• มหกรรมจราจรหนาแน่นติดขัด300 กิโลเมตรที่อินเดีย เนื่องจากเทศกาลแสวงบุญ "กุมภเมลา" (Kumbh Mela) ของชาวฮินดู เริ่มต้นขึ้นแล้วอย่างเป็นทางการในปีนี้ ที่อำเภอประยาคราช (Prayagraj) ในเมืองอัลลาฮาบัด (Allahabad) ของรัฐอุตตรประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย ซึ่งเทศกาลนี้มีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่วโลกว่าเป็นงานชุมนุมขนาดใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติเทศกาลแสวงบุญซึ่งจะจัดขึ้นเป็นเวลาทั้งหมด 45 วัน เริ่มต้นวันแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 13 ม.ค. ที่ผ่านมา โดยเปิดให้ทำพิธีใหญ่เพื่ออาบน้ำชำระล้างบาปในแม่น้ำคงคาได้ ตั้งแต่วันอังคารที่ 14 ม.ค. เป็นต้นไป ซึ่งในพิธีดังกล่าวเหล่า "นาคสาธุ" (Naga Sadhu) นักบวชฮินดูที่เปลือยกายและทาตัวด้วยเถ้าถ่าน ทั้งยังไว้ผมยาวที่พันกันยุ่งเหยิงจนจับตัวเป็นก้อนเหมือนเส้นเชือก จะมาลงอาบน้ำชำระกายซึ่งเป็นภาพที่หาดูได้ยากตลอดระยะเวลา 6 สัปดาห์ของเทศกาลกุมภเมลา ผู้ที่นับถือศรัทธาในศาสนาฮินดูจะพากันมาลงอาบในแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ ตรงบริเวณที่เรียกว่า "สังฆัม" (Sangham) ซึ่งเป็นจุดบรรจบของแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์สามสายหรือจุฬาตรีคูณ ได้แก่แม่น้ำคงคา, แม่น้ำยมุนา, และแม่น้ำสรัสวตี ซึ่งแม่น้ำสายที่สามนี้เป็นสายธารในตำนานปรัมปราที่มนุษย์ไม่อาจมองเห็นได้ชาวฮินดูเชื่อว่าการทำพิธีอาบน้ำศักดิ์สิทธิ์ในเทศกาลนี้ จะช่วยล้างบาปมลทินและชำระจิตวิญญาณให้บริสุทธิ์ ปลดปล่อยพวกเขาให้หลุดพ้นจากวัฏสงสารหรือวงจรการเวียนว่ายตายเกิด อันเป็นการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของของศาสนาฮินดูหรือโมกษะวิเวก จตุรเวที เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองบอกกับบีบีซีว่า ก่อนจะถึงวันสุดท้ายของการแสวงบุญในวันที่ 26 ก.พ. คาดว่าจะมีผู้คนมาเข้าร่วมเทศกาลกุมภเมลากันอย่างล้นหลามราว 400 ล้านคน ซึ่งที่ผ่านมาตัวเลขสถิติที่สูงเป็นประวัติการณ์ถึงขนาดนี้ ทำให้เทศกาลดังกล่าวได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (Intangible Heritage of Humanity) โดยองค์การยูเนสโก (UNESCO) ส่วนกลุ่มก้อนของประชากรมนุษย์จำนวนมหาศาล ก็ยังสามารถสังเกตเห็นได้จากห้วงอวกาศอีกด้วยที่มา https://www.firstpost.com/explainers/maha-kumbh-2025-traffic-jams-prayagraj-uttar-pradesh-13861659.html
    มหกรรมจราจรหนาแน่นติดขัด300 กิโลเมตรที่อินเดีย เนื่องจากเทศกาลแสวงบุญ "กุมภเมลา" (Kumbh Mela) ของชาวฮินดู เริ่มต้นขึ้นแล้วอย่างเป็นทางการในปีนี้ ที่อำเภอประยาคราช (Prayagraj) ในเมืองอัลลาฮาบัด (Allahabad) ของรัฐอุตตรประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย ซึ่งเทศกาลนี้มีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่วโลกว่าเป็นงานชุมนุมขนาดใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติเทศกาลแสวงบุญซึ่งจะจัดขึ้นเป็นเวลาทั้งหมด 45 วัน เริ่มต้นวันแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 13 ม.ค. ที่ผ่านมา โดยเปิดให้ทำพิธีใหญ่เพื่ออาบน้ำชำระล้างบาปในแม่น้ำคงคาได้ ตั้งแต่วันอังคารที่ 14 ม.ค. เป็นต้นไป ซึ่งในพิธีดังกล่าวเหล่า "นาคสาธุ" (Naga Sadhu) นักบวชฮินดูที่เปลือยกายและทาตัวด้วยเถ้าถ่าน ทั้งยังไว้ผมยาวที่พันกันยุ่งเหยิงจนจับตัวเป็นก้อนเหมือนเส้นเชือก จะมาลงอาบน้ำชำระกายซึ่งเป็นภาพที่หาดูได้ยากตลอดระยะเวลา 6 สัปดาห์ของเทศกาลกุมภเมลา ผู้ที่นับถือศรัทธาในศาสนาฮินดูจะพากันมาลงอาบในแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ ตรงบริเวณที่เรียกว่า "สังฆัม" (Sangham) ซึ่งเป็นจุดบรรจบของแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์สามสายหรือจุฬาตรีคูณ ได้แก่แม่น้ำคงคา, แม่น้ำยมุนา, และแม่น้ำสรัสวตี ซึ่งแม่น้ำสายที่สามนี้เป็นสายธารในตำนานปรัมปราที่มนุษย์ไม่อาจมองเห็นได้ชาวฮินดูเชื่อว่าการทำพิธีอาบน้ำศักดิ์สิทธิ์ในเทศกาลนี้ จะช่วยล้างบาปมลทินและชำระจิตวิญญาณให้บริสุทธิ์ ปลดปล่อยพวกเขาให้หลุดพ้นจากวัฏสงสารหรือวงจรการเวียนว่ายตายเกิด อันเป็นการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของของศาสนาฮินดูหรือโมกษะวิเวก จตุรเวที เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองบอกกับบีบีซีว่า ก่อนจะถึงวันสุดท้ายของการแสวงบุญในวันที่ 26 ก.พ. คาดว่าจะมีผู้คนมาเข้าร่วมเทศกาลกุมภเมลากันอย่างล้นหลามราว 400 ล้านคน ซึ่งที่ผ่านมาตัวเลขสถิติที่สูงเป็นประวัติการณ์ถึงขนาดนี้ ทำให้เทศกาลดังกล่าวได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (Intangible Heritage of Humanity) โดยองค์การยูเนสโก (UNESCO) ส่วนกลุ่มก้อนของประชากรมนุษย์จำนวนมหาศาล ก็ยังสามารถสังเกตเห็นได้จากห้วงอวกาศอีกด้วยที่มา https://www.firstpost.com/explainers/maha-kumbh-2025-traffic-jams-prayagraj-uttar-pradesh-13861659.html
    WWW.FIRSTPOST.COM
    ‘Stuck for 48 hours’: Inside the 300-km traffic jams to Maha Kumbh, the ‘world’s biggest’
    Thousands of devotees planning to visit Maha Kumbh Mela in Uttar Pradesh in cars were stranded for 48 hours in 300-kilometre traffic jams leading up to Prayagraj. Some say it took 10-12 hours to cover just 50 kilometres on Sunday. Overcrowding during the weekends is one of the major reasons behind the snarls
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 62 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาสตร์และศิลป์ สรรสร้างพระ ปฏิมา
    ทรงคุณค่า มหัศจรรย์ อันดากู
    สลักไว้ โดยช่างหลวง บรมครู
    บรรจุกู่ พุกาม แดนเจดีย์
    พุทธศิลป์ เลิศล้ำ หาใดเทียบ
    หากจะเปรียบ มรดกโลก สมศักดิ์ศรี
    พลังแห่ง ศรัทธา บารมี
    สลักนี้ ถวายเป็น พุทธบูชา
    เนย์.…….อันดากู
    ศาสตร์และศิลป์ สรรสร้างพระ ปฏิมา ทรงคุณค่า มหัศจรรย์ อันดากู สลักไว้ โดยช่างหลวง บรมครู บรรจุกู่ พุกาม แดนเจดีย์ พุทธศิลป์ เลิศล้ำ หาใดเทียบ หากจะเปรียบ มรดกโลก สมศักดิ์ศรี พลังแห่ง ศรัทธา บารมี สลักนี้ ถวายเป็น พุทธบูชา เนย์.…….อันดากู
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 195 มุมมอง 1 0 รีวิว
  • ประตูเปิดทางทิศตะวันตกเฉียงใต้

    เดือนนี้ ส่งผลดีในด้านวาสนาบารมีและโชคลาภรวยทรัพย์มาก ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้กำไรดีมีการแบ่งปันผลประโยชน์อย่างลงตัว ที่ตั้งตารอมรดกก็จะได้รับได้ลาภผลจากถิ่นฐานบ้านเกิดเดิม ลูกค้าที่ห่างหายไปนานจะหวนคืนกลับมาเรียกใช้ ผู้ใหญ่จะมาเยี่ยมถึงบ้าน ทารกเกิดใหม่จะเป็นผู้มีบุญญาธิการ สุขภาพร่างกายดีที่ป่วยอยู่ก็จะหายที่ไม่อ่อนแออยู่ก็จะแข็งแรง แต่มีความรู้สึกโดดเดี่ยว จะดีต่อหญิงตั้งครรภ์แต่จะมีปัญหาด้านการกินปวดท้อง ไม่ดีต่อเพศชายที่มีธาตุดินแข็ง เด็กชายมีปัญหาทางจิต ไม่สู้ความจริง ไม่กระตือรือร้น ดื้อรั้น ไม่มั่นคง จับจด เก็บตัว เบื่อโลก โดนภัยจากภูเขาหรือหินทำร้าย หกล้ม ปวดต้นขาด้านซ้าย โรคเกี่ยวกับมือ จมูก เอว กระดูกสันหลัง กล้ามเนื้อ หลังค่อม ขาเสีย

    เสริมความมงคล : ติดหลอดไฟสีแดง
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    ประตูเปิดทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เดือนนี้ ส่งผลดีในด้านวาสนาบารมีและโชคลาภรวยทรัพย์มาก ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้กำไรดีมีการแบ่งปันผลประโยชน์อย่างลงตัว ที่ตั้งตารอมรดกก็จะได้รับได้ลาภผลจากถิ่นฐานบ้านเกิดเดิม ลูกค้าที่ห่างหายไปนานจะหวนคืนกลับมาเรียกใช้ ผู้ใหญ่จะมาเยี่ยมถึงบ้าน ทารกเกิดใหม่จะเป็นผู้มีบุญญาธิการ สุขภาพร่างกายดีที่ป่วยอยู่ก็จะหายที่ไม่อ่อนแออยู่ก็จะแข็งแรง แต่มีความรู้สึกโดดเดี่ยว จะดีต่อหญิงตั้งครรภ์แต่จะมีปัญหาด้านการกินปวดท้อง ไม่ดีต่อเพศชายที่มีธาตุดินแข็ง เด็กชายมีปัญหาทางจิต ไม่สู้ความจริง ไม่กระตือรือร้น ดื้อรั้น ไม่มั่นคง จับจด เก็บตัว เบื่อโลก โดนภัยจากภูเขาหรือหินทำร้าย หกล้ม ปวดต้นขาด้านซ้าย โรคเกี่ยวกับมือ จมูก เอว กระดูกสันหลัง กล้ามเนื้อ หลังค่อม ขาเสีย เสริมความมงคล : ติดหลอดไฟสีแดง ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ 🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 0 รีวิว
  • "เปลี่ยนเงินหลักแสน เป็นมรดก 10 ล้านง่ายๆ
    เพื่ออนาคตคนที่คุณรัก" 💰💵

    💸 คุณเคยคิดไหมว่า… ถ้าวันหนึ่งคุณไม่อยู่แล้ว
    ครอบครัวจะมีชีวิตต่อไปอย่างไร?

    💎 **ประกันมรดก 10 ล้านบาท Wealth Legacy**
    คือทางเลือกที่ช่วยให้คุณมั่นใจว่า
    คนที่คุณรักจะมีเงินดูแลชีวิตต่อไป
    โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระหนี้สินหรือค่าใช้จ่ายในอนาคต

    ✅ **สร้างมรดก 10 ล้านได้ง่ายๆ** ใช้เงินหลักแสน
    ✅ **คุ้มครองทันที** สบายใจไร้กังวล
    ✅ **สมัครง่าย** อนุมัติไว ไม่ยุ่งยาก

    จ่ายเพียหลักแสน/ปี ส่งสั้นแค่6ปีเท่านั้น
    ก็สามารถส่งต่อความมั่นคงให้ครอบครัวได้ทันที!
    สามารถมีมรดกได้ตั้งแต่ 10ล้าน - 300ล้านบาท

    ⭕️ "วันนี้คุณอาจยังมีเวลา แต่วันหนึ่งคุณอาจไม่มีโอกาส"
    วางแผนมรดกตั้งแต่วันนี้ เพื่อให้คนที่คุณรักมีอนาคตที่มั่นคง!

    **ติดต่อ Fiamony เพื่อรับคำแนะนำฟรี**
    💬 สนใจทักแชทได้เลย ยินดีให้คำปรึกษาค่ะ
    📩 Line ID : @fiamony
    📩 คลิ๊กเลย https://lin.ee/o3lzLTu
    🌐 FB Page: Fiamony
    ☎️ 081-323-8168
    🎙️ TikTok: Fiamony

    #fiamony | #มรดก | #ประกันอลิอันซ์ | #รักครอบครัว
    #ประกันมรดก | #อลิอันซ์อยุธยาประกันชีวิต | #ลูกรัก
    #ประกันออนไลน์ | #ประกันชีวิต | #คุ้มครองชีวิต
    "เปลี่ยนเงินหลักแสน เป็นมรดก 10 ล้านง่ายๆ เพื่ออนาคตคนที่คุณรัก" 💰💵 💸 คุณเคยคิดไหมว่า… ถ้าวันหนึ่งคุณไม่อยู่แล้ว ครอบครัวจะมีชีวิตต่อไปอย่างไร? 💎 **ประกันมรดก 10 ล้านบาท Wealth Legacy** คือทางเลือกที่ช่วยให้คุณมั่นใจว่า คนที่คุณรักจะมีเงินดูแลชีวิตต่อไป โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระหนี้สินหรือค่าใช้จ่ายในอนาคต ✅ **สร้างมรดก 10 ล้านได้ง่ายๆ** ใช้เงินหลักแสน ✅ **คุ้มครองทันที** สบายใจไร้กังวล ✅ **สมัครง่าย** อนุมัติไว ไม่ยุ่งยาก จ่ายเพียหลักแสน/ปี ส่งสั้นแค่6ปีเท่านั้น ก็สามารถส่งต่อความมั่นคงให้ครอบครัวได้ทันที! สามารถมีมรดกได้ตั้งแต่ 10ล้าน - 300ล้านบาท ⭕️ "วันนี้คุณอาจยังมีเวลา แต่วันหนึ่งคุณอาจไม่มีโอกาส" วางแผนมรดกตั้งแต่วันนี้ เพื่อให้คนที่คุณรักมีอนาคตที่มั่นคง! **ติดต่อ Fiamony เพื่อรับคำแนะนำฟรี** 💬 สนใจทักแชทได้เลย ยินดีให้คำปรึกษาค่ะ 📩 Line ID : @fiamony 📩 คลิ๊กเลย https://lin.ee/o3lzLTu 🌐 FB Page: Fiamony ☎️ 081-323-8168 🎙️ TikTok: Fiamony #fiamony | #มรดก | #ประกันอลิอันซ์ | #รักครอบครัว #ประกันมรดก | #อลิอันซ์อยุธยาประกันชีวิต | #ลูกรัก #ประกันออนไลน์ | #ประกันชีวิต | #คุ้มครองชีวิต
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 108 มุมมอง 0 รีวิว
  • ❤️ Bob Moore เจ้านายใจบุญ ยกบริษัทให้พนักงานทุกคนเป็นเจ้าของ

    บ็อบ มัวร์ (Bob Moore) ผู้ก่อตั้ง Bob's Red Mill แบรนด์อาหารธัญพืชและผลิตภัณฑ์อบขนมไม่ขัดสีสัญชาติอเมริกันชื่อดัง เสียชีวิตอย่างสงบที่บ้านพักเมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ในวัย 94 ปี

    บ็อบหลงใหลในอาหารสุขภาพและธัญพืชไม่ขัดสีเป็นอย่างมาก บ็อบและภรรยา-ชาร์ลีจึงก่อตั้ง Bob's Red Mill ในปี 2521 ช่วงแรกบริษัทผลิตให้เฉพาะคนในท้องถิ่นพื้นที่พอร์ตแลนด์ รัฐโอเรกอน ต่อมาเติบโตอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นธุรกิจอาหารธรรมชาติที่มั่นคง ปัจจุบันเป็นแบรนด์อาหารชั้นนำระดับโลกที่นำเสนอผลิตภัณฑ์มากกว่า 200 รายการในกว่า 70 ประเทศ

    ในวันเกิดอายุครบ 81 ปีของบ็อบ แทนที่จะขายแบรนด์ให้กับบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านอาหาร เขากลับก่อตั้ง Employee Stock Ownership Plan (ESOP) หรือแผนความเป็นเจ้าของหุ้นของพนักงาน และโอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมดของบริษัทของเขา ซึ่งมีมูลค่ากว่า 100 ล้านดอลลาร์ ให้กับพนักงานของเขากว่า 700 คน เพราะบ็อบรู้สึกชื่นชมความทุ่มเทของพนักงานที่ช่วยเปลี่ยนแปลงบริษัทให้มายืนในจุดนี้ได้ เขาจึงต้องการตอบแทนพนักงานทุกคน

    นอกจากเป็นเจ้านายใจบุญแล้ว สำหรับคนทั่วไปที่ได้พบกับบ็อบและภรรยา ก็จะสัมผัสได้ถึงความเฉลียวฉลาด ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา การให้เกียรติผู้อื่น และที่สำคัญคือใบหน้ายิ้มแย้มอารมณ์ดีอยู่เสมอ ควบคู่ไปกับจริยธรรมที่บ็อบยึดมั่นมาตลอดคือ มีความรับผิดชอบและมีแรงบันดาลใจที่จะรักษาแนวทางในเรื่องอาหารไม่แปรรูป ใช้ส่วนผสมที่บริสุทธิ์และมีคุณภาพสูง เพื่อนำอาหารที่มีประโยชน์มาสู่ผู้คนทั่วโลก

    ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาบ็อบและชาร์ลี (เสียชีวิตในปี 2561) มุ่งหวังที่จะสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นต่อไปผ่านการบริจาคเงินจำนวนมากให้กับสถาบันการศึกษาหลายแห่งในโอเรกอน เช่น ให้ทุนวิจัย Oregon State University สนับสนุนทุนให้กับ Moore Family Center for Whole Grain Foods, Nutrition and Preventive Health ใน College of Health and Human Sciences มีส่วนร่วมก่อตั้งสถาบัน Bob and Charlee Moore Institute for Nutrition & Wellness ที่ Oregon Health & Science University รวมถึงโครงการวิจัยเพิ่มเติมอีกมากมายทั่วรัฐ

    Trey Winthrop ซีอีโอของ Bob’s Red Mill กล่าวว่า

    “มรดกของบ็อบจะคงอยู่ตลอดไปในตัวพวกเราทุกคนที่มีโอกาสร่วมงานกับเขาและได้ซึมซับเข้าสู่แบรนด์ Bob’s Red Mill”

    ✍️ เรียบเรียง : สำนักข่าวดีดี
    📷 ภาพ : FB Bob's Red Mill Natural Foods

    #สำนักข่าวดีดี #เรื่องดีดีมีทุกวัน #ใจบุญ #goodstory #เรื่องราวดีดี
    ❤️ Bob Moore เจ้านายใจบุญ ยกบริษัทให้พนักงานทุกคนเป็นเจ้าของ บ็อบ มัวร์ (Bob Moore) ผู้ก่อตั้ง Bob's Red Mill แบรนด์อาหารธัญพืชและผลิตภัณฑ์อบขนมไม่ขัดสีสัญชาติอเมริกันชื่อดัง เสียชีวิตอย่างสงบที่บ้านพักเมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ในวัย 94 ปี บ็อบหลงใหลในอาหารสุขภาพและธัญพืชไม่ขัดสีเป็นอย่างมาก บ็อบและภรรยา-ชาร์ลีจึงก่อตั้ง Bob's Red Mill ในปี 2521 ช่วงแรกบริษัทผลิตให้เฉพาะคนในท้องถิ่นพื้นที่พอร์ตแลนด์ รัฐโอเรกอน ต่อมาเติบโตอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นธุรกิจอาหารธรรมชาติที่มั่นคง ปัจจุบันเป็นแบรนด์อาหารชั้นนำระดับโลกที่นำเสนอผลิตภัณฑ์มากกว่า 200 รายการในกว่า 70 ประเทศ ในวันเกิดอายุครบ 81 ปีของบ็อบ แทนที่จะขายแบรนด์ให้กับบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านอาหาร เขากลับก่อตั้ง Employee Stock Ownership Plan (ESOP) หรือแผนความเป็นเจ้าของหุ้นของพนักงาน และโอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมดของบริษัทของเขา ซึ่งมีมูลค่ากว่า 100 ล้านดอลลาร์ ให้กับพนักงานของเขากว่า 700 คน เพราะบ็อบรู้สึกชื่นชมความทุ่มเทของพนักงานที่ช่วยเปลี่ยนแปลงบริษัทให้มายืนในจุดนี้ได้ เขาจึงต้องการตอบแทนพนักงานทุกคน นอกจากเป็นเจ้านายใจบุญแล้ว สำหรับคนทั่วไปที่ได้พบกับบ็อบและภรรยา ก็จะสัมผัสได้ถึงความเฉลียวฉลาด ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา การให้เกียรติผู้อื่น และที่สำคัญคือใบหน้ายิ้มแย้มอารมณ์ดีอยู่เสมอ ควบคู่ไปกับจริยธรรมที่บ็อบยึดมั่นมาตลอดคือ มีความรับผิดชอบและมีแรงบันดาลใจที่จะรักษาแนวทางในเรื่องอาหารไม่แปรรูป ใช้ส่วนผสมที่บริสุทธิ์และมีคุณภาพสูง เพื่อนำอาหารที่มีประโยชน์มาสู่ผู้คนทั่วโลก ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาบ็อบและชาร์ลี (เสียชีวิตในปี 2561) มุ่งหวังที่จะสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นต่อไปผ่านการบริจาคเงินจำนวนมากให้กับสถาบันการศึกษาหลายแห่งในโอเรกอน เช่น ให้ทุนวิจัย Oregon State University สนับสนุนทุนให้กับ Moore Family Center for Whole Grain Foods, Nutrition and Preventive Health ใน College of Health and Human Sciences มีส่วนร่วมก่อตั้งสถาบัน Bob and Charlee Moore Institute for Nutrition & Wellness ที่ Oregon Health & Science University รวมถึงโครงการวิจัยเพิ่มเติมอีกมากมายทั่วรัฐ Trey Winthrop ซีอีโอของ Bob’s Red Mill กล่าวว่า “มรดกของบ็อบจะคงอยู่ตลอดไปในตัวพวกเราทุกคนที่มีโอกาสร่วมงานกับเขาและได้ซึมซับเข้าสู่แบรนด์ Bob’s Red Mill” ✍️ เรียบเรียง : สำนักข่าวดีดี 📷 ภาพ : FB Bob's Red Mill Natural Foods #สำนักข่าวดีดี #เรื่องดีดีมีทุกวัน #ใจบุญ #goodstory #เรื่องราวดีดี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 119 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🍎 The Heritage Apple Hunter
    🍏 คุณปู่ Tom Brown นักล่าแอปเปิลพันธุ์หายาก
    🍎 จากงานอดิเรกวัยเกษียณสู่การอนุรักษ์แอปเปิลกว่า 1,000 สายพันธุ์

    คุณปู่ Tom Brown อดีตวิศวกรเคมีวัย 80 ปี ใช้เวลา 20 ปีของชีวิตวัยเกษียณ ทำภารกิจค้นหาและรักษาพันธุ์แอปเปิลที่สูญหาย โดยเดินทางเสาะหาทั่วแอปพาเลเชีย (ภูมิภาคช่วงตะวันออกของสหรัฐอเมริกา) ทำให้คุณปู่ได้ค้นพบแอปเปิลที่หายากกว่า 1,000 สายพันธุ์ และนำมาจัดแสดงกว่า 600 รายการ ภารกิจของคุณปู่ที่เริ่มต้นจากความสนุกเพลิดเพลิน กลับกลายช่วยรักษาพันธุ์แอปเปิลเก่าแก่ในภูมิภาคแอปพาเลเชียเอาไว้ ไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา

    เดิมทีคุณปู่มีสวนผลไม้อยู่ในเมืองเคลมมอนส์ รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา และได้รู้จักกับเจ้าของสวนแอปเปิลคนหนึ่งซึ่งแนะนำให้ปู่ทอมรู้จักกับแอปเปิลพันธุ์หายากต่าง ๆ ซึ่งคุณปู่ไม่เคยได้ยินชื่อมาก่อน นั่นคือการจุดประกายให้คุณปู่เริ่มหลงใหลและตัดสินใจว่างานอดิเรกยามเกษียณคือการตามล่าแอปเปิ้ลที่สูญหายนี่แหละ

    คุณปู่ทอมเรียนรู้ศาสตร์แห่งการระบุ โคลน การต่อกิ่งและการดูแลรักษาต้นแอปเปิล จากนั้นเริ่มรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสวนผลไม้เก่า สมาคมผู้ปลูกผลไม้ ชื่อของเจ้าของเดิมและคนงาน และข่าวเกี่ยวกับต้นไม้มรดกที่ยังเหลืออยู่ เมื่อใดก็ตามที่ได้ยินเกี่ยวกับแอปเปิลเก่าแก่หายาก คุณปู่และภรรยาจะเดินทางไปเสาะหาสวนผลไม้ที่ซ่อนอยู่ในพื้นที่นั้น เมื่อได้เห็นและชิมแอปเปิลแล้ว คุณปู่ก็จะยืนยันด้วยข้อมูลอ้างอิงที่ค้นคว้ามา เพื่อคอนเฟิร์มว่าเป็นแอปเปิลพันธุ์นั้นจริง ๆ

    ความหลงใหลผลักดันให้คุณปู่ติดต่อกับผู้คน เดินทางไปเยี่ยมบ้านคนแปลกหน้าเพื่อสอบถามข้อมูลแอปเปิ้ล ลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น และอีกหลายวิธี เพื่อรวบรวมเบาะแสเพิ่มเติม ย้อนไปหาที่มาและตัวตนของแอปเปิลเหล่านั้น ด้วยความคิดที่ว่า มันคงจะเจ๋งมาก ถ้าได้ค้นพบแอปเปิ้ลที่ไม่มีใครได้ลิ้มรสในรอบ 50 ปีหรือ 100 ปีที่ผ่านมา

    งานอดิเรกที่ไม่เหมือนใครทำให้คุณปู่ทอมมีชื่อเสียงโด่งดังและเป็นที่ชื่นชมไปทั่วโลก แถมยังได้รับฉายาว่า Apple-Hunter คุณปู่ปลูกแอปเปิลในฟาร์มของตัวเองปีละประมาณ 60 สายพันธุ์ และขายต้นไปแล้วประมาณ 1,000 ต้น

    คุณปู่บอกว่า รู้สึกสนุกกับงานอดิเรกนี้มาก มันทำให้คุณปู่ตื่นเต้นกระชุ่มกระชวยลืมแก่กันเลยทีเดียว และแน่นอนว่าจะไม่หยุดภารกิจนี้ เพราะยังมีแอปเปิลที่รอให้คุณปู่ค้นพบอีกมากมายหลายสายพันธุ์

    📸 Tom Brown
    ✍️ เรียบเรียง : สำนักข่าวดีดี

    #สำนักข่าวดีดี #เรื่องดีดีมีทุกวัน #goodstory #เรื่องราวดีดี #สุขใจวัยเกษียณ
    🍎 The Heritage Apple Hunter 🍏 คุณปู่ Tom Brown นักล่าแอปเปิลพันธุ์หายาก 🍎 จากงานอดิเรกวัยเกษียณสู่การอนุรักษ์แอปเปิลกว่า 1,000 สายพันธุ์ คุณปู่ Tom Brown อดีตวิศวกรเคมีวัย 80 ปี ใช้เวลา 20 ปีของชีวิตวัยเกษียณ ทำภารกิจค้นหาและรักษาพันธุ์แอปเปิลที่สูญหาย โดยเดินทางเสาะหาทั่วแอปพาเลเชีย (ภูมิภาคช่วงตะวันออกของสหรัฐอเมริกา) ทำให้คุณปู่ได้ค้นพบแอปเปิลที่หายากกว่า 1,000 สายพันธุ์ และนำมาจัดแสดงกว่า 600 รายการ ภารกิจของคุณปู่ที่เริ่มต้นจากความสนุกเพลิดเพลิน กลับกลายช่วยรักษาพันธุ์แอปเปิลเก่าแก่ในภูมิภาคแอปพาเลเชียเอาไว้ ไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา เดิมทีคุณปู่มีสวนผลไม้อยู่ในเมืองเคลมมอนส์ รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา และได้รู้จักกับเจ้าของสวนแอปเปิลคนหนึ่งซึ่งแนะนำให้ปู่ทอมรู้จักกับแอปเปิลพันธุ์หายากต่าง ๆ ซึ่งคุณปู่ไม่เคยได้ยินชื่อมาก่อน นั่นคือการจุดประกายให้คุณปู่เริ่มหลงใหลและตัดสินใจว่างานอดิเรกยามเกษียณคือการตามล่าแอปเปิ้ลที่สูญหายนี่แหละ คุณปู่ทอมเรียนรู้ศาสตร์แห่งการระบุ โคลน การต่อกิ่งและการดูแลรักษาต้นแอปเปิล จากนั้นเริ่มรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสวนผลไม้เก่า สมาคมผู้ปลูกผลไม้ ชื่อของเจ้าของเดิมและคนงาน และข่าวเกี่ยวกับต้นไม้มรดกที่ยังเหลืออยู่ เมื่อใดก็ตามที่ได้ยินเกี่ยวกับแอปเปิลเก่าแก่หายาก คุณปู่และภรรยาจะเดินทางไปเสาะหาสวนผลไม้ที่ซ่อนอยู่ในพื้นที่นั้น เมื่อได้เห็นและชิมแอปเปิลแล้ว คุณปู่ก็จะยืนยันด้วยข้อมูลอ้างอิงที่ค้นคว้ามา เพื่อคอนเฟิร์มว่าเป็นแอปเปิลพันธุ์นั้นจริง ๆ ความหลงใหลผลักดันให้คุณปู่ติดต่อกับผู้คน เดินทางไปเยี่ยมบ้านคนแปลกหน้าเพื่อสอบถามข้อมูลแอปเปิ้ล ลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น และอีกหลายวิธี เพื่อรวบรวมเบาะแสเพิ่มเติม ย้อนไปหาที่มาและตัวตนของแอปเปิลเหล่านั้น ด้วยความคิดที่ว่า มันคงจะเจ๋งมาก ถ้าได้ค้นพบแอปเปิ้ลที่ไม่มีใครได้ลิ้มรสในรอบ 50 ปีหรือ 100 ปีที่ผ่านมา งานอดิเรกที่ไม่เหมือนใครทำให้คุณปู่ทอมมีชื่อเสียงโด่งดังและเป็นที่ชื่นชมไปทั่วโลก แถมยังได้รับฉายาว่า Apple-Hunter คุณปู่ปลูกแอปเปิลในฟาร์มของตัวเองปีละประมาณ 60 สายพันธุ์ และขายต้นไปแล้วประมาณ 1,000 ต้น คุณปู่บอกว่า รู้สึกสนุกกับงานอดิเรกนี้มาก มันทำให้คุณปู่ตื่นเต้นกระชุ่มกระชวยลืมแก่กันเลยทีเดียว และแน่นอนว่าจะไม่หยุดภารกิจนี้ เพราะยังมีแอปเปิลที่รอให้คุณปู่ค้นพบอีกมากมายหลายสายพันธุ์ 📸 Tom Brown ✍️ เรียบเรียง : สำนักข่าวดีดี #สำนักข่าวดีดี #เรื่องดีดีมีทุกวัน #goodstory #เรื่องราวดีดี #สุขใจวัยเกษียณ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • พิรุธชัดร่าง "แตงโม" ไม่เหมือนแช่น้ำ 2 วัน : [NEWS UPDATE]

    นายเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ นักแสดงจิตอาสา ให้ข้อมูลกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) ในคดีการเสียชีวิตของ น.ส.ภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์ หรือ แตงโม นักแสดงชื่อดัง มีจุดพิรุธ 2 จุดใหญ่ คือ โคนขาขวาด้านใน และข้างน่องขาขวา จุดน่าสงสัยอาจไม่ได้โดนใบพัดเรือ คือ โคนขาขวา เพราะรอยยาวและลึกมากจนเห็นเนื้อยุ่ย ตรงนี้น่าจะทำให้เสียชีวิต พอตกลงน้ำก็ว่ายน้ำไม่ไหว มีรอยขีดข่วนก้างปลาไม่ลึก มีจุดข้างน่องขาขวาเหมือนของแหลมแทงเข้าไป มีไขมันออกมากับเนื้อ ฟันซี่บนหักแน่นอน โดยจากประสบการณ์เก็บร่างคนตกน้ำ มอง ขาแตงโมขาว ไม่มีร่องรอยการแช่น้ำเป็นเวลา 2 วัน ขาเนียนเหมือนเพิ่งเสียชีวิต ใบหน้าเละ หน้าอกช้ำ ซึ่งตามปกติคนจมน้ำ สภาพผิวหนังจะคล้ายกันหมด
    80% เพราะจมน้ำทั้งร่างกาย ไม่ได้เสียชีวิตที่อื่นแล้วนำมาจมน้ำ



    "แม๊"ยืนยันโทรศัพท์ของจริง

    ประชุมแก้รัฐธรรมนูญล่ม

    กันจุดล่อแหลมหนีเข้าเมือง

    ฤดูชมผีเสื้อป่ามรดกโลก
    พิรุธชัดร่าง "แตงโม" ไม่เหมือนแช่น้ำ 2 วัน : [NEWS UPDATE] นายเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ นักแสดงจิตอาสา ให้ข้อมูลกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) ในคดีการเสียชีวิตของ น.ส.ภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์ หรือ แตงโม นักแสดงชื่อดัง มีจุดพิรุธ 2 จุดใหญ่ คือ โคนขาขวาด้านใน และข้างน่องขาขวา จุดน่าสงสัยอาจไม่ได้โดนใบพัดเรือ คือ โคนขาขวา เพราะรอยยาวและลึกมากจนเห็นเนื้อยุ่ย ตรงนี้น่าจะทำให้เสียชีวิต พอตกลงน้ำก็ว่ายน้ำไม่ไหว มีรอยขีดข่วนก้างปลาไม่ลึก มีจุดข้างน่องขาขวาเหมือนของแหลมแทงเข้าไป มีไขมันออกมากับเนื้อ ฟันซี่บนหักแน่นอน โดยจากประสบการณ์เก็บร่างคนตกน้ำ มอง ขาแตงโมขาว ไม่มีร่องรอยการแช่น้ำเป็นเวลา 2 วัน ขาเนียนเหมือนเพิ่งเสียชีวิต ใบหน้าเละ หน้าอกช้ำ ซึ่งตามปกติคนจมน้ำ สภาพผิวหนังจะคล้ายกันหมด 80% เพราะจมน้ำทั้งร่างกาย ไม่ได้เสียชีวิตที่อื่นแล้วนำมาจมน้ำ "แม๊"ยืนยันโทรศัพท์ของจริง ประชุมแก้รัฐธรรมนูญล่ม กันจุดล่อแหลมหนีเข้าเมือง ฤดูชมผีเสื้อป่ามรดกโลก
    Like
    Sad
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1154 มุมมอง 59 0 รีวิว
  • การเปลี่ยนแปลงการบริโภคอาหารของประชากรโลกส่งผลกระทบหลายมิติ ทั้งด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ต่อไปนี้เป็นแนวทางการวิเคราะห์ประเด็นนี้อย่างเป็นระบบ:

    ### 1. **ปัจจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง**
    - **ความเป็นเมืองและไลฟ์สไตล์เร่งด่วน**: นำไปสู่การบริโภคอาหารแปรรูปสูง อาหารสำเร็จรูป และบริการเดลิเวอรี่
    - **การเติบโตทางเศรษฐกิจ**: ในประเทศกำลังพัฒนา ความต้องการเนื้อสัตว์และนมเพิ่มขึ้นตามรายได้ (เรียกว่า "การเปลี่ยนผ่านด้านโภชนาการ")
    - **ความตระหนักด้านสุขภาพ**: โรคไม่ติดต่อ (NCDs) เช่น เบาหวาน กระตุ้นให้คนหันมาบริโภคพืชมากขึ้น ลดน้ำตาลและไขมันอิ่มตัว
    - **ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อม**: การผลิตเนื้อสัตว์สร้างก๊าซเรือนกระจก 14.5% ของ全球排放 ทำให้ผู้บริโภคบางกลุ่มเลือกโปรตีนทางเลือก (เช่น Plant-based meat, แมลง)
    - **นวัตกรรมเทคโนโลยี**: อาหารแล็บ (Cultured meat), แอปพลิเคชันติดตามโภชนาการส่วนบุคคล (Personalized nutrition)

    ### 2. **แนวโน้มสำคัญ**
    - **Plant-Based Movement**: ยอดขายอาหารจากพืชโตปีละ 15-20% (ข้อมูลจาก Beyond Meat และ Oatly)
    - **Functional Foods**: อาหารเสริมโปรไบโอติกหรือสารต้านอนุมูลอิสระได้รับความนิยม
    - **Local & Seasonal Eating**: เพื่อลด Carbon Footprint เช่น กระแส "Locavore"
    - **การฟื้นฟูอาหารดั้งเดิม**: อย่างอาหารเมดิเตอร์เรเนียนหรือญี่ปุ่นที่ UNESCO ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกวัฒนธรรม

    ### 3. **ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม**
    - **เชิงบวก**: หากลดการบริโภคเนื้อวัว全球ลง 50% อาจลดพื้นที่เกษตรกรรมได้ 1.1 พันล้านเฮกตาร์ (อ้างอิงจาก PNAS)
    - **เชิงลบ**: การผลิตอัลมอนด์สำหรับนมพืชต้องการน้ำมาก ส่งผลกระทบต่อพื้นที่แห้งแล้งเช่นแคลิฟอร์เนีย

    ### 4. **ความท้าทายทางสังคม**
    - **ความเหลื่อมล้ำ**: อาหารสุขภาพมักมีราคาสูง ทำให้เข้าถึงได้เฉพาะกลุ่มรายได้สูง
    - **การสูญเสียวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น**: เยาวชนยุคใหม่หันไปบริโภค Fast Food แทนอาหารดั้งเดิม
    - **Greenwashing**: บริษัทบางแห่งใช้ฉลาก "ออร์แกนิก" หรือ "ยั่งยืน" โดยไม่มีการรับรองที่ชัดเจน

    ### 5. **นโยบายและแนวทางแก้ไข**
    - **ภาษีอาหารไม่สุขภาพ**: เช่น ภาษีน้ำตาลในเม็กซิโกและอังกฤษ
    - **ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน**: ตามแนวทาง FAO's Agroecology
    - **การศึกษาโภชนาการ**: หลักสูตรอาหารสุขภาพในโรงเรียน เช่น ญี่ปุ่นสอน "Shokuiku" (食育)

    ### 6. **อนาคตที่อาจเกิดขึ้น**
    - **อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพ**: เนื้อที่เพาะในแล็บ (Cultured Meat) อาจมีราคาถูกกว่าเนื้อธรรมดาภายในปี 2030
    - **ระบบอาหารอัจฉริยะ**: AI วิเคราะห์ความต้องการสารอาหารส่วนบุคคลผ่านข้อมูลสุขภาพ
    - **กฎหมายอาหารใหม่**: เช่น สหภาพยุโรปอาจกำหนด Carbon Labeling บนบรรจุภัณฑ์

    ### สรุป
    การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นโอกาสในการสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืน แต่ต้องจัดการกับความท้าทายอย่างรอบด้าน ทั้งการปรับตัวของผู้ผลิต การสนับสนุนนโยบายสาธารณะ และการสร้างความตระหนักของผู้บริโภคโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
    การเปลี่ยนแปลงการบริโภคอาหารของประชากรโลกส่งผลกระทบหลายมิติ ทั้งด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ต่อไปนี้เป็นแนวทางการวิเคราะห์ประเด็นนี้อย่างเป็นระบบ: ### 1. **ปัจจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง** - **ความเป็นเมืองและไลฟ์สไตล์เร่งด่วน**: นำไปสู่การบริโภคอาหารแปรรูปสูง อาหารสำเร็จรูป และบริการเดลิเวอรี่ - **การเติบโตทางเศรษฐกิจ**: ในประเทศกำลังพัฒนา ความต้องการเนื้อสัตว์และนมเพิ่มขึ้นตามรายได้ (เรียกว่า "การเปลี่ยนผ่านด้านโภชนาการ") - **ความตระหนักด้านสุขภาพ**: โรคไม่ติดต่อ (NCDs) เช่น เบาหวาน กระตุ้นให้คนหันมาบริโภคพืชมากขึ้น ลดน้ำตาลและไขมันอิ่มตัว - **ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อม**: การผลิตเนื้อสัตว์สร้างก๊าซเรือนกระจก 14.5% ของ全球排放 ทำให้ผู้บริโภคบางกลุ่มเลือกโปรตีนทางเลือก (เช่น Plant-based meat, แมลง) - **นวัตกรรมเทคโนโลยี**: อาหารแล็บ (Cultured meat), แอปพลิเคชันติดตามโภชนาการส่วนบุคคล (Personalized nutrition) ### 2. **แนวโน้มสำคัญ** - **Plant-Based Movement**: ยอดขายอาหารจากพืชโตปีละ 15-20% (ข้อมูลจาก Beyond Meat และ Oatly) - **Functional Foods**: อาหารเสริมโปรไบโอติกหรือสารต้านอนุมูลอิสระได้รับความนิยม - **Local & Seasonal Eating**: เพื่อลด Carbon Footprint เช่น กระแส "Locavore" - **การฟื้นฟูอาหารดั้งเดิม**: อย่างอาหารเมดิเตอร์เรเนียนหรือญี่ปุ่นที่ UNESCO ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกวัฒนธรรม ### 3. **ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม** - **เชิงบวก**: หากลดการบริโภคเนื้อวัว全球ลง 50% อาจลดพื้นที่เกษตรกรรมได้ 1.1 พันล้านเฮกตาร์ (อ้างอิงจาก PNAS) - **เชิงลบ**: การผลิตอัลมอนด์สำหรับนมพืชต้องการน้ำมาก ส่งผลกระทบต่อพื้นที่แห้งแล้งเช่นแคลิฟอร์เนีย ### 4. **ความท้าทายทางสังคม** - **ความเหลื่อมล้ำ**: อาหารสุขภาพมักมีราคาสูง ทำให้เข้าถึงได้เฉพาะกลุ่มรายได้สูง - **การสูญเสียวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น**: เยาวชนยุคใหม่หันไปบริโภค Fast Food แทนอาหารดั้งเดิม - **Greenwashing**: บริษัทบางแห่งใช้ฉลาก "ออร์แกนิก" หรือ "ยั่งยืน" โดยไม่มีการรับรองที่ชัดเจน ### 5. **นโยบายและแนวทางแก้ไข** - **ภาษีอาหารไม่สุขภาพ**: เช่น ภาษีน้ำตาลในเม็กซิโกและอังกฤษ - **ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน**: ตามแนวทาง FAO's Agroecology - **การศึกษาโภชนาการ**: หลักสูตรอาหารสุขภาพในโรงเรียน เช่น ญี่ปุ่นสอน "Shokuiku" (食育) ### 6. **อนาคตที่อาจเกิดขึ้น** - **อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพ**: เนื้อที่เพาะในแล็บ (Cultured Meat) อาจมีราคาถูกกว่าเนื้อธรรมดาภายในปี 2030 - **ระบบอาหารอัจฉริยะ**: AI วิเคราะห์ความต้องการสารอาหารส่วนบุคคลผ่านข้อมูลสุขภาพ - **กฎหมายอาหารใหม่**: เช่น สหภาพยุโรปอาจกำหนด Carbon Labeling บนบรรจุภัณฑ์ ### สรุป การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นโอกาสในการสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืน แต่ต้องจัดการกับความท้าทายอย่างรอบด้าน ทั้งการปรับตัวของผู้ผลิต การสนับสนุนนโยบายสาธารณะ และการสร้างความตระหนักของผู้บริโภคโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 0 รีวิว
  • ถึงเวลาปิโตรนาส ปรับโครงสร้างองค์กร

    ปิโตรนาส (Petronas) บริษัทพลังงานแห่งชาติของมาเลเซีย เพิ่งฉลองครบรอบ 50 ปีไปเมื่อปีที่แล้ว กำลังจะปรับโครงสร้างองค์กรครั้งใหญ่ ด้วยการปรับลดขนาดกำลังคนที่มีกว่า 50,000 คน ซึ่งนายเต็งกู มูฮัมหมัด เตาฟิก ประธานบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กล่าวในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 7 ก.พ. ที่ผ่านมา ตามรายงานของ The Edge สื่อออนไลน์ในมาเลเซีย ยืนยันว่าไม่ใช้การเลิกจ้าง แต่เป็นการปรับลดขนาดกำลังคนเพื่อความอยู่รอดในอีกสิบปีข้างหน้า

    สำหรับจำนวนพนักงานที่ได้รับผลกระทบยังไม่ทราบแน่ชัด เนื่องจากโครงสร้างองค์กรใหม่จะประกาศใช้ในช่วงครึ่งปีหลัง ซึ่งพนักงานบางส่วนจะถูกย้ายไปทำหน้าที่ใหม่ บางส่วนจะถูกเลิกจ้าง คาดว่าจะดำเนินการเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2568 โดยมีเป้าหมายเพื่อลดจำนวนฝ่ายสนับสนุน (Enablers) ซึ่งอยู่ในตำแหน่งบริหาร ที่มีอยู่ประมาณ 15,000-16,000 คน เมื่อเทียบกับกำลังคนทั่วโลกที่มีอยู่ 52,000-53,000 คน ซึ่งจะปรับขนาดของกำลังบุคลากรให้เหมาะสม

    พร้อมกันนี้ การปรับลดขนาดกำลังคนไม่เกี่ยวข้องกับกรณีที่ยุติบทบาทผู้รวบรวมก๊าซในรัฐซาราวัก แต่ได้พิจารณาถึงสภาพแวดล้อมการดำเนินงาน ทั้งปัจจัยทางธรณีวิทยาที่ทำให้ส่วนแบ่งรายได้ในสัญญาแบ่งปันผลผลิต (PSC) ลดลง อัตรากำไรขั้นต้นลดลง จากเดิมสูงกว่า 20% ซึ่งในอนาคตจะต้องจัดหาผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อนให้กับลูกค้า เช่น บลูแอมโมเนีย (Blue Ammonia) ก๊าซที่ผลิตจากไฮโดรคาร์บอน จึงต้องเพิ่มประสิทธิภาพด้านต้นทุนและคล่องตัวตอบสนองต่อพลวัตของตลาดใหม่

    ซีอีโอของปิโตรนาสยังกล่าวกับสำนักข่าวเบอร์นามา (Bernama) ว่า นับตั้งแต่ปิโตรนาสก่อตั้ง ได้มีส่วนสนับสนุนประเทศชาติกว่า 1.5 ล้านล้านริงกิต ในรูปแบบเงินปันผล ภาษีการขายของรัฐ เงินสด ภาษีส่งออก และกองทุนมรดกแห่งชาติ ซึ่งในฐานะบริษัทน้ำมันแห่งชาติ แต่ดำเนินการในฐานะบริษัทน้ำมันระหว่างประเทศมาโดยตลอด และคู่แข่งก็ตัดสินใจลำบากเช่นกัน เพราะอัตรากำไรของอุตสาหกรรมและก๊าซถูกบีบลงจากเดิม 40-45% เหลือเพียง 20% ซึ่งปิโตรนาสก็ประสบปัญหาคล้ายกัน

    เพื่อที่ปิโตรนาสจะมีส่วนสนับสนุนประเทศชาติอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการลงทุนและขยายตัวในพลังงานสีเขียวและพลังงานหมุนเวียน จึงจำเป็นต้องมีบุคลากรที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งเกี่ยวข้องกับพลังงานราคาถูก ปลอดภัย และยั่งยืนมากขึ้น จึงต้องพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะคงไว้ซึ่งความเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพสูง ขับเคลื่อนโดยผลผลิต นวัตกรรม ความยั่งยืน และความมุ่งมั่นเพื่อความเป็นเลิศ เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถดำรงอยู่ต่อไปในอนาคตได้

    #Newskit
    ถึงเวลาปิโตรนาส ปรับโครงสร้างองค์กร ปิโตรนาส (Petronas) บริษัทพลังงานแห่งชาติของมาเลเซีย เพิ่งฉลองครบรอบ 50 ปีไปเมื่อปีที่แล้ว กำลังจะปรับโครงสร้างองค์กรครั้งใหญ่ ด้วยการปรับลดขนาดกำลังคนที่มีกว่า 50,000 คน ซึ่งนายเต็งกู มูฮัมหมัด เตาฟิก ประธานบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กล่าวในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 7 ก.พ. ที่ผ่านมา ตามรายงานของ The Edge สื่อออนไลน์ในมาเลเซีย ยืนยันว่าไม่ใช้การเลิกจ้าง แต่เป็นการปรับลดขนาดกำลังคนเพื่อความอยู่รอดในอีกสิบปีข้างหน้า สำหรับจำนวนพนักงานที่ได้รับผลกระทบยังไม่ทราบแน่ชัด เนื่องจากโครงสร้างองค์กรใหม่จะประกาศใช้ในช่วงครึ่งปีหลัง ซึ่งพนักงานบางส่วนจะถูกย้ายไปทำหน้าที่ใหม่ บางส่วนจะถูกเลิกจ้าง คาดว่าจะดำเนินการเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2568 โดยมีเป้าหมายเพื่อลดจำนวนฝ่ายสนับสนุน (Enablers) ซึ่งอยู่ในตำแหน่งบริหาร ที่มีอยู่ประมาณ 15,000-16,000 คน เมื่อเทียบกับกำลังคนทั่วโลกที่มีอยู่ 52,000-53,000 คน ซึ่งจะปรับขนาดของกำลังบุคลากรให้เหมาะสม พร้อมกันนี้ การปรับลดขนาดกำลังคนไม่เกี่ยวข้องกับกรณีที่ยุติบทบาทผู้รวบรวมก๊าซในรัฐซาราวัก แต่ได้พิจารณาถึงสภาพแวดล้อมการดำเนินงาน ทั้งปัจจัยทางธรณีวิทยาที่ทำให้ส่วนแบ่งรายได้ในสัญญาแบ่งปันผลผลิต (PSC) ลดลง อัตรากำไรขั้นต้นลดลง จากเดิมสูงกว่า 20% ซึ่งในอนาคตจะต้องจัดหาผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อนให้กับลูกค้า เช่น บลูแอมโมเนีย (Blue Ammonia) ก๊าซที่ผลิตจากไฮโดรคาร์บอน จึงต้องเพิ่มประสิทธิภาพด้านต้นทุนและคล่องตัวตอบสนองต่อพลวัตของตลาดใหม่ ซีอีโอของปิโตรนาสยังกล่าวกับสำนักข่าวเบอร์นามา (Bernama) ว่า นับตั้งแต่ปิโตรนาสก่อตั้ง ได้มีส่วนสนับสนุนประเทศชาติกว่า 1.5 ล้านล้านริงกิต ในรูปแบบเงินปันผล ภาษีการขายของรัฐ เงินสด ภาษีส่งออก และกองทุนมรดกแห่งชาติ ซึ่งในฐานะบริษัทน้ำมันแห่งชาติ แต่ดำเนินการในฐานะบริษัทน้ำมันระหว่างประเทศมาโดยตลอด และคู่แข่งก็ตัดสินใจลำบากเช่นกัน เพราะอัตรากำไรของอุตสาหกรรมและก๊าซถูกบีบลงจากเดิม 40-45% เหลือเพียง 20% ซึ่งปิโตรนาสก็ประสบปัญหาคล้ายกัน เพื่อที่ปิโตรนาสจะมีส่วนสนับสนุนประเทศชาติอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการลงทุนและขยายตัวในพลังงานสีเขียวและพลังงานหมุนเวียน จึงจำเป็นต้องมีบุคลากรที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งเกี่ยวข้องกับพลังงานราคาถูก ปลอดภัย และยั่งยืนมากขึ้น จึงต้องพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะคงไว้ซึ่งความเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพสูง ขับเคลื่อนโดยผลผลิต นวัตกรรม ความยั่งยืน และความมุ่งมั่นเพื่อความเป็นเลิศ เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถดำรงอยู่ต่อไปในอนาคตได้ #Newskit
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 254 มุมมอง 0 รีวิว
  • 33 ปี สิ้น “หมอบุญส่ง เลขะกุล” นักนิยมไพรไทย ผู้บุกเบิกอนุรักษ์ป่าและสัตว์ จุดกำเนิดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

    📅 ย้อนไปเมื่อ 33 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 ถือเป็นวันแห่งการสูญเสียครั้งสำคัญ ของวงการอนุรักษ์ธรรมชาติไทย เพราะเป็นวันที่ น.พ.บุญส่ง เลขะกุล หรือที่รู้จักกันในนาม “หมอบุญส่ง” จากโลกนี้ไปด้วย โรคหัวใจล้มเหลว ในวัย 85 ปี ณ โรงพยาบาลมเหสักข์ กรุงเทพมหานคร แต่ถึงแม้ร่างกายจะล่วงลับไปแล้ว ผลงานและอุดมการณ์ของท่านยังคงอยู่ และกลายเป็นรากฐานสำคัญ ของการอนุรักษ์ป่าไม้ และสัตว์ป่าของไทย

    หมอบุญส่งไม่ได้เป็นเพียง แพทย์ผู้รักษาผู้คน แต่ยังเป็นนักอนุรักษ์ นักเขียน นักถ่ายภาพ และจิตรกร ผู้เปี่ยมไปด้วย ความหลงใหลในธรรมชาติ ความมุ่งมั่นเป็นแรงผลักดันให้เกิดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และ กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า ที่ยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน 🌳🌿

    🔎 น.พ.บุญส่ง เลขะกุล เกิดเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2467 ที่บ้านถนนนคร ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นบุตรของพระบริรักษ์เวชกรรม (พิน เลขะกุล) ซึ่งเป็นแพทย์ประจำจังหวัดสงขลา ทำให้หมอบุญส่ง เติบโตมาในครอบครัว ที่ให้ความสำคัญกับการศึกษา และความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์

    📚 เส้นทางการศึกษา
    ✅ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช
    ✅ มัธยมศึกษาปีที่ 8 โรงเรียนเบญจมบพิตร (ปัจจุบันคือ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร) กรุงเทพฯ
    ✅ ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2476)

    หลังจากเรียนจบแพทย์ หมอบุญส่งได้เข้าสู่วงการแพทย์ แต่ขณะเดียวกัน ท่านก็เริ่มหลงใหลในธรรมชาติ เดินป่า สังเกตสัตว์ป่า และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ต่างๆ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นจุดเริ่มต้น ของการเป็นนักอนุรักษ์ อย่างเต็มตัว

    🌿 จุดเริ่มต้นของการเป็นนักอนุรักษ์
    ช่วงหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2484 - 2488) การล่าสัตว์เพื่อกีฬา ได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้ ไฟส่องสัตว์ และ อาวุธปืนทันสมัย ส่งผลให้ประชากรสัตว์ป่า ลดลงอย่างรวดเร็ว หมอบุญส่งเห็นว่าหากปล่อยไว้เช่นนี้ สัตว์ป่าของไทยจะสูญพันธุ์ จึงรวมตัวกับผู้ที่มีแนวคิดเดียวกัน ก่อตั้ง "นิยมไพรสมาคม" ขึ้นในปี พ.ศ. 2496

    🏡 ศูนย์กลางของนิยมไพรสมาคม ตั้งอยู่ที่บ้านของหมอบุญส่งเอง (บ้านเลขที่ 4 ตรอกโรงภาษีเก่า ถนนเจริญกรุง กรุงเทพฯ) ซึ่งกลายเป็นแหล่งรวม ของผู้สนใจธรรมชาติ นักอนุรักษ์ และนักวิจัยทางด้านสัตว์ป่า

    📖 เป้าหมายของนิยมไพรสมาคม ได้แก่
    ✅ การให้ความรู้ และกระตุ้นจิตสำนึกในการอนุรักษ์
    ✅ การศึกษาพฤติกรรมสัตว์ป่า
    ✅ การผลักดันกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า
    ✅ การจัดทำ นิตยสารนิยมไพร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ เกี่ยวกับสัตว์ป่า

    หมอบุญส่งยังได้เดินป่า และเขียนหนังสือสารคดี เกี่ยวกับสัตว์ป่าหลายเล่ม เช่น
    📗 สัตว์ป่าเมืองไทย
    📘 วัวแดง
    📕 แรดไทย
    📗 ช้างไทย

    รวมถึงนวนิยายเกี่ยวกับสัตว์ป่า ที่สร้างชื่อเสียงที่สุด คือ "ชีวิตฉันลูกกระทิง" ซึ่งเคยถูกคัดเลือก เป็น หนังสืออ่านนอกเวลา สำหรับนักเรียน และได้รับการยกย่องเป็น 1 ใน 100 หนังสือดี ที่เด็กและเยาวชนไทยควรอ่าน

    ⚖️ ผลักดันกฎหมายอนุรักษ์สัตว์ป่า
    หมอบุญส่งไม่ได้เพียงแค่เขียนหนังสือ หรือเผยแพร่ความรู้ แต่ยังลงมือผลักดันให้เกิด กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย

    📜 ในปี พ.ศ. 2502 หมอบุญส่ง และคณะนิยมไพรสมาคม ได้เข้าพบจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น เพื่อยื่นข้อเสนอให้มี มาตรการคุ้มครองทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่า

    🎯 ผลที่ได้คือการออก พระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 และ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นกฎหมายสำคัญ ที่นำไปสู่การประกาศ อุทยานแห่งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เช่น
    🌳 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ (พ.ศ. 2505) อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของไทย
    🌲 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ (พ.ศ. 2508) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งแรกของไทย

    👑 พระมหากรุณาธิคุณ และการยกย่องเชิดชูเกียรติ
    ในปี พ.ศ. 2526 หมอบุญส่งได้ร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์ ก่อตั้ง "มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่า และพรรณพืชแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

    ต่อมา ในปี พ.ศ. 2550 ได้มีการจัดงาน "100 ปี หมอบุญส่ง เลขะกุล" ณ สยามสมาคม เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดี และผลงานที่ได้ทำไว้ให้กับประเทศ

    🎗️ แม้วันนี้ "หมอบุญส่ง เลขะกุล" จะจากโลกนี้ไปครบ 33 ปี แล้วก็ตาม แต่มรดกแห่งการอนุรักษ์ยังคงอยู่ ไม่ว่าจะเป็น
    ✅ กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า และอุทยานแห่งชาติ
    ✅ อุทยานและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ามากมาย
    ✅ หนังสือและบทความที่ช่วยปลูกฝังจิตสำนึกการอนุรักษ์
    ✅ แรงบันดาลใจให้กับนักอนุรักษ์รุ่นใหม่

    💚 "ธรรมชาติไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นของลูกหลานทุกคนในอนาคต" หมอบุญส่ง เลขะกุล 🌏

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 091504 ก.พ. 2568

    📌 #หมอบุญส่งเลขะกุล #อนุรักษ์สัตว์ป่า #ป่าไม้ไทย #นักนิยมไพร #อนุรักษ์ธรรมชาติ #สัตว์ป่า #ป่าต้องรอด #มรดกทางธรรมชาติ #33ปีหมอบุญส่ง #ธรรมชาติเพื่ออนาคต
    33 ปี สิ้น “หมอบุญส่ง เลขะกุล” นักนิยมไพรไทย ผู้บุกเบิกอนุรักษ์ป่าและสัตว์ จุดกำเนิดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 📅 ย้อนไปเมื่อ 33 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 ถือเป็นวันแห่งการสูญเสียครั้งสำคัญ ของวงการอนุรักษ์ธรรมชาติไทย เพราะเป็นวันที่ น.พ.บุญส่ง เลขะกุล หรือที่รู้จักกันในนาม “หมอบุญส่ง” จากโลกนี้ไปด้วย โรคหัวใจล้มเหลว ในวัย 85 ปี ณ โรงพยาบาลมเหสักข์ กรุงเทพมหานคร แต่ถึงแม้ร่างกายจะล่วงลับไปแล้ว ผลงานและอุดมการณ์ของท่านยังคงอยู่ และกลายเป็นรากฐานสำคัญ ของการอนุรักษ์ป่าไม้ และสัตว์ป่าของไทย หมอบุญส่งไม่ได้เป็นเพียง แพทย์ผู้รักษาผู้คน แต่ยังเป็นนักอนุรักษ์ นักเขียน นักถ่ายภาพ และจิตรกร ผู้เปี่ยมไปด้วย ความหลงใหลในธรรมชาติ ความมุ่งมั่นเป็นแรงผลักดันให้เกิดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และ กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า ที่ยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน 🌳🌿 🔎 น.พ.บุญส่ง เลขะกุล เกิดเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2467 ที่บ้านถนนนคร ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นบุตรของพระบริรักษ์เวชกรรม (พิน เลขะกุล) ซึ่งเป็นแพทย์ประจำจังหวัดสงขลา ทำให้หมอบุญส่ง เติบโตมาในครอบครัว ที่ให้ความสำคัญกับการศึกษา และความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ 📚 เส้นทางการศึกษา ✅ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช ✅ มัธยมศึกษาปีที่ 8 โรงเรียนเบญจมบพิตร (ปัจจุบันคือ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร) กรุงเทพฯ ✅ ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2476) หลังจากเรียนจบแพทย์ หมอบุญส่งได้เข้าสู่วงการแพทย์ แต่ขณะเดียวกัน ท่านก็เริ่มหลงใหลในธรรมชาติ เดินป่า สังเกตสัตว์ป่า และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ต่างๆ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นจุดเริ่มต้น ของการเป็นนักอนุรักษ์ อย่างเต็มตัว 🌿 จุดเริ่มต้นของการเป็นนักอนุรักษ์ ช่วงหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2484 - 2488) การล่าสัตว์เพื่อกีฬา ได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้ ไฟส่องสัตว์ และ อาวุธปืนทันสมัย ส่งผลให้ประชากรสัตว์ป่า ลดลงอย่างรวดเร็ว หมอบุญส่งเห็นว่าหากปล่อยไว้เช่นนี้ สัตว์ป่าของไทยจะสูญพันธุ์ จึงรวมตัวกับผู้ที่มีแนวคิดเดียวกัน ก่อตั้ง "นิยมไพรสมาคม" ขึ้นในปี พ.ศ. 2496 🏡 ศูนย์กลางของนิยมไพรสมาคม ตั้งอยู่ที่บ้านของหมอบุญส่งเอง (บ้านเลขที่ 4 ตรอกโรงภาษีเก่า ถนนเจริญกรุง กรุงเทพฯ) ซึ่งกลายเป็นแหล่งรวม ของผู้สนใจธรรมชาติ นักอนุรักษ์ และนักวิจัยทางด้านสัตว์ป่า 📖 เป้าหมายของนิยมไพรสมาคม ได้แก่ ✅ การให้ความรู้ และกระตุ้นจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ✅ การศึกษาพฤติกรรมสัตว์ป่า ✅ การผลักดันกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า ✅ การจัดทำ นิตยสารนิยมไพร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ เกี่ยวกับสัตว์ป่า หมอบุญส่งยังได้เดินป่า และเขียนหนังสือสารคดี เกี่ยวกับสัตว์ป่าหลายเล่ม เช่น 📗 สัตว์ป่าเมืองไทย 📘 วัวแดง 📕 แรดไทย 📗 ช้างไทย รวมถึงนวนิยายเกี่ยวกับสัตว์ป่า ที่สร้างชื่อเสียงที่สุด คือ "ชีวิตฉันลูกกระทิง" ซึ่งเคยถูกคัดเลือก เป็น หนังสืออ่านนอกเวลา สำหรับนักเรียน และได้รับการยกย่องเป็น 1 ใน 100 หนังสือดี ที่เด็กและเยาวชนไทยควรอ่าน ⚖️ ผลักดันกฎหมายอนุรักษ์สัตว์ป่า หมอบุญส่งไม่ได้เพียงแค่เขียนหนังสือ หรือเผยแพร่ความรู้ แต่ยังลงมือผลักดันให้เกิด กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย 📜 ในปี พ.ศ. 2502 หมอบุญส่ง และคณะนิยมไพรสมาคม ได้เข้าพบจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น เพื่อยื่นข้อเสนอให้มี มาตรการคุ้มครองทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่า 🎯 ผลที่ได้คือการออก พระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 และ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นกฎหมายสำคัญ ที่นำไปสู่การประกาศ อุทยานแห่งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เช่น 🌳 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ (พ.ศ. 2505) อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของไทย 🌲 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ (พ.ศ. 2508) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งแรกของไทย 👑 พระมหากรุณาธิคุณ และการยกย่องเชิดชูเกียรติ ในปี พ.ศ. 2526 หมอบุญส่งได้ร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์ ก่อตั้ง "มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่า และพรรณพืชแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ต่อมา ในปี พ.ศ. 2550 ได้มีการจัดงาน "100 ปี หมอบุญส่ง เลขะกุล" ณ สยามสมาคม เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดี และผลงานที่ได้ทำไว้ให้กับประเทศ 🎗️ แม้วันนี้ "หมอบุญส่ง เลขะกุล" จะจากโลกนี้ไปครบ 33 ปี แล้วก็ตาม แต่มรดกแห่งการอนุรักษ์ยังคงอยู่ ไม่ว่าจะเป็น ✅ กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า และอุทยานแห่งชาติ ✅ อุทยานและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ามากมาย ✅ หนังสือและบทความที่ช่วยปลูกฝังจิตสำนึกการอนุรักษ์ ✅ แรงบันดาลใจให้กับนักอนุรักษ์รุ่นใหม่ 💚 "ธรรมชาติไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นของลูกหลานทุกคนในอนาคต" หมอบุญส่ง เลขะกุล 🌏 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 091504 ก.พ. 2568 📌 #หมอบุญส่งเลขะกุล #อนุรักษ์สัตว์ป่า #ป่าไม้ไทย #นักนิยมไพร #อนุรักษ์ธรรมชาติ #สัตว์ป่า #ป่าต้องรอด #มรดกทางธรรมชาติ #33ปีหมอบุญส่ง #ธรรมชาติเพื่ออนาคต
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 388 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🚢 เทียบท่าที่ Valletta Cruise Port สัมผัสมนต์เสน่ห์แห่งมอลตา! 🇲🇹

    🌟 Valletta Cruise Port จุดหมายปลายทางที่ต้องมาเยือน! เมืองหลวงแห่งมอลตา เมืองมรดกโลกที่เต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมอันงดงาม และประวัติศาสตร์อันเก่าแก่

    ✅ มหาวิหารเซนต์จอห์น (St. John’s Co-Cathedral) :
    โบสถ์ที่มีความสำคัญทางศาสนาและวัฒนธรรมในมอลตา สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 16 โดยอัศวินแห่งเซนต์จอห์น ออกแบบในสไตล์บาโรก และภายในตกแต่งอย่างวิจิตรตระการตา ถือเป็นหนึ่งในตัวอย่างที่ดีที่สุดของศิลปะบาโรกในยุโรป

    ✅ สวนอัปเปอร์ บาร์รัคคา (Upper Barrakka Gardens) :
    สวนสาธารณะที่ตั้งอยู่บนจุดที่สูงที่สุดในเมืองวัลเลตตา สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 16 เพื่อเป็นพื้นที่พักผ่อนของอัศวินแห่งเซนต์จอห์น

    ✅ พระราชวังแกรนด์มาสเตอร์ (Grandmaster’s Palace) :
    พระราชวังแกรนด์มาสเตอร์สร้างขึ้นในปี 1571 เพื่อเป็นที่พำนักของ Grand Master แห่งอัศวินเซนต์จอห์น ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานประธานาธิบดีและรัฐสภามอลตา

    ✅ พิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งชาติ (National Museum of Archaeology) :
    พิพิธภัณฑ์แห่งนี้จัดแสดงโบราณวัตถุที่สำคัญจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ของมอลตา รวมถึงเครื่องมือหิน รูปปั้นขนาดเล็ก และแท่นบูชาจากวัดโบราณ ซึ่งสะท้อนถึงอดีตและวิถีชีวิตของผู้คนในสมัยโบราณที่เคยอาศัยอยู่บนเกาะนี้

    📩 สอบถามเพิ่มเติมหรือจองแพ็คเกจได้ทันที!
    https://cruisedomain.com/
    LINE ID: @CruiseDomain 78s.me/c54029
    Facebook: CruiseDomain 78s.me/b8a121
    Youtube : CruiseDomain 78s.me/8af620
    ☎️: 0 2116 9696

    #VallettaCruisePort #Malta #StJohnCoCathedral #UpperBarrakkaGardens #GrandmastersPalace #NationalMuseumofArchaeology #port #cruisedomain #thaitimes #News1 #คิงส์โพธิ์แดง #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    🚢 เทียบท่าที่ Valletta Cruise Port สัมผัสมนต์เสน่ห์แห่งมอลตา! 🇲🇹 🌟 Valletta Cruise Port จุดหมายปลายทางที่ต้องมาเยือน! เมืองหลวงแห่งมอลตา เมืองมรดกโลกที่เต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมอันงดงาม และประวัติศาสตร์อันเก่าแก่ ✅ มหาวิหารเซนต์จอห์น (St. John’s Co-Cathedral) : โบสถ์ที่มีความสำคัญทางศาสนาและวัฒนธรรมในมอลตา สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 16 โดยอัศวินแห่งเซนต์จอห์น ออกแบบในสไตล์บาโรก และภายในตกแต่งอย่างวิจิตรตระการตา ถือเป็นหนึ่งในตัวอย่างที่ดีที่สุดของศิลปะบาโรกในยุโรป ✅ สวนอัปเปอร์ บาร์รัคคา (Upper Barrakka Gardens) : สวนสาธารณะที่ตั้งอยู่บนจุดที่สูงที่สุดในเมืองวัลเลตตา สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 16 เพื่อเป็นพื้นที่พักผ่อนของอัศวินแห่งเซนต์จอห์น ✅ พระราชวังแกรนด์มาสเตอร์ (Grandmaster’s Palace) : พระราชวังแกรนด์มาสเตอร์สร้างขึ้นในปี 1571 เพื่อเป็นที่พำนักของ Grand Master แห่งอัศวินเซนต์จอห์น ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานประธานาธิบดีและรัฐสภามอลตา ✅ พิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งชาติ (National Museum of Archaeology) : พิพิธภัณฑ์แห่งนี้จัดแสดงโบราณวัตถุที่สำคัญจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ของมอลตา รวมถึงเครื่องมือหิน รูปปั้นขนาดเล็ก และแท่นบูชาจากวัดโบราณ ซึ่งสะท้อนถึงอดีตและวิถีชีวิตของผู้คนในสมัยโบราณที่เคยอาศัยอยู่บนเกาะนี้ 📩 สอบถามเพิ่มเติมหรือจองแพ็คเกจได้ทันที! https://cruisedomain.com/ LINE ID: @CruiseDomain 78s.me/c54029 Facebook: CruiseDomain 78s.me/b8a121 Youtube : CruiseDomain 78s.me/8af620 ☎️: 0 2116 9696 #VallettaCruisePort #Malta #StJohnCoCathedral #UpperBarrakkaGardens #GrandmastersPalace #NationalMuseumofArchaeology #port #cruisedomain #thaitimes #News1 #คิงส์โพธิ์แดง #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 309 มุมมอง 0 รีวิว
  • 129 ปี สิ้น “เจ้าเหมพินธุไพจิตร” เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ผู้ใฝ่ในเกษตรกรรม

    📅 ย้อนไปเมื่อ 129 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 นับเป็นวันที่ราชวงศ์ทิพย์จักร ต้องเผชิญกับความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ เมื่อ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 ได้เสด็จถึงแก่พิราลัย ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ รวมสิริชนมายุได้ 75 ปี แม้จะทรงครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจที่ทรงฝากไว้ ยังคงเป็นที่จดจำ โดยเฉพาะบทบาท ในการส่งเสริมการเกษตรกรรม และพัฒนานครลำพูน ให้เจริญรุ่งเรือง ✨

    🛕 จาก "เจ้าน้อยคำหยาด" สู่ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" 👑
    พระนามเดิมของ เจ้าเหมพินธุไพจิตร คือ "เจ้าน้อยคำหยาด" ประสูติในปี พ.ศ. 2364 ณ เมืองนครลำพูน พระองค์เป็นโอรสใน เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 6) กับ แม่เจ้าคำจ๋าราชเทวี และเป็นพระนัดดาของ พระยาคำฟั่น (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3)

    🩷 ราชอนุชาและราชขนิษฐา ของพระองค์ ได้แก่
    เจ้าหญิงแสน ณ ลำพูน (ชายา "เจ้าหนานยศ ณ ลำพูน")
    เจ้าน้อยบุ ณ ลำพูน
    เจ้าน้อยหล้า ณ ลำพูน (พิราลัยแต่เยาว์วัย)

    🏛 เส้นทางสู่ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครลำพูน 📜
    🔹 วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2405 ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง "เจ้าราชบุตร" เมืองนครลำพูน
    🔹 วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2418 ได้รับโปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็น "เจ้าอุปราช" เมืองนครลำพูน
    🔹 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437 ได้รับโปรดเกล้าฯ ขึ้นเป็น "เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8" ต่อจาก เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ ผู้เป็นราชเชษฐา ต่างพระราชมารดา

    พระนามเต็มของพระองค์ เมื่อขึ้นครองนครลำพูน คือ
    👉 "เจ้าเหมพินธุไพจิตร ศุภกิจเกียรติโศภน วิมลสัตยสวามิภักดิคุณ หริภุญไชยรัษฎารักษ ตทรรคเจดียบูชากร ราษฎรธุรธาดา เอกัจจโยนกาธิบดี"

    🚜 การเกษตรกรรม และระบบชลประทาน 🌾
    แม้จะครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเกษตรกรรม อย่างมาก พระองค์ทรงส่งเสริม ให้ราษฎรทำการเกษตร ในลักษณะที่มีการจัดการน้ำ อย่างเป็นระบบ เช่น
    ✅ สร้างเหมืองฝาย เพื่อทดน้ำเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก
    ✅ ขุดลอกเหมืองเก่า เพื่อให้น้ำไหลเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ได้ดีขึ้น
    ✅ ปรับปรุงที่ดอน ให้สามารถใช้เป็นพื้นที่เพาะปลูกได้

    💡 พระองค์มีพระราชดำริให้ราษฎร ปลูกข้าวเป็นพืชหลัก และเมื่อนาเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ก็ให้ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น เช่น หอม กระเทียม และใบยา เพื่อเพิ่มรายได้

    🛕 บำรุงพระพุทธศาสนา และโครงสร้างพื้นฐาน
    🙏 ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
    เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัด และส่งเสริมให้ราษฎร บำรุงพระพุทธศาสนา เช่น
    ✔️ บูรณะวัดเก่าแก่ ให้มีสภาพมั่นคงแข็งแรง
    ✔️ สร้างวิหาร กุฏิ และโบสถ์ ตามวัดสำคัญทั้งในเมือง และนอกเมืองลำพูน
    ✔️ ชักชวนราษฎรปั้นอิฐ ก่อกำแพงวัด และขุดสระน้ำในวัด

    🛤 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
    พระองค์ยังทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเมืองลำพูน ให้มีความสะดวกสบายมากขึ้น โดย
    🚧 สร้างสะพาน เพื่ออำนวยความสะดวก ในการเดินทาง
    🚧 ยกระดับถนนในหมู่บ้าน เพื่อให้ล้อเกวียนสัญจรได้สะดวก
    🚧 ขุดร่องระบายน้ำ เพื่อลดปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝน

    ⚰️ เสด็จสู่สวรรคาลัย และมรดกที่ฝากไว้
    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 เจ้าเหมพินธุไพจิตรทรงประชวร ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตด้วย สิริชนมายุ 75 ปี

    แม้รัชสมัยของพระองค์จะสั้นเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจของพระองค์ ยังคงปรากฏ เป็นมรดกที่สำคัญ ของลำพูน ทั้งในด้านเกษตรกรรม การบำรุงพระพุทธศาสนา และการพัฒนาเมือง

    🌟 รดกของเจ้าเหมพินธุไพจิตร
    ✅ ส่งเสริมการเกษตร และระบบชลประทาน
    ✅ ฟื้นฟู และบูรณะพระพุทธศาสนา
    ✅ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของนครลำพูน
    ✅ เป็นต้นแบบของผู้นำ ที่ใส่ใจประชาชน

    เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นบุคคลสำคัญ ที่ส่งผลต่อเมืองลำพูน ทั้งในด้านการเกษตร เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 🏞

    📌 คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
    ❓ เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่เท่าไหร่?
    ✅ พระองค์เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร

    ❓ พระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระองค์ คืออะไร?
    ✅ การส่งเสริมการเกษตร บูรณะพระพุทธศาสนา และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

    ❓ เหตุใดพระองค์จึงเสด็จสวรรคต?
    ✅ ทรงประชวรด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439

    ❓ พระองค์ครองนครลำพูนกี่ปี?
    ✅ ครองนครลำพูนเพียง 2 ปี (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2439)

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 052147 ก.พ. 2568

    🔖 #เจ้าเหมพินธุไพจิตร #นครลำพูน #ประวัติศาสตร์ไทย #ราชวงศ์ทิพย์จักร #เกษตรกรรม #วัฒนธรรมล้านนา #ผู้ปกครองล้านนา #เมืองลำพูน #เล่าเรื่องเมืองลำพูน #ล้านนาประวัติศาสตร์
    129 ปี สิ้น “เจ้าเหมพินธุไพจิตร” เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ผู้ใฝ่ในเกษตรกรรม 📅 ย้อนไปเมื่อ 129 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 นับเป็นวันที่ราชวงศ์ทิพย์จักร ต้องเผชิญกับความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ เมื่อ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 ได้เสด็จถึงแก่พิราลัย ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ รวมสิริชนมายุได้ 75 ปี แม้จะทรงครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจที่ทรงฝากไว้ ยังคงเป็นที่จดจำ โดยเฉพาะบทบาท ในการส่งเสริมการเกษตรกรรม และพัฒนานครลำพูน ให้เจริญรุ่งเรือง ✨ 🛕 จาก "เจ้าน้อยคำหยาด" สู่ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" 👑 พระนามเดิมของ เจ้าเหมพินธุไพจิตร คือ "เจ้าน้อยคำหยาด" ประสูติในปี พ.ศ. 2364 ณ เมืองนครลำพูน พระองค์เป็นโอรสใน เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 6) กับ แม่เจ้าคำจ๋าราชเทวี และเป็นพระนัดดาของ พระยาคำฟั่น (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3) 🩷 ราชอนุชาและราชขนิษฐา ของพระองค์ ได้แก่ เจ้าหญิงแสน ณ ลำพูน (ชายา "เจ้าหนานยศ ณ ลำพูน") เจ้าน้อยบุ ณ ลำพูน เจ้าน้อยหล้า ณ ลำพูน (พิราลัยแต่เยาว์วัย) 🏛 เส้นทางสู่ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครลำพูน 📜 🔹 วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2405 ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง "เจ้าราชบุตร" เมืองนครลำพูน 🔹 วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2418 ได้รับโปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็น "เจ้าอุปราช" เมืองนครลำพูน 🔹 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437 ได้รับโปรดเกล้าฯ ขึ้นเป็น "เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8" ต่อจาก เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ ผู้เป็นราชเชษฐา ต่างพระราชมารดา พระนามเต็มของพระองค์ เมื่อขึ้นครองนครลำพูน คือ 👉 "เจ้าเหมพินธุไพจิตร ศุภกิจเกียรติโศภน วิมลสัตยสวามิภักดิคุณ หริภุญไชยรัษฎารักษ ตทรรคเจดียบูชากร ราษฎรธุรธาดา เอกัจจโยนกาธิบดี" 🚜 การเกษตรกรรม และระบบชลประทาน 🌾 แม้จะครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเกษตรกรรม อย่างมาก พระองค์ทรงส่งเสริม ให้ราษฎรทำการเกษตร ในลักษณะที่มีการจัดการน้ำ อย่างเป็นระบบ เช่น ✅ สร้างเหมืองฝาย เพื่อทดน้ำเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ✅ ขุดลอกเหมืองเก่า เพื่อให้น้ำไหลเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ได้ดีขึ้น ✅ ปรับปรุงที่ดอน ให้สามารถใช้เป็นพื้นที่เพาะปลูกได้ 💡 พระองค์มีพระราชดำริให้ราษฎร ปลูกข้าวเป็นพืชหลัก และเมื่อนาเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ก็ให้ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น เช่น หอม กระเทียม และใบยา เพื่อเพิ่มรายได้ 🛕 บำรุงพระพุทธศาสนา และโครงสร้างพื้นฐาน 🙏 ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัด และส่งเสริมให้ราษฎร บำรุงพระพุทธศาสนา เช่น ✔️ บูรณะวัดเก่าแก่ ให้มีสภาพมั่นคงแข็งแรง ✔️ สร้างวิหาร กุฏิ และโบสถ์ ตามวัดสำคัญทั้งในเมือง และนอกเมืองลำพูน ✔️ ชักชวนราษฎรปั้นอิฐ ก่อกำแพงวัด และขุดสระน้ำในวัด 🛤 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พระองค์ยังทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเมืองลำพูน ให้มีความสะดวกสบายมากขึ้น โดย 🚧 สร้างสะพาน เพื่ออำนวยความสะดวก ในการเดินทาง 🚧 ยกระดับถนนในหมู่บ้าน เพื่อให้ล้อเกวียนสัญจรได้สะดวก 🚧 ขุดร่องระบายน้ำ เพื่อลดปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝน ⚰️ เสด็จสู่สวรรคาลัย และมรดกที่ฝากไว้ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 เจ้าเหมพินธุไพจิตรทรงประชวร ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตด้วย สิริชนมายุ 75 ปี แม้รัชสมัยของพระองค์จะสั้นเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจของพระองค์ ยังคงปรากฏ เป็นมรดกที่สำคัญ ของลำพูน ทั้งในด้านเกษตรกรรม การบำรุงพระพุทธศาสนา และการพัฒนาเมือง 🌟 รดกของเจ้าเหมพินธุไพจิตร ✅ ส่งเสริมการเกษตร และระบบชลประทาน ✅ ฟื้นฟู และบูรณะพระพุทธศาสนา ✅ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของนครลำพูน ✅ เป็นต้นแบบของผู้นำ ที่ใส่ใจประชาชน เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นบุคคลสำคัญ ที่ส่งผลต่อเมืองลำพูน ทั้งในด้านการเกษตร เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 🏞 📌 คำถามที่พบบ่อย (FAQs) ❓ เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่เท่าไหร่? ✅ พระองค์เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ❓ พระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระองค์ คืออะไร? ✅ การส่งเสริมการเกษตร บูรณะพระพุทธศาสนา และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ❓ เหตุใดพระองค์จึงเสด็จสวรรคต? ✅ ทรงประชวรด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 ❓ พระองค์ครองนครลำพูนกี่ปี? ✅ ครองนครลำพูนเพียง 2 ปี (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2439) ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 052147 ก.พ. 2568 🔖 #เจ้าเหมพินธุไพจิตร #นครลำพูน #ประวัติศาสตร์ไทย #ราชวงศ์ทิพย์จักร #เกษตรกรรม #วัฒนธรรมล้านนา #ผู้ปกครองล้านนา #เมืองลำพูน #เล่าเรื่องเมืองลำพูน #ล้านนาประวัติศาสตร์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 367 มุมมอง 0 รีวิว
  • แหล่งมรดกโลก ของ จีน
    แหล่งมรดกโลก ของ จีน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 147 มุมมอง 5 0 รีวิว
  • 💥ทัวร์ยุโรป - แกรนดืโปแลนด์ : ถ่ายรูปพระราชวังลาเซียนสกี้ - ปราสาทมัลบอร์ก - ถ่ายรูปมหาวิหารแห่งบิซดิกอส - จตุรัสเมืองเก่า - ถ่ายรูปคู่มหาวิทยาลัยวรอตสวัฟ - ค่ายกักกันเอาชวิตช์ - คราคูฟ (มรดกโลก) - เข้าชมเหมืองเกลือวีลิซกา (มรดกโลก) - เข้าชมพระราชวังวาเวล - เข้าชมมหาวิหารวาเวล - เข้าชมอารามจัสน่า กอรา - ย่านเมืองเก่าวอร์ซอว์ - เข้าชม พระราชวังหลวง

    💥อิ่มอร่อยกับอาหารพื้นเมืองตลอดการเดินทาง 💥 พักค้างเมืองคราคูฟ 2 คืน 💥 รวมค่าวีซ่าแล้ว

    📍 ช่วงวันเดินทาง : เม.ย.-ต.ค.68
    ⭕️ราคาเริ่มต้น : 129,900
    📢 ระดับทัวร์ : ทัวร์คุณภาพระดับมาตรฐาน
    📢 รหัสทัวร์ : Z11925
    🏢 โรงแรม : ⭐️⭐️⭐️⭐️
    ✈️ สายการบิน : QR-กาตาร์แอร์เวย์

    ✔️Travel License: 11/11450
    ✔️โอนบัญชีชื่อ บริษัท วีอาร์ เอเจนซี ทราเวล แอนด์ เทรด จำกัด เท่านั้น

    ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
    https://78s.me/e12d07

    ดูทัวร์ยุโรปทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/7e5d16

    ดูทัวร์ยุโรปตะวันออกทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/405215

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์ยุโรปตะวันออก #ทัวร์ต่างประเทศ #ทัวร์โปรไฟไหม้ #ทัวร์ไฟไหม้ #ทัวร์ที่หลุด #ท่องเที่ยว #เที่ยว #ทัวร์ทั่วโลก #linetoday #linetimeline #linevoom #line #etravelway
    💥ทัวร์ยุโรป - แกรนดืโปแลนด์ : ถ่ายรูปพระราชวังลาเซียนสกี้ - ปราสาทมัลบอร์ก - ถ่ายรูปมหาวิหารแห่งบิซดิกอส - จตุรัสเมืองเก่า - ถ่ายรูปคู่มหาวิทยาลัยวรอตสวัฟ - ค่ายกักกันเอาชวิตช์ - คราคูฟ (มรดกโลก) - เข้าชมเหมืองเกลือวีลิซกา (มรดกโลก) - เข้าชมพระราชวังวาเวล - เข้าชมมหาวิหารวาเวล - เข้าชมอารามจัสน่า กอรา - ย่านเมืองเก่าวอร์ซอว์ - เข้าชม พระราชวังหลวง 💥อิ่มอร่อยกับอาหารพื้นเมืองตลอดการเดินทาง 💥 พักค้างเมืองคราคูฟ 2 คืน 💥 รวมค่าวีซ่าแล้ว 📍 ช่วงวันเดินทาง : เม.ย.-ต.ค.68 ⭕️ราคาเริ่มต้น : 129,900 📢 ระดับทัวร์ : ทัวร์คุณภาพระดับมาตรฐาน 📢 รหัสทัวร์ : Z11925 🏢 โรงแรม : ⭐️⭐️⭐️⭐️ ✈️ สายการบิน : QR-กาตาร์แอร์เวย์ ✔️Travel License: 11/11450 ✔️โอนบัญชีชื่อ บริษัท วีอาร์ เอเจนซี ทราเวล แอนด์ เทรด จำกัด เท่านั้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://78s.me/e12d07 ดูทัวร์ยุโรปทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/7e5d16 ดูทัวร์ยุโรปตะวันออกทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/405215 LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์ยุโรปตะวันออก #ทัวร์ต่างประเทศ #ทัวร์โปรไฟไหม้ #ทัวร์ไฟไหม้ #ทัวร์ที่หลุด #ท่องเที่ยว #เที่ยว #ทัวร์ทั่วโลก #linetoday #linetimeline #linevoom #line #etravelway
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 367 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥ทัวร์ยุโรป - แกรนดืโปแลนด์ : ถ่ายรูปพระราชวังลาเซียนสกี้ - ปราสาทมัลบอร์ก - ถ่ายรูปมหาวิหารแห่งบิซดิกอส - จตุรัสเมืองเก่า - ถ่ายรูปคู่มหาวิทยาลัยวรอตสวัฟ - ค่ายกักกันเอาชวิตช์ - คราคูฟ (มรดกโลก) - เข้าชมเหมืองเกลือวีลิซกา (มรดกโลก) - เข้าชมพระราชวังวาเวล - เข้าชมมหาวิหารวาเวล - เข้าชมอารามจัสน่า กอรา - ย่านเมืองเก่าวอร์ซอว์ - เข้าชม พระราชวังหลวง

    💥อิ่มอร่อยกับอาหารพื้นเมืองตลอดการเดินทาง 💥 พักค้างเมืองคราคูฟ 2 คืน 💥 รวมค่าวีซ่าแล้ว

    📍 ช่วงวันเดินทาง : เม.ย.-ต.ค.68
    ⭕️ราคาเริ่มต้น : 129,900
    📢 ระดับทัวร์ : ทัวร์คุณภาพระดับมาตรฐาน
    📢 รหัสทัวร์ : Z11925
    🏢 โรงแรม : ⭐️⭐️⭐️⭐️
    ✈️ สายการบิน : QR-กาตาร์แอร์เวย์

    ✔️Travel License: 11/11450
    ✔️โอนบัญชีชื่อ บริษัท วีอาร์ เอเจนซี ทราเวล แอนด์ เทรด จำกัด เท่านั้น

    ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
    https://78s.me/e12d07

    ดูทัวร์ยุโรปทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/7e5d16

    ดูทัวร์ยุโรปตะวันออกทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/405215

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์ยุโรปตะวันออก #ทัวร์ต่างประเทศ #ทัวร์โปรไฟไหม้ #ทัวร์ไฟไหม้ #ทัวร์ที่หลุด #ท่องเที่ยว #เที่ยว #ทัวร์ทั่วโลก #linetoday #linetimeline #linevoom #line #etravelway #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์พรีเมี่ยม #ทัวร์ลดราคา #ทัวร์ราคาถูก #ทัวร์ถูก
    💥ทัวร์ยุโรป - แกรนดืโปแลนด์ : ถ่ายรูปพระราชวังลาเซียนสกี้ - ปราสาทมัลบอร์ก - ถ่ายรูปมหาวิหารแห่งบิซดิกอส - จตุรัสเมืองเก่า - ถ่ายรูปคู่มหาวิทยาลัยวรอตสวัฟ - ค่ายกักกันเอาชวิตช์ - คราคูฟ (มรดกโลก) - เข้าชมเหมืองเกลือวีลิซกา (มรดกโลก) - เข้าชมพระราชวังวาเวล - เข้าชมมหาวิหารวาเวล - เข้าชมอารามจัสน่า กอรา - ย่านเมืองเก่าวอร์ซอว์ - เข้าชม พระราชวังหลวง 💥อิ่มอร่อยกับอาหารพื้นเมืองตลอดการเดินทาง 💥 พักค้างเมืองคราคูฟ 2 คืน 💥 รวมค่าวีซ่าแล้ว 📍 ช่วงวันเดินทาง : เม.ย.-ต.ค.68 ⭕️ราคาเริ่มต้น : 129,900 📢 ระดับทัวร์ : ทัวร์คุณภาพระดับมาตรฐาน 📢 รหัสทัวร์ : Z11925 🏢 โรงแรม : ⭐️⭐️⭐️⭐️ ✈️ สายการบิน : QR-กาตาร์แอร์เวย์ ✔️Travel License: 11/11450 ✔️โอนบัญชีชื่อ บริษัท วีอาร์ เอเจนซี ทราเวล แอนด์ เทรด จำกัด เท่านั้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://78s.me/e12d07 ดูทัวร์ยุโรปทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/7e5d16 ดูทัวร์ยุโรปตะวันออกทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/405215 LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์ยุโรปตะวันออก #ทัวร์ต่างประเทศ #ทัวร์โปรไฟไหม้ #ทัวร์ไฟไหม้ #ทัวร์ที่หลุด #ท่องเที่ยว #เที่ยว #ทัวร์ทั่วโลก #linetoday #linetimeline #linevoom #line #etravelway #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์พรีเมี่ยม #ทัวร์ลดราคา #ทัวร์ราคาถูก #ทัวร์ถูก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 410 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥ทัวร์ยุโรป - แกรนดืโปแลนด์ : ถ่ายรูปพระราชวังลาเซียนสกี้ - ปราสาทมัลบอร์ก - ถ่ายรูปมหาวิหารแห่งบิซดิกอส - จตุรัสเมืองเก่า - ถ่ายรูปคู่มหาวิทยาลัยวรอตสวัฟ - ค่ายกักกันเอาชวิตช์ - คราคูฟ (มรดกโลก) - เข้าชมเหมืองเกลือวีลิซกา (มรดกโลก) - เข้าชมพระราชวังวาเวล - เข้าชมมหาวิหารวาเวล - เข้าชมอารามจัสน่า กอรา - ย่านเมืองเก่าวอร์ซอว์ - เข้าชม พระราชวังหลวง

    💥อิ่มอร่อยกับอาหารพื้นเมืองตลอดการเดินทาง 💥 พักค้างเมืองคราคูฟ 2 คืน 💥 รวมค่าวีซ่าแล้ว

    📍 ช่วงวันเดินทาง : เม.ย.-ต.ค.68
    ⭕️ราคาเริ่มต้น : 129,900
    📢 ระดับทัวร์ : ทัวร์คุณภาพระดับมาตรฐาน
    📢 รหัสทัวร์ : Z11925
    🏢 โรงแรม : ⭐️⭐️⭐️⭐️
    ✈️ สายการบิน : QR-กาตาร์แอร์เวย์

    ✔️Travel License: 11/11450
    ✔️โอนบัญชีชื่อ บริษัท วีอาร์ เอเจนซี ทราเวล แอนด์ เทรด จำกัด เท่านั้น

    ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
    https://78s.me/e12d07

    ดูทัวร์ยุโรปทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/7e5d16

    ดูทัวร์ยุโรปตะวันออกทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/405215

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์ยุโรปตะวันออก #ทัวร์ต่างประเทศ #ทัวร์โปรไฟไหม้ #ทัวร์ไฟไหม้ #ทัวร์ที่หลุด #ท่องเที่ยว #เที่ยว #ทัวร์ทั่วโลก #linetoday #linetimeline #linevoom #line #etravelway #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์พรีเมี่ยม #ทัวร์ลดราคา #ทัวร์ราคาถูก #ทัวร์ถูก #ทัวร์คุณภาพ #ทัวร์สุดคุ้ม #แพคเกจทัวร์ต่างประเทศ #กรุ๊ปเหมา
    💥ทัวร์ยุโรป - แกรนดืโปแลนด์ : ถ่ายรูปพระราชวังลาเซียนสกี้ - ปราสาทมัลบอร์ก - ถ่ายรูปมหาวิหารแห่งบิซดิกอส - จตุรัสเมืองเก่า - ถ่ายรูปคู่มหาวิทยาลัยวรอตสวัฟ - ค่ายกักกันเอาชวิตช์ - คราคูฟ (มรดกโลก) - เข้าชมเหมืองเกลือวีลิซกา (มรดกโลก) - เข้าชมพระราชวังวาเวล - เข้าชมมหาวิหารวาเวล - เข้าชมอารามจัสน่า กอรา - ย่านเมืองเก่าวอร์ซอว์ - เข้าชม พระราชวังหลวง 💥อิ่มอร่อยกับอาหารพื้นเมืองตลอดการเดินทาง 💥 พักค้างเมืองคราคูฟ 2 คืน 💥 รวมค่าวีซ่าแล้ว 📍 ช่วงวันเดินทาง : เม.ย.-ต.ค.68 ⭕️ราคาเริ่มต้น : 129,900 📢 ระดับทัวร์ : ทัวร์คุณภาพระดับมาตรฐาน 📢 รหัสทัวร์ : Z11925 🏢 โรงแรม : ⭐️⭐️⭐️⭐️ ✈️ สายการบิน : QR-กาตาร์แอร์เวย์ ✔️Travel License: 11/11450 ✔️โอนบัญชีชื่อ บริษัท วีอาร์ เอเจนซี ทราเวล แอนด์ เทรด จำกัด เท่านั้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://78s.me/e12d07 ดูทัวร์ยุโรปทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/7e5d16 ดูทัวร์ยุโรปตะวันออกทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/405215 LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์ยุโรปตะวันออก #ทัวร์ต่างประเทศ #ทัวร์โปรไฟไหม้ #ทัวร์ไฟไหม้ #ทัวร์ที่หลุด #ท่องเที่ยว #เที่ยว #ทัวร์ทั่วโลก #linetoday #linetimeline #linevoom #line #etravelway #ทัวร์ยุโรป #ทัวร์พรีเมี่ยม #ทัวร์ลดราคา #ทัวร์ราคาถูก #ทัวร์ถูก #ทัวร์คุณภาพ #ทัวร์สุดคุ้ม #แพคเกจทัวร์ต่างประเทศ #กรุ๊ปเหมา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 432 มุมมอง 0 รีวิว
  • 77 ปี ลอบสังหาร “มหาตมา คานธี” นักต่อสู้ผู้ไร้อาวุธ ผู้บุกเบิกแนวคิด “สัตยาเคราะห์”

    “ตาต่อตาฟันต่อฟัน จะทำให้ทั้งโลกมืดบอด” มหาตมา คานธี

    ย้อนไปเมื่อ 77 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2491 นับเป็นวันที่โลกต้องจารึก เมื่อ "มหาตมา คานธี" ผู้นำทางจิตวิญญาณ และนักต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย ถูกลอบสังหารขณะอายุ 78 ปี ภายในบริเวณบ้านพิรลา ในกรุงนิวเดลี เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงเป็นจุดสิ้นสุดของชีวิต บุคคลผู้เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ของประวัติศาสตร์อินเดีย และขบวนการเคลื่อนไหว เพื่อสิทธิพลเมืองทั่วโลก

    โศกนาฏกรรมแห่งสันติ วันสุดท้ายของมหาตมา คานธี
    ช่วงเย็นของวันที่ 30 มกราคม 2491 "มหาตมา คานธี" เดินไปยังสวนหลังบ้านพิรลา ซึ่งเป็นสถานที่ ที่เขาใช้จัดการสวดภาวนา เป็นประจำทุกเย็น ท่ามกลางฝูงชน ที่มารอฟังคำสอนของเขา "นถูราม โคฑเส" ชายวัย 30 ปี ผู้เป็นสมาชิกกลุ่มชาตินิยมฮินดู ได้แฝงตัวเข้ามาในฝูงชน และเมื่อคานธี เดินลงจากปะรำพิธี โคฑเสก็ฉวยโอกาส ก้าวออกมากั้นทาง แล้วลั่นไกปืน สามนัดยิงเข้าที่อก และท้องของคานธีระยะเผาขน

    เสียงปืนนั้น เปรียบเสมือนเสียงสะเทือน แห่งประวัติศาสตร์...
    "มหาตมา คานธี" ทรุดลงกับพื้น และกล่าวเพียงว่า "เฮ ราม" (โอ้ พระเจ้า!) ก่อนหมดสติ และจากไปในที่สุด

    เหตุใดโคฑเส จึงลอบสังหารคานธี?
    "นถูราม โคฑเส" เป็นนักชาตินิยมฮินดู และเป็นสมาชิกของ ราษฏรียสวยัมเสวักสงฆ์ (RSS) กลุ่มขวาจัด ที่สนับสนุนการปกครองโดยชาวฮินดู โคฑเสเชื่อว่า คานธีให้ความช่วยเหลือชาวมุสลิม มากเกินไป และมีบทบาทสำคัญ ในการสนับสนุน การแยกดินแดนอินเดีย และปากีสถาน

    เขาเห็นว่าคานธีเป็นอุปสรรค ต่อความเป็นเอกภาพ ของชาวฮินดูในอินเดีย และการที่คานธี เรียกร้องให้รัฐบาลอินเดียส่งเงิน 550 ล้านรูปี ให้กับปากีสถาน ยิ่งทำให้เขาโกรธแค้น

    หลังการสังหาร โคฑเสถูกจับกุมทันที และถูกนำตัวขึ้นศาล พร้อมกับผู้สมรู้ร่วมคิดอีกหลายคน ในที่สุด เขาถูกตัดสินประหารชีวิต และถูกแขวนคอ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2492

    บุรุษผู้เปลี่ยนแปลงโลกด้วยสันติวิธี ต้นกำเนิดของนักต่อสู้ผู้ยิ่งใหญ่
    "มหาตมา คานธี" หรือ "โมหนทาส กรมจันท์ คานธี" เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2412 ที่รัฐคุชราต ประเทศอินเดีย เติบโตมาในครอบครัวชาวฮินดู และเดินทางไปศึกษากฎหมายที่ อินเนอร์เทมเพิล ลอนดอน ก่อนกลับมาอินเดีย

    ค้นพบ “สัตยาเคราะห์” บนแผ่นดินแอฟริกาใต้
    ขณะที่คานธีทำงานเป็นทนาย ในแอฟริกาใต้ เขาประสบเหตุการณ์เหยียดเชื้อชาติ เมื่อเขาถูกไล่ออกจากตู้รถไฟชั้นหนึ่ง เพียงเพราะเป็นชาวอินเดีย เหตุการณ์นี้ ทำให้คานธี ตระหนักถึงความอยุติธรรม และจุดประกายให้เขาต่อสู้ เพื่อสิทธิพลเมือง

    คานธีพัฒนาแนวคิด “สัตยาเคราะห์” (Satyagraha) ซึ่งหมายถึง “การยึดมั่นในสัจจะ” หรือ “การต่อต้านโดยสันติวิธี” โดยมุ่งเน้นการใช้ความจริง ความรัก และความไม่รุนแรง เป็นอาวุธหลัก

    สัตยาเคราะห์ พลังแห่งสัจจะและสันติ
    สัตยาเคราะห์เป็นหัวใจสำคัญ ในการต่อสู้ของคานธี เพื่อปลดแอกอินเดียจากอังกฤษ โดยมีหลักการสำคัญ ได้แก่

    1. อหิงสา (Ahimsa) การไม่ใช้ความรุนแรง
    คานธีเชื่อว่า ความรุนแรงก่อให้เกิดความเกลียดชัง และการแก้แค้นที่ไม่มีที่สิ้นสุด

    2. สัจจะ (Satya) ความจริง
    เขาเชื่อว่าความจริงคือสิ่งสูงสุด และคนที่ยึดมั่นในความจริง จะได้รับชัยชนะเสมอ

    3. ตบะ (Tapasya) ความอดทนและเสียสละ
    คานธีอดอาหารประท้วงหลายครั้ง เพื่อเรียกร้องความยุติธรรม ให้กับคนทุกศาสนา

    ขบวนการอิสระของอินเดีย จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์
    เดินขบวนเกลือ (Salt March) ปี 2473
    คานธีนำประชาชนเดินเท้า เป็นระยะทางกว่า 400 กิโลเมตร เพื่อประท้วงกฎหมายภาษีเกลือ ของอังกฤษ ซึ่งเป็นหนึ่งในขบวนการต่อต้าน ที่ทรงพลังที่สุด

    ขบวนการ “ออกจากอินเดีย” (Quit India Movement) ปี 2485
    คานธีเรียกร้องให้อังกฤษ ถอนตัวจากอินเดีย โดยไม่มีเงื่อนไข ทำให้อังกฤษจับกุมเขา และผู้สนับสนุนจำนวนมาก

    ในที่สุด วันที่ 15 สิงหาคม 2490 อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษ แต่ต้องแลกมา ด้วยการแบ่งประเทศเป็นอินเดีย และปากีสถาน ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้ง และการอพยพครั้งใหญ่

    มรดกของมหาตมา คานธี อิทธิพลต่อโลก
    แม้จะถูกลอบสังหาร แต่แนวคิดของคานธี ได้เป็นแรงบันดาลใจ ให้ขบวนการเรียกร้องสิทธิพลเมือง ทั่วโลก เช่น

    ✅ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ขบวนการสิทธิพลเมือง ของคนผิวดำในอเมริกา
    ✅ เนลสัน แมนเดลา การต่อต้านการแบ่งแยกสีผิว ในแอฟริกาใต้
    ✅ ดาไลลามะ การต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพ ของทิเบต

    คานธี กับบทเรียนแห่งสันติ
    การลอบสังหารมหาตมา คานธี เป็นโศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ แต่แนวคิดของเขายังคงอยู่ และเป็นแรงบันดาลใจ ให้ผู้คนทั่วโลก

    🌏 ความจริงและสันติวิธี เป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในการเปลี่ยนแปลงโลก
    🙏 อหิงสา ไม่ใช่ความอ่อนแอ แต่คือความกล้าหาญ ในการให้อภัย
    💡 สัตยาเคราะห์ เป็นเครื่องมือแห่งการต่อสู้ เพื่อความยุติธรรม

    77 ปี ผ่านไป... ชื่อของคานธี ยังคงเป็นสัญลักษณ์ แห่งสันติภาพ 🕊️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 300857 ม.ค. 2568

    #MahatmaGandhi #Gandhi77Years #Satyagraha #อหิงสา #สันติวิธี #IndiaIndependence #PeaceMovement #QuitIndia #GandhiPhilosophy #GandhiLegacy
    77 ปี ลอบสังหาร “มหาตมา คานธี” นักต่อสู้ผู้ไร้อาวุธ ผู้บุกเบิกแนวคิด “สัตยาเคราะห์” “ตาต่อตาฟันต่อฟัน จะทำให้ทั้งโลกมืดบอด” มหาตมา คานธี ย้อนไปเมื่อ 77 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2491 นับเป็นวันที่โลกต้องจารึก เมื่อ "มหาตมา คานธี" ผู้นำทางจิตวิญญาณ และนักต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย ถูกลอบสังหารขณะอายุ 78 ปี ภายในบริเวณบ้านพิรลา ในกรุงนิวเดลี เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงเป็นจุดสิ้นสุดของชีวิต บุคคลผู้เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ของประวัติศาสตร์อินเดีย และขบวนการเคลื่อนไหว เพื่อสิทธิพลเมืองทั่วโลก โศกนาฏกรรมแห่งสันติ วันสุดท้ายของมหาตมา คานธี ช่วงเย็นของวันที่ 30 มกราคม 2491 "มหาตมา คานธี" เดินไปยังสวนหลังบ้านพิรลา ซึ่งเป็นสถานที่ ที่เขาใช้จัดการสวดภาวนา เป็นประจำทุกเย็น ท่ามกลางฝูงชน ที่มารอฟังคำสอนของเขา "นถูราม โคฑเส" ชายวัย 30 ปี ผู้เป็นสมาชิกกลุ่มชาตินิยมฮินดู ได้แฝงตัวเข้ามาในฝูงชน และเมื่อคานธี เดินลงจากปะรำพิธี โคฑเสก็ฉวยโอกาส ก้าวออกมากั้นทาง แล้วลั่นไกปืน สามนัดยิงเข้าที่อก และท้องของคานธีระยะเผาขน เสียงปืนนั้น เปรียบเสมือนเสียงสะเทือน แห่งประวัติศาสตร์... "มหาตมา คานธี" ทรุดลงกับพื้น และกล่าวเพียงว่า "เฮ ราม" (โอ้ พระเจ้า!) ก่อนหมดสติ และจากไปในที่สุด เหตุใดโคฑเส จึงลอบสังหารคานธี? "นถูราม โคฑเส" เป็นนักชาตินิยมฮินดู และเป็นสมาชิกของ ราษฏรียสวยัมเสวักสงฆ์ (RSS) กลุ่มขวาจัด ที่สนับสนุนการปกครองโดยชาวฮินดู โคฑเสเชื่อว่า คานธีให้ความช่วยเหลือชาวมุสลิม มากเกินไป และมีบทบาทสำคัญ ในการสนับสนุน การแยกดินแดนอินเดีย และปากีสถาน เขาเห็นว่าคานธีเป็นอุปสรรค ต่อความเป็นเอกภาพ ของชาวฮินดูในอินเดีย และการที่คานธี เรียกร้องให้รัฐบาลอินเดียส่งเงิน 550 ล้านรูปี ให้กับปากีสถาน ยิ่งทำให้เขาโกรธแค้น หลังการสังหาร โคฑเสถูกจับกุมทันที และถูกนำตัวขึ้นศาล พร้อมกับผู้สมรู้ร่วมคิดอีกหลายคน ในที่สุด เขาถูกตัดสินประหารชีวิต และถูกแขวนคอ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2492 บุรุษผู้เปลี่ยนแปลงโลกด้วยสันติวิธี ต้นกำเนิดของนักต่อสู้ผู้ยิ่งใหญ่ "มหาตมา คานธี" หรือ "โมหนทาส กรมจันท์ คานธี" เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2412 ที่รัฐคุชราต ประเทศอินเดีย เติบโตมาในครอบครัวชาวฮินดู และเดินทางไปศึกษากฎหมายที่ อินเนอร์เทมเพิล ลอนดอน ก่อนกลับมาอินเดีย ค้นพบ “สัตยาเคราะห์” บนแผ่นดินแอฟริกาใต้ ขณะที่คานธีทำงานเป็นทนาย ในแอฟริกาใต้ เขาประสบเหตุการณ์เหยียดเชื้อชาติ เมื่อเขาถูกไล่ออกจากตู้รถไฟชั้นหนึ่ง เพียงเพราะเป็นชาวอินเดีย เหตุการณ์นี้ ทำให้คานธี ตระหนักถึงความอยุติธรรม และจุดประกายให้เขาต่อสู้ เพื่อสิทธิพลเมือง คานธีพัฒนาแนวคิด “สัตยาเคราะห์” (Satyagraha) ซึ่งหมายถึง “การยึดมั่นในสัจจะ” หรือ “การต่อต้านโดยสันติวิธี” โดยมุ่งเน้นการใช้ความจริง ความรัก และความไม่รุนแรง เป็นอาวุธหลัก สัตยาเคราะห์ พลังแห่งสัจจะและสันติ สัตยาเคราะห์เป็นหัวใจสำคัญ ในการต่อสู้ของคานธี เพื่อปลดแอกอินเดียจากอังกฤษ โดยมีหลักการสำคัญ ได้แก่ 1. อหิงสา (Ahimsa) การไม่ใช้ความรุนแรง คานธีเชื่อว่า ความรุนแรงก่อให้เกิดความเกลียดชัง และการแก้แค้นที่ไม่มีที่สิ้นสุด 2. สัจจะ (Satya) ความจริง เขาเชื่อว่าความจริงคือสิ่งสูงสุด และคนที่ยึดมั่นในความจริง จะได้รับชัยชนะเสมอ 3. ตบะ (Tapasya) ความอดทนและเสียสละ คานธีอดอาหารประท้วงหลายครั้ง เพื่อเรียกร้องความยุติธรรม ให้กับคนทุกศาสนา ขบวนการอิสระของอินเดีย จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์ เดินขบวนเกลือ (Salt March) ปี 2473 คานธีนำประชาชนเดินเท้า เป็นระยะทางกว่า 400 กิโลเมตร เพื่อประท้วงกฎหมายภาษีเกลือ ของอังกฤษ ซึ่งเป็นหนึ่งในขบวนการต่อต้าน ที่ทรงพลังที่สุด ขบวนการ “ออกจากอินเดีย” (Quit India Movement) ปี 2485 คานธีเรียกร้องให้อังกฤษ ถอนตัวจากอินเดีย โดยไม่มีเงื่อนไข ทำให้อังกฤษจับกุมเขา และผู้สนับสนุนจำนวนมาก ในที่สุด วันที่ 15 สิงหาคม 2490 อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษ แต่ต้องแลกมา ด้วยการแบ่งประเทศเป็นอินเดีย และปากีสถาน ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้ง และการอพยพครั้งใหญ่ มรดกของมหาตมา คานธี อิทธิพลต่อโลก แม้จะถูกลอบสังหาร แต่แนวคิดของคานธี ได้เป็นแรงบันดาลใจ ให้ขบวนการเรียกร้องสิทธิพลเมือง ทั่วโลก เช่น ✅ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ขบวนการสิทธิพลเมือง ของคนผิวดำในอเมริกา ✅ เนลสัน แมนเดลา การต่อต้านการแบ่งแยกสีผิว ในแอฟริกาใต้ ✅ ดาไลลามะ การต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพ ของทิเบต คานธี กับบทเรียนแห่งสันติ การลอบสังหารมหาตมา คานธี เป็นโศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ แต่แนวคิดของเขายังคงอยู่ และเป็นแรงบันดาลใจ ให้ผู้คนทั่วโลก 🌏 ความจริงและสันติวิธี เป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในการเปลี่ยนแปลงโลก 🙏 อหิงสา ไม่ใช่ความอ่อนแอ แต่คือความกล้าหาญ ในการให้อภัย 💡 สัตยาเคราะห์ เป็นเครื่องมือแห่งการต่อสู้ เพื่อความยุติธรรม 77 ปี ผ่านไป... ชื่อของคานธี ยังคงเป็นสัญลักษณ์ แห่งสันติภาพ 🕊️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 300857 ม.ค. 2568 #MahatmaGandhi #Gandhi77Years #Satyagraha #อหิงสา #สันติวิธี #IndiaIndependence #PeaceMovement #QuitIndia #GandhiPhilosophy #GandhiLegacy
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 652 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ตามรอยช้าง สร้างเชียงราย”

    ตามรอยเท้าช้าง ฝ่าป่าไพร พญามังราย ทรงเห็นความงาม ริมฝั่งน้ำแม่กก ทิวเขาสยาม สร้างเมืองเชียงราย ใต้ฟ้าล้านนา

    * โอ้เชียงราย เมืองแห่งใจศรัทธา เวียงล้อมดอยจอมทอง ฟ้าส่องจันทร์มา กษัตริย์ผู้กล้า ทรงนำปัญญา มรดกล้านนา อยู่คู่ฟ้าธารา

    จากหิรัญนคร สู่ฝันอันไกล สร้างศูนย์กลางใหม่ เชียงใหม่ยังคง แต่เชียงราย รากฐานมั่นคง พญามังราย ทรงจารึกไว้

    ซ้ำ *

    แผ่นดินล้านนา ศักดิ์สิทธิ์ล้ำค่า พญามังราย ผู้สร้างตำนาน เมืองเชียงราย เปล่งแสงนิรันดร์ เล่าขานตำนาน สู่ชนรุ่นใหม่

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 261151 ม.ค. 2568

    #ตามรอยช้างสร้างเมืองเชียงราย #พญามังราย #ล้านนาคู่ฟ้า #เวียงรอบดอยจอมทอง #มรดกล้านนา #ศรัทธาเชียงราย
    “ตามรอยช้าง สร้างเชียงราย” ตามรอยเท้าช้าง ฝ่าป่าไพร พญามังราย ทรงเห็นความงาม ริมฝั่งน้ำแม่กก ทิวเขาสยาม สร้างเมืองเชียงราย ใต้ฟ้าล้านนา * โอ้เชียงราย เมืองแห่งใจศรัทธา เวียงล้อมดอยจอมทอง ฟ้าส่องจันทร์มา กษัตริย์ผู้กล้า ทรงนำปัญญา มรดกล้านนา อยู่คู่ฟ้าธารา จากหิรัญนคร สู่ฝันอันไกล สร้างศูนย์กลางใหม่ เชียงใหม่ยังคง แต่เชียงราย รากฐานมั่นคง พญามังราย ทรงจารึกไว้ ซ้ำ * แผ่นดินล้านนา ศักดิ์สิทธิ์ล้ำค่า พญามังราย ผู้สร้างตำนาน เมืองเชียงราย เปล่งแสงนิรันดร์ เล่าขานตำนาน สู่ชนรุ่นใหม่ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 261151 ม.ค. 2568 #ตามรอยช้างสร้างเมืองเชียงราย #พญามังราย #ล้านนาคู่ฟ้า #เวียงรอบดอยจอมทอง #มรดกล้านนา #ศรัทธาเชียงราย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 373 มุมมอง 32 0 รีวิว
  • 763 ปีพญามังรายสร้าง “เมืองเชียงราย” หลังเสด็จตามรอยเท้าช้าง สร้างเวียงรอบดอยจอมทอง

    "เชียงราย" เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 763 ปี โดยถือกำเนิดขึ้นในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 1805 ตามบันทึกตำนานพื้นเมือง พญามังรายทรงเสด็จตามรอยเท้าช้าง มาทางทิศตะวันออก ก่อนจะเลือกชัยภูมิริมฝั่งแม่น้ำกก และดอยจอมทองในการก่อตั้งเมืองเชียงรายแห่งนี้ โดยสร้างเป็นเวียงล้อมรอบดอยจอมทองให้มีความมั่นคง และเป็นศูนย์กลางการปกครอง ในยุคนั้น

    เมืองเชียงราย ไม่ได้เป็นเพียงแค่เมืองประวัติศาสตร์ แต่ยังสะท้อนถึงภูมิปัญญา และความเฉลียวฉลาดของพญามังราย ในการเลือกพื้นที่ ที่เหมาะสมสำหรับการตั้งถิ่นฐาน ซึ่งยังคงมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเมือง มาจนถึงปัจจุบัน 🌄

    พญามังราย ราชาผู้ก่อตั้งล้านนา
    "พญามังราย" หรือที่รู้จักกันในนาม "ปฐมกษัตริย์แห่งล้านนา" เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้าง และขยายอาณาจักรล้านนา พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ ในปี พ.ศ. 1802 เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 25 แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงลาว โดยตลอดรัชสมัย พระองค์ได้สร้างเมืองสำคัญหลายแห่ง เช่น

    - เมืองเชียงราย ศูนย์กลางการปกครองแห่งแรก ของพระองค์
    - เวียงกุมกาม เมืองต้นแบบก่อนการสร้างเชียงใหม่
    - เมืองเชียงใหม่ เมืองที่เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนา

    พระนามของพญามังราย ได้รับการบันทึกไว้ในเอกสาร และหลักฐานประวัติศาสตร์มากมาย เช่น จารึกวัดพระยืน (พ.ศ. 1912) และมังรายศาสตร์ ซึ่งสะท้อนถึงความสำคัญ และบทบาทของพระองค์ ในฐานะผู้วางรากฐานอาณาจักรล้านนา

    เหตุผลที่เลือกดอยจอมทอง เป็นที่ตั้งเมือง
    ชัยภูมิของดอยจอมทอง ที่ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำกก มีความเหมาะสมอย่างยิ่ง ต่อการตั้งเมืองในยุคนั้น เนื่องจาก

    - ความปลอดภัย ดอยจอมทองเป็นที่สูง ช่วยให้การป้องกันเมืองจากศัตรูง่ายขึ้น
    - ทรัพยากรธรรมชาติ แม่น้ำกกที่ไหลผ่าน เป็นแหล่งน้ำสำคัญ สำหรับการดำรงชีวิตและการเกษตร 🌾
    - การคมนาคม แม่น้ำกกยังเป็นเส้นทางการค้า และการเดินทางระหว่างพื้นที่ต่าง ๆ

    พญามังรายทรงมองเห็นถึง ความสำคัญของพื้นที่แห่งนี้ จึงได้วางรากฐานให้เชียงราย กลายเป็นเมืองที่รุ่งเรือง และมั่นคง

    บทบาทของเชียงราย ในยุคอาณาจักรล้านนา
    หลังจากการสร้างเมืองเชียงราย พญามังรายได้ครองราชย์ และพัฒนาเมือง ให้เป็นศูนย์กลางการปกครอง แห่งแรกของอาณาจักรล้านนา ก่อนจะย้ายไปสร้างเมืองเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 1839 เมืองเชียงราย จึงกลายเป็นที่ตั้งของพระราชโอรส พญาไชยสงคราม ผู้สืบทอดราชสมบัติ ต่อจากพญามังราย

    ในยุคต่อมา เมื่ออาณาจักรล้านนา ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 เมืองเชียงรายยังคงมีบทบาทสำคัญ ในฐานะเมืองยุทธศาสตร์ แต่ในช่วงสงคราม ระหว่างสยามและพม่า เมืองเชียงรายเริ่มร้างผู้คน เนื่องจากประชาชน ต้องอพยพหนีภัยสงคราม

    ฟื้นฟูเมืองเชียงราย ในสมัยรัตนโกสินทร์
    ในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชานุญาต ให้เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟื้นฟูเมืองเชียงรายขึ้นใหม่ โดยเมืองเชียงราย กลับมาเป็นศูนย์กลางการปกครอง ที่สำคัญอีกครั้ง และได้รับการยกฐานะ เป็นเมืองจัตวามณฑลพายัพ ในปี พ.ศ. 2453

    ข้อถกเถียงเกี่ยวกับพระนาม "พญามังราย"
    พระนาม "พญามังราย" ได้รับการบันทึกไว้ ในเอกสารประวัติศาสตร์ และหลักฐานต่าง ๆ แต่ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 มีการเปลี่ยนแปลงพระนามเป็น "เม็งราย" ในพงศาวดารโยนก โดยไม่ปรากฏเหตุผลที่ชัดเจน อย่างไรก็ตาม ชื่อนี้ได้รับการใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น ตำบลเม็งราย อำเภอพญาเม็งราย และโรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม

    วัฒนธรรมและมรดกทางประวัติศาสตร์ ของเชียงราย
    เมืองเชียงราย ไม่ได้เป็นเพียงแค่ ศูนย์กลางทางการปกครองในอดีต แต่ยังเป็นแหล่งรวบรวม มรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญ เช่น

    - วัดพระธาตุดอยจอมทอง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่เกี่ยวข้องกับการก่อตั้งเมือง
    - พิพิธภัณฑ์อูบคำ รวบรวมศิลปวัตถุ ที่สะท้อนถึงความรุ่งเรืองในอดีต

    คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
    1. ทำไมพญามังราย ถึงเลือกเชียงรายเป็นที่ตั้งเมือง?
    พญามังรายทรงเลือกพื้นที่ ดอยจอมทองและแม่น้ำกก เพราะเป็นชัยภูมิที่เหมาะสม ต่อการตั้งเมือง มีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์ และสามารถป้องกันศัตรูได้ง่าย

    2. เมืองเชียงรายมีความสำคัญอย่างไร ในยุคล้านนา?
    เมืองเชียงรายเป็นเมืองแรก ที่พญามังรายสร้างขึ้น และเป็นศูนย์กลางการปกครอง ของอาณาจักรล้านนา ก่อนจะย้ายไปยังเชียงใหม่

    3. ชื่อนาม "พญามังราย" มีที่มาอย่างไร?
    ชื่อนี้มีที่มาจาก การผสมชื่อของพระบิดา พระมารดา และฤๅษีปัทมังกร ผู้ตั้งถวาย

    เมืองเชียงราย ที่ก่อตั้งโดยพญามังราย เมื่อ 763 ปี ที่ผ่านมา เป็นมรดกสำคัญ ที่สะท้อนถึงภูมิปัญญา และประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ ของอาณาจักรล้านนา แม้ว่าเมืองนี้ จะเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย แต่ความงดงาม และคุณค่าทางวัฒนธรรมของเชียงราย ยังคงสืบทอดมา จนถึงปัจจุบัน

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 261148 ม.ค. 2568

    #เมืองเชียงราย #พญามังราย #ประวัติศาสตร์ล้านนา #วัฒนธรรมเชียงราย #763ปีเชียงราย #เชียงราย
    763 ปีพญามังรายสร้าง “เมืองเชียงราย” หลังเสด็จตามรอยเท้าช้าง สร้างเวียงรอบดอยจอมทอง "เชียงราย" เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 763 ปี โดยถือกำเนิดขึ้นในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 1805 ตามบันทึกตำนานพื้นเมือง พญามังรายทรงเสด็จตามรอยเท้าช้าง มาทางทิศตะวันออก ก่อนจะเลือกชัยภูมิริมฝั่งแม่น้ำกก และดอยจอมทองในการก่อตั้งเมืองเชียงรายแห่งนี้ โดยสร้างเป็นเวียงล้อมรอบดอยจอมทองให้มีความมั่นคง และเป็นศูนย์กลางการปกครอง ในยุคนั้น เมืองเชียงราย ไม่ได้เป็นเพียงแค่เมืองประวัติศาสตร์ แต่ยังสะท้อนถึงภูมิปัญญา และความเฉลียวฉลาดของพญามังราย ในการเลือกพื้นที่ ที่เหมาะสมสำหรับการตั้งถิ่นฐาน ซึ่งยังคงมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเมือง มาจนถึงปัจจุบัน 🌄 พญามังราย ราชาผู้ก่อตั้งล้านนา "พญามังราย" หรือที่รู้จักกันในนาม "ปฐมกษัตริย์แห่งล้านนา" เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้าง และขยายอาณาจักรล้านนา พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ ในปี พ.ศ. 1802 เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 25 แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงลาว โดยตลอดรัชสมัย พระองค์ได้สร้างเมืองสำคัญหลายแห่ง เช่น - เมืองเชียงราย ศูนย์กลางการปกครองแห่งแรก ของพระองค์ - เวียงกุมกาม เมืองต้นแบบก่อนการสร้างเชียงใหม่ - เมืองเชียงใหม่ เมืองที่เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนา พระนามของพญามังราย ได้รับการบันทึกไว้ในเอกสาร และหลักฐานประวัติศาสตร์มากมาย เช่น จารึกวัดพระยืน (พ.ศ. 1912) และมังรายศาสตร์ ซึ่งสะท้อนถึงความสำคัญ และบทบาทของพระองค์ ในฐานะผู้วางรากฐานอาณาจักรล้านนา เหตุผลที่เลือกดอยจอมทอง เป็นที่ตั้งเมือง ชัยภูมิของดอยจอมทอง ที่ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำกก มีความเหมาะสมอย่างยิ่ง ต่อการตั้งเมืองในยุคนั้น เนื่องจาก - ความปลอดภัย ดอยจอมทองเป็นที่สูง ช่วยให้การป้องกันเมืองจากศัตรูง่ายขึ้น - ทรัพยากรธรรมชาติ แม่น้ำกกที่ไหลผ่าน เป็นแหล่งน้ำสำคัญ สำหรับการดำรงชีวิตและการเกษตร 🌾 - การคมนาคม แม่น้ำกกยังเป็นเส้นทางการค้า และการเดินทางระหว่างพื้นที่ต่าง ๆ พญามังรายทรงมองเห็นถึง ความสำคัญของพื้นที่แห่งนี้ จึงได้วางรากฐานให้เชียงราย กลายเป็นเมืองที่รุ่งเรือง และมั่นคง บทบาทของเชียงราย ในยุคอาณาจักรล้านนา หลังจากการสร้างเมืองเชียงราย พญามังรายได้ครองราชย์ และพัฒนาเมือง ให้เป็นศูนย์กลางการปกครอง แห่งแรกของอาณาจักรล้านนา ก่อนจะย้ายไปสร้างเมืองเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 1839 เมืองเชียงราย จึงกลายเป็นที่ตั้งของพระราชโอรส พญาไชยสงคราม ผู้สืบทอดราชสมบัติ ต่อจากพญามังราย ในยุคต่อมา เมื่ออาณาจักรล้านนา ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 เมืองเชียงรายยังคงมีบทบาทสำคัญ ในฐานะเมืองยุทธศาสตร์ แต่ในช่วงสงคราม ระหว่างสยามและพม่า เมืองเชียงรายเริ่มร้างผู้คน เนื่องจากประชาชน ต้องอพยพหนีภัยสงคราม ฟื้นฟูเมืองเชียงราย ในสมัยรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชานุญาต ให้เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟื้นฟูเมืองเชียงรายขึ้นใหม่ โดยเมืองเชียงราย กลับมาเป็นศูนย์กลางการปกครอง ที่สำคัญอีกครั้ง และได้รับการยกฐานะ เป็นเมืองจัตวามณฑลพายัพ ในปี พ.ศ. 2453 ข้อถกเถียงเกี่ยวกับพระนาม "พญามังราย" พระนาม "พญามังราย" ได้รับการบันทึกไว้ ในเอกสารประวัติศาสตร์ และหลักฐานต่าง ๆ แต่ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 มีการเปลี่ยนแปลงพระนามเป็น "เม็งราย" ในพงศาวดารโยนก โดยไม่ปรากฏเหตุผลที่ชัดเจน อย่างไรก็ตาม ชื่อนี้ได้รับการใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น ตำบลเม็งราย อำเภอพญาเม็งราย และโรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม วัฒนธรรมและมรดกทางประวัติศาสตร์ ของเชียงราย เมืองเชียงราย ไม่ได้เป็นเพียงแค่ ศูนย์กลางทางการปกครองในอดีต แต่ยังเป็นแหล่งรวบรวม มรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญ เช่น - วัดพระธาตุดอยจอมทอง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่เกี่ยวข้องกับการก่อตั้งเมือง - พิพิธภัณฑ์อูบคำ รวบรวมศิลปวัตถุ ที่สะท้อนถึงความรุ่งเรืองในอดีต คำถามที่พบบ่อย (FAQs) 1. ทำไมพญามังราย ถึงเลือกเชียงรายเป็นที่ตั้งเมือง? พญามังรายทรงเลือกพื้นที่ ดอยจอมทองและแม่น้ำกก เพราะเป็นชัยภูมิที่เหมาะสม ต่อการตั้งเมือง มีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์ และสามารถป้องกันศัตรูได้ง่าย 2. เมืองเชียงรายมีความสำคัญอย่างไร ในยุคล้านนา? เมืองเชียงรายเป็นเมืองแรก ที่พญามังรายสร้างขึ้น และเป็นศูนย์กลางการปกครอง ของอาณาจักรล้านนา ก่อนจะย้ายไปยังเชียงใหม่ 3. ชื่อนาม "พญามังราย" มีที่มาอย่างไร? ชื่อนี้มีที่มาจาก การผสมชื่อของพระบิดา พระมารดา และฤๅษีปัทมังกร ผู้ตั้งถวาย เมืองเชียงราย ที่ก่อตั้งโดยพญามังราย เมื่อ 763 ปี ที่ผ่านมา เป็นมรดกสำคัญ ที่สะท้อนถึงภูมิปัญญา และประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ ของอาณาจักรล้านนา แม้ว่าเมืองนี้ จะเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย แต่ความงดงาม และคุณค่าทางวัฒนธรรมของเชียงราย ยังคงสืบทอดมา จนถึงปัจจุบัน ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 261148 ม.ค. 2568 #เมืองเชียงราย #พญามังราย #ประวัติศาสตร์ล้านนา #วัฒนธรรมเชียงราย #763ปีเชียงราย #เชียงราย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 500 มุมมอง 0 รีวิว
  • หนี่ว์ฮู่ ‘ครัวเรือนสตรี’

    สวัสดีค่ะ เพื่อนเพจที่ได้ดูเรื่อง <ซ่อนรักชายาลับ> คงจำกันได้ว่าในช่วงตอนท้ายๆ ของเรื่อง นางเอกของเราแยกออกมาอยู่เอง Storyฯ ไม่แน่ใจว่าในซับไทยแปลว่าอย่างไรแต่ในภาษาจีนนางบอกว่าจะแยกออกมาตั้งครัวเรือนสตรีหรือที่เรียกว่า ‘หนี่ว์ฮู่’ (女户) ซึ่งคำว่า ‘หนี่ว์ฮู่’ เป็นศัพท์เฉพาะที่หมายถึงครัวเรือนที่จดทะเบียนให้สตรีเป็นเจ้าบ้าน วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กัน

    ความเป็นเจ้าบ้านในบริบทสังคมจีนโบราณนี้ เพื่อนเพจไม่สามารถใช้นิยามและบริบทของเราท่านชาวไทยสมัยนี้มาเปรียบเทียบ เพราะสำหรับเราในยุคไทยปัจจุบันคำว่า ‘เจ้าบ้าน’ ในทะเบียนบ้านไม่ได้หมายถึงผู้ที่มีกรรมสิทธิ์ในบ้านที่ดินหรือสินทรัพย์ในบ้าน แต่ในบริบทสังคมจีนโบราณนี้ ‘เจ้าบ้าน’ หรือ ‘ฮู่จู่’ (户主) เป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในบ้านและสินทรัพย์กองกลางของครัวเรือนนั้นๆ ซึ่งคนจีนโบราณอาจอยู่กันเป็นครอบครัวใหญ่รวมหลายรุ่น (เช่นมีลูกชายหลายคน ทุกคนแต่งเมียเข้าบ้านมีลูกมีหลานอยู่รวมกัน) หรืออาจมีบางคนแยกบ้านออกไปตามความจำเป็นและค่านิยมของสังคมแต่ละยุคสมัย แต่ตราบใดที่อยู่ในบ้านในฐานะสมาชิกครอบครัวจะเป็นเพียงผู้อยู่อาศัยและอาจมีเบี้ยเลี้ยงรายเดือน ไม่มีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่เป็นของครัวเรือนนั้น มีสินทรัพย์ส่วนตัวได้เฉพาะที่เก็บหอมรอมริบหรือได้รับกำนัลมาเป็นการส่วนตัว เพื่อนเพจเชื้อสายจีนที่คุ้นเคยกับระบบกงสีจะเข้าใจบริบทนี้ได้ง่าย

    ดังนั้น การเป็นเจ้าบ้านในสมัยจีนโบราณผูกรวมกับการมีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์กองกลางของครัวเรือนนั้น และหมายรวมถึงอำนาจการปกครองและการตัดสินใจในเรื่องใหญ่ๆ ในบ้าน และหน้าที่ที่สำคัญมากก็คือการเสียภาษีให้รัฐ

    ในสมัยจีนโบราณนั้น โดยทั่วไป การเป็นเจ้าบ้านและการมีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ของครอบครัวนั้นสืบทอดทางสายโลหิตจากรุ่นสู่รุ่นและสืบทอดผ่านบุรุษ และในบริบทนี้สตรีขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าบ้านได้ก็ต่อเมื่อครอบครัวนั้นๆ ไร้ซึ่งบุรุษสืบทอดหรือที่เรียกว่าสภาวะ ‘ฮู่เจวี๋ย’ (户绝/สิ้นครัวเรือน) นี่คือเหตุผลที่ Storyฯ บอกว่ามันเป็นศัพท์เฉพาะ

    ว่ากันว่า หนี่ว์ฮู่มีมาแต่สมัยฮั่นตอนต้นซึ่งเป็นช่วงหลังสงคราม ประชากรเพศชายเสียชีวิตมากมายในสงคราม จึงจำเป็นต้องให้สิทธิ์สตรีดูแลตนเองได้โดยการตั้งครัวเรือนของตนเพื่อจะได้บริหารสินทรัพย์และเสียภาษีได้ในกรณีที่ไม่เหลือทายาทบุรุษในครอบครัวแล้ว และในสมัยอื่นๆ ต่อมาก็มีหลักการเดียวกันที่ว่า สตรีเป็นเจ้าบ้านได้ในกรณีที่ไร้ทายาทบุรุษ แต่ความแตกต่างของแต่ละสมัยขึ้นอยู่กับคำนิยามของ ‘ทายาทบุรุษ’ ผู้สืบทอดกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน (เช่น นับลูกหลานสายตรง หรือนับรวมพี่ชายน้องชายและลูกหลาน หรือนับรวมญาติสกุลเดียวกันที่ห่างออกไปอีก) ทำให้เกณฑ์ที่สตรีจะเข้าเงื่อนไขที่สามารถจดทะเบียนเป็นเจ้าบ้านได้มีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดตามไปด้วย ทั้งนี้ สตรีที่เป็นเจ้าบ้านได้นั้นหมายรวมถึงมารดาม่าย ภรรยาม่าย หรือลูกสาวที่ยังไม่ออกเรือน

    นับแต่สมัยถังมามีการกำหนดกฎหมายมากมายที่ระบุสิทธิของสตรีให้ชัดเจนขึ้น อย่างเช่นเรื่องสินเดิมเจ้าสาวและการหย่าร้างที่ Storyฯ เคยเขียนถึง และรวมถึงสิทธิในการสืบทอดมรดกอีกด้วย เป็นต้นว่าในสมัยถังและซ่ง หากไร้ทายาทบุรุษ ให้ขายสินทรัพย์ทั้งหมดรวมถึงบ่าวไพร่ในบ้าน นำเงินมาจัดงานศพแล้วหากมีเหลือจึงแบ่งกันระหว่างบุตรีที่ยังไม่ออกเรือน เมื่อได้ส่วนแบ่งมรดกของตนแล้ว สตรีนั้นๆ สามารถตั้งครัวเรือนใหม่โดยขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าบ้านได้ หรือหากไม่มีบุตรีที่ยังไม่ออกเรือน บุตรีที่ออกเรือนไปแล้วมีสิทธิ์ในส่วนแบ่งมรดกแต่ในกรณีนี้นางอยู่กับครอบครัวสามีก็ไม่ตั้งครัวเรือนใหม่ ส่วนสตรีที่จัดตั้งหนี่ว์ฮู่ขึ้นแล้ว หากต่อมาแต่งงานโดยสามีแต่งเข้า (เรียกว่า จุ้ยซวี่) สตรีนั้นยังคงสิทธิ์เจ้าบ้านตามเดิม แต่หากแต่งออกไปอยู่บ้านสามีก็จะต้องยุบครัวเรือนนั้นทิ้งโดยสามารถนำทรัพย์สินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของตนติดตัวไปด้วยได้ ทั้งนี้สิทธิเหล่านี้มีความแตกต่างในรายละเอียดตามยุคสมัย

    Storyฯ ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายและไม่ได้ค้นคว้าลงลึกถึงสิทธิในการครอบครองและสืบทอดสินทรัพย์ของแต่ละยุคสมัยจีนโบราณเพราะมันซับซ้อนเกินความสามารถ ประเด็นหลักที่จะสื่อในวันนี้ก็คือ ในสมัยโบราณสตรีสามารถจัดตั้งครัวเรือนเป็นเจ้าบ้านได้ และสามารถสืบทอดมรดกได้ แต่... เฉพาะในกรณีที่ครอบครัวไร้ทายาทบุรุษ ซึ่งเกณฑ์นี้ขึ้นอยู่กับนิยามว่า ‘ทายาทบุรุษ’ ครอบคลุมญาติในวงแคบหรือวงกว้างเพียงใด

    อนึ่ง Storyฯ เคยเขียนถึงเรื่องราวที่มีความเกี่ยวข้อง เพื่อนเพจสามารถอ่านย้อนหลังเพื่อทบทวนความทรงจำ จะได้เข้าใจต่อเนื่องในบทความข้างต้นได้ค่ะ:
    - เกี่ยวกับทะเบียนราษฎร์ https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02DGMdxYPJTbeiAS9n5zUXqo7Zfsn9WTLGbbHPCXcpBFChCxxHzWafnNr8wuNBJ63Tl
    - เกี่ยวกับสินเดิมเจ้าสาว https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/1127226122739012
    - เกี่ยวกับเจ้าบ่าวที่แต่งเข้าเรือนหรือ ‘จุ้ยซวี่’ https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02nZxNBtk2h6V7W1wReZ5td8nc2Aaj85o2wkWmPSRtpnGP6dqQSGyCbKaXJPUjHzEal

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g61833754/are-you-the-one-8-highlights/
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    http://legalinfo.moj.gov.cn/pub/sfbzhfx/zhfxfzwh/fzwhfsgs/202107/t20210702_429806.html
    http://e.mzyfz.org.cn/paper/1957/paper_52459_10896.html
    https://www.chinacourt.org/article/detail/2023/05/id/7273412.shtml
    https://bjgy.bjcourt.gov.cn/article/detail/2020/11/id/5563896.shtml
    https://www.chinacourt.org/article/detail/2021/07/id/6125052.shtml
    https://baike.baidu.com/item/户绝

    #ซ่อนรักชายาลับ #หนี่ว์ฮู่ #ครัวเรือนสตรี #สิทธิการสืบทอดมรดกจีนโบราณ #เจ้าบ้านในสมัยจีนโบราณ #สาระจีน
    หนี่ว์ฮู่ ‘ครัวเรือนสตรี’ สวัสดีค่ะ เพื่อนเพจที่ได้ดูเรื่อง <ซ่อนรักชายาลับ> คงจำกันได้ว่าในช่วงตอนท้ายๆ ของเรื่อง นางเอกของเราแยกออกมาอยู่เอง Storyฯ ไม่แน่ใจว่าในซับไทยแปลว่าอย่างไรแต่ในภาษาจีนนางบอกว่าจะแยกออกมาตั้งครัวเรือนสตรีหรือที่เรียกว่า ‘หนี่ว์ฮู่’ (女户) ซึ่งคำว่า ‘หนี่ว์ฮู่’ เป็นศัพท์เฉพาะที่หมายถึงครัวเรือนที่จดทะเบียนให้สตรีเป็นเจ้าบ้าน วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กัน ความเป็นเจ้าบ้านในบริบทสังคมจีนโบราณนี้ เพื่อนเพจไม่สามารถใช้นิยามและบริบทของเราท่านชาวไทยสมัยนี้มาเปรียบเทียบ เพราะสำหรับเราในยุคไทยปัจจุบันคำว่า ‘เจ้าบ้าน’ ในทะเบียนบ้านไม่ได้หมายถึงผู้ที่มีกรรมสิทธิ์ในบ้านที่ดินหรือสินทรัพย์ในบ้าน แต่ในบริบทสังคมจีนโบราณนี้ ‘เจ้าบ้าน’ หรือ ‘ฮู่จู่’ (户主) เป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในบ้านและสินทรัพย์กองกลางของครัวเรือนนั้นๆ ซึ่งคนจีนโบราณอาจอยู่กันเป็นครอบครัวใหญ่รวมหลายรุ่น (เช่นมีลูกชายหลายคน ทุกคนแต่งเมียเข้าบ้านมีลูกมีหลานอยู่รวมกัน) หรืออาจมีบางคนแยกบ้านออกไปตามความจำเป็นและค่านิยมของสังคมแต่ละยุคสมัย แต่ตราบใดที่อยู่ในบ้านในฐานะสมาชิกครอบครัวจะเป็นเพียงผู้อยู่อาศัยและอาจมีเบี้ยเลี้ยงรายเดือน ไม่มีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่เป็นของครัวเรือนนั้น มีสินทรัพย์ส่วนตัวได้เฉพาะที่เก็บหอมรอมริบหรือได้รับกำนัลมาเป็นการส่วนตัว เพื่อนเพจเชื้อสายจีนที่คุ้นเคยกับระบบกงสีจะเข้าใจบริบทนี้ได้ง่าย ดังนั้น การเป็นเจ้าบ้านในสมัยจีนโบราณผูกรวมกับการมีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์กองกลางของครัวเรือนนั้น และหมายรวมถึงอำนาจการปกครองและการตัดสินใจในเรื่องใหญ่ๆ ในบ้าน และหน้าที่ที่สำคัญมากก็คือการเสียภาษีให้รัฐ ในสมัยจีนโบราณนั้น โดยทั่วไป การเป็นเจ้าบ้านและการมีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ของครอบครัวนั้นสืบทอดทางสายโลหิตจากรุ่นสู่รุ่นและสืบทอดผ่านบุรุษ และในบริบทนี้สตรีขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าบ้านได้ก็ต่อเมื่อครอบครัวนั้นๆ ไร้ซึ่งบุรุษสืบทอดหรือที่เรียกว่าสภาวะ ‘ฮู่เจวี๋ย’ (户绝/สิ้นครัวเรือน) นี่คือเหตุผลที่ Storyฯ บอกว่ามันเป็นศัพท์เฉพาะ ว่ากันว่า หนี่ว์ฮู่มีมาแต่สมัยฮั่นตอนต้นซึ่งเป็นช่วงหลังสงคราม ประชากรเพศชายเสียชีวิตมากมายในสงคราม จึงจำเป็นต้องให้สิทธิ์สตรีดูแลตนเองได้โดยการตั้งครัวเรือนของตนเพื่อจะได้บริหารสินทรัพย์และเสียภาษีได้ในกรณีที่ไม่เหลือทายาทบุรุษในครอบครัวแล้ว และในสมัยอื่นๆ ต่อมาก็มีหลักการเดียวกันที่ว่า สตรีเป็นเจ้าบ้านได้ในกรณีที่ไร้ทายาทบุรุษ แต่ความแตกต่างของแต่ละสมัยขึ้นอยู่กับคำนิยามของ ‘ทายาทบุรุษ’ ผู้สืบทอดกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน (เช่น นับลูกหลานสายตรง หรือนับรวมพี่ชายน้องชายและลูกหลาน หรือนับรวมญาติสกุลเดียวกันที่ห่างออกไปอีก) ทำให้เกณฑ์ที่สตรีจะเข้าเงื่อนไขที่สามารถจดทะเบียนเป็นเจ้าบ้านได้มีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดตามไปด้วย ทั้งนี้ สตรีที่เป็นเจ้าบ้านได้นั้นหมายรวมถึงมารดาม่าย ภรรยาม่าย หรือลูกสาวที่ยังไม่ออกเรือน นับแต่สมัยถังมามีการกำหนดกฎหมายมากมายที่ระบุสิทธิของสตรีให้ชัดเจนขึ้น อย่างเช่นเรื่องสินเดิมเจ้าสาวและการหย่าร้างที่ Storyฯ เคยเขียนถึง และรวมถึงสิทธิในการสืบทอดมรดกอีกด้วย เป็นต้นว่าในสมัยถังและซ่ง หากไร้ทายาทบุรุษ ให้ขายสินทรัพย์ทั้งหมดรวมถึงบ่าวไพร่ในบ้าน นำเงินมาจัดงานศพแล้วหากมีเหลือจึงแบ่งกันระหว่างบุตรีที่ยังไม่ออกเรือน เมื่อได้ส่วนแบ่งมรดกของตนแล้ว สตรีนั้นๆ สามารถตั้งครัวเรือนใหม่โดยขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าบ้านได้ หรือหากไม่มีบุตรีที่ยังไม่ออกเรือน บุตรีที่ออกเรือนไปแล้วมีสิทธิ์ในส่วนแบ่งมรดกแต่ในกรณีนี้นางอยู่กับครอบครัวสามีก็ไม่ตั้งครัวเรือนใหม่ ส่วนสตรีที่จัดตั้งหนี่ว์ฮู่ขึ้นแล้ว หากต่อมาแต่งงานโดยสามีแต่งเข้า (เรียกว่า จุ้ยซวี่) สตรีนั้นยังคงสิทธิ์เจ้าบ้านตามเดิม แต่หากแต่งออกไปอยู่บ้านสามีก็จะต้องยุบครัวเรือนนั้นทิ้งโดยสามารถนำทรัพย์สินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของตนติดตัวไปด้วยได้ ทั้งนี้สิทธิเหล่านี้มีความแตกต่างในรายละเอียดตามยุคสมัย Storyฯ ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายและไม่ได้ค้นคว้าลงลึกถึงสิทธิในการครอบครองและสืบทอดสินทรัพย์ของแต่ละยุคสมัยจีนโบราณเพราะมันซับซ้อนเกินความสามารถ ประเด็นหลักที่จะสื่อในวันนี้ก็คือ ในสมัยโบราณสตรีสามารถจัดตั้งครัวเรือนเป็นเจ้าบ้านได้ และสามารถสืบทอดมรดกได้ แต่... เฉพาะในกรณีที่ครอบครัวไร้ทายาทบุรุษ ซึ่งเกณฑ์นี้ขึ้นอยู่กับนิยามว่า ‘ทายาทบุรุษ’ ครอบคลุมญาติในวงแคบหรือวงกว้างเพียงใด อนึ่ง Storyฯ เคยเขียนถึงเรื่องราวที่มีความเกี่ยวข้อง เพื่อนเพจสามารถอ่านย้อนหลังเพื่อทบทวนความทรงจำ จะได้เข้าใจต่อเนื่องในบทความข้างต้นได้ค่ะ: - เกี่ยวกับทะเบียนราษฎร์ https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02DGMdxYPJTbeiAS9n5zUXqo7Zfsn9WTLGbbHPCXcpBFChCxxHzWafnNr8wuNBJ63Tl - เกี่ยวกับสินเดิมเจ้าสาว https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/1127226122739012 - เกี่ยวกับเจ้าบ่าวที่แต่งเข้าเรือนหรือ ‘จุ้ยซวี่’ https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02nZxNBtk2h6V7W1wReZ5td8nc2Aaj85o2wkWmPSRtpnGP6dqQSGyCbKaXJPUjHzEal (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g61833754/are-you-the-one-8-highlights/ Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: http://legalinfo.moj.gov.cn/pub/sfbzhfx/zhfxfzwh/fzwhfsgs/202107/t20210702_429806.html http://e.mzyfz.org.cn/paper/1957/paper_52459_10896.html https://www.chinacourt.org/article/detail/2023/05/id/7273412.shtml https://bjgy.bjcourt.gov.cn/article/detail/2020/11/id/5563896.shtml https://www.chinacourt.org/article/detail/2021/07/id/6125052.shtml https://baike.baidu.com/item/户绝 #ซ่อนรักชายาลับ #หนี่ว์ฮู่ #ครัวเรือนสตรี #สิทธิการสืบทอดมรดกจีนโบราณ #เจ้าบ้านในสมัยจีนโบราณ #สาระจีน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 598 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนที่รวยที่สุดในโลก จากการสำรวจและเก๋บสถิติ..
    75% ผู้ประการในธุรกิจต่างๆ..
    15% นักลงทุน ในตลาดการเงิน และทรัพย์สินอื่นๆ
    7% มรดกส่งต่อจากตระกูล..
    3% นักกีฬา นักร้อง นักแสดง..
    _____
    0% สำหรับ คนที่เก็บออม...และคาดหวังว่า สักวันนึง..เราจะรวย...
    0% สำหรับ คนเฝ้าฝันว่า ฉันจะรวย ฉันจะถูกหวย...
    #คุณล่ะอยากเป็นแบบไหน?
    🧑🤠🙆🙎🤹
    คนที่รวยที่สุดในโลก จากการสำรวจและเก๋บสถิติ.. 75% ผู้ประการในธุรกิจต่างๆ.. 15% นักลงทุน ในตลาดการเงิน และทรัพย์สินอื่นๆ 7% มรดกส่งต่อจากตระกูล.. 3% นักกีฬา นักร้อง นักแสดง.. _____ 0% สำหรับ คนที่เก็บออม...และคาดหวังว่า สักวันนึง..เราจะรวย... 0% สำหรับ คนเฝ้าฝันว่า ฉันจะรวย ฉันจะถูกหวย... #คุณล่ะอยากเป็นแบบไหน? 🧑🤠🙆🙎🤹
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 218 มุมมอง 0 รีวิว
  • เดินหน้าสถานีอยุธยา รถไฟความเร็วสูง

    โครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ที่หยุดชะงักในบางช่วง โดยเฉพาะสัญญาที่ 4-5 ช่วงบ้านโพ-พระแก้ว จ.พระนครศรีอยุธยา ระยะทาง 13.30 กิโลเมตร ที่ยังก่อสร้างไม่ได้เพราะติดขัดเรื่องโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ในที่สุดผู้แทนองค์กรที่ปรึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก องค์การยูเนสโก (UNESCO) ที่ลงพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 19-22 ม.ค. มีข้อสรุปให้การรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ปรับลดความสูงของหลังคาสถานีรถไฟความเร็วสูงอยุธยา ไม่ให้โครงสร้างหลังคาซ้อนทับกับสถานีรถไฟอยุธยาเดิม พร้อมทั้งให้อนุรักษ์สถานีรถไฟอยุธยาเดิมไว้

    หลังจากนี้การรถไฟฯ จะรอรายงานจากยูเนสโกภายในเดือน มี.ค. ก่อนนำมาจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบต่อแหล่งมรดกโลก (HIA) แล้วส่งรายงานให้คณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม และคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกทราบ เพื่อนำส่งรายงานให้ศูนย์มรดกโลกต่อไป ก่อนที่จะลงนามสัญญาและก่อสร้าง วงเงินลงทุน 10,325.90 ล้านบาท โดยปรับลดความสูงของสถานีจาก 37.45 เมตร เหลือ 35.45 เมตร และความสูงของสันรางจาก 19 เมตร เหลือ 17 เมตร แต่แนวสถานียังก่อสร้างบนเขตทางรถไฟ ห่างจากพื้นที่มรดกโลก 1.5 กิโลเมตร และมีแม่น้ำป่าสักคั่นอยู่เป็น Bubble Zone

    นอกจากช่วงบ้านโพ-พระแก้ว ที่ยังก่อสร้างไม่ได้ในขณะนี้ ยังมีสัญญา 4-1 ช่วงบางซื่อ-ดอนเมือง ระยะทาง 15.21 กิโลเมตร ที่ใช้โครงสร้างร่วมกับรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ปัจจุบันก่อสร้างแล้วเสร็จ 2 สัญญา ได้แก่ สัญญาที่ 1-1 ช่วงกลางดง-ปางอโศก ระยะทาง 3.5 กิโลเมตร และสัญญาที่ 2-1 ช่วงสีคิ้ว-กุดจิก ระยะทาง 11 กิโลเมตร ส่วนอีก 10 สัญญากำลังก่อสร้าง โดยคาดว่าในปี 2568 จะแล้วเสร็จเพิ่มอีก 2 สัญญา ได้แก่ สัญญาที่ 3-2 งานอุโมงค์มวกเหล็กและลำตะคอง ระยะทาง 12.23 กิโลเมตร และสัญญาที่ 3-4 ช่วงลำตะคอง-สีคิ้ว และกุดจิก-โคกกรวด ระยะทาง 37.45 กิโลเมตร

    สำหรับโครงการรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 251 กิโลเมตร เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 21 ธ.ค.2560 วงเงินก่อสร้าง 179,412.21 ล้านบาท มีสถานีให้บริการ 6 สถานี ได้แก่ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ สถานีดอนเมือง สถานีอยุธยา สถานีสระบุรี สถานีปากช่อง และสถานีนครราชสีมา ตามแผนล่าสุดกำหนดเปิดให้บริการในปี 2571 ส่วนโครงการช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 357 กิโลเมตร มีสถานีบัวใหญ่ สถานีบ้านไผ่ สถานีขอนแก่น สถานีอุดรธานี และสถานีหนองคาย พร้อมสะพานข้ามแม่น้ำโขงใหม่ วงเงินลงทุน 3.4 แสนล้านบาท อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี (ครม.)

    #Newskit
    -----
    ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    เดินหน้าสถานีอยุธยา รถไฟความเร็วสูง โครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ที่หยุดชะงักในบางช่วง โดยเฉพาะสัญญาที่ 4-5 ช่วงบ้านโพ-พระแก้ว จ.พระนครศรีอยุธยา ระยะทาง 13.30 กิโลเมตร ที่ยังก่อสร้างไม่ได้เพราะติดขัดเรื่องโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ในที่สุดผู้แทนองค์กรที่ปรึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก องค์การยูเนสโก (UNESCO) ที่ลงพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 19-22 ม.ค. มีข้อสรุปให้การรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ปรับลดความสูงของหลังคาสถานีรถไฟความเร็วสูงอยุธยา ไม่ให้โครงสร้างหลังคาซ้อนทับกับสถานีรถไฟอยุธยาเดิม พร้อมทั้งให้อนุรักษ์สถานีรถไฟอยุธยาเดิมไว้ หลังจากนี้การรถไฟฯ จะรอรายงานจากยูเนสโกภายในเดือน มี.ค. ก่อนนำมาจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบต่อแหล่งมรดกโลก (HIA) แล้วส่งรายงานให้คณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม และคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกทราบ เพื่อนำส่งรายงานให้ศูนย์มรดกโลกต่อไป ก่อนที่จะลงนามสัญญาและก่อสร้าง วงเงินลงทุน 10,325.90 ล้านบาท โดยปรับลดความสูงของสถานีจาก 37.45 เมตร เหลือ 35.45 เมตร และความสูงของสันรางจาก 19 เมตร เหลือ 17 เมตร แต่แนวสถานียังก่อสร้างบนเขตทางรถไฟ ห่างจากพื้นที่มรดกโลก 1.5 กิโลเมตร และมีแม่น้ำป่าสักคั่นอยู่เป็น Bubble Zone นอกจากช่วงบ้านโพ-พระแก้ว ที่ยังก่อสร้างไม่ได้ในขณะนี้ ยังมีสัญญา 4-1 ช่วงบางซื่อ-ดอนเมือง ระยะทาง 15.21 กิโลเมตร ที่ใช้โครงสร้างร่วมกับรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ปัจจุบันก่อสร้างแล้วเสร็จ 2 สัญญา ได้แก่ สัญญาที่ 1-1 ช่วงกลางดง-ปางอโศก ระยะทาง 3.5 กิโลเมตร และสัญญาที่ 2-1 ช่วงสีคิ้ว-กุดจิก ระยะทาง 11 กิโลเมตร ส่วนอีก 10 สัญญากำลังก่อสร้าง โดยคาดว่าในปี 2568 จะแล้วเสร็จเพิ่มอีก 2 สัญญา ได้แก่ สัญญาที่ 3-2 งานอุโมงค์มวกเหล็กและลำตะคอง ระยะทาง 12.23 กิโลเมตร และสัญญาที่ 3-4 ช่วงลำตะคอง-สีคิ้ว และกุดจิก-โคกกรวด ระยะทาง 37.45 กิโลเมตร สำหรับโครงการรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 251 กิโลเมตร เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 21 ธ.ค.2560 วงเงินก่อสร้าง 179,412.21 ล้านบาท มีสถานีให้บริการ 6 สถานี ได้แก่ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ สถานีดอนเมือง สถานีอยุธยา สถานีสระบุรี สถานีปากช่อง และสถานีนครราชสีมา ตามแผนล่าสุดกำหนดเปิดให้บริการในปี 2571 ส่วนโครงการช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 357 กิโลเมตร มีสถานีบัวใหญ่ สถานีบ้านไผ่ สถานีขอนแก่น สถานีอุดรธานี และสถานีหนองคาย พร้อมสะพานข้ามแม่น้ำโขงใหม่ วงเงินลงทุน 3.4 แสนล้านบาท อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี (ครม.) #Newskit ----- ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 525 มุมมอง 0 รีวิว
  • 23 มกราคม 2568 จุดเริ่มต้นใหม่ของสมรสเท่าเทียม ในประเทศไทย มีสิทธิ์รับมรดก และฟ้องชู้ เปิดประตูยอมรับ สิทธิความหลากหลายทางเพศ

    วันที่ 23 มกราคม 2568 ถือเป็นวันสำคัญทางประวัติศาสตร์ ของประเทศไทย เมื่อกระทรวงมหาดไทย เปิดรับจดทะเบียนสมรส ตามกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เริ่มมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการ กฎหมายนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 ซึ่งเปลี่ยนแปลงนิยามของการสมรส ในประเทศไทยอย่างสิ้นเชิง โดยเปิดโอกาสให้บุคคล ไม่ว่ามีเพศใด สามารถจดทะเบียนสมรสกันได้

    กฎหมายใหม่นี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลง วิธีการมองสิทธิในความรัก และครอบครัว แต่ยังปรับปรุงบทบัญญัติต่างๆ ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้สอดคล้องกับแนวคิดความเท่าเทียม และความหลากหลายทางเพศ

    นิยามใหม่ของ "การสมรส"
    ก่อนการแก้ไข ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กำหนดให้การสมรส เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง "ชายและหญิง" เท่านั้น แต่กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ปรับเปลี่ยนนิยามนี้ โดยใช้คำว่า "บุคคลสองฝ่าย" แทน ซึ่งช่วยยืนยันว่าการสมรส ไม่จำกัดเฉพาะเพศอีกต่อไป

    นอกจากนี้ ยังมีการแก้ไขคำเรียก "สามี-ภริยา" ในเอกสารทางกฎหมาย ให้เป็นคำว่า "คู่สมรส" เพื่อสะท้อนถึงความเท่าเทียม ในความสัมพันธ์ อีกทั้งยังมีการปรับปรุง บทบัญญัติอื่นๆ เช่น
    - อายุขั้นต่ำสำหรับการสมรส จากเดิม 17 ปีบริบูรณ์ เพิ่มเป็น 18 ปีบริบูรณ์
    - ข้อกำหนดเรื่องความยินยอม ยังคงกำหนดว่าการสมรส ต้องแสดงความยินยอม ต่อหน้านายทะเบียนอย่างเปิดเผย
    - ข้อห้ามเกี่ยวกับการสมรส ยังคงข้อห้าม เช่น การสมรสซ้อน การสมรสกับญาติสืบสายโลหิต หรือการสมรสกับบุคคลวิกลจริต

    สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรส
    1. สิทธิทางกฎหมาย
    กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ขยายสิทธิและหน้าที่ ตามกฎหมายของคู่สมรส ให้ครอบคลุมทุกเพศ เช่น
    - สิทธิในการรับมรดก
    - สิทธิในการบรรจุเป็นข้าราชการ กรณีคู่สมรสเสียชีวิต
    - สิทธิในการรับบุตรบุญธรรมร่วมกัน
    - สิทธิประโยชน์ทางภาษี เช่น การลดหย่อนภาษีคู่สมรส

    2. การจัดการทรัพย์สิน
    ทรัพย์สินของคู่สมรส ยังคงแบ่งออกเป็น สินส่วนตัว และ สินสมรส โดยสินสมรสจะเป็นทรัพย์สิน ที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส ซึ่งการจัดการสินสมรส เช่น การขายทรัพย์สิน จะต้องได้รับความยินยอม จากคู่สมรสอีกฝ่าย

    ข้อกังวลและความท้าทาย
    แม้ว่ากฎหมายสมรสเท่าเทียม จะเปิดทางสู่ความเท่าเทียม แต่ก็ยังมีข้อกังวลในแง่ของกฎหมายอื่น ที่ยังใช้คำว่า "สามี-ภริยา" และอาจต้องใช้เวลาในการปรับแก้ เช่น
    - กฎหมายบางฉบับ ที่ระบุสิทธิประโยชน์ เฉพาะสำหรับคู่ชาย-หญิง
    - การปรับปรุงระบบราชการ ให้รองรับกับนิยามคู่สมรสใหม่

    ข้อดีของกฎหมายสมรสเท่าเทียม
    สร้างความเท่าเทียมในสังคม
    การรับรองสิทธิการสมรสสำหรับทุกเพศ ช่วยส่งเสริมความเท่าเทียม และลดการเลือกปฏิบัติในสังคม

    เพิ่มความชัดเจนทางกฎหมาย
    การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำ ในเอกสารทางกฎหมาย ช่วยลดความกำกวม และทำให้ทุกคน สามารถใช้สิทธิทางกฎหมาย ได้อย่างเท่าเทียม

    สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    คู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศ สามารถจดทะเบียนสมรส กับชาวต่างชาติในประเทศไทยได้ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย

    กฎหมายสมรสเท่าเทียม ถือเป็นก้าวสำคัญของประเทศไทย ในการสร้างสังคม ที่ยอมรับความหลากหลายทางเพศ และความเท่าเทียม กฎหมายนี้ไม่เพียงแต่ให้สิทธิและหน้าที่ ที่เท่าเทียมกันแก่คู่สมรสทุกเพศ แต่ยังสะท้อนถึง ความก้าวหน้าในเชิงกฎหมาย และสังคมของประเทศไทย

    🌈✨ "เพราะความรักคือสิทธิที่ทุกคน ควรได้รับอย่างเท่าเทียม"

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 2300559 ม.ค. 2568

    #สมรสเท่าเทียม #สิทธิมนุษยชน #ความเท่าเทียมทางเพศ #กฎหมายใหม่ #ประเทศไทย #LGBTQ+ #เสรีภาพและความเท่าเทียม #ความรักไม่มีเงื่อนไข #สมรสในไทย #สังคมแห่งความเท่าเทียม

    23 มกราคม 2568 จุดเริ่มต้นใหม่ของสมรสเท่าเทียม ในประเทศไทย มีสิทธิ์รับมรดก และฟ้องชู้ เปิดประตูยอมรับ สิทธิความหลากหลายทางเพศ วันที่ 23 มกราคม 2568 ถือเป็นวันสำคัญทางประวัติศาสตร์ ของประเทศไทย เมื่อกระทรวงมหาดไทย เปิดรับจดทะเบียนสมรส ตามกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เริ่มมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการ กฎหมายนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 ซึ่งเปลี่ยนแปลงนิยามของการสมรส ในประเทศไทยอย่างสิ้นเชิง โดยเปิดโอกาสให้บุคคล ไม่ว่ามีเพศใด สามารถจดทะเบียนสมรสกันได้ กฎหมายใหม่นี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลง วิธีการมองสิทธิในความรัก และครอบครัว แต่ยังปรับปรุงบทบัญญัติต่างๆ ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้สอดคล้องกับแนวคิดความเท่าเทียม และความหลากหลายทางเพศ นิยามใหม่ของ "การสมรส" ก่อนการแก้ไข ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กำหนดให้การสมรส เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง "ชายและหญิง" เท่านั้น แต่กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ปรับเปลี่ยนนิยามนี้ โดยใช้คำว่า "บุคคลสองฝ่าย" แทน ซึ่งช่วยยืนยันว่าการสมรส ไม่จำกัดเฉพาะเพศอีกต่อไป นอกจากนี้ ยังมีการแก้ไขคำเรียก "สามี-ภริยา" ในเอกสารทางกฎหมาย ให้เป็นคำว่า "คู่สมรส" เพื่อสะท้อนถึงความเท่าเทียม ในความสัมพันธ์ อีกทั้งยังมีการปรับปรุง บทบัญญัติอื่นๆ เช่น - อายุขั้นต่ำสำหรับการสมรส จากเดิม 17 ปีบริบูรณ์ เพิ่มเป็น 18 ปีบริบูรณ์ - ข้อกำหนดเรื่องความยินยอม ยังคงกำหนดว่าการสมรส ต้องแสดงความยินยอม ต่อหน้านายทะเบียนอย่างเปิดเผย - ข้อห้ามเกี่ยวกับการสมรส ยังคงข้อห้าม เช่น การสมรสซ้อน การสมรสกับญาติสืบสายโลหิต หรือการสมรสกับบุคคลวิกลจริต สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรส 1. สิทธิทางกฎหมาย กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ขยายสิทธิและหน้าที่ ตามกฎหมายของคู่สมรส ให้ครอบคลุมทุกเพศ เช่น - สิทธิในการรับมรดก - สิทธิในการบรรจุเป็นข้าราชการ กรณีคู่สมรสเสียชีวิต - สิทธิในการรับบุตรบุญธรรมร่วมกัน - สิทธิประโยชน์ทางภาษี เช่น การลดหย่อนภาษีคู่สมรส 2. การจัดการทรัพย์สิน ทรัพย์สินของคู่สมรส ยังคงแบ่งออกเป็น สินส่วนตัว และ สินสมรส โดยสินสมรสจะเป็นทรัพย์สิน ที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส ซึ่งการจัดการสินสมรส เช่น การขายทรัพย์สิน จะต้องได้รับความยินยอม จากคู่สมรสอีกฝ่าย ข้อกังวลและความท้าทาย แม้ว่ากฎหมายสมรสเท่าเทียม จะเปิดทางสู่ความเท่าเทียม แต่ก็ยังมีข้อกังวลในแง่ของกฎหมายอื่น ที่ยังใช้คำว่า "สามี-ภริยา" และอาจต้องใช้เวลาในการปรับแก้ เช่น - กฎหมายบางฉบับ ที่ระบุสิทธิประโยชน์ เฉพาะสำหรับคู่ชาย-หญิง - การปรับปรุงระบบราชการ ให้รองรับกับนิยามคู่สมรสใหม่ ข้อดีของกฎหมายสมรสเท่าเทียม สร้างความเท่าเทียมในสังคม การรับรองสิทธิการสมรสสำหรับทุกเพศ ช่วยส่งเสริมความเท่าเทียม และลดการเลือกปฏิบัติในสังคม เพิ่มความชัดเจนทางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำ ในเอกสารทางกฎหมาย ช่วยลดความกำกวม และทำให้ทุกคน สามารถใช้สิทธิทางกฎหมาย ได้อย่างเท่าเทียม สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศ สามารถจดทะเบียนสมรส กับชาวต่างชาติในประเทศไทยได้ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย กฎหมายสมรสเท่าเทียม ถือเป็นก้าวสำคัญของประเทศไทย ในการสร้างสังคม ที่ยอมรับความหลากหลายทางเพศ และความเท่าเทียม กฎหมายนี้ไม่เพียงแต่ให้สิทธิและหน้าที่ ที่เท่าเทียมกันแก่คู่สมรสทุกเพศ แต่ยังสะท้อนถึง ความก้าวหน้าในเชิงกฎหมาย และสังคมของประเทศไทย 🌈✨ "เพราะความรักคือสิทธิที่ทุกคน ควรได้รับอย่างเท่าเทียม" ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 2300559 ม.ค. 2568 #สมรสเท่าเทียม #สิทธิมนุษยชน #ความเท่าเทียมทางเพศ #กฎหมายใหม่ #ประเทศไทย #LGBTQ+ #เสรีภาพและความเท่าเทียม #ความรักไม่มีเงื่อนไข #สมรสในไทย #สังคมแห่งความเท่าเทียม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 501 มุมมอง 0 รีวิว
  • 82 ปี “สวัสดี” คำทักทายอย่างเป็นทางการของไทย

