• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    อ่อนในหมู่สมณะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 598
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว)​ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาล(ผู้ละเอียด)​ในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ
    กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่.
    เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก
    แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล #บุคคลสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ;
    แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปุณฑรีกะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ;
    และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปทุมะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร
    ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....

    (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง
    บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ 597 )

    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สมณสุขุมาโล
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/87/87.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/87/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๓/๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=598
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) อ่อนในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ : 598 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว)​ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาล(ผู้ละเอียด)​ในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล #บุคคลสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปุณฑรีกะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปทุมะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน.... (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ 597 ) +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สมณสุขุมาโล ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้ แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/87/87. http://etipitaka.com/read/thai/21/87/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๓/๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=598 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล บุคคลสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....(ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความ ในกรณีแห่งบุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ แห่งหัวข้อที่แล้วมา) .... ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ .... ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 965
    ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :-
    ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้.
    เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้,
    มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้,
    มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น)
    กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี
    คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด
    ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.
    *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน.

    ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค สัทธรรมลำดับที่ : 965 ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 เนื้อความทั้งหมด :- --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :- ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178. http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ : ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 143 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 597
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก
    เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย.
    เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
    ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ;
    นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย.
    ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน
    การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม
    มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย.
    อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่
    อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย,
    และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 597 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็น ส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 194 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 596
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม
    และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง
    เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 596 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 126 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 595
    ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท
    --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่.
    ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด.

    --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี)
    ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​
    ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย สัทธรรมลำดับที่ : 595 ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่. ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น. --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด. --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง). http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​ ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.- http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241. http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    ๑.ความรักเกิดจากความรัก
    ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก
    ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด
    ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น.
    ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง
    &ทุติยฌาน ....
    &ตติยฌาน ....
    &จตุตถฌาน ....
    http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ
    แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.

    (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ
    ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก
    พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว”
    ).-

    ​#สัมมาสมาธิ​
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เนื้อความทั้งหมด :- --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ๑.ความรักเกิดจากความรัก ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง &ทุติยฌาน .... &ตติยฌาน .... &จตุตถฌาน .... http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ).- ​#สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200. http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    -(ในสูตรอื่น (ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖) ตรัสว่า การระลึกถึง ตถาคต ถึงพระธรรม ถึงพระสงฆ์ ถึงศีล ถึงจาคะ ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา ๖ ประการนี้ ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วยราคะ-โทสะ-โมหะ เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิตออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน; ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้น). ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ความรักเกิดจากความรัก ความเกลียดเกิดจากความรัก ความรักเกิดจากความเกลียด ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึงทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ที่หน้า ๖๓๗ แห่งหนังสือนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 177 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    สัทธรรมลำดับที่ : 939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส
    ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ
    อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง
    แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !”
    --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ
    โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม
    ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น
    (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว).
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์
    ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์
    ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”.
    --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :-

    (๑ หมวดตระเตรียม)
    --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน;
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.

    (๒ หมวดพรหมวิหาร)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) .

    (๓ หมวดสติปัฏฐาน)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้)
    อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย
    อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
    มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา
    ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส
    มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง
    อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน).

    (๔.หมวดอานิสงส์)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอ
    จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ;
    จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ;
    จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ;
    จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว
    แล.-
    ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ
    สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ
    ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง.
    อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า
    สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี
    และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี
    สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ;
    ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา
    แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ;
    อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง).
    ---
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79
    ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ สัทธรรมลำดับที่ : 939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :- (๑ หมวดตระเตรียม) --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (๔.หมวดอานิสงส์) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอ จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก. http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว แล.- ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง. อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ; ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ; อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง). --- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160. http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79 ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    -(ในกรณีแห่งการเจริญธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ และเทวนุสสติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน ผู้ปรารถนาโดยรายละเอียด พึงดูจากที่มาแห่งกรณีนั้นๆ. สิ่งซึ่งอาจจะเป็นที่ประหลาดใจแก่พวกเรา ในที่นี้ ก็คือข้อที่ว่า อนุสสติภาวนานั้นเป็นสิ่งที่อาจเจริญได้ในทุกอิริยาบถ แม้ในขณะที่ผู้ที่เป็นพ่อแม่นอนกกลูกอยู่) . สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า : (๑ หมวดตระเตรียม) “จิตของเรา จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; .ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ๑. ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔. พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง มุทิตาเจโตวิมุตติ และ อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับข้างบนนี้) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (หมวดอานิสงส์) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอจักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 373 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    สัทธรรมลำดับที่ : 560
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    ...
    --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก
    เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา
    เป็นผู้รับใช้พระราชา
    ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม.
    ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ
    ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล
    ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ
    ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ
    ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ว่า
    “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น
    ภายในหรือภายนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี
    ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น
    #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ ;

    (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้ทุกขสมุทัย
    นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น :
    อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ
    ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สัทธรรมลำดับที่ : 560 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร ... --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.- #สัมมาทิฏฐิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196. http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    -ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ เป็นผู้ยิงได้ไกล เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกลเป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่อัตตาของเรา” ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำเป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มีสัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 582 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286
    วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286 วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1409 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286
    วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286 วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1238 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285 วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1211 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285 วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1160 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 284
    วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 94 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 284 วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 94 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1165 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 284
    วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 94 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 284 วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 94 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1149 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 283
    วันเสาร์: ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (9 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 95 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 283 วันเสาร์: ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (9 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 95 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1170 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 283
    วันเสาร์: ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (9 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 95 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 283 วันเสาร์: ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (9 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 95 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1146 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 283
    วันเสาร์: ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (9 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 95 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 283 วันเสาร์: ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (9 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 95 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1132 มุมมอง 37 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 282
    วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 282 วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1092 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 282
    วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 282 วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (8 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 96 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1089 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 281
    วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 281 วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1069 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 281
    วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 281 วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1049 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,571
    วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024)

    Photo Album Set 2/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    11. วัดแหลมเจ้าสัว อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    12. วัดแหลมเพิ่ม อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    13. วัดใหญ่ดงรัง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    14. วัดใหม่คลองตันประชาสรรค์ อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    15. วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    16. วัดใหม่ประทานพร อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    17. วัดใหม่สุปดิษฐาราม อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    18. วัดอุทุมพร อ.เมือง จ.กำแพงเพชร
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    19. ศูนย์ปฏิบัติธรรมพระพุทธบาทโคกสมบูรณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    20. สำนักสงฆ์เจโตวิมุตติ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,571 วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024) Photo Album Set 2/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 11. วัดแหลมเจ้าสัว อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 12. วัดแหลมเพิ่ม อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 13. วัดใหญ่ดงรัง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 14. วัดใหม่คลองตันประชาสรรค์ อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 15. วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 16. วัดใหม่ประทานพร อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 17. วัดใหม่สุปดิษฐาราม อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 18. วัดอุทุมพร อ.เมือง จ.กำแพงเพชร (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 19. ศูนย์ปฏิบัติธรรมพระพุทธบาทโคกสมบูรณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 20. สำนักสงฆ์เจโตวิมุตติ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 618 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,571
    วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024)

    Photo Album Set 2/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    11. วัดแหลมเจ้าสัว อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    12. วัดแหลมเพิ่ม อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    13. วัดใหญ่ดงรัง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    14. วัดใหม่คลองตันประชาสรรค์ อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    15. วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    16. วัดใหม่ประทานพร อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    17. วัดใหม่สุปดิษฐาราม อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    18. วัดอุทุมพร อ.เมือง จ.กำแพงเพชร
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    19. ศูนย์ปฏิบัติธรรมพระพุทธบาทโคกสมบูรณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    20. สำนักสงฆ์เจโตวิมุตติ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,571 วันพฤหัสบดี: ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (7 November 2024) Photo Album Set 2/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 11. วัดแหลมเจ้าสัว อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 12. วัดแหลมเพิ่ม อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 13. วัดใหญ่ดงรัง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 14. วัดใหม่คลองตันประชาสรรค์ อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 15. วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 16. วัดใหม่ประทานพร อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 17. วัดใหม่สุปดิษฐาราม อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 18. วัดอุทุมพร อ.เมือง จ.กำแพงเพชร (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 19. ศูนย์ปฏิบัติธรรมพระพุทธบาทโคกสมบูรณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 20. สำนักสงฆ์เจโตวิมุตติ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 97 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 599 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 280
    วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 280 วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1042 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 280
    วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 280 วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1044 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts