• "ชัยวัฒน์" เฮ! ศาลปกครองสูงสุดยืนยันเพิกถอนคำสั่งปลดพ้นราชการ ชี้ ป.ป.ท. ไม่มีอำนาจชี้มูลวินัยไม่ร้ายแรง
    https://www.thai-tai.tv/news/20318/
    .
    #ชัยวัฒน์ลิ้มลิขิตอักษร #ศาลปกครองสูงสุด #เพิกถอนคำสั่งปลด #กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม #ปปท #คดีอุทยานแก่งกระจาน #วินัยร้ายแรง #คดีบริหาร #ข่าววันนี้
    "ชัยวัฒน์" เฮ! ศาลปกครองสูงสุดยืนยันเพิกถอนคำสั่งปลดพ้นราชการ ชี้ ป.ป.ท. ไม่มีอำนาจชี้มูลวินัยไม่ร้ายแรง https://www.thai-tai.tv/news/20318/ . #ชัยวัฒน์ลิ้มลิขิตอักษร #ศาลปกครองสูงสุด #เพิกถอนคำสั่งปลด #กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม #ปปท #คดีอุทยานแก่งกระจาน #วินัยร้ายแรง #คดีบริหาร #ข่าววันนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • แม่น้ำกกป่วยเพราะสารพิษหนักเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่าใครจะเป็นหมอรักษา (ตอนที่ 5)
    .................
    มหากาพย์แร่หายากกำลังเป็นฝีแตกในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพราะทำให้แม่น้ำกก แม่น้ำสาย และจะส่งผลต่อแม่น้ำโขงป่วยหนักขึ้น การบริโภค การใช้แม่น้ำที่มีวิญญาณของความเป็นแม่ ถูกความโลภ อำนาจ เผาผลาญ และเอากากความความโลภทิ้งลงแม่น้ำ แล้วทุนแร่หายากในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงแห่งนี้กำลังสร้างตำนานซ้ำซากที่เกิดขึ้นในแอฟริกา เป็นกระบวนการถลุงแร่ธาตุ เพื่อให้เป็นเลือด
    .................
    สัญญาณแรก ประมงจังหวัดเชียงราย แถลงเมื่อ 25 เม.ย.68 ระบุพบปลากลุ่มตัวอย่างพบโลหะหนัก เช่น สารหนูและปรอท ไม่เกินค่ามาตรฐาน ก็อาจจะไม่ให้เราเบาใจและปล่อยปละละเลย และแสดงความกังวลว่าปลาลดน้อยลงมาก เพราะแม่น้ำเสื่อมโทรม ตั้งแต่ความตื้นเขิน น้ำมีตะกอนดินทั้งปี

    สัญญาณที่สอง สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 1 (เชียงใหม่) ก็หวั่น ๆ ว่า ผลสรุปการตรวจสอบคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้ำแม่น้ำกก บริเวณ อ.แม่อาย และอ.เมือง จ.เชียงราย พบมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินเพื่อปกป้องสัตว์หน้าดิน อาจจะเกิดอันตรายต่อสัตว์หน้าดินที่เป็นอาหารของสัตว์น้ำ เช่น ปลา จะทำให้จำนวนหรือประเภทของสัตว์หน้าดินลดลง ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศลดลง สัตว์น้ำลดจำนวนลง และชาวบ้านจับสัตว์น้ำได้น้อยลง แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ที่กินสัตว์น้ำ แต่ไม่แน่ว่าหากมีการสะสมในปลา ถ้าชาวบ้านบริโภคปลาเป็นจำนวนมากและเป็นประจำ อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย เช่น ชาที่ปลายมือปลายเท้า (ไข้ดำ: ผิวหนังหนาและเข้ม) มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ

    สัญญาณที่สาม 30 เมษายน ผลตรวจสารหนูเบื้องต้นในแม่น้ำ อ.แม่สาย - อ.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย พบเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่า มีหมายเหตุ ผลดังกล่าวเป็นเพียงผลการตรวจเบื้องต้นทางทีมวิจัยจะนำตัวอย่างน้ำส่งตรวจใน Lab มาตรฐานต่อไป
    .................
    แรงกระเพื่อมต่อถึงทำเนียบ นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานการประชุม ติดตามสถานการณ์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสารปนเปื้อนเกินค่ามาตรฐานในแม่น้ำกก ณ ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล องค์ประชุมประกอบด้วย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และกระทรวงการต่างประเทศ

    ในการประชุม กระจายหน้าที่แต่ละกระทรวง กระทรวงมหาดไทย เร่งสั่งการการประปาส่วนภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการใช้น้ำดิบในการผลิตน้ำประปา พร้อมทั้งกำชับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับข้อมูลสารปนเปื้อนในน้ำ แนวทางการกรองน้ำเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย รวมถึงการเร่งตรวจสอบแหล่งน้ำในพื้นที่อย่างเข้มข้น

    ประธานในการประชุมมีข้อสั่งการด้านการแก้ไขปัญหา 6 ประเด็น ดังนี้ 1. มอบหมายกระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติบูรณาการร่วมกัน เร่งประสานประเทศเพื่อนบ้าน ใช้กลไกความร่วมมือทุกระดับเพื่อควบคุมแหล่งกำเนิดภายนอกประเทศที่อาจส่งผลให้เกิดสารปนเปื้อนในแม่น้ำกก

    2. มอบหมายสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติใช้กลไกลุ่มน้ำโขงเหนือ บริหารจัดการปริมาณน้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศน์ เพิ่มน้ำต้นทุนเข้าสู่แม่น้ำกก

    3. มอบหมายกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ใช้นวัตกรรมดาวเทียม และเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ช่วยประเมินความขุ่น สารแขวนลอยในแม่น้ำกกทั้งในเขตประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน

    4. มอบหมายกระทรวงมหาดไทยสั่งการผู้ว่าราชการจังหวัดบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนและสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจไม่ให้ประชาชนตื่นตระหนก

    5. มอบหมายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข ติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนในแม่น้ำกก และลำน้ำสาขา การปนเปื้อนในสัตว์น้ำและการสะสมในร่างกายมนุษย์อย่างต่อเนื่อง

    6. มอบหมายกระทรวงอุตสาหกรรม จัดทำแนวทางการลดผลกระทบจากการทำเหมืองและประสานความร่วมมือในการเผยแพร่ให้ประเทศเพื่อนบ้านผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ
    คำถามที่ท้าทาย จะปล่อยให้ภาวะสะสมเกิดกับประชาชนชาวเชียงราย และประชาชนลุ่มน้ำสาย กก โขงแบบนี้เรื่อย ๆ ใช่หรือไม่

    .................
    เสียงประชาชนต้องดังกว่านี้ เครือข่ายข้อมูลอุทกภัยแม่น้ำกก (ค.อ.ก) ก็ได้จัดเวทีความร่วมมือเตือนภัยน้ำกกหลากท่วมปี 2568 โดยมีนางเตือนใจ ดีเทศน์ หรือ “ครูแดง” ผู้ก่อตั้งมูลนิธิ พชภ. เป็นประธานการประชุม โดยมีองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดำเนินงานในพื้นที่แม่น้ำกก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุมแลกเปลี่ยนพร้อมนำเสนอ ถึงนายกรรัฐมนตรี

    1.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษข้ามพรมแดน โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน และนักวิชาการ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาทั้งในแหล่งกำเนิดมลพิษ ระหว่างทาง และผู้รับผลพิษ จัดตั้งศูนย์ตรวจสอบคุณภาพน้ำในจังหวัดเชียงราย
    2. เปิดเผยและซักซ้อมมาตรการรับมืออุทกภัยลุ่มน้ำกก และลุ่มน้ำสาย อย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วม และมีประสิทธิภาพ
    3. สร้างความร่วมมือกับประเทศเมียนมา หรือกองกำลังที่ดูแลในพื้นที่ เพื่อเพิ่มจุดเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อตรวจสอบแหล่งที่มาของสารปนเปื้อน ตลอดลำน้ำกก น้ำสาย ทั้ง พื้นที่ต้นน้ำ ก่อนเหมืองในรัฐฉาน
    4 .สร้างระบบสื่อสารสาธารณะที่โปร่งใส เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน
    5. ขยายขอบเขตการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นการลุกล้ำหรือทำลายสิ่งแวดล้อม ตลอดลุ่มน้ำกกและลุ่มน้ำสาย
    6. เปิดการเจรจา 4 ฝ่ายคือ ไทย เมียนมา กองกำลังชาติพันธุ์ที่ควบคุมพื้นที่สัมปทานเหมือง และประเทศจีน เพื่อร่วมกันหาทางออกอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบ

    สรุปคือการส่งเสียงว่ารัฐบาลจะต้องแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ การทำเหมืองทองต้องกระตุ้นให้หน่วยงานรัฐไปเจรจา ทุกฝ่ายร่วมกัน ทั้งฝ่ายความมั่นคง รัฐบาล สื่อมวลชน ชาวบ้าน ประเทศเพื่อนบ้าน ถ้าระดับประเทศแก้ไม่ได้ก็ต้องเป็นระดับอาเซียน ภูมิภาค หรือระดับนานาชาติร่วมกันแก้ไข ต้องคุยกับรัฐบาลพม่ารวมถึงรัฐบาลจีน เพราะเป็นพื้นที่ของกลุ่มว้า เป็นการเมืองระหว่างประเทศ

    เปิดพื้นที่ผ่านการเล่าเรื่องของแม่น้ำกกระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ สร้างความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับสิทธิของแม่น้ำ และ การเจรจาระหว่างรัฐกับธรรมชาติ ข้ามเขตแดนรัฐและแนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน (Transboundary Environmental Governance)”
    .................

    ดร.สืบสกุล กิจนุกร อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงกล่าวว่า รัฐบาลต้องใช้แนวคิดการทูตสิ่งแวดล้อมสร้างความร่วมมือแก้ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนให้เป็นรูปธรรมมากที่สุด นอกจากนี้ต้องเสนอให้เมียนมาเข้าใจด้วยว่า เหมืองแร่อยู่ในเขตควบคุมของกองกำลังติดอาวุธชาติพันธุ์ที่การเจรจาสันติภาพในเมียนมา ต้องหยิบยกเอาประเด็นมลพิษข้ามพรมแดนเป็นส่วนหนึ่งของการเจรจาด้วย

    น.ส.เพียงพร ดีเทศน์ เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา(พชภ.) และผู้อำนวยการฝ่ายรณรงรงค์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ องค์กรแม่น้ำนานาชาติ (International Rivers) กล่าวว่า ทั้งแม่น้ำกกและแม่น้ำสายเป็นแม่น้ำระหว่างประเทศ โดยมีต้นน้ำอยู่ในเขตรัฐฉาน ประเทศพม่า การสร้างเหมืองทองที่บริเวณต้นน้ำ ทำให้ประชาชนและระบบนิเวศท้ายน้ำซึ่งอยู่ในประเทศไทยได้รับความเดือดร้อนกันถ้วนหน้า ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องเร่งหาทางยุติการทำเหมืองและเปิดหน้าดินในวงกว้างให้ได้ เพราะนอกจากส่งผลในเรื่องการปนเปื้อนสารโลหะหนักลงแม่น้ำแล้ว ยังส่งผลต่ออุทกภัยที่มีดินโคลนปนมาด้วย กลายเป็นภัยพิบัติร้ายแรงที่คนท้ายน้ำต้องเผชิญและหวาดผวาอยู่ตลอดเวลา

    ก่อนหน้านี้กระแสกระเพื่อมขึ้นในพื้นที่ที่ดีมาก ที่ทาง พล.ท.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร เลขานุการคณะกรรมการระดับสูงไทย-เมียนมา ร่วมรับฟังปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำกกและแม่น้ำสาย

    เนื้อหาจึงเจาะประเด็นเชิงความมั่นคงทันทีในมิติของผลกระทบข้ามแดน ตามที่ได้นำเสนอในตอนต้น ๆ เป็นเรื่องของกระบวนการขุมเหมืองแร่สีเลือกเพื่อนำผลประโยชน์มาห่ำหั่นกันทางการเมือง ที่รัฐบาลทหารพม่า อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ต่าง ๆ ในรัฐฉาน ส่วนใหญ่จะเป็นนักลงทุนจีน แต่ก็มีประเทศออสเตรเลีย รัสเซีย และอิตาลีด้วย เหมืองทั้งหมดอยู่เหนือน้ำกก น้ำสาย น้ำรวก
    .................

    มิติทางแม่น้ำระหว่างประเทศ เป็นวิกฤติมลพิษข้ามแดนที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับฝุ่นควันข้ามแดน ที่มีปลายทางด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองอยู่เบื้องหลัง ต้องใช้เวลาเกลี่ย ล๊อบบี้ กดดัน การตีโอบ เพื่อกระทบ อันจะให้การกดดันทุน และอำนาจรัฐเข้ามาเร่งรัดจัดการปัญหาข้ามพรมแดนไมว่าจะเป็น การทำระบบบำบัดน้ำเสีย ที่ต้องเพิ่มต้นทุนก็ต้องทำ กรองน้ำที่มีสารหนูปนเปื้อน

    การให้ความสำคัญมิติ สาธารณสุข ด้านสิ่งแวดล้อม การเกษตร การสื่อสาร กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสร้างสัมพันธ์และความเข้าใจนำไปสู่การแก้ไขปัญหา และเสนอให้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานทุกฝ่ายต่อการโต้ตอบเหตุสารเคมีปนเปื้อน เพื่อสื่อสารและการประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้เจ้ากรมกิจการชายแดนทหารได้รับฟังข้อมูลจากผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลเพื่อนำไปศึกษาการจัดทำรายงานนำเสนอต้นสังกัดและรัฐบาลในการดำเนินการงานร่วมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาต่อไป

    แม่น้ำกกป่วยเพราะสารพิษหนักเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่าใครจะเป็นหมอรักษา (ตอนที่ 5) ................. มหากาพย์แร่หายากกำลังเป็นฝีแตกในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพราะทำให้แม่น้ำกก แม่น้ำสาย และจะส่งผลต่อแม่น้ำโขงป่วยหนักขึ้น การบริโภค การใช้แม่น้ำที่มีวิญญาณของความเป็นแม่ ถูกความโลภ อำนาจ เผาผลาญ และเอากากความความโลภทิ้งลงแม่น้ำ แล้วทุนแร่หายากในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงแห่งนี้กำลังสร้างตำนานซ้ำซากที่เกิดขึ้นในแอฟริกา เป็นกระบวนการถลุงแร่ธาตุ เพื่อให้เป็นเลือด ................. สัญญาณแรก ประมงจังหวัดเชียงราย แถลงเมื่อ 25 เม.ย.68 ระบุพบปลากลุ่มตัวอย่างพบโลหะหนัก เช่น สารหนูและปรอท ไม่เกินค่ามาตรฐาน ก็อาจจะไม่ให้เราเบาใจและปล่อยปละละเลย และแสดงความกังวลว่าปลาลดน้อยลงมาก เพราะแม่น้ำเสื่อมโทรม ตั้งแต่ความตื้นเขิน น้ำมีตะกอนดินทั้งปี สัญญาณที่สอง สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 1 (เชียงใหม่) ก็หวั่น ๆ ว่า ผลสรุปการตรวจสอบคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้ำแม่น้ำกก บริเวณ อ.แม่อาย และอ.เมือง จ.เชียงราย พบมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินเพื่อปกป้องสัตว์หน้าดิน อาจจะเกิดอันตรายต่อสัตว์หน้าดินที่เป็นอาหารของสัตว์น้ำ เช่น ปลา จะทำให้จำนวนหรือประเภทของสัตว์หน้าดินลดลง ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศลดลง สัตว์น้ำลดจำนวนลง และชาวบ้านจับสัตว์น้ำได้น้อยลง แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ที่กินสัตว์น้ำ แต่ไม่แน่ว่าหากมีการสะสมในปลา ถ้าชาวบ้านบริโภคปลาเป็นจำนวนมากและเป็นประจำ อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย เช่น ชาที่ปลายมือปลายเท้า (ไข้ดำ: ผิวหนังหนาและเข้ม) มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ สัญญาณที่สาม 30 เมษายน ผลตรวจสารหนูเบื้องต้นในแม่น้ำ อ.แม่สาย - อ.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย พบเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่า มีหมายเหตุ ผลดังกล่าวเป็นเพียงผลการตรวจเบื้องต้นทางทีมวิจัยจะนำตัวอย่างน้ำส่งตรวจใน Lab มาตรฐานต่อไป ................. แรงกระเพื่อมต่อถึงทำเนียบ นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานการประชุม ติดตามสถานการณ์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสารปนเปื้อนเกินค่ามาตรฐานในแม่น้ำกก ณ ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล องค์ประชุมประกอบด้วย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และกระทรวงการต่างประเทศ ในการประชุม กระจายหน้าที่แต่ละกระทรวง กระทรวงมหาดไทย เร่งสั่งการการประปาส่วนภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการใช้น้ำดิบในการผลิตน้ำประปา พร้อมทั้งกำชับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับข้อมูลสารปนเปื้อนในน้ำ แนวทางการกรองน้ำเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย รวมถึงการเร่งตรวจสอบแหล่งน้ำในพื้นที่อย่างเข้มข้น ประธานในการประชุมมีข้อสั่งการด้านการแก้ไขปัญหา 6 ประเด็น ดังนี้ 1. มอบหมายกระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติบูรณาการร่วมกัน เร่งประสานประเทศเพื่อนบ้าน ใช้กลไกความร่วมมือทุกระดับเพื่อควบคุมแหล่งกำเนิดภายนอกประเทศที่อาจส่งผลให้เกิดสารปนเปื้อนในแม่น้ำกก 2. มอบหมายสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติใช้กลไกลุ่มน้ำโขงเหนือ บริหารจัดการปริมาณน้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศน์ เพิ่มน้ำต้นทุนเข้าสู่แม่น้ำกก 3. มอบหมายกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ใช้นวัตกรรมดาวเทียม และเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ช่วยประเมินความขุ่น สารแขวนลอยในแม่น้ำกกทั้งในเขตประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน 4. มอบหมายกระทรวงมหาดไทยสั่งการผู้ว่าราชการจังหวัดบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนและสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจไม่ให้ประชาชนตื่นตระหนก 5. มอบหมายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข ติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนในแม่น้ำกก และลำน้ำสาขา การปนเปื้อนในสัตว์น้ำและการสะสมในร่างกายมนุษย์อย่างต่อเนื่อง 6. มอบหมายกระทรวงอุตสาหกรรม จัดทำแนวทางการลดผลกระทบจากการทำเหมืองและประสานความร่วมมือในการเผยแพร่ให้ประเทศเพื่อนบ้านผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ คำถามที่ท้าทาย จะปล่อยให้ภาวะสะสมเกิดกับประชาชนชาวเชียงราย และประชาชนลุ่มน้ำสาย กก โขงแบบนี้เรื่อย ๆ ใช่หรือไม่ ................. เสียงประชาชนต้องดังกว่านี้ เครือข่ายข้อมูลอุทกภัยแม่น้ำกก (ค.อ.ก) ก็ได้จัดเวทีความร่วมมือเตือนภัยน้ำกกหลากท่วมปี 2568 โดยมีนางเตือนใจ ดีเทศน์ หรือ “ครูแดง” ผู้ก่อตั้งมูลนิธิ พชภ. เป็นประธานการประชุม โดยมีองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดำเนินงานในพื้นที่แม่น้ำกก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุมแลกเปลี่ยนพร้อมนำเสนอ ถึงนายกรรัฐมนตรี 1.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษข้ามพรมแดน โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน และนักวิชาการ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาทั้งในแหล่งกำเนิดมลพิษ ระหว่างทาง และผู้รับผลพิษ จัดตั้งศูนย์ตรวจสอบคุณภาพน้ำในจังหวัดเชียงราย 2. เปิดเผยและซักซ้อมมาตรการรับมืออุทกภัยลุ่มน้ำกก และลุ่มน้ำสาย อย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วม และมีประสิทธิภาพ 3. สร้างความร่วมมือกับประเทศเมียนมา หรือกองกำลังที่ดูแลในพื้นที่ เพื่อเพิ่มจุดเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อตรวจสอบแหล่งที่มาของสารปนเปื้อน ตลอดลำน้ำกก น้ำสาย ทั้ง พื้นที่ต้นน้ำ ก่อนเหมืองในรัฐฉาน 4 .สร้างระบบสื่อสารสาธารณะที่โปร่งใส เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน 5. ขยายขอบเขตการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นการลุกล้ำหรือทำลายสิ่งแวดล้อม ตลอดลุ่มน้ำกกและลุ่มน้ำสาย 6. เปิดการเจรจา 4 ฝ่ายคือ ไทย เมียนมา กองกำลังชาติพันธุ์ที่ควบคุมพื้นที่สัมปทานเหมือง และประเทศจีน เพื่อร่วมกันหาทางออกอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบ สรุปคือการส่งเสียงว่ารัฐบาลจะต้องแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ การทำเหมืองทองต้องกระตุ้นให้หน่วยงานรัฐไปเจรจา ทุกฝ่ายร่วมกัน ทั้งฝ่ายความมั่นคง รัฐบาล สื่อมวลชน ชาวบ้าน ประเทศเพื่อนบ้าน ถ้าระดับประเทศแก้ไม่ได้ก็ต้องเป็นระดับอาเซียน ภูมิภาค หรือระดับนานาชาติร่วมกันแก้ไข ต้องคุยกับรัฐบาลพม่ารวมถึงรัฐบาลจีน เพราะเป็นพื้นที่ของกลุ่มว้า เป็นการเมืองระหว่างประเทศ เปิดพื้นที่ผ่านการเล่าเรื่องของแม่น้ำกกระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ สร้างความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับสิทธิของแม่น้ำ และ การเจรจาระหว่างรัฐกับธรรมชาติ ข้ามเขตแดนรัฐและแนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน (Transboundary Environmental Governance)” ................. ดร.สืบสกุล กิจนุกร อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงกล่าวว่า รัฐบาลต้องใช้แนวคิดการทูตสิ่งแวดล้อมสร้างความร่วมมือแก้ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนให้เป็นรูปธรรมมากที่สุด นอกจากนี้ต้องเสนอให้เมียนมาเข้าใจด้วยว่า เหมืองแร่อยู่ในเขตควบคุมของกองกำลังติดอาวุธชาติพันธุ์ที่การเจรจาสันติภาพในเมียนมา ต้องหยิบยกเอาประเด็นมลพิษข้ามพรมแดนเป็นส่วนหนึ่งของการเจรจาด้วย น.ส.เพียงพร ดีเทศน์ เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา(พชภ.) และผู้อำนวยการฝ่ายรณรงรงค์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ องค์กรแม่น้ำนานาชาติ (International Rivers) กล่าวว่า ทั้งแม่น้ำกกและแม่น้ำสายเป็นแม่น้ำระหว่างประเทศ โดยมีต้นน้ำอยู่ในเขตรัฐฉาน ประเทศพม่า การสร้างเหมืองทองที่บริเวณต้นน้ำ ทำให้ประชาชนและระบบนิเวศท้ายน้ำซึ่งอยู่ในประเทศไทยได้รับความเดือดร้อนกันถ้วนหน้า ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องเร่งหาทางยุติการทำเหมืองและเปิดหน้าดินในวงกว้างให้ได้ เพราะนอกจากส่งผลในเรื่องการปนเปื้อนสารโลหะหนักลงแม่น้ำแล้ว ยังส่งผลต่ออุทกภัยที่มีดินโคลนปนมาด้วย กลายเป็นภัยพิบัติร้ายแรงที่คนท้ายน้ำต้องเผชิญและหวาดผวาอยู่ตลอดเวลา ก่อนหน้านี้กระแสกระเพื่อมขึ้นในพื้นที่ที่ดีมาก ที่ทาง พล.ท.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร เลขานุการคณะกรรมการระดับสูงไทย-เมียนมา ร่วมรับฟังปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำกกและแม่น้ำสาย เนื้อหาจึงเจาะประเด็นเชิงความมั่นคงทันทีในมิติของผลกระทบข้ามแดน ตามที่ได้นำเสนอในตอนต้น ๆ เป็นเรื่องของกระบวนการขุมเหมืองแร่สีเลือกเพื่อนำผลประโยชน์มาห่ำหั่นกันทางการเมือง ที่รัฐบาลทหารพม่า อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ต่าง ๆ ในรัฐฉาน ส่วนใหญ่จะเป็นนักลงทุนจีน แต่ก็มีประเทศออสเตรเลีย รัสเซีย และอิตาลีด้วย เหมืองทั้งหมดอยู่เหนือน้ำกก น้ำสาย น้ำรวก ................. มิติทางแม่น้ำระหว่างประเทศ เป็นวิกฤติมลพิษข้ามแดนที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับฝุ่นควันข้ามแดน ที่มีปลายทางด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองอยู่เบื้องหลัง ต้องใช้เวลาเกลี่ย ล๊อบบี้ กดดัน การตีโอบ เพื่อกระทบ อันจะให้การกดดันทุน และอำนาจรัฐเข้ามาเร่งรัดจัดการปัญหาข้ามพรมแดนไมว่าจะเป็น การทำระบบบำบัดน้ำเสีย ที่ต้องเพิ่มต้นทุนก็ต้องทำ กรองน้ำที่มีสารหนูปนเปื้อน การให้ความสำคัญมิติ สาธารณสุข ด้านสิ่งแวดล้อม การเกษตร การสื่อสาร กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสร้างสัมพันธ์และความเข้าใจนำไปสู่การแก้ไขปัญหา และเสนอให้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานทุกฝ่ายต่อการโต้ตอบเหตุสารเคมีปนเปื้อน เพื่อสื่อสารและการประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้เจ้ากรมกิจการชายแดนทหารได้รับฟังข้อมูลจากผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลเพื่อนำไปศึกษาการจัดทำรายงานนำเสนอต้นสังกัดและรัฐบาลในการดำเนินการงานร่วมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาต่อไป
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1091 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ทราย สก๊อต"ไปเหยียบตีนใคร ที่เต็มไปด้วยผลประโยชน์ในทะเลไทย
    .
    “ทราย สก๊อต” หรือ สิรณัฐ ภิรมย์ภักดี อินฟลูเอนเซอร์หนุ่มลูกครึ่งไทย-สกอตต์แลนด์ ทายาทสิงห์รุ่น 4 หลานชายของคุณจำนงค์ ภิรมย์ภักดี อดีตประธานบริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด ทรายเรียนจบการศึกษาปริญญาตรีทางด้านแอนิเมชันจากสหรัฐอเมริกาและเจ้าของสถิติว่ายน้ำทะเล 30 กม.ได้รับฉายาเป็น“อควาแมนเมืองไทย” ได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาอธิบดีกรมอุทยานฯนายอรรถพล เจริญชันษา เมื่อต้นปี 2567 ด้วยภาพลักษณ์คนรุ่นใหม่ รักษ์ทะเล จริงจังเรื่องสิ่งแวดล้อม และสื่อสารเก่งผ่านโซเชียล
    .
    เขาทำงานเชิงรุกในภาคสนามอย่างเข้มข้น ใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ไม่ผ่อนปรน ยอมหักไม่ยอมงอ ทั้งเตือนนักท่องเที่ยว ใช้กฎหมายจัดการผู้ละเมิดกฎอุทยาน ไม่เว้นแม้แต่บริษัทเรือหรือไกด์ทัวร์ที่ให้อาหารสัตว์ทะเลหรือเหยียบปะการัง จนเกิดความไม่พอใจจากบางกลุ่มที่เสียผลประโยชน์ ถูกกล่าวหาว่าใช้อำนาจเกินขอบเขต ทำคอนเทนต์เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว และพูดจาเหยียดหยามเจ้าหน้าที่
    .
    เหตุการณ์เริ่มต้นจากคลิป “หนีห่าว” ที่ทรายเข้าไปตักเตือนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่พูดจาเหยียดคนไทย ตามด้วยคดีฟ้องหมิ่นประมาทจากบริษัทเรือ ก่อกระแสโต้กลับหนักบนโซเชียลและในวงราชการ กระทั่งวันที่ 21 เม.ย. 2568 อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาตินายอรรถพล เจริญชันษา มีคำสั่งปลดทรายออกจากตำแหน่ง โดยให้เหตุผลว่า “มีความประพฤติไม่เหมาะสม เตือนแล้วก็ไม่แก้ไขปรับปรุง ทำงานร่วมกับใครไม่ได้”
    .
    สังคมออนไลน์กลับมองต่าง ช่วยกันติดแฮชแท็ก #Saveทราย #คืนทรายให้ทะเล พร้อมตั้งคำถามว่า “เขาไปเหยียบตีนใครหรือเปล่า?” เพราะสิ่งที่ทรายพูดอาจเป็นการสะกิดรอยรั่วของระบบอุทยานฯ โดยเฉพาะพื้นที่ “ทำเงิน”ในอุทยานทางทะเล 4 แห่งคืออุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา หมู่เกาะพีพี จังหวัดภูเก็ต, อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน จังหวัดกระบี่, อุทยานแห่งชาติแหลมหญ้า หมู่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง, อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา จังหวัดพังงา ก็ฟาดไปกว่าปีละ 500 ล้านบาท
    .
    ทรายยืนยันว่า “ไม่ได้ล้ำเส้น แค่ใช้กฎให้ถูกต้อง” พร้อมเปรยว่า “ผมเห็นเยอะเกินไป” เป็นประโยคที่หลายคนตีความว่า เขาอาจสัมผัสปัญหาหรือความหย่อนยานเชิงโครงสร้างในระบบราชการที่ไม่มีใครกล้าพูด
    .
    ขบวนการผลประโยชน์ที่ "ทราย สก๊อต" มองเห็นอยู่ ย่อมไม่มีผลดีต่อพวกที่คิดชั่ว ทำชั่วระบบเวียนตั๋ว-อุปถัมภ์-ผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่ใช่แค่โกงตั๋ว ยังมีการจัดซื้อจัดจ้าง ส่อแววเอื้อพวกพ้อง ทั้งที่รายได้จากอุทยานทั่วประเทศปี 2567 พุ่งถึง 2,200 ล้านบาท แต่สวัสดิการพื้นฐานของเจ้าหน้าที่อุทยาน เช่น ประกันภัยยังแทบไม่มี “ทราย สก๊อต” เคยเสนอแนวคิดใช้เงินตรงนี้ดูแลคนทำงานจริง กลับถูกต้านจากระบบ เป็นไปได้หรือไม่ว่าตัวจริงเป็น "ไอ้โม่ง" ที่อยู่ข้างหลัง คือตัวเบิ้มๆ ที่คอยเก็บเกี่ยวผลประโยชน์
    .
    นี่ล่ะ คือเบื้องหน้าเบื้องหลังของกรณี "หนีห่าว" ของ "ทราย สก๊อต" ที่ไม่ได้จบแค่เรื่องการเหยียดคนไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ แต่ยังสะท้อนถึงปัญหาเชิงระบบ ปัญหาเรื่องผลประโยชน์นับพันล้านของกรมอุทยานแห่งชาติฯ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเงื้อมมือของข้าราชการและนักการเมืองที่ตัดไม่ได้ขายไม่ออกด้วย
    .
    สำหรับคุณเฉลิมชัย ศรีอ่อน นั้น ท่านก็เคยมีวีรกรรมของท่านมากมายเหลือเกินสมัยที่ท่านเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฯ แล้วก็มีเรื่องนี้ที่เกิดขึ้น ผมไม่รู้ว่าการสั่งซื้อเรือราคาหลายร้อยล้านบาทนั้น มันออกมาจากคนไหน ท่านรัฐมนตรีฯ เฉลิมชัย เป็นคนกระซิบคุณอริยะ เชื้อชม ผู้อำนวยการสำนักอุทยานแห่งชาติหรือเปล่า ผมไม่ทราบ ผมรู้แต่ว่า คุณเฉลิมชัย อยู่ที่ไหน ที่นั่นไม่ค่อยจะสงบสุขเลย
    "ทราย สก๊อต"ไปเหยียบตีนใคร ที่เต็มไปด้วยผลประโยชน์ในทะเลไทย . “ทราย สก๊อต” หรือ สิรณัฐ ภิรมย์ภักดี อินฟลูเอนเซอร์หนุ่มลูกครึ่งไทย-สกอตต์แลนด์ ทายาทสิงห์รุ่น 4 หลานชายของคุณจำนงค์ ภิรมย์ภักดี อดีตประธานบริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด ทรายเรียนจบการศึกษาปริญญาตรีทางด้านแอนิเมชันจากสหรัฐอเมริกาและเจ้าของสถิติว่ายน้ำทะเล 30 กม.ได้รับฉายาเป็น“อควาแมนเมืองไทย” ได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาอธิบดีกรมอุทยานฯนายอรรถพล เจริญชันษา เมื่อต้นปี 2567 ด้วยภาพลักษณ์คนรุ่นใหม่ รักษ์ทะเล จริงจังเรื่องสิ่งแวดล้อม และสื่อสารเก่งผ่านโซเชียล . เขาทำงานเชิงรุกในภาคสนามอย่างเข้มข้น ใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ไม่ผ่อนปรน ยอมหักไม่ยอมงอ ทั้งเตือนนักท่องเที่ยว ใช้กฎหมายจัดการผู้ละเมิดกฎอุทยาน ไม่เว้นแม้แต่บริษัทเรือหรือไกด์ทัวร์ที่ให้อาหารสัตว์ทะเลหรือเหยียบปะการัง จนเกิดความไม่พอใจจากบางกลุ่มที่เสียผลประโยชน์ ถูกกล่าวหาว่าใช้อำนาจเกินขอบเขต ทำคอนเทนต์เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว และพูดจาเหยียดหยามเจ้าหน้าที่ . เหตุการณ์เริ่มต้นจากคลิป “หนีห่าว” ที่ทรายเข้าไปตักเตือนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่พูดจาเหยียดคนไทย ตามด้วยคดีฟ้องหมิ่นประมาทจากบริษัทเรือ ก่อกระแสโต้กลับหนักบนโซเชียลและในวงราชการ กระทั่งวันที่ 21 เม.ย. 2568 อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาตินายอรรถพล เจริญชันษา มีคำสั่งปลดทรายออกจากตำแหน่ง โดยให้เหตุผลว่า “มีความประพฤติไม่เหมาะสม เตือนแล้วก็ไม่แก้ไขปรับปรุง ทำงานร่วมกับใครไม่ได้” . สังคมออนไลน์กลับมองต่าง ช่วยกันติดแฮชแท็ก #Saveทราย #คืนทรายให้ทะเล พร้อมตั้งคำถามว่า “เขาไปเหยียบตีนใครหรือเปล่า?” เพราะสิ่งที่ทรายพูดอาจเป็นการสะกิดรอยรั่วของระบบอุทยานฯ โดยเฉพาะพื้นที่ “ทำเงิน”ในอุทยานทางทะเล 4 แห่งคืออุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา หมู่เกาะพีพี จังหวัดภูเก็ต, อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน จังหวัดกระบี่, อุทยานแห่งชาติแหลมหญ้า หมู่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง, อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา จังหวัดพังงา ก็ฟาดไปกว่าปีละ 500 ล้านบาท . ทรายยืนยันว่า “ไม่ได้ล้ำเส้น แค่ใช้กฎให้ถูกต้อง” พร้อมเปรยว่า “ผมเห็นเยอะเกินไป” เป็นประโยคที่หลายคนตีความว่า เขาอาจสัมผัสปัญหาหรือความหย่อนยานเชิงโครงสร้างในระบบราชการที่ไม่มีใครกล้าพูด . ขบวนการผลประโยชน์ที่ "ทราย สก๊อต" มองเห็นอยู่ ย่อมไม่มีผลดีต่อพวกที่คิดชั่ว ทำชั่วระบบเวียนตั๋ว-อุปถัมภ์-ผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่ใช่แค่โกงตั๋ว ยังมีการจัดซื้อจัดจ้าง ส่อแววเอื้อพวกพ้อง ทั้งที่รายได้จากอุทยานทั่วประเทศปี 2567 พุ่งถึง 2,200 ล้านบาท แต่สวัสดิการพื้นฐานของเจ้าหน้าที่อุทยาน เช่น ประกันภัยยังแทบไม่มี “ทราย สก๊อต” เคยเสนอแนวคิดใช้เงินตรงนี้ดูแลคนทำงานจริง กลับถูกต้านจากระบบ เป็นไปได้หรือไม่ว่าตัวจริงเป็น "ไอ้โม่ง" ที่อยู่ข้างหลัง คือตัวเบิ้มๆ ที่คอยเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ . นี่ล่ะ คือเบื้องหน้าเบื้องหลังของกรณี "หนีห่าว" ของ "ทราย สก๊อต" ที่ไม่ได้จบแค่เรื่องการเหยียดคนไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ แต่ยังสะท้อนถึงปัญหาเชิงระบบ ปัญหาเรื่องผลประโยชน์นับพันล้านของกรมอุทยานแห่งชาติฯ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเงื้อมมือของข้าราชการและนักการเมืองที่ตัดไม่ได้ขายไม่ออกด้วย . สำหรับคุณเฉลิมชัย ศรีอ่อน นั้น ท่านก็เคยมีวีรกรรมของท่านมากมายเหลือเกินสมัยที่ท่านเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฯ แล้วก็มีเรื่องนี้ที่เกิดขึ้น ผมไม่รู้ว่าการสั่งซื้อเรือราคาหลายร้อยล้านบาทนั้น มันออกมาจากคนไหน ท่านรัฐมนตรีฯ เฉลิมชัย เป็นคนกระซิบคุณอริยะ เชื้อชม ผู้อำนวยการสำนักอุทยานแห่งชาติหรือเปล่า ผมไม่ทราบ ผมรู้แต่ว่า คุณเฉลิมชัย อยู่ที่ไหน ที่นั่นไม่ค่อยจะสงบสุขเลย
    Like
    Love
    19
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1700 มุมมอง 0 รีวิว
  • กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ออกมาโต้รัฐมนตรีเฉลิมชัย ศรีอ่อน ที่ก่อนหน้ายืนยันรับประกันสวัสดิภาพหมูเด้งและสวนสัตว์เขาเขียวได้มาตรฐานว่า ให้ความสนใจหมูเด้งเป็นพิเศษ เนื่องมาจากกระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญที่ทำให้สัตว์ป่าเช่นฮิปโปแคระสูญเสียธรรมชาติดั้งเดิมความเป็นสัตว์ป่าของตัวเองไป แต่ไม่ตอบคำเชิญเข้ามาดูหมูเด้งถึงสวนสัตว์เขาเขียว ด้านอดีตเอกอัครราชทูตอเมริกันประจำธนาคารพัฒนาเอเชีย (AsDB) สวนกระแสแบนบุกเยือน “หมูเด้ง” ถึงที่โพสต์ชื่นชมพี่เบนซ์ที่อุทิศตัวจนหมูเด้งมีชื่อไปทั่วโลก

    เจสัน เบเกอร์ (Jason Baker) รองประธานอาวุโสกลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ชื่อดังออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 25 ก.พ. มายังผู้จัดการออนไลน์ ตอบโต้รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฉลิมชัย ศรีอ่อน หลังข่าว PETA จับมือ Born Free รณรงค์ไม่ให้นักท่องเที่ยวในอังกฤษเดินทางบินเข้ามาชมหมูเด้งในไทยออกมาเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์ไปทั่ว

    แถลงการณ์ PETA ที่ออกมาในวันเดียวกัน (25) กับการแถลงของรัฐมนตรีเฉลิมชัย โดยทางกลุ่มแถลงยังคงโจมตีไปที่กระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญ PETA จุดยืนการรณรงค์หมูเด้งเนื่องมาจากทางกลุ่มต้องการให้ข้อมูลว่า สัตว์ที่ถูกกักกันนั้นแท้จริงเป็นสิ่งที่มีความรู้สึกเหมือนเช่นมนุษย์ และไม่ใช่สิ่งที่จะนำมาจัดแสดงได้ตามข้ออ้างของรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/around/detail/9680000020286

    #MGROnline #กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ #PETA #หมูเด้ง
    กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ออกมาโต้รัฐมนตรีเฉลิมชัย ศรีอ่อน ที่ก่อนหน้ายืนยันรับประกันสวัสดิภาพหมูเด้งและสวนสัตว์เขาเขียวได้มาตรฐานว่า ให้ความสนใจหมูเด้งเป็นพิเศษ เนื่องมาจากกระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญที่ทำให้สัตว์ป่าเช่นฮิปโปแคระสูญเสียธรรมชาติดั้งเดิมความเป็นสัตว์ป่าของตัวเองไป แต่ไม่ตอบคำเชิญเข้ามาดูหมูเด้งถึงสวนสัตว์เขาเขียว ด้านอดีตเอกอัครราชทูตอเมริกันประจำธนาคารพัฒนาเอเชีย (AsDB) สวนกระแสแบนบุกเยือน “หมูเด้ง” ถึงที่โพสต์ชื่นชมพี่เบนซ์ที่อุทิศตัวจนหมูเด้งมีชื่อไปทั่วโลก • เจสัน เบเกอร์ (Jason Baker) รองประธานอาวุโสกลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ชื่อดังออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 25 ก.พ. มายังผู้จัดการออนไลน์ ตอบโต้รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฉลิมชัย ศรีอ่อน หลังข่าว PETA จับมือ Born Free รณรงค์ไม่ให้นักท่องเที่ยวในอังกฤษเดินทางบินเข้ามาชมหมูเด้งในไทยออกมาเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์ไปทั่ว • แถลงการณ์ PETA ที่ออกมาในวันเดียวกัน (25) กับการแถลงของรัฐมนตรีเฉลิมชัย โดยทางกลุ่มแถลงยังคงโจมตีไปที่กระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญ PETA จุดยืนการรณรงค์หมูเด้งเนื่องมาจากทางกลุ่มต้องการให้ข้อมูลว่า สัตว์ที่ถูกกักกันนั้นแท้จริงเป็นสิ่งที่มีความรู้สึกเหมือนเช่นมนุษย์ และไม่ใช่สิ่งที่จะนำมาจัดแสดงได้ตามข้ออ้างของรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/around/detail/9680000020286 • #MGROnline #กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ #PETA #หมูเด้ง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 836 มุมมอง 0 รีวิว
  • จากการสำรวจนิด้าโพลเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก ด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก สำหรับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในการแก้ไขปัญหาของประเทศ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 36.41 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อมั่น รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ไม่เชื่อมั่นเลย ร้อยละ 25.04 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อมั่น และร้อยละ 12.29 ระบุว่า เชื่อมั่นมาก ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานในแต่ละกระทรวงของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่าง ร้อยละ 32.45 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.16 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 17.02 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.29 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ตัวอย่าง ร้อยละ 32.14 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.25 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 15.04 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพลังงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 32.98 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.31 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.11 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.76 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการคลัง ตัวอย่าง ร้อยละ 33.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.79 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.75 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.59 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.38 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 21.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.44 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.57 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.29 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.39 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.70 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.21 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 6.41 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการต่างประเทศ ตัวอย่าง ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.48 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.46 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.24 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 29.92 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.55 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 18.09 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.52 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 10.92 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลสำนักนายกรัฐมนตรี ตัวอย่าง ร้อยละ 34.35 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.70 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.52 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงวัฒนธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 31.53 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.54 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.94 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.70 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงศึกษาธิการ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.04 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.51 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 24.27 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.53 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.00 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.99 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.28 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.01 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.68 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงยุติธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 32.90 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 24.50 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 11.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 4.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงคมนาคม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.37 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.92 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.21 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง ร้อยละ 33.44 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.00 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.69 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.76 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.11 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงแรงงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 35.80 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 25.65 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 25.42 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.60 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงกลาโหม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.56 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.63 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.31 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.90 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.95 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.49 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 25.80 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 9.39 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.37 ระบุว่า ไม่มีข้อมูล
    จากการสำรวจนิด้าโพลเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก ด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก สำหรับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในการแก้ไขปัญหาของประเทศ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 36.41 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อมั่น รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ไม่เชื่อมั่นเลย ร้อยละ 25.04 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อมั่น และร้อยละ 12.29 ระบุว่า เชื่อมั่นมาก ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานในแต่ละกระทรวงของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่าง ร้อยละ 32.45 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.16 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 17.02 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.29 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ตัวอย่าง ร้อยละ 32.14 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.25 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 15.04 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพลังงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 32.98 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.31 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.11 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.76 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการคลัง ตัวอย่าง ร้อยละ 33.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.79 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.75 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.59 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.38 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 21.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.44 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.57 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.29 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.39 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.70 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.21 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 6.41 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการต่างประเทศ ตัวอย่าง ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.48 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.46 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.24 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 29.92 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.55 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 18.09 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.52 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 10.92 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลสำนักนายกรัฐมนตรี ตัวอย่าง ร้อยละ 34.35 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.70 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.52 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงวัฒนธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 31.53 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.54 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.94 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.70 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงศึกษาธิการ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.04 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.51 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 24.27 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.53 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.00 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.99 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.28 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.01 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.68 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงยุติธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 32.90 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 24.50 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 11.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 4.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงคมนาคม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.37 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.92 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.21 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง ร้อยละ 33.44 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.00 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.69 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.76 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.11 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงแรงงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 35.80 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 25.65 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 25.42 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.60 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงกลาโหม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.56 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.63 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.31 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.90 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.95 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.49 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 25.80 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 9.39 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.37 ระบุว่า ไม่มีข้อมูล
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 820 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตุลาคมเหนื่อยต่อเนื่อง ฝนไม่ทันหมด ฝุ่นพิษกำลังก่อตัว
    .
    ถ้าว่ากันด้วยเรื่องสภาพอากาศของประเทศไทยในช่วงเวลานี้เปรียบได้กับ "ความวัวไม่ทันหาย ความควายเข้ามาแทรก" อย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากยังไม่ทันทีฤดูฝนจะหมดไป และคนส่วนใหญ่ยังต้องระทึกกันว่าจะมีมวลน้ำมาเยี่ยมถึงหน้าบ้านหรือไม่ ปรากฎว่ากำลังมาเจอกับแรงปะทะครั้งใหม่จากปัญหาคุณภาพอากาศที่เลวร้าย ภายหลังกรมควบคุมพลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานงานสถานการณ์คุณภาพอากาศ พื้นที่ กทม.และปริมณฑล เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ตรวจพบฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินมาตรฐาน (37.5 มคก./ลบ.ม.) หลายพื้นที่
    .
    ไม่ว่าจะเป็นบริเวณจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนครปฐม รวมไปถึงกรุงเทพมหานครในหลายพื้นที่ เช่น เขตทุ่งครุ เขตบางบอน เขตหนองแขม เขตภาษีเจริญ เขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางกอกน้อย เขตบางกอกใหญ่ เขตคลองสาน เขตธนบุรี เขตบางนา เขตสาทร เขตบางรัก เขตสัมพันธวงศ์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตราชเทวี เขตราษฎร์บูรณะ เขตบางคอแหลม เขตบางขุนเทียน เขตบางพลัด เขตจอมทอง เขตบึงกุ่ม เขตปทุมวัน
    .
    สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (คาดการณ์แนวโน้มสภาพอากาศที่ส่งผลกระทบต่อฝุ่นPM2.5 โดยสภาพทางอุตุนิยมวิทยาในช่วงวันที่ 8 - 16 ตุลาคม การระบายอากาศ ที่อยู่ในเกณฑ์ไม่ดี อย่างไรก็ตาม มีโอกาสเกิดฝนตกตลอดช่วง และเนื่องจากช่วงนี้เริ่มมีความกดอากาศสูงจากประเทศจีนตอนใต้ ทำให้เกิดภาวะที่อากาศด้านบนกดทับอากาศด้านล่าง ส่งผลให้มลพิษไม่สามารถลอยขึ้นไปได้ และลมที่พัดเบา ประกอบกับชั้นอากาศที่สามารถผสมกันได้มีความสูงน้อย จึงทำให้อัตราการระบายอากาศไม่ดีและมลพิษสะสมอยู่ในอากาศเพิ่มขึ้น
    .
    ด้วยเหตุนี้ จึงได้ประกาศให้ประชาชนทั่วไปควรเฝ้าระวังสุขภาพ ลดเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น
    ...............
    Sondhi X
    ตุลาคมเหนื่อยต่อเนื่อง ฝนไม่ทันหมด ฝุ่นพิษกำลังก่อตัว . ถ้าว่ากันด้วยเรื่องสภาพอากาศของประเทศไทยในช่วงเวลานี้เปรียบได้กับ "ความวัวไม่ทันหาย ความควายเข้ามาแทรก" อย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากยังไม่ทันทีฤดูฝนจะหมดไป และคนส่วนใหญ่ยังต้องระทึกกันว่าจะมีมวลน้ำมาเยี่ยมถึงหน้าบ้านหรือไม่ ปรากฎว่ากำลังมาเจอกับแรงปะทะครั้งใหม่จากปัญหาคุณภาพอากาศที่เลวร้าย ภายหลังกรมควบคุมพลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานงานสถานการณ์คุณภาพอากาศ พื้นที่ กทม.และปริมณฑล เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ตรวจพบฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินมาตรฐาน (37.5 มคก./ลบ.ม.) หลายพื้นที่ . ไม่ว่าจะเป็นบริเวณจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนครปฐม รวมไปถึงกรุงเทพมหานครในหลายพื้นที่ เช่น เขตทุ่งครุ เขตบางบอน เขตหนองแขม เขตภาษีเจริญ เขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางกอกน้อย เขตบางกอกใหญ่ เขตคลองสาน เขตธนบุรี เขตบางนา เขตสาทร เขตบางรัก เขตสัมพันธวงศ์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตราชเทวี เขตราษฎร์บูรณะ เขตบางคอแหลม เขตบางขุนเทียน เขตบางพลัด เขตจอมทอง เขตบึงกุ่ม เขตปทุมวัน . สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (คาดการณ์แนวโน้มสภาพอากาศที่ส่งผลกระทบต่อฝุ่นPM2.5 โดยสภาพทางอุตุนิยมวิทยาในช่วงวันที่ 8 - 16 ตุลาคม การระบายอากาศ ที่อยู่ในเกณฑ์ไม่ดี อย่างไรก็ตาม มีโอกาสเกิดฝนตกตลอดช่วง และเนื่องจากช่วงนี้เริ่มมีความกดอากาศสูงจากประเทศจีนตอนใต้ ทำให้เกิดภาวะที่อากาศด้านบนกดทับอากาศด้านล่าง ส่งผลให้มลพิษไม่สามารถลอยขึ้นไปได้ และลมที่พัดเบา ประกอบกับชั้นอากาศที่สามารถผสมกันได้มีความสูงน้อย จึงทำให้อัตราการระบายอากาศไม่ดีและมลพิษสะสมอยู่ในอากาศเพิ่มขึ้น . ด้วยเหตุนี้ จึงได้ประกาศให้ประชาชนทั่วไปควรเฝ้าระวังสุขภาพ ลดเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ............... Sondhi X
    Sad
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1845 มุมมอง 0 รีวิว
  • น้ำป่าแม่แตงทะลักท่วมศูนย์บริบาลช้าง ซ้ำเป็นรอบที่ 2 หลังวานนี้ต้องเร่งช่วยเหลืออพยพช้างชราและพิการกว่า 100 เชือก รวมทั้งสารพัดสัตว์ในความดูแลหลายพันชีวิตไปอยู่ในที่ปลอดภัย อย่างไรก็ตามล่าสุดยังมีช้าง 9 เชือกและวัวควายอีกกว่า 100 ตัว ติดค้างอยู่ พร้อมกับอาสาสมัครอีกกว่า 20 คน เบื้องต้นกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสั่งการระดมกำลัง จนท.ให้การช่วยเหลือแล้ว แต่ยังติดอุปสรรคการเข้าถึงเนื่องจากเส้นทางถูกตัดขาด พบระดับน้ำท่วมสูงมิดหลังคา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000094107

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    น้ำป่าแม่แตงทะลักท่วมศูนย์บริบาลช้าง ซ้ำเป็นรอบที่ 2 หลังวานนี้ต้องเร่งช่วยเหลืออพยพช้างชราและพิการกว่า 100 เชือก รวมทั้งสารพัดสัตว์ในความดูแลหลายพันชีวิตไปอยู่ในที่ปลอดภัย อย่างไรก็ตามล่าสุดยังมีช้าง 9 เชือกและวัวควายอีกกว่า 100 ตัว ติดค้างอยู่ พร้อมกับอาสาสมัครอีกกว่า 20 คน เบื้องต้นกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสั่งการระดมกำลัง จนท.ให้การช่วยเหลือแล้ว แต่ยังติดอุปสรรคการเข้าถึงเนื่องจากเส้นทางถูกตัดขาด พบระดับน้ำท่วมสูงมิดหลังคา อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000094107 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Love
    32
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3626 มุมมอง 1 รีวิว