    ย้อนไปเมื่อ 82 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2486 ถือเป็นวันสำคัญ ในประวัติศาสตร์ภาษา และวัฒนธรรมของไทย เนื่องจากรัฐบาลไทยในยุคนั้น ได้กำหนดให้คำว่า “สวัสดี” เป็นคำทักทาย ที่ใช้อย่างเป็นทางการ ทั้งในยามพบปะและลาจาก คำนี้ไม่ได้เป็นเพียงคำพูดธรรมดา แต่ยังสื่อถึงความหวังดี และความปรารถนาดีระหว่างผู้คน ซึ่งสะท้อนถึงจิตวิญญาณอันงดงาม ของวัฒนธรรมไทย

    ความหมายของ “สวัสดี”
    คำว่า “สวัสดี” มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤต โดยคำนี้ประกอบด้วยสองส่วนสำคัญ ได้แก่
    “สุ” ซึ่งเป็นคำอุปสรรค หมายถึง "ดี" หรือ "งดงาม"
    “อสฺติ” ซึ่งเป็นคำกริยา หมายถึง "มี"

    เมื่อรวมกันจึงแปลว่า “ขอความดีงามจงมีแก่ท่าน” หรือกล่าวในความหมายกว้างว่า “ขอให้คุณมีความสุข ปลอดภัย และรุ่งเรือง”

    ตามที่พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ระบุไว้ คำว่า “สวัสดี” หมายถึง ความดี ความงาม ความเจริญรุ่งเรือง และความปลอดภัย คำนี้ถูกนำมาใช้ เพื่อเป็นทั้งคำอวยพร และคำทักทาย ทำให้ทุกครั้ง ที่มีการกล่าวคำว่า "สวัสดี" ผู้พูดและผู้ฟัง ต่างได้รับความรู้สึกดี ๆ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ของภาษาไทย

    จุดเริ่มต้นของคำว่า “สวัสดี”
    คำว่า “สวัสดี” ได้ถูกนำมาใช้ อย่างเป็นทางการครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2486 โดยพระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) ผู้ซึ่งเป็นอาจารย์ ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในขณะนั้น พระยาอุปกิตฯ ได้แรงบันดาลใจจากคำว่า “โสตฺถิ” ในภาษาบาลี หรือ “สฺวสฺติ” ในภาษาสันสกฤต และได้นำมาปรับเปลี่ยนเสียง ให้เหมาะสม กับการออกเสียงของคนไทย

    หลังจากนั้น จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในยุคนั้น ได้เห็นความเหมาะสมของคำนี้ และสนับสนุนให้ใช้คำว่า “สวัสดี” เป็นคำทักทายอย่างเป็นทางการ ทั่วประเทศ ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2486 เป็นต้นมา

    ความแตกต่างของ “สวัสดี” กับคำทักทายอื่นในยุคนั้น
    ก่อนที่คำว่า “สวัสดี” จะถูกกำหนดให้เป็นคำทักทาย อย่างเป็นทางการ คนไทยนิยมใช้คำทักทาย ตามโอกาส เช่น

    “ไปไหนมา?” หรือ “กินข้าวหรือยัง?” ในชีวิตประจำวัน
    “กราบเรียน” หรือ “คารวะ” เมื่อพูดกับผู้ใหญ่

    คำว่า “สวัสดี” จึงเข้ามาเติมเต็มบทบาท ของคำทักทาย ที่เหมาะสมกับทุกสถานการณ์ ทั้งในเชิงความหมาย และความสะดวกในการใช้งาน โดยสามารถใช้ได้ทั้งในชีวิตประจำวัน และในพิธีการ อย่างเป็นทางการ

    การพัฒนาคำว่า “สวัสดี” ในยุคปัจจุบัน
    แม้คำว่า “สวัสดี” จะถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวาง ในประเทศไทย แต่ในช่วงยุคแรก ๆ มีการกำหนดคำทักทายเพิ่มเติม ในช่วงเวลาต่าง ๆ ของวัน เช่น

    “อรุณสวัสดิ์” (Good morning) สำหรับทักทายในตอนเช้า
    “ทิวาสวัสดิ์” (Good afternoon) สำหรับทักทายในตอนกลางวัน
    “สายัณห์สวัสดิ์” (Good evening) สำหรับทักทายในตอนเย็น
    “ราตรีสวัสดิ์” (Good night) สำหรับกล่าวลาก่อนเข้านอน

    อย่างไรก็ตาม คำว่า “สวัสดี” ยังคงได้รับความนิยมมากที่สุด เพราะสามารถใช้ได้ทุกช่วงเวลา ไม่ต้องระบุเวลาเฉพาะเจาะจง

    การทักทายด้วย “สวัสดี” สะท้อนถึงวัฒนธรรมไทย
    การกล่าวคำว่า “สวัสดี” มักจะมาพร้อมกับการ ไหว้ ซึ่งเป็นการยกมือขึ้นประนมไว้ที่อก ในลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ท่าทางนี้ไม่ได้เป็นเพียง การแสดงความเคารพเท่านั้น แต่ยังแฝงไปด้วยความหมายลึกซึ้ง เช่น

    ความบริสุทธิ์ใจ การประนมมือไว้ที่อก แสดงถึงการพูดจากใจ
    ความเคารพผู้อื่น แสดงความนอบน้อมและให้เกียรติผู้ฟัง
    ความปรารถนาดี การกล่าวคำ “สวัสดี” พร้อมกับการไหว้ เป็นการส่งต่อความหวังดีไปยังผู้อื่น

    นอกจากนี้ การไหว้ยังแบ่งระดับ ตามสถานะของผู้พูดและผู้ฟัง เช่น
    ไหว้แบบสูงสุด สำหรับการแสดงความเคารพต่อพระสงฆ์
    ไหว้แบบกลาง สำหรับผู้ใหญ่ และผู้มีตำแหน่งสูงกว่า
    ไหว้แบบต่ำ สำหรับเพื่อนร่วมงานหรือเพื่อน

    “สวัสดี” ในยุคดิจิทัล
    แม้ในยุคปัจจุบัน ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญ ในชีวิตประจำวัน คนไทยยังคงใช้คำว่า “สวัสดี” ในการสื่อสาร ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล เช่น

    - ส่งข้อความทักทาย ในแอปพลิเคชันแชต
    - ใช้คำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ” เป็นคำเปิดหัวข้อในอีเมล
    - ใช้คำว่า “สวัสดี” ในโพสต์ หรือแคปชันบนโซเชียลมีเดีย

    การใช้งานคำนี้ในยุคดิจิทัล ช่วยสะท้อนถึงการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ในโลกออนไลน์ และยังสร้างความประทับใจ แก่ชาวต่างชาติที่พบเห็น

    “สวัสดี” คำทักทายที่ไม่เคยล้าสมัย
    การเดินทางของคำว่า “สวัสดี” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2486 จนถึงปัจจุบัน เป็นเครื่องยืนยันถึงความงดงาม ของภาษาไทย และวัฒนธรรมอันลึกซึ้ง คำนี้ไม่ได้เป็นเพียงคำพูด ที่ใช้ในการทักทาย หรืออำลาเท่านั้น แต่ยังเป็นการสื่อสาร ถึงความปรารถนาดี ความเคารพ และความจริงใจ ที่คนไทยมีต่อกัน

    “สวัสดี” จึงไม่ใช่เพียงคำพูดธรรมดา แต่ยังเป็นสัญลักษณ์ ของความงดงามทางวัฒนธรรม ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ และส่งต่อให้คนรุ่นหลัง

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 221015 ม.ค. 2568

    #สวัสดี #ภาษาไทย #วัฒนธรรมไทย #คำทักทายไทย #คำทักทาย #วันสวัสดี #รากศัพท์สันสกฤต #ประวัติศาสตร์ไทย #ความงดงามของไทย #มรดกทางวัฒนธรรม ✨ 😊
    82 ปี “สวัสดี” คำทักทายอย่างเป็นทางการของไทย ย้อนไปเมื่อ 82 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2486 ถือเป็นวันสำคัญ ในประวัติศาสตร์ภาษา และวัฒนธรรมของไทย เนื่องจากรัฐบาลไทยในยุคนั้น ได้กำหนดให้คำว่า “สวัสดี” เป็นคำทักทาย ที่ใช้อย่างเป็นทางการ ทั้งในยามพบปะและลาจาก คำนี้ไม่ได้เป็นเพียงคำพูดธรรมดา แต่ยังสื่อถึงความหวังดี และความปรารถนาดีระหว่างผู้คน ซึ่งสะท้อนถึงจิตวิญญาณอันงดงาม ของวัฒนธรรมไทย ความหมายของ “สวัสดี” คำว่า “สวัสดี” มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤต โดยคำนี้ประกอบด้วยสองส่วนสำคัญ ได้แก่ “สุ” ซึ่งเป็นคำอุปสรรค หมายถึง "ดี" หรือ "งดงาม" “อสฺติ” ซึ่งเป็นคำกริยา หมายถึง "มี" เมื่อรวมกันจึงแปลว่า “ขอความดีงามจงมีแก่ท่าน” หรือกล่าวในความหมายกว้างว่า “ขอให้คุณมีความสุข ปลอดภัย และรุ่งเรือง” ตามที่พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ระบุไว้ คำว่า “สวัสดี” หมายถึง ความดี ความงาม ความเจริญรุ่งเรือง และความปลอดภัย คำนี้ถูกนำมาใช้ เพื่อเป็นทั้งคำอวยพร และคำทักทาย ทำให้ทุกครั้ง ที่มีการกล่าวคำว่า "สวัสดี" ผู้พูดและผู้ฟัง ต่างได้รับความรู้สึกดี ๆ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ของภาษาไทย จุดเริ่มต้นของคำว่า “สวัสดี” คำว่า “สวัสดี” ได้ถูกนำมาใช้ อย่างเป็นทางการครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2486 โดยพระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) ผู้ซึ่งเป็นอาจารย์ ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในขณะนั้น พระยาอุปกิตฯ ได้แรงบันดาลใจจากคำว่า “โสตฺถิ” ในภาษาบาลี หรือ “สฺวสฺติ” ในภาษาสันสกฤต และได้นำมาปรับเปลี่ยนเสียง ให้เหมาะสม กับการออกเสียงของคนไทย หลังจากนั้น จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในยุคนั้น ได้เห็นความเหมาะสมของคำนี้ และสนับสนุนให้ใช้คำว่า “สวัสดี” เป็นคำทักทายอย่างเป็นทางการ ทั่วประเทศ ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2486 เป็นต้นมา ความแตกต่างของ “สวัสดี” กับคำทักทายอื่นในยุคนั้น ก่อนที่คำว่า “สวัสดี” จะถูกกำหนดให้เป็นคำทักทาย อย่างเป็นทางการ คนไทยนิยมใช้คำทักทาย ตามโอกาส เช่น “ไปไหนมา?” หรือ “กินข้าวหรือยัง?” ในชีวิตประจำวัน “กราบเรียน” หรือ “คารวะ” เมื่อพูดกับผู้ใหญ่ คำว่า “สวัสดี” จึงเข้ามาเติมเต็มบทบาท ของคำทักทาย ที่เหมาะสมกับทุกสถานการณ์ ทั้งในเชิงความหมาย และความสะดวกในการใช้งาน โดยสามารถใช้ได้ทั้งในชีวิตประจำวัน และในพิธีการ อย่างเป็นทางการ การพัฒนาคำว่า “สวัสดี” ในยุคปัจจุบัน แม้คำว่า “สวัสดี” จะถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวาง ในประเทศไทย แต่ในช่วงยุคแรก ๆ มีการกำหนดคำทักทายเพิ่มเติม ในช่วงเวลาต่าง ๆ ของวัน เช่น “อรุณสวัสดิ์” (Good morning) สำหรับทักทายในตอนเช้า “ทิวาสวัสดิ์” (Good afternoon) สำหรับทักทายในตอนกลางวัน “สายัณห์สวัสดิ์” (Good evening) สำหรับทักทายในตอนเย็น “ราตรีสวัสดิ์” (Good night) สำหรับกล่าวลาก่อนเข้านอน อย่างไรก็ตาม คำว่า “สวัสดี” ยังคงได้รับความนิยมมากที่สุด เพราะสามารถใช้ได้ทุกช่วงเวลา ไม่ต้องระบุเวลาเฉพาะเจาะจง การทักทายด้วย “สวัสดี” สะท้อนถึงวัฒนธรรมไทย การกล่าวคำว่า “สวัสดี” มักจะมาพร้อมกับการ ไหว้ ซึ่งเป็นการยกมือขึ้นประนมไว้ที่อก ในลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ท่าทางนี้ไม่ได้เป็นเพียง การแสดงความเคารพเท่านั้น แต่ยังแฝงไปด้วยความหมายลึกซึ้ง เช่น ความบริสุทธิ์ใจ การประนมมือไว้ที่อก แสดงถึงการพูดจากใจ ความเคารพผู้อื่น แสดงความนอบน้อมและให้เกียรติผู้ฟัง ความปรารถนาดี การกล่าวคำ “สวัสดี” พร้อมกับการไหว้ เป็นการส่งต่อความหวังดีไปยังผู้อื่น นอกจากนี้ การไหว้ยังแบ่งระดับ ตามสถานะของผู้พูดและผู้ฟัง เช่น ไหว้แบบสูงสุด สำหรับการแสดงความเคารพต่อพระสงฆ์ ไหว้แบบกลาง สำหรับผู้ใหญ่ และผู้มีตำแหน่งสูงกว่า ไหว้แบบต่ำ สำหรับเพื่อนร่วมงานหรือเพื่อน “สวัสดี” ในยุคดิจิทัล แม้ในยุคปัจจุบัน ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญ ในชีวิตประจำวัน คนไทยยังคงใช้คำว่า “สวัสดี” ในการสื่อสาร ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล เช่น - ส่งข้อความทักทาย ในแอปพลิเคชันแชต - ใช้คำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ” เป็นคำเปิดหัวข้อในอีเมล - ใช้คำว่า “สวัสดี” ในโพสต์ หรือแคปชันบนโซเชียลมีเดีย การใช้งานคำนี้ในยุคดิจิทัล ช่วยสะท้อนถึงการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ในโลกออนไลน์ และยังสร้างความประทับใจ แก่ชาวต่างชาติที่พบเห็น “สวัสดี” คำทักทายที่ไม่เคยล้าสมัย การเดินทางของคำว่า “สวัสดี” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2486 จนถึงปัจจุบัน เป็นเครื่องยืนยันถึงความงดงาม ของภาษาไทย และวัฒนธรรมอันลึกซึ้ง คำนี้ไม่ได้เป็นเพียงคำพูด ที่ใช้ในการทักทาย หรืออำลาเท่านั้น แต่ยังเป็นการสื่อสาร ถึงความปรารถนาดี ความเคารพ และความจริงใจ ที่คนไทยมีต่อกัน “สวัสดี” จึงไม่ใช่เพียงคำพูดธรรมดา แต่ยังเป็นสัญลักษณ์ ของความงดงามทางวัฒนธรรม ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ และส่งต่อให้คนรุ่นหลัง ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 221015 ม.ค. 2568 #สวัสดี #ภาษาไทย #วัฒนธรรมไทย #คำทักทายไทย #คำทักทาย #วันสวัสดี #รากศัพท์สันสกฤต #ประวัติศาสตร์ไทย #ความงดงามของไทย #มรดกทางวัฒนธรรม ✨ 😊
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 530 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชี้ช่องจบปัญหา 'อัลไพน์' กฤษฎีกา เสนอสองทาง 'งบเยียวยา-ออกกฎหมาย'
    .
    กรณีพิพาทที่ดินสนามกอล์ฟอัลไพน์ที่เหมือนจบแต่ไม่จบ เพราะด้านหนึ่งถูกโฟกัสไปในเรื่องทางการเมืองที่ว่าด้วยการเอาคืนพรรคเพื่อไทยของพรรคภูมิใจไทยในฐานะเจ้ากระทรวงมหาดไทย แต่ในแง่มุมของกฎหมายนั้นเป็นประเด็นที่สำคัญที่กำลังรอการดำเนินการว่าครอบครัวชินวัตรในฐานะเจ้าของที่ดินจะต้องดำเนินการอย่างไร
    .
    นายปกรณ์ นิลประพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ระบุว่า มีแนวคำวินิจฉัยการเพิกถอนที่ดินอัลไพน์ของคณะกรรมการกฤษฎีกามาตั้งแต่ปี 2544 และหลักของคำวินิจฉัย คือ ที่ดินที่ได้มาโดยมรดกต้องทำเป็นไปตามที่เจ้าของมรดกกำหนด เมื่อต้องการให้ตกแก่วัดก็ต้องตกแก่วัด ซึ่งการเพิกถอนที่ดินให้เป็นที่ธรณีสงฆ์เป็นไปตามกระบวนการกฎหมาย ส่วนขั้นตอนหลังจากนี้ขอให้ไปถามจากกระทรวงมหาดไทยว่าจะหาทางแก้ไขเยียวยาให้กับประชาชนที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างไร ซึ่งต้องไปว่ากันอีกรอบหนึ่ง
    .
    "ต้องตรวจสอบว่ามีการจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงอะไรหรือไม่ เพราะว่าจริง ๆ แล้ว เราต้องเสียเงินชดเชยให้กับผู้เสียหาย ซึ่งเป็นผู้ได้มาโดยสุจริต ต้องไปดูว่าคำสั่งทางปกครองออกมาและถูกยกเลิกไปนั้นชอบหรือไม่ และประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือไม่ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องเป็นผู้รับผิดชอบ"
    .
    นายปกรณ์ ยอมรับว่า งบประมาณที่จะนำมาเยียวยานั้นส่วนตัวไม่ทราบว่าจะต้องนำเงินมาจากส่วนใด แต่หากจำเป็นจะต้องแก้ไขเยียวยาก็สามารถของบประมาณจากรัฐบาลได้ ซึ่งงบปกติน่าจะไม่มี เพราะเป็นเรื่องที่ไม่ได้ตั้งงบไว้ และไม่มีใครคิดว่าจะเกิด จึงต้องหารือกับสำนักงบประมาณว่ามีแหล่งเงินจากที่ใดบ้าง อย่างไรก็ตาม คิดว่ามีหลายวิธีที่จะแก้ไข ซึ่งต้องรอ รมว.มหาดไทย และอธิบดีกรมที่ดิน มาแนะนำว่าจะหาทางแก้อย่างไร
    .
    นายปกรณ์ ส่วนประเด็นปัญหาด้านกฎหมายมีเพียงว่า ถ้าคำสั่งทางปกครองไม่ชอบก็เพิกถอนเสีย และหากเพิกถอนคำสั่งทางปกครองไปแล้ว และมีผลกระทบต่อบุคคลที่สุจริตก็ต้องเยียวยากันในทางกฎหมายมีเพียงแค่นั้น ส่วนในทางบริหารก็ไปว่ากัน
    .
    สำหรับข้อเสนอที่ว่าให้ออกเป็นพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) โอนเป็นที่ดินเอกชนนั้น นายปกรณ์ กล่าวว่า การโอนที่ดินซึ่งเป็นที่ธรณีสงฆ์ต้องตามเป็นตามกฏหมายอยู่แล้ว ไม่ได้มีอะไร ซึ่งก็แล้วแต่รัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยว่าจะพิจารณาว่าทางใดเหมาะสมหรือสมควร ควรรอถาม รมว.มหาดไทยจะเหมาะสมกว่า
    .............
    Sondhi X
    ชี้ช่องจบปัญหา 'อัลไพน์' กฤษฎีกา เสนอสองทาง 'งบเยียวยา-ออกกฎหมาย' . กรณีพิพาทที่ดินสนามกอล์ฟอัลไพน์ที่เหมือนจบแต่ไม่จบ เพราะด้านหนึ่งถูกโฟกัสไปในเรื่องทางการเมืองที่ว่าด้วยการเอาคืนพรรคเพื่อไทยของพรรคภูมิใจไทยในฐานะเจ้ากระทรวงมหาดไทย แต่ในแง่มุมของกฎหมายนั้นเป็นประเด็นที่สำคัญที่กำลังรอการดำเนินการว่าครอบครัวชินวัตรในฐานะเจ้าของที่ดินจะต้องดำเนินการอย่างไร . นายปกรณ์ นิลประพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ระบุว่า มีแนวคำวินิจฉัยการเพิกถอนที่ดินอัลไพน์ของคณะกรรมการกฤษฎีกามาตั้งแต่ปี 2544 และหลักของคำวินิจฉัย คือ ที่ดินที่ได้มาโดยมรดกต้องทำเป็นไปตามที่เจ้าของมรดกกำหนด เมื่อต้องการให้ตกแก่วัดก็ต้องตกแก่วัด ซึ่งการเพิกถอนที่ดินให้เป็นที่ธรณีสงฆ์เป็นไปตามกระบวนการกฎหมาย ส่วนขั้นตอนหลังจากนี้ขอให้ไปถามจากกระทรวงมหาดไทยว่าจะหาทางแก้ไขเยียวยาให้กับประชาชนที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างไร ซึ่งต้องไปว่ากันอีกรอบหนึ่ง . "ต้องตรวจสอบว่ามีการจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงอะไรหรือไม่ เพราะว่าจริง ๆ แล้ว เราต้องเสียเงินชดเชยให้กับผู้เสียหาย ซึ่งเป็นผู้ได้มาโดยสุจริต ต้องไปดูว่าคำสั่งทางปกครองออกมาและถูกยกเลิกไปนั้นชอบหรือไม่ และประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือไม่ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องเป็นผู้รับผิดชอบ" . นายปกรณ์ ยอมรับว่า งบประมาณที่จะนำมาเยียวยานั้นส่วนตัวไม่ทราบว่าจะต้องนำเงินมาจากส่วนใด แต่หากจำเป็นจะต้องแก้ไขเยียวยาก็สามารถของบประมาณจากรัฐบาลได้ ซึ่งงบปกติน่าจะไม่มี เพราะเป็นเรื่องที่ไม่ได้ตั้งงบไว้ และไม่มีใครคิดว่าจะเกิด จึงต้องหารือกับสำนักงบประมาณว่ามีแหล่งเงินจากที่ใดบ้าง อย่างไรก็ตาม คิดว่ามีหลายวิธีที่จะแก้ไข ซึ่งต้องรอ รมว.มหาดไทย และอธิบดีกรมที่ดิน มาแนะนำว่าจะหาทางแก้อย่างไร . นายปกรณ์ ส่วนประเด็นปัญหาด้านกฎหมายมีเพียงว่า ถ้าคำสั่งทางปกครองไม่ชอบก็เพิกถอนเสีย และหากเพิกถอนคำสั่งทางปกครองไปแล้ว และมีผลกระทบต่อบุคคลที่สุจริตก็ต้องเยียวยากันในทางกฎหมายมีเพียงแค่นั้น ส่วนในทางบริหารก็ไปว่ากัน . สำหรับข้อเสนอที่ว่าให้ออกเป็นพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) โอนเป็นที่ดินเอกชนนั้น นายปกรณ์ กล่าวว่า การโอนที่ดินซึ่งเป็นที่ธรณีสงฆ์ต้องตามเป็นตามกฏหมายอยู่แล้ว ไม่ได้มีอะไร ซึ่งก็แล้วแต่รัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยว่าจะพิจารณาว่าทางใดเหมาะสมหรือสมควร ควรรอถาม รมว.มหาดไทยจะเหมาะสมกว่า ............. Sondhi X
    Like
    Love
    Haha
    12
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1529 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts