• 0 Comments 0 Shares 39 Views 0 Reviews
  • ซ้อมให้เกิดความความชำนาญ
    ซ้อมให้เกิดความความชำนาญ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 736 Views 10 0 Reviews
  • Love
    2
    0 Comments 0 Shares 42 Views 0 Reviews
  • 🇬🇧🇷🇺 ผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษ กล่าวว่า "เราพร้อมที่จะต่อสู้กับปูตินในยุโรปตะวันออก"
    .
    JUST IN: 🇬🇧🇷🇺 UK army chief says "we're ready to fight Putin in Eastern Europe."
    .
    3:35 AM · Nov 22, 2024 · 480.2K Views
    https://x.com/BRICSinfo/status/1859697285103542585
    🇬🇧🇷🇺 ผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษ กล่าวว่า "เราพร้อมที่จะต่อสู้กับปูตินในยุโรปตะวันออก" . JUST IN: 🇬🇧🇷🇺 UK army chief says "we're ready to fight Putin in Eastern Europe." . 3:35 AM · Nov 22, 2024 · 480.2K Views https://x.com/BRICSinfo/status/1859697285103542585
    Like
    Haha
    2
    0 Comments 0 Shares 139 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 32 Views 0 Reviews
  • Love
    1
    0 Comments 0 Shares 38 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 37 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 38 Views 0 Reviews
  • Love
    1
    0 Comments 0 Shares 52 Views 0 Reviews
  • Love
    1
    0 Comments 0 Shares 76 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 84 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 91 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 91 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 89 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 90 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 98 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 98 Views 0 Reviews
  • #หลวงปู่ปรง
    #หลวงปู่ปรง
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 116 Views 0 Reviews
  • แถลงการณ์ของประธานาธิบดีปูติน แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย
    ปูตินยืนยันการโจมตีโรงงานผลิตอาวุธขนาดใหญ่ในเมือง Dnepropetrovsk ในยูเครนด้วยขีปนาวุธพิสัยกลางที่มีความสามารถทำลายล้างในระดับนิวเคลียร์ โดยระบุว่านี่ถือเป็นการทดสอบขีปนาวุธพิสัยกลางรุ่นใหม่ Oreshnik (“Hazel”) ที่ทันสมัยซึ่งติดหัวรบที่ไม่ใช่นิวเคลียร์ โดยอ้างถึงการยกเลิกสนธิสัญญา INF ของรัฐบาลทรัมป์ในปี 2019 ซึ่งก่อนหน้านี้ได้จำกัดการพัฒนาขีปนาวุธพิสัยกลางชนิดนี้โดยเฉพาะ

    ปูตินยังกล่าวอีกว่าการทดสอบยิงดังกล่าวเป็นการตอบสนองต่อขีปนาวุธพิสัยไกลของสหรัฐฯ และอังกฤษที่โจมตีรัสเซีย โดยกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุของการขยายตัวของสงคราม และบีบบังคับให้มอสโกต้องใช้มาตรการตอบโต้รุนแรงขึ้น

    ขีปนาวุธพิสัยกลาง Oreshnik มีความเร็วสูงสุดที่ 10 Mach ซึ่งมีความเร็วกว่า 3 กม. ต่อวินาที และระบบป้องกันขีปนาวุธของศัตรูที่มีอยู่ในขณะนี้ไม่สามารถสกัดกั้นได้ โดยประธานาธิบดีรัสเซียกล่าวเสริมว่าจะมีการเตือนพลเรือนล่วงหน้าก่อนที่กองกำลังรัสเซียจะใช้ขีปนาวุธพิสัยไกล
    .
    ลิ้งค์คำแถลงการณ์ฉบับเต็ม
    http://en.kremlin.ru/events/president/news/75614
    แถลงการณ์ของประธานาธิบดีปูติน แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย ปูตินยืนยันการโจมตีโรงงานผลิตอาวุธขนาดใหญ่ในเมือง Dnepropetrovsk ในยูเครนด้วยขีปนาวุธพิสัยกลางที่มีความสามารถทำลายล้างในระดับนิวเคลียร์ โดยระบุว่านี่ถือเป็นการทดสอบขีปนาวุธพิสัยกลางรุ่นใหม่ Oreshnik (“Hazel”) ที่ทันสมัยซึ่งติดหัวรบที่ไม่ใช่นิวเคลียร์ โดยอ้างถึงการยกเลิกสนธิสัญญา INF ของรัฐบาลทรัมป์ในปี 2019 ซึ่งก่อนหน้านี้ได้จำกัดการพัฒนาขีปนาวุธพิสัยกลางชนิดนี้โดยเฉพาะ ปูตินยังกล่าวอีกว่าการทดสอบยิงดังกล่าวเป็นการตอบสนองต่อขีปนาวุธพิสัยไกลของสหรัฐฯ และอังกฤษที่โจมตีรัสเซีย โดยกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุของการขยายตัวของสงคราม และบีบบังคับให้มอสโกต้องใช้มาตรการตอบโต้รุนแรงขึ้น ขีปนาวุธพิสัยกลาง Oreshnik มีความเร็วสูงสุดที่ 10 Mach ซึ่งมีความเร็วกว่า 3 กม. ต่อวินาที และระบบป้องกันขีปนาวุธของศัตรูที่มีอยู่ในขณะนี้ไม่สามารถสกัดกั้นได้ โดยประธานาธิบดีรัสเซียกล่าวเสริมว่าจะมีการเตือนพลเรือนล่วงหน้าก่อนที่กองกำลังรัสเซียจะใช้ขีปนาวุธพิสัยไกล . ลิ้งค์คำแถลงการณ์ฉบับเต็ม http://en.kremlin.ru/events/president/news/75614
    0 Comments 0 Shares 325 Views 0 Reviews
  • ฟื้นทางรถไฟ สุไหงโก-ลกไปมาเลเซีย

    เมื่อวันก่อน นายฮัสบิ ฮาบิโบลเลาะห์ รมว.คมนาคมมาเลเซีย เปิดเผยว่า กระทรวงคมนาคมพร้อมที่จะศึกษาความต้องการในการฟื้นฟูทางรถไฟ ช่วงระหว่างด่านรันเตาปันจัง กับสถานีปาซีร์มัส รัฐกลันตัน ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร และศึกษาความเป็นไปได้ในการกลับมาให้บริการรถไฟ จากสถานีรันเตาปันจัง ไปยังสถานีสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ประเทศไทย โดยต้องคำนึงถึงการจัดสรรงบประมาณ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วย

    สำหรับทางรถไฟที่เชื่อมต่อมาเลเซียกับไทย หยุดให้บริการผู้โดยสารตั้งแต่ปี 2525 และหยุดให้บริการขนส่งสินค้าเมื่อปี 2549 เนื่องจากปัญหาความปลอดภัยและผลกระทบจากอุทกภัย นับแต่นั้นเป็นต้นมาเส้นทางรถไฟถูกปิดตาย โครงสร้างพื้นฐานรวมถึงสถานีรถไฟรันเตาปันจังอยู่ในสภาพทรุดโทรม จำเป็นต้องได้รับการบูรณะ บำรุงรักษา และยกระดับก่อนจะสามารถเปิดให้บริการอีกครั้ง

    ส่วนข้อเสนอของนางซาอิลาห์ โมห์ด ยูซอฟฟ์ ส.ส.เมืองรันเตาปันจัง เกี่ยวกับความจำเป็นในการฟื้นฟูทางรถไฟและการกลับมาให้บริการรถไฟจากรันเตาปันจังไปยังสุไหงโก-ลก เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่น เสริมสร้างความสัมพันธ์แบบทวิภาคีระหว่างมาเลเซียและไทย เติมเต็มกิจกรรมการค้าในพื้นที่ชายแดนนั้น รัฐบาลรับทราบข้อเสนอดังกล่าว ถือเป็นหนทางที่จะปรับปรุงการเข้าถึงและกระตุ้นเศรษฐกิจระหว่างมาเลเซียและไทย หากโครงการนี้ได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ ไม่เพียงแต่จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ และเพิ่มกิจกรรมการค้าในพื้นที่ชายแดนอีกด้วย

    นอกจากนี้ กระทรวงคมนาคมกำลังศึกษาความเป็นไปได้ในการขยายโครงการทางรถไฟเชื่อมชายฝั่งทะเลตะวันออก (ECRL) ไปยังสถานีปาซีร์มัส ของการรถไฟมาลายา (KTMB) ซึ่งจะทำให้ทางรถไฟ ECRL มีประสิทธิภาพที่กระตุ้นให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจบนชายฝั่งทะเลตะวันออกของคาบสมุทรมาเลเซีย และช่วยลดช่องว่างทางเศรษฐกิจกับชายฝั่งทะเลตะวันตก นอกจากนี้ ยังเป็นตัวเลือกสำหรับขนส่งสินค้าและโดยสารระหว่างมาเลเซียกับไทยอีกด้วย

    เมื่อเดือน มิ.ย. 2567 แหล่งข่าวจากตัวแทนการรถไฟแห่งประเทศไทยรายหนึ่งเปิดเผยว่า การรถไฟฯ มีความพร้อมที่จะพัฒนาทางรถไฟเชื่อมไปยังฝั่งประเทศมาเลเซีย โดยได้มีการพูดคุยกับการรถไฟมาลายา (KTMB) เป็นระยะ แต่โครงการจะเกิดขึ้นได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับการเจรจาระหว่างรัฐบาลของทั้งสองประเทศ ที่ผ่านมานับตั้งแต่หยุดการเดินรถ และฝั่งประเทศมาเลเซียเคยเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่เมื่อปี 2554 ถึงบัดนี้ ยังไม่สามารถเข้าไปตรวจสอบสภาพทางรถไฟฝั่งประเทศมาเลเซียในปัจจุบันได้

    #Newskit
    ฟื้นทางรถไฟ สุไหงโก-ลกไปมาเลเซีย เมื่อวันก่อน นายฮัสบิ ฮาบิโบลเลาะห์ รมว.คมนาคมมาเลเซีย เปิดเผยว่า กระทรวงคมนาคมพร้อมที่จะศึกษาความต้องการในการฟื้นฟูทางรถไฟ ช่วงระหว่างด่านรันเตาปันจัง กับสถานีปาซีร์มัส รัฐกลันตัน ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร และศึกษาความเป็นไปได้ในการกลับมาให้บริการรถไฟ จากสถานีรันเตาปันจัง ไปยังสถานีสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ประเทศไทย โดยต้องคำนึงถึงการจัดสรรงบประมาณ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วย สำหรับทางรถไฟที่เชื่อมต่อมาเลเซียกับไทย หยุดให้บริการผู้โดยสารตั้งแต่ปี 2525 และหยุดให้บริการขนส่งสินค้าเมื่อปี 2549 เนื่องจากปัญหาความปลอดภัยและผลกระทบจากอุทกภัย นับแต่นั้นเป็นต้นมาเส้นทางรถไฟถูกปิดตาย โครงสร้างพื้นฐานรวมถึงสถานีรถไฟรันเตาปันจังอยู่ในสภาพทรุดโทรม จำเป็นต้องได้รับการบูรณะ บำรุงรักษา และยกระดับก่อนจะสามารถเปิดให้บริการอีกครั้ง ส่วนข้อเสนอของนางซาอิลาห์ โมห์ด ยูซอฟฟ์ ส.ส.เมืองรันเตาปันจัง เกี่ยวกับความจำเป็นในการฟื้นฟูทางรถไฟและการกลับมาให้บริการรถไฟจากรันเตาปันจังไปยังสุไหงโก-ลก เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่น เสริมสร้างความสัมพันธ์แบบทวิภาคีระหว่างมาเลเซียและไทย เติมเต็มกิจกรรมการค้าในพื้นที่ชายแดนนั้น รัฐบาลรับทราบข้อเสนอดังกล่าว ถือเป็นหนทางที่จะปรับปรุงการเข้าถึงและกระตุ้นเศรษฐกิจระหว่างมาเลเซียและไทย หากโครงการนี้ได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ ไม่เพียงแต่จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ และเพิ่มกิจกรรมการค้าในพื้นที่ชายแดนอีกด้วย นอกจากนี้ กระทรวงคมนาคมกำลังศึกษาความเป็นไปได้ในการขยายโครงการทางรถไฟเชื่อมชายฝั่งทะเลตะวันออก (ECRL) ไปยังสถานีปาซีร์มัส ของการรถไฟมาลายา (KTMB) ซึ่งจะทำให้ทางรถไฟ ECRL มีประสิทธิภาพที่กระตุ้นให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจบนชายฝั่งทะเลตะวันออกของคาบสมุทรมาเลเซีย และช่วยลดช่องว่างทางเศรษฐกิจกับชายฝั่งทะเลตะวันตก นอกจากนี้ ยังเป็นตัวเลือกสำหรับขนส่งสินค้าและโดยสารระหว่างมาเลเซียกับไทยอีกด้วย เมื่อเดือน มิ.ย. 2567 แหล่งข่าวจากตัวแทนการรถไฟแห่งประเทศไทยรายหนึ่งเปิดเผยว่า การรถไฟฯ มีความพร้อมที่จะพัฒนาทางรถไฟเชื่อมไปยังฝั่งประเทศมาเลเซีย โดยได้มีการพูดคุยกับการรถไฟมาลายา (KTMB) เป็นระยะ แต่โครงการจะเกิดขึ้นได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับการเจรจาระหว่างรัฐบาลของทั้งสองประเทศ ที่ผ่านมานับตั้งแต่หยุดการเดินรถ และฝั่งประเทศมาเลเซียเคยเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่เมื่อปี 2554 ถึงบัดนี้ ยังไม่สามารถเข้าไปตรวจสอบสภาพทางรถไฟฝั่งประเทศมาเลเซียในปัจจุบันได้ #Newskit
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 397 Views 0 Reviews
  • Like
    1
    0 Comments 0 Shares 170 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 172 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 171 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 171 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/yV7D4frE_XE?si=veE4Mieoe7K2MnkP
    https://youtu.be/yV7D4frE_XE?si=veE4Mieoe7K2MnkP
    0 Comments 0 Shares 195 Views 0 Reviews