• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 997
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก
    มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง
    มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี
    (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :-
    +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้.
    (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น
    ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง
    เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์;
    กล่าวคือ
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า
    (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล
    (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).-

    (----+
    ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ
    ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่;
    แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง,
    ดังนี้ก็มี;
    ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด.
    +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น
    วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี;
    มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น
    ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99
    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ;
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน.
    +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ
    วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้
    แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป
    วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น;
    วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา;
    วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ;
    วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค
    ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา.
    +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว
    ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน
    +----).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 997 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :- +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).- (----+ ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙ http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา. +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน +----). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295. http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    -(ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขกมาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 149 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 970
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย.
    เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ?
    (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป
    http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ
    ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-​ )
    --กายคตาสติ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สมถะและวิปัสสนา
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สติปัฏฐานสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สัมมัปปธานสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อิทธิบาทสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อินทรีย์ห้า
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --พละห้า
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --โพชฌงค์เจ็ด
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อริยอัฏฐังคิกมรรค
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว.
    --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว
    จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท.
    พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย.
    นี้แล #เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ
    --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94
    --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90

    --ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ
    แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน)
    อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑
    หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : -
    ๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ;
    ๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น);
    ๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น);
    ๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ;
    ๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ
    ๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ

    *--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้.

    กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
    แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ
    ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :-
    ๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ;
    ๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ;
    ๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ;
    ๔--ประกอบด้วยศรัทธา;
    ๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ
    ๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.-

    (กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้,
    กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต,
    วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม สัทธรรมลำดับที่ : 970 ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-​ ) --กายคตาสติ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สมถะและวิปัสสนา : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สติปัฏฐานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สัมมัปปธานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อิทธิบาทสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อินทรีย์ห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --พละห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --โพชฌงค์เจ็ด : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อริยอัฏฐังคิกมรรค : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว. --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. นี้แล #เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา. http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94 --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90 --ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน) อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑ หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : - ๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ; ๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น); ๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น); ๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ; ๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ ๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ)​. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ *--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้. กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค. --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :- ๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ; ๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ; ๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ; ๔--ประกอบด้วยศรัทธา; ๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ ๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.- (กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้, กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต, วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357. http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    -(ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค. ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี, เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม, อริยมรรค - อนริยมรรค, กุศลธรรม - อกุศลธรรม, ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์, เป็นธรรม - เป็นอธรรม, ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ, เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ, เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา, ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส, มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร, มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน, เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ, เป็นธรรมของสัตบุรุษ ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น, ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ, ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ, ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก, ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง, ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี. - ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔). ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-) กายคตาสติ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สมถะและวิปัสสนา : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สติปัฏฐานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สัมมัปปธานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อิทธิบาทสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อินทรีย์ห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. พละห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. โพชฌงค์เจ็ด : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว. ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. นี้แล เป็นวจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา. สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒, ๔๕๐ - ๔๕๓/๖๗๔ - ๖๘๔, ๗๒๐ – ๗๕๑. ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน) อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.๑ หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ; ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น); ๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้. กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค. ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น); ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ; ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ เป็นผู้มีปัญญาทราม. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ : ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ; ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ; ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ; ประกอบด้วยศรัทธา; ประกอบด้วยฉันทะ; และ เป็นผู้ที่มีปัญญา. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 234 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 966
    ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง)
    --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ
    --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.-

    [
    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 966 ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 เนื้อความทั้งหมด :- --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง) --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.- [ --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป). http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100. http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒๑
    -นิทเทศ ๒๑ ว่าด้วย สัมมาสมาธิ จบ นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค (มี ๗๕ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์ อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ (ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ .... ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 283 มุมมอง 0 รีวิว
  • มรรค ๘ เรียงลำดับจาก ๑..๘

    เคยใคร่ครวญกันบ้างไหม เหตุใดพระพุทธเจ้าจัดมรรคเป็น ๓ กลุ่ม โดยไม่เรียงลำดับ..เป็น ศีล สมาธิ และปัญญา

    จาก ๓ กลุ่ม จัดทางปฏิบัติลงเหลือ ๒ ทาง ได้แก่ สมถะและวิปัสสนา

    จากมรรค ๒ ทาง เหลือมรรคง่ายเพียง ๑ ทาง คือ "อานาปานสติ"(มีสติหายใจเข้า..มีสติหายใจออก)

    ชาวพุทธจึงเดินมรรคได้ง่าย ๆ ตลอดเวลา หากไม่หลงอยู่ในดงพิธีกรรมของปาริพาชกเหล่าอื่น
    มรรค ๘ เรียงลำดับจาก ๑..๘ เคยใคร่ครวญกันบ้างไหม เหตุใดพระพุทธเจ้าจัดมรรคเป็น ๓ กลุ่ม โดยไม่เรียงลำดับ..เป็น ศีล สมาธิ และปัญญา จาก ๓ กลุ่ม จัดทางปฏิบัติลงเหลือ ๒ ทาง ได้แก่ สมถะและวิปัสสนา จากมรรค ๒ ทาง เหลือมรรคง่ายเพียง ๑ ทาง คือ "อานาปานสติ"(มีสติหายใจเข้า..มีสติหายใจออก) ชาวพุทธจึงเดินมรรคได้ง่าย ๆ ตลอดเวลา หากไม่หลงอยู่ในดงพิธีกรรมของปาริพาชกเหล่าอื่น
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 258 มุมมอง 0 รีวิว