฐ และยึดทุนสำรองระหว่างประเทศมาชดใช้หนี้ให้สหรัฐอเมริการหรือให้มาซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ของสหรัฐอเมริกาได้ด้วย

    กรณีศึกษาที่ชัดเจนว่าฝ่ายรักษาเงินดอลลาร์ที่ได้ทำลายการขนส่งก๊าซของรัสเซียในยุโรปก็ดี การมีเป้าหมายทำลายบ่อน้ำมันหรือโรงกลั่นน้ำมันของอิหร่านก็ดี มีเป้าหมายชัดเจนว่าต้องการทำลายปิโตรเลียมของชาติอื่นๆ ที่จะไม่ใช้เงินดอลลาร์สหรัฐในการซื้อขายน้ำมัน(ปิโตรดอลลาร์) เพื่อหวังจะทำให้ปิโตรเลียมที่ค้าขายด้วยดอลลาร์สหรัฐเท่านั้นที่จะครองสัดส่วนหลักของโลกได้ต่อไป ซึ่งเป็นวิธีดิ้นเฮือกสุดท้ายที่มีความเสี่ยงสูง เป็นการเดิมพันเพื่อรักษาเงินดอลลาร์เอาไว้ให้ได้

    นั่นหมายความว่า “ราคาน้ำมัน” มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นต่อไปด้วย

    ดังนั้นลักษณะสงครามโลก หรือหากจะมีสงครามโรคเพื่อรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐนั้น มีแนวโน้มที่จะเป็นไปในลักษณะ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ”ไม่ให้เป็นสงครามที่มีผลกระทบต่อแผ่นดินของสหรัฐอเมริกา

    แต่ก็ใช่ว่าแนวทางรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่ไม่ใช่แนวทางสันติวิธีแบบนี้จะทำได้ตามอำเภอใจ เพราะประเทศคู่กรณีอย่างจีน รัสเซีย ที่มีสมาชิก BRICS เข้าร่วมมากขึ้นเรื่อยๆ ที่กำลังลดการถือครองเงินดอลลาร์สหรัฐให้ลดน้อยลง

    จีน รัสเซีย เกาหลีเหนือ อิหร่าน อินเดีย ซึ่งกำลังทยอยลดการถือครองสินทรัพย์ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ต่างมีอาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยี ที่ไม่เพียงจะไม่แพ้สหรัฐอเมริกาและยุโรปเท่านั้น แต่ยังอาจจะเหนือกว่าสหรัฐอเมริกาแล้วด้วย

    ดังนั้นการทำสงครามแบบ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ” อาจถูกโต้กลับด้วยแสนยานุภาพทำให้สงครามสิ้นสุดลงได้เช่นกัน

    ในขณะที่การทำสงครามโรคระบาดก็อาจจะไม่ง่ายอีกเช่นกัน เพราะหลังจากการเกิดโรคระบาดโควิด-19 เริ่มทำให้หลายประเทศได้ตระหนักถึงความเสียหายรอบด้าน และมีการเตรียมความพร้อมมากขึ้น ทั้งยารักษาโรค การพึ่งพาตัวเองได้สมุนไพร การเร่งรัดงานวิจัย หรือแม้กระทั่งการผลิตวัคซีน

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีนได้ถ่วงอำนาจทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก ด้วยการปล่อยกู้และลงทุนอันมหาศาลให้กับหลายประเทศที่ติดหนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ อีกทั้งยังขยายบทบาทการพึ่งพาทางเศรษฐกิจให้กับหลายประเทศทั่วโลกมากกว่าสหรัฐอเมริกา และทำให้ความจำเป็นในการพึ่งพาดอลลาร์สหรัฐอเมริกาลดลงไปด้วย และยังลงทุนก่อสร้างไปในธุรกิจพลังงาน และเหมืองแร่ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสินทรัพย์ที่เป็นตัวเปลี่ยนเทคโนโลยีของจีน ที่เหนือกว่าการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐ

    จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น แนวโน้มดอลลาร์สหรัฐจะไม่สามารถรักษามูลค่าต่อไปได้ ต่อให้ปั่นกระแสข่าวการทำสงคราม การขึ้นภาษีกีดกันทางการค้า ต่างก็มีข้อจำกัดด้วยแสนยานุภาพของประเทศมหาอำนาจคู่กรณี

    ในสถานการณ์เช่นนี้ประเทศไทยจะต้องคำนึงถึงเรื่องดังต่อไปนี้

    1.ความมั่นคงในทุนสำรองระหว่างประเทศที่จะต้องปรับเปลี่ยนสัดส่วนของสินทรัพย์ให้ทันพลวัตต่อเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

    2.ต้องมีการบริหารจัดการรักษา “เสถียรภาพ” ค่าเงินบาทไม่ให้เกิดการ “ผันผวน” ผิดปกติเมื่อเทียบกับประเทศในกลุ่มเดียวกัน ควบคู่ไปกับการพิจารณาเรื่องเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ กับความสามารถในการแข่งขันในเวทีการส่งออกและการนำเข้าระหว่างประเทศ

    3.ต้องบริหารจัดการให้เกิดความมั่นคงทางพลังงานเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก โดยเฉพาะการส่งเสริมโซลาร์เซลล์ และรถไฟฟ้าทั่วไทยอย่างจริงจัง

    4.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางอาหารให้พึ่งพาตัวเองได้ ในภาวะสงครามทั่วโลก

    5.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางยาด้านสมุนไพรเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก

    แต่จนถึงวันนี้ก็ยังไม่เห็นรัฐบาลได้ตระหนักหรือมีวิสัยทัศน์กับปัญหาเหล่านี้เลย

    คงเหลือแต่ประชาชนเท่านั้นที่ได้อ่านบทความนี้ต้องเริ่มแสวงหาแนวทางการพึ่งพาตัวเองให้มากขึ้น ทั้งการพึ่งพาตัวเองด้านพลังงาน อาหาร และสมุนไพร หรือปรัชญาพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9

    ด้วยความปรารถนาดี
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    10 ตุลาคม 2567
    ดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมค่าลง ถึงแม้จะพยายามก่อสงครามและโรคระบาดก็ตาม / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ สถานการณ์ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในปัญหาความไม่เชื่อมั่นต่อ ดอลลาร์สหรัฐ มี 2 เรื่องสำคัญ คือ 1.การพิมพ์แบงค์ก่อหนี้ไม่หยุดและไม่สามารถชำระหนี้ได้ และ 2. การยึดทุนสำรองระหว่างประเทศของรัสเซีย ทำให้ทั่วโลกกำลังหาสินทรัพย์อย่างอื่น อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงจุดที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถใช้นโยบายดอกเบี้ยสูงได้ต่อไป ก็ยิ่งทำให้เงินทั่วโลกเทขายพันธบัตรและเงินดอลลาร์หันไปลงทุนสินทรัพย์อย่างอื่น โดยเฉพาะตลาดหุ้นในเอเชีย (ซึ่งแปลงเป็นเงินสกุลอื่น) คริปโตเคอเรนซี่ และทองคำ ประเทศใดไม่ทันระวังตัว หลงเพลินกับดัชนีราคาหุ้นที่สูงขึ้น ก็อาจจะได้รับผลกระทบทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศเสื่อมค่าลงด้วยเพราะดอลลาร์ที่ท่วมในทุนสำรองระหว่างประเทศกำลังเสื่อมค่าลงเช่นกั ด้วยเหตุผลนี้ธนาคารกลางของหลายประเทศที่มีเงินทุนไหลเข้าจำนวนมาก ก็มีแนวโน้มจะซื้อทองคำมากขึ้น เพื่อรักษามูลค่าของทุนสำรองระหว่างประเทศให้มั่นคง กว่าการมีสินทรัพย์ที่มีเงินดอลลาร์มากเกินไป ด้วยเหตุผลนี้ทองคำมีแนวโน้มจะมีราคาสูงขึ้นต่อไปเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ดังนั้นในรอบหลายปีที่ผ่านมา การระบาดของโรคโควิด-19 ได้ช่วยทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกได้รับความเสียหาย อีกทั้งต้องสั่งซื้อวัคซีนและยารักษาโรคในรูปของเงินดอลลาร์สหรัฐจากอเมริกา และยุโรป การก่อหนี้สาธารณอันมหาศาลเพื่อรับมือกับโรคโควิด-19 ในการหาซื้อยา วัคซีน เวชภัณฑ์ รวมถึงการเยียวยาความเสียหายทางเศรษฐกิจ ทำให้หลายประเทศต่อก่อหนี้เพิ่มมากขึ้น บางประเทศที่ขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดอยู่แล้ว ก็ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF มากขึ้น และการที่ประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามหรือโรคระบาดที่ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศมากขึ้น ก็คือการรักษาความต้องการเงินดอลลาร์ให้ยังคงอยู่ต่อไป และต้องถูกแลกมาด้วยการสูบทรัพยากรจากประเทศลูกหนี้เหล่านั้นให้มาชดใช้หนี้ด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาและยุโรป และนี่คือเหตุผลสำคัญที่กระทรวงกลาโหมต้องออกมาปล่อยข่าวปลอมในการใส่ร้ายและทำลายวัคซีนจากจีน เพื่อต้องการสูบความมั่งคั่งจากทั่วโลกให้มาเพิ่งเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อไป อย่างไรก็ตาม เมื่อมาถึงจุดที่นโยบายดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะดำรงได้ต่อไป จึงถูกสถานการณ์ทางเศรษฐกิจบีบคั้นให้ลดอัตราดอกเบี้ยและมีแนวโน้มจะลดลงไปเรื่อยๆ โดยหวังว่าทำให้เศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาเดินหน้าต่อไป แต่การลดดอกเบี้ยธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา ก็แลกกลับมาด้วยเงินทุนไหลออกจากดอลลาร์สหรัฐอย่างรวดเร็ว ไปสู่สินทรัพย์อื่นที่ปลอดภัยมากกว่าอย่างรวดเร็ว ทั้งทองคำ เงินดิจิตอลคริปโตเคอเรนซี่ หุ้นในประเทศในเอเชีย ส่งผลทำให้ดัชนีเงินดอลลาร์สหรัฐมีแนวโน้มจะเสื่อมค่าลงเรื่อยๆ เมื่อนโยบายอัตราดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะถูกใช้เป็นเครื่องมือในการรักษาดอลลาร์อย่างสันติวิธีได้ ประชาคมโลกจึงมีความเสี่ยงที่จะได้เห็นปรากฏการณ์เร่งทำสงครามให้บานปลายมากขึ้น หรืออาจมีความเสี่ยงการก่อโรคระบาดใหม่ได้มากขึ้น เพราะการก่อสงครามของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ไม่ได้ทำให้สหรัฐอเมริกาต้องเผชิญความเสี่ยงในการสูญเสียในสมรภูมิสงครามโดยตรง ทำให้หลายประเทศต้องซื้ออาวุธสงครามด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐมากขึ้น และการปฏิบัติการด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ต่อสู้กันนั้น ก็ย่อมทำให้ต้องการใช้น้ำมันมากขึ้น ดังนั้นน้ำมันที่เพิ่มมูลค่ามากขึ้น ย่อมทำให้สหรัฐอเมริกาได้รับประโยชน์ทำกำไรมากขึ้น และรักษาเงินดอลลาร์ได้มากขึ้นเช่นกัน เพราะทำให้สหรัฐอเมริการมีรายได้มาช่วยชำระหนี้มากขึ้น ยังไม่นับความเสี่ยงประเทศคู่กรณีกับสหรัฐอเมริกา ก็อาจจะถูกประเทศสหรัฐอเมริกาชักดาบ ไม่ต้องชำระหนี้พันธบัตรสหรัฐ และยึดทุนสำรองระหว่างประเทศมาชดใช้หนี้ให้สหรัฐอเมริการหรือให้มาซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ของสหรัฐอเมริกาได้ด้วย กรณีศึกษาที่ชัดเจนว่าฝ่ายรักษาเงินดอลลาร์ที่ได้ทำลายการขนส่งก๊าซของรัสเซียในยุโรปก็ดี การมีเป้าหมายทำลายบ่อน้ำมันหรือโรงกลั่นน้ำมันของอิหร่านก็ดี มีเป้าหมายชัดเจนว่าต้องการทำลายปิโตรเลียมของชาติอื่นๆ ที่จะไม่ใช้เงินดอลลาร์สหรัฐในการซื้อขายน้ำมัน(ปิโตรดอลลาร์) เพื่อหวังจะทำให้ปิโตรเลียมที่ค้าขายด้วยดอลลาร์สหรัฐเท่านั้นที่จะครองสัดส่วนหลักของโลกได้ต่อไป ซึ่งเป็นวิธีดิ้นเฮือกสุดท้ายที่มีความเสี่ยงสูง เป็นการเดิมพันเพื่อรักษาเงินดอลลาร์เอาไว้ให้ได้ นั่นหมายความว่า “ราคาน้ำมัน” มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นต่อไปด้วย ดังนั้นลักษณะสงครามโลก หรือหากจะมีสงครามโรคเพื่อรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐนั้น มีแนวโน้มที่จะเป็นไปในลักษณะ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ”ไม่ให้เป็นสงครามที่มีผลกระทบต่อแผ่นดินของสหรัฐอเมริกา แต่ก็ใช่ว่าแนวทางรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่ไม่ใช่แนวทางสันติวิธีแบบนี้จะทำได้ตามอำเภอใจ เพราะประเทศคู่กรณีอย่างจีน รัสเซีย ที่มีสมาชิก BRICS เข้าร่วมมากขึ้นเรื่อยๆ ที่กำลังลดการถือครองเงินดอลลาร์สหรัฐให้ลดน้อยลง จีน รัสเซีย เกาหลีเหนือ อิหร่าน อินเดีย ซึ่งกำลังทยอยลดการถือครองสินทรัพย์ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ต่างมีอาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยี ที่ไม่เพียงจะไม่แพ้สหรัฐอเมริกาและยุโรปเท่านั้น แต่ยังอาจจะเหนือกว่าสหรัฐอเมริกาแล้วด้วย ดังนั้นการทำสงครามแบบ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ” อาจถูกโต้กลับด้วยแสนยานุภาพทำให้สงครามสิ้นสุดลงได้เช่นกัน ในขณะที่การทำสงครามโรคระบาดก็อาจจะไม่ง่ายอีกเช่นกัน เพราะหลังจากการเกิดโรคระบาดโควิด-19 เริ่มทำให้หลายประเทศได้ตระหนักถึงความเสียหายรอบด้าน และมีการเตรียมความพร้อมมากขึ้น ทั้งยารักษาโรค การพึ่งพาตัวเองได้สมุนไพร การเร่งรัดงานวิจัย หรือแม้กระทั่งการผลิตวัคซีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีนได้ถ่วงอำนาจทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก ด้วยการปล่อยกู้และลงทุนอันมหาศาลให้กับหลายประเทศที่ติดหนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ อีกทั้งยังขยายบทบาทการพึ่งพาทางเศรษฐกิจให้กับหลายประเทศทั่วโลกมากกว่าสหรัฐอเมริกา และทำให้ความจำเป็นในการพึ่งพาดอลลาร์สหรัฐอเมริกาลดลงไปด้วย และยังลงทุนก่อสร้างไปในธุรกิจพลังงาน และเหมืองแร่ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสินทรัพย์ที่เป็นตัวเปลี่ยนเทคโนโลยีของจีน ที่เหนือกว่าการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น แนวโน้มดอลลาร์สหรัฐจะไม่สามารถรักษามูลค่าต่อไปได้ ต่อให้ปั่นกระแสข่าวการทำสงคราม การขึ้นภาษีกีดกันทางการค้า ต่างก็มีข้อจำกัดด้วยแสนยานุภาพของประเทศมหาอำนาจคู่กรณี ในสถานการณ์เช่นนี้ประเทศไทยจะต้องคำนึงถึงเรื่องดังต่อไปนี้ 1.ความมั่นคงในทุนสำรองระหว่างประเทศที่จะต้องปรับเปลี่ยนสัดส่วนของสินทรัพย์ให้ทันพลวัตต่อเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 2.ต้องมีการบริหารจัดการรักษา “เสถียรภาพ” ค่าเงินบาทไม่ให้เกิดการ “ผันผวน” ผิดปกติเมื่อเทียบกับประเทศในกลุ่มเดียวกัน ควบคู่ไปกับการพิจารณาเรื่องเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ กับความสามารถในการแข่งขันในเวทีการส่งออกและการนำเข้าระหว่างประเทศ 3.ต้องบริหารจัดการให้เกิดความมั่นคงทางพลังงานเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก โดยเฉพาะการส่งเสริมโซลาร์เซลล์ และรถไฟฟ้าทั่วไทยอย่างจริงจัง 4.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางอาหารให้พึ่งพาตัวเองได้ ในภาวะสงครามทั่วโลก 5.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางยาด้านสมุนไพรเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก แต่จนถึงวันนี้ก็ยังไม่เห็นรัฐบาลได้ตระหนักหรือมีวิสัยทัศน์กับปัญหาเหล่านี้เลย คงเหลือแต่ประชาชนเท่านั้นที่ได้อ่านบทความนี้ต้องเริ่มแสวงหาแนวทางการพึ่งพาตัวเองให้มากขึ้น ทั้งการพึ่งพาตัวเองด้านพลังงาน อาหาร และสมุนไพร หรือปรัชญาพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ด้วยความปรารถนาดี ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 10 ตุลาคม 2567
    Like
    Love
    Yay
    Sad
    110
    5 Comments 9 Shares 4340 Views 5 Reviews
More Results