• บทความน่าสนใจของเพจวิเคราะห์บอลจริงจังเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2567 มีประเด็นที่มาของการแพ้คดีที่สมาคมฟุตบอลฯยุคพลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วงฟ้องบริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเคท ต่อมาศาลทรัพย์สินทางปัญญาตัดสินให้สมาคมฯต้องจ่าย450ล้านบาท เนื้อหาระบุว่า

    “มาดามแป้ง -นวลพรรณ ล่ำซำ โอดครวญว่า เธอต้องเข้ามาเป็นนายกสมาคม แบบ "ติดลบ" เพราะมีหนี้สิน ถูกทิ้งไว้ให้ต้องรับผิดชอบ เป็นจำนวนมหาศาล

    หนี้ที่เธอกล่าวถึง คือ ค่าชดเชยที่ศาลทรัพย์สินทางปัญญาฯ สั่งให้สมาคม ต้องจ่ายให้บริษัท สยามสปอร์ต ซินดิเคต เป็นจำนวน 450 ล้านบาท

    คดีนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วทำไมสมาคมถึงแพ้ เราจะไปลำดับเหตุการณ์กันตั้งแต่แรกนะครับ

    ย้อนกลับไป ในปี 2559 พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ได้รับเลือกให้เป็นนายกสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย และเขาประกาศจุดยืนไว้ว่า "ผมจะเข้ามาเก็บกวาดบ้าน ผมจะเข้ามาจับโจร"

    สิ่งที่ พล.ต.อ.สมยศ ให้ความสำคัญอันดับแรก ไม่ใช่เรื่องของฟุตบอล แต่เป็นการเดินหน้าฟ้องร้อง ผู้ที่มีข้อพิพาทกับสมาคม จำนวนทั้งสิ้น 3 คดี

    2 คดีแรก เกี่ยวกับวรวีร์ มะกูดี เรื่องการสร้างศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติที่หนองจอก และ เรื่องยักยอกทรัพย์ ส่วนคดีที่ 3 เกี่ยวข้องกับบริษัท สยามสปอร์ต ซินดิเคต จำกัด (มหาชน)

    ก่อนที่เราจะไปเล่าคดี สมยศ vs สยามสปอร์ต เราจำเป็นต้องปูพื้นแบ็กกราวน์ของเรื่องก่อน เพื่อความเข้าใจในภาพรวมที่ชัดเจนขึ้น

    ฟุตบอลไทยลีก ก่อตั้งในปี 2539 ณ เวลานั้น คนดูในสนามแทบไม่มี ความนิยมตกต่ำมาก

    ในช่วง 5 ปีแรก (2539-2544) สมาคมยุควิจิตร เกตุแก้ว พยายามจัดการด้วยตัวเอง แต่สุดท้ายก็ไปไม่ไหว ขาดทุนยับ

    นั่นทำให้ สุชาติ มุฑุกัณฑ์ ทีมผู้บริหารของสมาคมฟุตบอลขณะนั้น มาขอร้องให้ บริษัท สยามสปอร์ต ช่วยเป็นออร์กาไนเซอร์ จัดการแข่งขันลีกอาชีพขึ้นมา พร้อมทั้งช่วงประชาสัมพันธ์เต็มรูปแบบ เพราะสยามสปอร์ตเป็นสื่อใหญ่ที่มีทรัพยากรในมือ น่าจะช่วยสร้างความนิยมให้ไทยลีกได้

    สิ่งที่จะเอามาแลกเปลี่ยน ก็คือ ให้สยามสปอร์ตเป็น "ผู้ดูแลสิทธิประโยชน์ของไทยลีก"

    สำหรับส่วนแบ่งของรายได้ในแต่ละปีนั้น มีรายงานว่า

    - ถ้าได้กำไร สยามสปอร์ตจะได้ ส่วนแบ่งกำไร 95% สมาคมได้ 5%
    - ถ้าขาดทุน สยามสปอร์ตต้องรับผิดชอบเองทั้งหมด

    ถ้าดูตัวเลขนี้ (95% - 5%) ดูเหมือนสยามสปอร์ตจะได้ส่วนแบ่งเยอะก็จริง แต่อย่าลืมว่าตอนนั้นฟุตบอลไทยยังไม่มีมูลค่า ถ้าสมาคมเอาไปทำเอง อย่าว่าแต่กำไร 5% เลย มีแต่จะเข้าเนื้อก็เท่านั้น

    และต่อให้สยามสปอร์ตจะเอาไปทำ ก็ใช่ว่าจะได้กำไรมากมายอะไร สุดท้ายสัญญาก็เลยออกมาในรูปแบบนั้น

    ดีลระหว่างสยามสปอร์ต กับ สมาคมในยุควิจิตร เกตุแก้ว ก็เลยเกิดขึ้น โดยสยามสปอร์ตมีหน้าที่ ต้องจัดการแข่งขันและโปรโมท ไทยลีก, ลีกรอง และ ลีกภูมิภาคทั้งหมด

    ระวิ โหลทอง ผู้บริหารสูงสุดของสยามสปอร์ตกล่าวไว้ว่า "ถ้าผมทำฟุตบอลนอกอย่างเดียว ผมก็ไม่ขาดทุนแล้ว แต่เมื่อผมมาทำไทยลีก ก็ไม่อยากให้มีปัญหาต่อกัน ผมลงทุนทำทีมฟุตบอลเพื่อให้วงการสนุก ส่วนตัวแล้วเรื่องเงินทองไม่มีปัญหาสำหรับผม คนอาจจะมองว่าสยามสปอร์ตได้กำไร แต่มันไม่ใช่ หุ้นบริษัทก็ไม่เคยกระดิก"

    นับจากปี 2544 สยามสปอร์ตเป็นผู้บริหารสิทธิประโยชน์ของไทยลีกมาเรื่อยๆ

    ซึ่งระหว่างนี้ นายกสมาคม เปลี่ยนคนจากวิจิตร เกตุแก้ว เป็นวรวีร์ มะกูดี แต่ก็ยังเซ็นสัญญากันต่อเนื่องกันไป ไม่มีปัญหาอะไร

    รายงานจาก Thaipublica เปิดเผยว่าสยามสปอร์ตในฐานะผู้ดูแลสิทธิประโยชน์ ได้กำไรน้อยมาก โดยเนื้อหาระบุว่า "แม้เม็ดเงินจากสปอนเซอร์ต่างๆ จะไหลผ่านสยามสปอร์ตปีละหลายร้อยล้านบาท แต่ก็มีรายจ่ายที่ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะค่าลิขสิทธิ์ไทยลีกที่ได้จากทรูวิชั่นส์ ต้องเอาไปแบ่งให้ทีมในไทยพรีเมียร์ลีก และดิวิชั่น 1 และเมื่อรวมกับค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดสด ที่มีข้อบังคับว่า ต้องถ่ายทอดสดปีละไม่ต่ำกว่า 500 แมตช์ คำนวณแล้ว แทบจะไม่เหลือกำไรเท่าไหร่"

    ผู้บริหารระดับสูงของสยามสปอร์ตรายหนึ่งอธิบายว่า "สิ่งที่บริษัทได้รับ ไม่ใช่กำไรจากการเข้าไปดูแลสิทธิประโยชน์โดยตรง แต่เป็นผลประโยชน์ทางอ้อมมากกว่า เพราะยิ่งวงการฟุตบอลไทยเติบโตเท่าไหร่ ยอดขายสื่อในเครือ และเงินค่าโฆษณาก็ยิ่งเติบโตขึ้น"

    ในปี 2556 สมาคมฟุตบอลยุควรวีร์ เซ็นสัญญาระยะยาวกับสยามสปอร์ต ให้เป็นผู้ดูแลสิทธิประโยชน์ไทยลีก อีก 10 ปี (2556-2565)

    โดยจุดนี้ มีรายงานไม่ตรงกัน บางแหล่งบอกว่า ส่วนแบ่งกำไรอยู่ที่ 95% - 5% ตามเดิม แต่บางแหล่งข่าวบอกว่า ถูกปรับเป็น 50% - 50% แล้ว

    ตอนนั้นแม้จะต่อสัญญากันระยะยาว แต่ดราม่าไม่มี เพราะไทยลีกยังไม่บูม หลายคนมองว่าไทยลีก เป็นเผือกร้อนด้วยซ้ำ ที่โอกาสขาดทุน มากกว่ากำไร

    อย่างไรก็ตาม จุดพลิกผันสำคัญก็เกิดขึ้น ในปี 2557 เมื่อเกิดปรากฏการณ์ "บอลไทยฟีเวอร์"

    เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง รับตำแหน่งเฮดโค้ชทีมชาติ แล้วพาทีมช้างศึกคว้าแชมป์ AFF เป็นครั้งแรกในรอบ 10 ปี พร้อมทั้งทำผลงานมาสเตอร์พีซในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก จนทีมไทย เข้าถึงรอบ 12 ทีมสุดท้าย เป็นครั้งแรกในรอบ 16 ปี

    ทีมชาติชุดใหญ่ มีสตาร์ขึ้นมาประดับวงการพร้อมกันหลายคน เช่น ชนาธิป สรงกระสินธิ์, อดิศักดิ์ ไกรษร, สารัช อยู่เย็น, ชาริล ชัปปุยส์ ฯลฯ ในช่วง AFF จากนั้นก็เพิ่มเติมด้วยผู้เล่นซีเนียร์ ทั้งธีรศิลป์ แดงดา และ ธีราทร บุญมาทัน คือไม่ใช่แค่ชุดใหญ่เท่านั้น แต่บอลเยาวชน ไทยฟอร์มดีมาก คว้าชัยชนะได้ทุกรุ่น

    ทุกอย่างมันส่งเสริมกัน ทำให้ทีมชาติไทย บูมขึ้นแบบพุ่งทะยาน อานิสงส์ก็กลับมาหาไทยลีก ที่มีคนเข้ามาดูอย่างคับคั่ง ทั้งขาจร-ขาประจำ ขณะที่ เรตติ้งถ่ายทอดสดพุ่งสูงมาก

    นักกีฬากลายเป็นไอดอลของเด็กๆ แต่ละคนได้รับงานโฆษณา เป็นรายได้เสริมนอกเหนือจากค่าจ้างในการเล่นฟุตบอลด้วย

    ความนิยมของไทยลีก ทำให้ทรูวิชั่นส์ จ่ายเงินค่าถ่ายทอดสด สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ นั่นคือ สัญญา 4 ปี 4,200 ล้านบาท (เฉลี่ยฤดูกาลละ 1,050 ล้านบาท)

    ไม่ใช่แค่ไทยลีก แต่ลิขสิทธิ์ของทีมชาติชุดใหญ่ ก็ขายได้ราคาดีมาก ในช่วงบอลไทยฟีเวอร์ สามารถขายลิขสิทธิ์ทีมชาติ กับทางไทยรัฐทีวี ได้เงินนัดละ 750,000 บาท

    จากที่สยามสปอร์ต เคยเข้าเนื้อมาหลายๆ ปีติดต่อกัน ในที่สุด เมื่อบอลไทยบูมพร้อมกัน ทั้งสโมสรและทีมชาติ ก็ถึงเวลาที่พวกเขาจะเก็บเกี่ยวกำไรอย่างเป็นชิ้นเป็นอันแล้ว

    แต่แล้วสถานการณ์ก็พลิกผัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 เมื่อสมาคมมีการเลือกตั้งนายกครั้งใหม่ และพล.ต.อ.สมยศ เป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง ล้างบางขั้วเก่าจนราบคาบ

    สิ่งที่ยังกั๊กๆ กันอยู่ คือพล.ต.อ.สมยศเป็นนายกก็จริง แต่คนดูแลสิทธิประโยชน์ไทยลีก จนถึงปี 2565 ดันเป็นสยามสปอร์ต ซึ่งอยู่ฝั่งขั้วอำนาจเก่าของวรวีร์

    ในมุมของพล.ต.อ.สมยศ จึงเป็นเรื่องกลืนไม่เข้าคายไม่ออก เพราะตัวเองเป็นนายกสมาคมแท้ๆ แต่ผลกำไรของบอลไทย กลับไปตกอยู่ในมือของอีกขั้วหนึ่ง

    นอกจากนั้น ในมุมของสมาคม มั่นใจว่าถ้าหาผู้ดูแลเจ้าอื่น สมาคมน่าจะได้ส่วนแบ่งมากกว่านี้

    หลังจาก พล.ต.อ.สมยศ ชนะเลือกตั้งเพียงแค่เดือนเดียว มีนาคม 2559 เขาตัดสินใจประกาศ "ยกเลิกสัญญา" กับสยามสปอร์ต ในช่วง 7 ปีที่เหลือ (2559-2565)

    พล.ต.อ.สมยศให้สัมภาษณ์ว่า "เราพิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับสมาคม เป็นสัญญาผู้ขาดแต่เพียงผู้เดียว ไม่มีการกำหนดค่าตอบแทนขั้นต่ำให้ ส่งผลให้สมาคม ไม่สามารถวางแผนงบประมาณดำเนินการได้ด้วยตัวเอง"

    อธิบายคือ สัญญาฉบับเดิมที่เซ็นกัน สยามสปอร์ตจะเป็นฝ่ายแจ้งเองว่าปีนี้ได้กำไรเท่าไหร่ แล้วจะแบ่งจัดสรรให้สมาคมเอง แต่ถ้าขาดทุนก็ไม่ต้องจ่าย

    วิธีการนี้ ไม่มีกำหนดว่า ต้องจ่าย "ขั้นต่ำ" เท่าไหร่ คือไม่มีตัวเลขระบุ ฝั่งสมาคมเอง ก็มองว่า แบบนี้จะตกแต่งเลขอย่างไรก็ได้น่ะสิ

    พล.ต.อ.สมยศ กล่าวปิดท้ายว่า "ผมไม่มีความขัดแย้งกับบริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเคท ผมเข้ามาทำหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นนายกฯ สมาคม และอาสาเข้ามาแก้ปัญหาต่างๆ ซึ่งเมื่อเห็นว่ามันไม่ถูกต้อง ก็อยากทำให้ถูกต้อง เพื่อรักษาผลประโยชน์ของสมาคมฯ และประชาชนชาวไทย"

    หลังจากยกเลิกสัญญากับสยามสปอร์ต 1 เดือนเท่านั้น เมษายน 2559 สมาคมเซ็นสัญญากับ แพลนบี มีเดีย เป็นผู้ดูแลสิทธิประโยชน์รายใหม่แทน

    เซ็นฉบับแรก (4 ปี) ในปี 2559-2563 และเซ็นในฉบับที่สอง (8 ปี) ในช่วงปี 2564-2571

    และคดีความที่เป็นข่าวใหญ่ ก็เริ่มต้นจากจุดนี้

    เพราะฝั่งสยามสปอร์ตยอมไม่ได้ ที่โดนฉีกสัญญาที่เหลืออยู่ถึง 7 ปีทิ้งลงดื้อๆ

    คือในมุมของสยามสปอร์ตนั้น สมาคมของพล.ต.อ.สมยศ จะคิดว่าสัญญาไม่เป็นธรรม หรือ ได้ส่วนแบ่งน้อย หรืออะไรก็แล้วแต่ แต่ในเมื่อมันมีการเซ็นสัญญาอย่างถูกต้องแล้ว มาโดนฉีกทิ้งแบบนี้ เขาก็เสียหายทางธุรกิจเช่นกัน แล้วแผนงานที่เตรียมไว้หลายปีต่อจากนี้ ใครจะรับผิดชอบ

    ที่ผ่านมา เขาลงทุนกับบอลไทยมาตั้งเยอะ แล้วพอวันที่มีโอกาสเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ ก็มาโดนฉีกสัญญาทิ้ง มันยุติธรรมกับเขาหรือไม่?

    นั่นทำให้ สยามสปอร์ตจึงฟ้องสมาคมฟุตบอล ในคดีแพ่ง ข้อหาผิดสัญญา และเรียกค่าเสียหายจำนวน 1,400 ล้านบาท

    ศาลทรัพย์สินทางปัญญาฯ รับฟ้องคดีนี้ โดยสยามสปอร์ตเป็นโจทก์ สมาคมฟุตบอลเป็นจำเลย

    ในวันที่ 23 สิงหาคม 2562 ศาลชั้นต้นตัดสินให้สยามสปอร์ตชนะคดี สมาคมฯ ต้องจ่ายเงินชดเชย 50 ล้านบาท โทษฐานบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ

    อย่างไรก็ตามทั้ง 2 ฝ่ายไม่พอใจนักกับผลการตัดสิน โดยฝ่ายกฎหมายของสยามสปอร์ต ให้สัมภาษณ์ว่า "ขอขอบคุณผู้พิพากษาที่ให้ความเป็นธรรมกับเรา อย่างไรก็ตามสยามสปอร์ต จะใช้สิทธิ์อุทธรณ์ในประเด็นเงินค่าเสียหาย ซึ่งทางเรามองว่า มีความเสียหายมากกว่า 50 ล้านบาท"

    แต่ฝั่งสมาคมฯ เองก็ไม่ยอมเช่นกัน โดยพล.ต.อ. สมยศ กล่าวว่า "ผมให้ความเคารพคำสั่งศาล แต่นี่เป็นเพียงศาลชั้นต้น สมาคมจะยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาอย่างแน่นอน"

    การต่อสู้คดีในชั้นศาลอุทธรณ์ ดำเนินการมาถึง 2 ปี และในวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 ศาลอุทธรณ์ได้ข้อสรุปว่า ตัวเลข 50 ล้านที่ศาลชั้นต้นสั่งให้สมาคม ชดใช้ มันน้อยเกินไป

    และมีคำพิพากษาแก้ ให้สมาคมฯ จ่ายเงินให้สยามสปอร์ตเพิ่มเป็น 450 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย 7.5% ต่อปี

    จากศาลชั้นต้น 50 ล้านบาท สุดท้ายมาที่ศาลอุทธรณ์ ตัวเงินเด้งขึ้นไปที่ 450 ล้านบาท

    คำวินิจฉัยจากศาล ระบุว่า

    "แม้การบอกเลิกสัญญาระหว่างจำเลยกับโจทก์ จะทำเพื่อการพัฒนาระบบการบริหารให้มีประสิทธิภาพ เพื่อจะได้มีความชัดเจนด้านค่าตอบแทน จำนวนค่าตอบแทน รวมถึง คู่สัญญาที่ฝ่ายจำเลย อาจมองว่ามีความสามารถในการบริหารจัดการมากกว่าก็ตาม ทั้งหมด ก็มิได้เป็นเหตุที่จะบอกเลิกสัญญากับโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมาย จำเลยจึงต้องจ่ายค่าเสียหายแก่โจทก์"

    เมื่อจบศาลอุทธรณ์ สยามสปอร์ตเป็นฝ่ายชนะคดีอยู่ แต่ฝั่งพล.ต.อ.สมยศ ยังไม่ยอม และตัดสินใจยื่นไปที่ฎีกาเป็นศาลสุดท้าย

    ตอนนี้การพิจารณาฎีกายังไม่ออกมา แต่สมาคมแพ้มา 2 ศาลแล้ว คงยากมาก ที่จะพลิกสถานการณ์ เอาตัวรอด ไม่เสียเงินในศาลสุดท้าย เพียงแต่จะจบแค่กี่บาทเท่านั้น

    คือฝั่ง พล.ต.อ.สมยศ มีสิทธิ์คิดอย่างไรก็ได้

    - คุณไม่พอใจได้ ที่ยุควรวีร์เซ็นสัญญายาวถึง 10 ปี กับสยามสปอร์ต

    - คุณไม่พอใจได้ ที่มองว่าส่วนแบ่งน้อยเกินไปแค่ 5%

    แต่การแก้ปัญหาไม่ใช่การหักดิบ โดยฉีกสัญญาทิ้ง ทางที่ดีกว่านั้นคือการเจรจาหาข้อตกลงร่วมกัน แต่พอคุณไปยกเลิกดื้อๆ แบบนั้น เขาก็ไปสู้ด้วยกฎหมายสิ

    และในมุมของศาล ก็ต้องตัดสินตามหลักฐานที่มันเป็นจริง แค่นั้นเอง

    ------------------------

    นั่นคือเหตุผลที่มาดามแป้ง ให้สัมภาษณ์ในวันก่อนว่า "แป้งไม่ได้มาตั้งต้นทางการเงินที่ศูนย์ แต่เริ่มจากติดลบ ติดลบ ติดลบ มันไม่แฟร์ แต่ก็ต้องทำ เพราะสมาคมฟุตบอลตั้งขึ้นมา 109 ปี ก็ต้องอยู่ต่อไป"

    เธอออกสตาร์ตมา ยังไม่ทันทำงานทำการ ก็มีหนี้สิ้น 450 ล้านบาท รออยู่ ถือว่าเป็นนายกสมาคมที่เหนื่อยสาหัส ตั้งแต่วันแรกที่รับงานทีเดียว

    เอาจริงๆ ก็เห็นใจมาดามแป้งอยู่ เธอเพิ่งมารับงานได้ไม่ถึงปี แต่เจอสารพัดปัญหาให้ต้องแก้ ทั้งเรื่องมูลค่าบอลไทยตกต่ำ รวมถึงเรื่อง สมาคมติดหนี้ติดสิน คงได้แต่เป็นกำลังใจให้เธอ ผ่านช่วงวิกฤตินี้ไปให้ได้

    กับคำถามคือ จะเอาเงิน 450 ล้านจากไหนมาจ่ายสยามสปอร์ต? หรือว่าจะแลกเปลี่ยนด้วยการบาร์เตอร์ ทำอะไรสักอย่าง เราก็ต้องมาติดตามดูกันต่อไป

    พูดกันตรงๆ ว่า ถ้าคนที่มีหัวด้านธุรกิจ และ ทำงานด้านฟุตบอลมาหลายปี อย่างมาดามแป้ง ยังแก้ปัญหาเหล่านี้ไม่ได้ ก็ไม่รู้จะมีใครในประเทศไทย มาจัดการเรื่องนี้ได้อีก

    สำหรับกรณีเรื่อง สมาคม vs สยามสปอร์ตครั้งนี้ บทเรียนสำคัญคือ ความรู้สึกของคุณจะเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ จะชอบหรือไม่ชอบก็อีกเรื่องหนึ่ง

    แต่เมื่อมันมีสัญญาผูกพันกันไว้ การไปฉีกสัญญาทิ้งดื้อๆ แบบนี้ มีโอกาสสูงมากที่จะเป็นฝ่ายเจ็บตัวเอง

    สำหรับ พล.ต.อ.สมยศ วันนี้เขาลงจากตำแหน่งไปแล้ว เป้าหมายการจับโจร ที่เขาตั้งใจไว้วันแรก ก็ไม่รู้ว่าสำเร็จไหม จับใครได้หรือเปล่า ยิ่งไปกว่านั้น ยังทำให้สมาคมโดนฟ้องร้องจนเป็นหนี้เป็นสิน เป็นภาระให้คนที่มาสานงานต่ออย่างมาก

    เรื่องนี้ทำให้เห็นว่า การเป็นนายกสมาคมฟุตบอล เป็นภารกิจที่ไม่ง่ายเลย แค่บู๊อย่างเดียวไม่พอ แต่คุณต้องฉลาดรอบรู้อีกด้วย

    ถ้าทำอะไรโดยขาดความยั้งคิด องค์กรก็จะต้องเจอสถานการณ์ลำบาก เป็นภาระให้คนรับงานต่อ เหมือนอย่างที่สมาคมฟุตบอลต้องเผชิญอยู่ในเวลานี้”
    ที่มา : https://www.facebook.com/share/ZvKUvXwxRkMKfBci/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    บทความน่าสนใจของเพจวิเคราะห์บอลจริงจังเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2567 มีประเด็นที่มาของการแพ้คดีที่สมาคมฟุตบอลฯยุคพลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วงฟ้องบริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเคท ต่อมาศาลทรัพย์สินทางปัญญาตัดสินให้สมาคมฯต้องจ่าย450ล้านบาท เนื้อหาระบุว่า “มาดามแป้ง -นวลพรรณ ล่ำซำ โอดครวญว่า เธอต้องเข้ามาเป็นนายกสมาคม แบบ "ติดลบ" เพราะมีหนี้สิน ถูกทิ้งไว้ให้ต้องรับผิดชอบ เป็นจำนวนมหาศาล หนี้ที่เธอกล่าวถึง คือ ค่าชดเชยที่ศาลทรัพย์สินทางปัญญาฯ สั่งให้สมาคม ต้องจ่ายให้บริษัท สยามสปอร์ต ซินดิเคต เป็นจำนวน 450 ล้านบาท คดีนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วทำไมสมาคมถึงแพ้ เราจะไปลำดับเหตุการณ์กันตั้งแต่แรกนะครับ ย้อนกลับไป ในปี 2559 พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ได้รับเลือกให้เป็นนายกสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย และเขาประกาศจุดยืนไว้ว่า "ผมจะเข้ามาเก็บกวาดบ้าน ผมจะเข้ามาจับโจร" สิ่งที่ พล.ต.อ.สมยศ ให้ความสำคัญอันดับแรก ไม่ใช่เรื่องของฟุตบอล แต่เป็นการเดินหน้าฟ้องร้อง ผู้ที่มีข้อพิพาทกับสมาคม จำนวนทั้งสิ้น 3 คดี 2 คดีแรก เกี่ยวกับวรวีร์ มะกูดี เรื่องการสร้างศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติที่หนองจอก และ เรื่องยักยอกทรัพย์ ส่วนคดีที่ 3 เกี่ยวข้องกับบริษัท สยามสปอร์ต ซินดิเคต จำกัด (มหาชน) ก่อนที่เราจะไปเล่าคดี สมยศ vs สยามสปอร์ต เราจำเป็นต้องปูพื้นแบ็กกราวน์ของเรื่องก่อน เพื่อความเข้าใจในภาพรวมที่ชัดเจนขึ้น ฟุตบอลไทยลีก ก่อตั้งในปี 2539 ณ เวลานั้น คนดูในสนามแทบไม่มี ความนิยมตกต่ำมาก ในช่วง 5 ปีแรก (2539-2544) สมาคมยุควิจิตร เกตุแก้ว พยายามจัดการด้วยตัวเอง แต่สุดท้ายก็ไปไม่ไหว ขาดทุนยับ นั่นทำให้ สุชาติ มุฑุกัณฑ์ ทีมผู้บริหารของสมาคมฟุตบอลขณะนั้น มาขอร้องให้ บริษัท สยามสปอร์ต ช่วยเป็นออร์กาไนเซอร์ จัดการแข่งขันลีกอาชีพขึ้นมา พร้อมทั้งช่วงประชาสัมพันธ์เต็มรูปแบบ เพราะสยามสปอร์ตเป็นสื่อใหญ่ที่มีทรัพยากรในมือ น่าจะช่วยสร้างความนิยมให้ไทยลีกได้ สิ่งที่จะเอามาแลกเปลี่ยน ก็คือ ให้สยามสปอร์ตเป็น "ผู้ดูแลสิทธิประโยชน์ของไทยลีก" สำหรับส่วนแบ่งของรายได้ในแต่ละปีนั้น มีรายงานว่า - ถ้าได้กำไร สยามสปอร์ตจะได้ ส่วนแบ่งกำไร 95% สมาคมได้ 5% - ถ้าขาดทุน สยามสปอร์ตต้องรับผิดชอบเองทั้งหมด ถ้าดูตัวเลขนี้ (95% - 5%) ดูเหมือนสยามสปอร์ตจะได้ส่วนแบ่งเยอะก็จริง แต่อย่าลืมว่าตอนนั้นฟุตบอลไทยยังไม่มีมูลค่า ถ้าสมาคมเอาไปทำเอง อย่าว่าแต่กำไร 5% เลย มีแต่จะเข้าเนื้อก็เท่านั้น และต่อให้สยามสปอร์ตจะเอาไปทำ ก็ใช่ว่าจะได้กำไรมากมายอะไร สุดท้ายสัญญาก็เลยออกมาในรูปแบบนั้น ดีลระหว่างสยามสปอร์ต กับ สมาคมในยุควิจิตร เกตุแก้ว ก็เลยเกิดขึ้น โดยสยามสปอร์ตมีหน้าที่ ต้องจัดการแข่งขันและโปรโมท ไทยลีก, ลีกรอง และ ลีกภูมิภาคทั้งหมด ระวิ โหลทอง ผู้บริหารสูงสุดของสยามสปอร์ตกล่าวไว้ว่า "ถ้าผมทำฟุตบอลนอกอย่างเดียว ผมก็ไม่ขาดทุนแล้ว แต่เมื่อผมมาทำไทยลีก ก็ไม่อยากให้มีปัญหาต่อกัน ผมลงทุนทำทีมฟุตบอลเพื่อให้วงการสนุก ส่วนตัวแล้วเรื่องเงินทองไม่มีปัญหาสำหรับผม คนอาจจะมองว่าสยามสปอร์ตได้กำไร แต่มันไม่ใช่ หุ้นบริษัทก็ไม่เคยกระดิก" นับจากปี 2544 สยามสปอร์ตเป็นผู้บริหารสิทธิประโยชน์ของไทยลีกมาเรื่อยๆ ซึ่งระหว่างนี้ นายกสมาคม เปลี่ยนคนจากวิจิตร เกตุแก้ว เป็นวรวีร์ มะกูดี แต่ก็ยังเซ็นสัญญากันต่อเนื่องกันไป ไม่มีปัญหาอะไร รายงานจาก Thaipublica เปิดเผยว่าสยามสปอร์ตในฐานะผู้ดูแลสิทธิประโยชน์ ได้กำไรน้อยมาก โดยเนื้อหาระบุว่า "แม้เม็ดเงินจากสปอนเซอร์ต่างๆ จะไหลผ่านสยามสปอร์ตปีละหลายร้อยล้านบาท แต่ก็มีรายจ่ายที่ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะค่าลิขสิทธิ์ไทยลีกที่ได้จากทรูวิชั่นส์ ต้องเอาไปแบ่งให้ทีมในไทยพรีเมียร์ลีก และดิวิชั่น 1 และเมื่อรวมกับค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดสด ที่มีข้อบังคับว่า ต้องถ่ายทอดสดปีละไม่ต่ำกว่า 500 แมตช์ คำนวณแล้ว แทบจะไม่เหลือกำไรเท่าไหร่" ผู้บริหารระดับสูงของสยามสปอร์ตรายหนึ่งอธิบายว่า "สิ่งที่บริษัทได้รับ ไม่ใช่กำไรจากการเข้าไปดูแลสิทธิประโยชน์โดยตรง แต่เป็นผลประโยชน์ทางอ้อมมากกว่า เพราะยิ่งวงการฟุตบอลไทยเติบโตเท่าไหร่ ยอดขายสื่อในเครือ และเงินค่าโฆษณาก็ยิ่งเติบโตขึ้น" ในปี 2556 สมาคมฟุตบอลยุควรวีร์ เซ็นสัญญาระยะยาวกับสยามสปอร์ต ให้เป็นผู้ดูแลสิทธิประโยชน์ไทยลีก อีก 10 ปี (2556-2565) โดยจุดนี้ มีรายงานไม่ตรงกัน บางแหล่งบอกว่า ส่วนแบ่งกำไรอยู่ที่ 95% - 5% ตามเดิม แต่บางแหล่งข่าวบอกว่า ถูกปรับเป็น 50% - 50% แล้ว ตอนนั้นแม้จะต่อสัญญากันระยะยาว แต่ดราม่าไม่มี เพราะไทยลีกยังไม่บูม หลายคนมองว่าไทยลีก เป็นเผือกร้อนด้วยซ้ำ ที่โอกาสขาดทุน มากกว่ากำไร อย่างไรก็ตาม จุดพลิกผันสำคัญก็เกิดขึ้น ในปี 2557 เมื่อเกิดปรากฏการณ์ "บอลไทยฟีเวอร์" เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง รับตำแหน่งเฮดโค้ชทีมชาติ แล้วพาทีมช้างศึกคว้าแชมป์ AFF เป็นครั้งแรกในรอบ 10 ปี พร้อมทั้งทำผลงานมาสเตอร์พีซในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก จนทีมไทย เข้าถึงรอบ 12 ทีมสุดท้าย เป็นครั้งแรกในรอบ 16 ปี ทีมชาติชุดใหญ่ มีสตาร์ขึ้นมาประดับวงการพร้อมกันหลายคน เช่น ชนาธิป สรงกระสินธิ์, อดิศักดิ์ ไกรษร, สารัช อยู่เย็น, ชาริล ชัปปุยส์ ฯลฯ ในช่วง AFF จากนั้นก็เพิ่มเติมด้วยผู้เล่นซีเนียร์ ทั้งธีรศิลป์ แดงดา และ ธีราทร บุญมาทัน คือไม่ใช่แค่ชุดใหญ่เท่านั้น แต่บอลเยาวชน ไทยฟอร์มดีมาก คว้าชัยชนะได้ทุกรุ่น ทุกอย่างมันส่งเสริมกัน ทำให้ทีมชาติไทย บูมขึ้นแบบพุ่งทะยาน อานิสงส์ก็กลับมาหาไทยลีก ที่มีคนเข้ามาดูอย่างคับคั่ง ทั้งขาจร-ขาประจำ ขณะที่ เรตติ้งถ่ายทอดสดพุ่งสูงมาก นักกีฬากลายเป็นไอดอลของเด็กๆ แต่ละคนได้รับงานโฆษณา เป็นรายได้เสริมนอกเหนือจากค่าจ้างในการเล่นฟุตบอลด้วย ความนิยมของไทยลีก ทำให้ทรูวิชั่นส์ จ่ายเงินค่าถ่ายทอดสด สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ นั่นคือ สัญญา 4 ปี 4,200 ล้านบาท (เฉลี่ยฤดูกาลละ 1,050 ล้านบาท) ไม่ใช่แค่ไทยลีก แต่ลิขสิทธิ์ของทีมชาติชุดใหญ่ ก็ขายได้ราคาดีมาก ในช่วงบอลไทยฟีเวอร์ สามารถขายลิขสิทธิ์ทีมชาติ กับทางไทยรัฐทีวี ได้เงินนัดละ 750,000 บาท จากที่สยามสปอร์ต เคยเข้าเนื้อมาหลายๆ ปีติดต่อกัน ในที่สุด เมื่อบอลไทยบูมพร้อมกัน ทั้งสโมสรและทีมชาติ ก็ถึงเวลาที่พวกเขาจะเก็บเกี่ยวกำไรอย่างเป็นชิ้นเป็นอันแล้ว แต่แล้วสถานการณ์ก็พลิกผัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 เมื่อสมาคมมีการเลือกตั้งนายกครั้งใหม่ และพล.ต.อ.สมยศ เป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง ล้างบางขั้วเก่าจนราบคาบ สิ่งที่ยังกั๊กๆ กันอยู่ คือพล.ต.อ.สมยศเป็นนายกก็จริง แต่คนดูแลสิทธิประโยชน์ไทยลีก จนถึงปี 2565 ดันเป็นสยามสปอร์ต ซึ่งอยู่ฝั่งขั้วอำนาจเก่าของวรวีร์ ในมุมของพล.ต.อ.สมยศ จึงเป็นเรื่องกลืนไม่เข้าคายไม่ออก เพราะตัวเองเป็นนายกสมาคมแท้ๆ แต่ผลกำไรของบอลไทย กลับไปตกอยู่ในมือของอีกขั้วหนึ่ง นอกจากนั้น ในมุมของสมาคม มั่นใจว่าถ้าหาผู้ดูแลเจ้าอื่น สมาคมน่าจะได้ส่วนแบ่งมากกว่านี้ หลังจาก พล.ต.อ.สมยศ ชนะเลือกตั้งเพียงแค่เดือนเดียว มีนาคม 2559 เขาตัดสินใจประกาศ "ยกเลิกสัญญา" กับสยามสปอร์ต ในช่วง 7 ปีที่เหลือ (2559-2565) พล.ต.อ.สมยศให้สัมภาษณ์ว่า "เราพิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับสมาคม เป็นสัญญาผู้ขาดแต่เพียงผู้เดียว ไม่มีการกำหนดค่าตอบแทนขั้นต่ำให้ ส่งผลให้สมาคม ไม่สามารถวางแผนงบประมาณดำเนินการได้ด้วยตัวเอง" อธิบายคือ สัญญาฉบับเดิมที่เซ็นกัน สยามสปอร์ตจะเป็นฝ่ายแจ้งเองว่าปีนี้ได้กำไรเท่าไหร่ แล้วจะแบ่งจัดสรรให้สมาคมเอง แต่ถ้าขาดทุนก็ไม่ต้องจ่าย วิธีการนี้ ไม่มีกำหนดว่า ต้องจ่าย "ขั้นต่ำ" เท่าไหร่ คือไม่มีตัวเลขระบุ ฝั่งสมาคมเอง ก็มองว่า แบบนี้จะตกแต่งเลขอย่างไรก็ได้น่ะสิ พล.ต.อ.สมยศ กล่าวปิดท้ายว่า "ผมไม่มีความขัดแย้งกับบริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเคท ผมเข้ามาทำหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นนายกฯ สมาคม และอาสาเข้ามาแก้ปัญหาต่างๆ ซึ่งเมื่อเห็นว่ามันไม่ถูกต้อง ก็อยากทำให้ถูกต้อง เพื่อรักษาผลประโยชน์ของสมาคมฯ และประชาชนชาวไทย" หลังจากยกเลิกสัญญากับสยามสปอร์ต 1 เดือนเท่านั้น เมษายน 2559 สมาคมเซ็นสัญญากับ แพลนบี มีเดีย เป็นผู้ดูแลสิทธิประโยชน์รายใหม่แทน เซ็นฉบับแรก (4 ปี) ในปี 2559-2563 และเซ็นในฉบับที่สอง (8 ปี) ในช่วงปี 2564-2571 และคดีความที่เป็นข่าวใหญ่ ก็เริ่มต้นจากจุดนี้ เพราะฝั่งสยามสปอร์ตยอมไม่ได้ ที่โดนฉีกสัญญาที่เหลืออยู่ถึง 7 ปีทิ้งลงดื้อๆ คือในมุมของสยามสปอร์ตนั้น สมาคมของพล.ต.อ.สมยศ จะคิดว่าสัญญาไม่เป็นธรรม หรือ ได้ส่วนแบ่งน้อย หรืออะไรก็แล้วแต่ แต่ในเมื่อมันมีการเซ็นสัญญาอย่างถูกต้องแล้ว มาโดนฉีกทิ้งแบบนี้ เขาก็เสียหายทางธุรกิจเช่นกัน แล้วแผนงานที่เตรียมไว้หลายปีต่อจากนี้ ใครจะรับผิดชอบ ที่ผ่านมา เขาลงทุนกับบอลไทยมาตั้งเยอะ แล้วพอวันที่มีโอกาสเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ ก็มาโดนฉีกสัญญาทิ้ง มันยุติธรรมกับเขาหรือไม่? นั่นทำให้ สยามสปอร์ตจึงฟ้องสมาคมฟุตบอล ในคดีแพ่ง ข้อหาผิดสัญญา และเรียกค่าเสียหายจำนวน 1,400 ล้านบาท ศาลทรัพย์สินทางปัญญาฯ รับฟ้องคดีนี้ โดยสยามสปอร์ตเป็นโจทก์ สมาคมฟุตบอลเป็นจำเลย ในวันที่ 23 สิงหาคม 2562 ศาลชั้นต้นตัดสินให้สยามสปอร์ตชนะคดี สมาคมฯ ต้องจ่ายเงินชดเชย 50 ล้านบาท โทษฐานบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ อย่างไรก็ตามทั้ง 2 ฝ่ายไม่พอใจนักกับผลการตัดสิน โดยฝ่ายกฎหมายของสยามสปอร์ต ให้สัมภาษณ์ว่า "ขอขอบคุณผู้พิพากษาที่ให้ความเป็นธรรมกับเรา อย่างไรก็ตามสยามสปอร์ต จะใช้สิทธิ์อุทธรณ์ในประเด็นเงินค่าเสียหาย ซึ่งทางเรามองว่า มีความเสียหายมากกว่า 50 ล้านบาท" แต่ฝั่งสมาคมฯ เองก็ไม่ยอมเช่นกัน โดยพล.ต.อ. สมยศ กล่าวว่า "ผมให้ความเคารพคำสั่งศาล แต่นี่เป็นเพียงศาลชั้นต้น สมาคมจะยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาอย่างแน่นอน" การต่อสู้คดีในชั้นศาลอุทธรณ์ ดำเนินการมาถึง 2 ปี และในวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 ศาลอุทธรณ์ได้ข้อสรุปว่า ตัวเลข 50 ล้านที่ศาลชั้นต้นสั่งให้สมาคม ชดใช้ มันน้อยเกินไป และมีคำพิพากษาแก้ ให้สมาคมฯ จ่ายเงินให้สยามสปอร์ตเพิ่มเป็น 450 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย 7.5% ต่อปี จากศาลชั้นต้น 50 ล้านบาท สุดท้ายมาที่ศาลอุทธรณ์ ตัวเงินเด้งขึ้นไปที่ 450 ล้านบาท คำวินิจฉัยจากศาล ระบุว่า "แม้การบอกเลิกสัญญาระหว่างจำเลยกับโจทก์ จะทำเพื่อการพัฒนาระบบการบริหารให้มีประสิทธิภาพ เพื่อจะได้มีความชัดเจนด้านค่าตอบแทน จำนวนค่าตอบแทน รวมถึง คู่สัญญาที่ฝ่ายจำเลย อาจมองว่ามีความสามารถในการบริหารจัดการมากกว่าก็ตาม ทั้งหมด ก็มิได้เป็นเหตุที่จะบอกเลิกสัญญากับโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมาย จำเลยจึงต้องจ่ายค่าเสียหายแก่โจทก์" เมื่อจบศาลอุทธรณ์ สยามสปอร์ตเป็นฝ่ายชนะคดีอยู่ แต่ฝั่งพล.ต.อ.สมยศ ยังไม่ยอม และตัดสินใจยื่นไปที่ฎีกาเป็นศาลสุดท้าย ตอนนี้การพิจารณาฎีกายังไม่ออกมา แต่สมาคมแพ้มา 2 ศาลแล้ว คงยากมาก ที่จะพลิกสถานการณ์ เอาตัวรอด ไม่เสียเงินในศาลสุดท้าย เพียงแต่จะจบแค่กี่บาทเท่านั้น คือฝั่ง พล.ต.อ.สมยศ มีสิทธิ์คิดอย่างไรก็ได้ - คุณไม่พอใจได้ ที่ยุควรวีร์เซ็นสัญญายาวถึง 10 ปี กับสยามสปอร์ต - คุณไม่พอใจได้ ที่มองว่าส่วนแบ่งน้อยเกินไปแค่ 5% แต่การแก้ปัญหาไม่ใช่การหักดิบ โดยฉีกสัญญาทิ้ง ทางที่ดีกว่านั้นคือการเจรจาหาข้อตกลงร่วมกัน แต่พอคุณไปยกเลิกดื้อๆ แบบนั้น เขาก็ไปสู้ด้วยกฎหมายสิ และในมุมของศาล ก็ต้องตัดสินตามหลักฐานที่มันเป็นจริง แค่นั้นเอง ------------------------ นั่นคือเหตุผลที่มาดามแป้ง ให้สัมภาษณ์ในวันก่อนว่า "แป้งไม่ได้มาตั้งต้นทางการเงินที่ศูนย์ แต่เริ่มจากติดลบ ติดลบ ติดลบ มันไม่แฟร์ แต่ก็ต้องทำ เพราะสมาคมฟุตบอลตั้งขึ้นมา 109 ปี ก็ต้องอยู่ต่อไป" เธอออกสตาร์ตมา ยังไม่ทันทำงานทำการ ก็มีหนี้สิ้น 450 ล้านบาท รออยู่ ถือว่าเป็นนายกสมาคมที่เหนื่อยสาหัส ตั้งแต่วันแรกที่รับงานทีเดียว เอาจริงๆ ก็เห็นใจมาดามแป้งอยู่ เธอเพิ่งมารับงานได้ไม่ถึงปี แต่เจอสารพัดปัญหาให้ต้องแก้ ทั้งเรื่องมูลค่าบอลไทยตกต่ำ รวมถึงเรื่อง สมาคมติดหนี้ติดสิน คงได้แต่เป็นกำลังใจให้เธอ ผ่านช่วงวิกฤตินี้ไปให้ได้ กับคำถามคือ จะเอาเงิน 450 ล้านจากไหนมาจ่ายสยามสปอร์ต? หรือว่าจะแลกเปลี่ยนด้วยการบาร์เตอร์ ทำอะไรสักอย่าง เราก็ต้องมาติดตามดูกันต่อไป พูดกันตรงๆ ว่า ถ้าคนที่มีหัวด้านธุรกิจ และ ทำงานด้านฟุตบอลมาหลายปี อย่างมาดามแป้ง ยังแก้ปัญหาเหล่านี้ไม่ได้ ก็ไม่รู้จะมีใครในประเทศไทย มาจัดการเรื่องนี้ได้อีก สำหรับกรณีเรื่อง สมาคม vs สยามสปอร์ตครั้งนี้ บทเรียนสำคัญคือ ความรู้สึกของคุณจะเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ จะชอบหรือไม่ชอบก็อีกเรื่องหนึ่ง แต่เมื่อมันมีสัญญาผูกพันกันไว้ การไปฉีกสัญญาทิ้งดื้อๆ แบบนี้ มีโอกาสสูงมากที่จะเป็นฝ่ายเจ็บตัวเอง สำหรับ พล.ต.อ.สมยศ วันนี้เขาลงจากตำแหน่งไปแล้ว เป้าหมายการจับโจร ที่เขาตั้งใจไว้วันแรก ก็ไม่รู้ว่าสำเร็จไหม จับใครได้หรือเปล่า ยิ่งไปกว่านั้น ยังทำให้สมาคมโดนฟ้องร้องจนเป็นหนี้เป็นสิน เป็นภาระให้คนที่มาสานงานต่ออย่างมาก เรื่องนี้ทำให้เห็นว่า การเป็นนายกสมาคมฟุตบอล เป็นภารกิจที่ไม่ง่ายเลย แค่บู๊อย่างเดียวไม่พอ แต่คุณต้องฉลาดรอบรู้อีกด้วย ถ้าทำอะไรโดยขาดความยั้งคิด องค์กรก็จะต้องเจอสถานการณ์ลำบาก เป็นภาระให้คนรับงานต่อ เหมือนอย่างที่สมาคมฟุตบอลต้องเผชิญอยู่ในเวลานี้” ที่มา : https://www.facebook.com/share/ZvKUvXwxRkMKfBci/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 632 มุมมอง 0 รีวิว
  • Newsstory : สนธิลั่น "สู้สุดซอย ไม่ถอย" วิบากกรรมครั้งนี้ "สมยศ" คือที่สุด
    #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่
    #สมยศ
    Newsstory : สนธิลั่น "สู้สุดซอย ไม่ถอย" วิบากกรรมครั้งนี้ "สมยศ" คือที่สุด #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่ #สมยศ
    Like
    Love
    17
    0 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 1735 มุมมอง 696 0 รีวิว
  • Newsstory : กรรมติดจรวด พุ่งใส่"สมยศ" เต็มคาราเบล
    หลังช่วยคดี "บอส อยู่วิทยา"
    #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    #นิวส์สตอรี่ #บอสอยู่วิทยา #สมยศ
    Newsstory : กรรมติดจรวด พุ่งใส่"สมยศ" เต็มคาราเบล หลังช่วยคดี "บอส อยู่วิทยา" #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่ #บอสอยู่วิทยา #สมยศ
    Like
    Haha
    12
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1608 มุมมอง 366 0 รีวิว
  • Sondhitalk EP 258 : กรรมตามทัน “สมยศ” ไซด์ไลน์ (Full)

    - กรรมตามทัน “สมยศ ไซด์ไลน์”
    - จุบจบ “ประชาธิปัตย์”
    - ยุ “ลุงป้อม” สู้ต่อทักษิณ
    - มหาศึกชิงข้อมูล ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า
    - แนวรบทะเลจีนใต้

    #สนธิทอล์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิลิ้มทองกุล #sondhiapp #thaitime #สมยศ #บอสอยู่วิทยา #การเมือง #ประชาธิปัตย์ #บิ๊กป้อม #พลังประชารฐ #ทักษิณ #data #Baidu #สงคราม #ไต้หวัน
    Sondhitalk EP 258 : กรรมตามทัน “สมยศ” ไซด์ไลน์ (Full) - กรรมตามทัน “สมยศ ไซด์ไลน์” - จุบจบ “ประชาธิปัตย์” - ยุ “ลุงป้อม” สู้ต่อทักษิณ - มหาศึกชิงข้อมูล ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า - แนวรบทะเลจีนใต้ #สนธิทอล์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิลิ้มทองกุล #sondhiapp #thaitime #สมยศ #บอสอยู่วิทยา #การเมือง #ประชาธิปัตย์ #บิ๊กป้อม #พลังประชารฐ #ทักษิณ #data #Baidu #สงคราม #ไต้หวัน
    Like
    Love
    Yay
    Haha
    100
    2 ความคิดเห็น 3 การแบ่งปัน 11747 มุมมอง 5199 4 รีวิว
  • SONDHITALK : ผู้เฒ่าเล่าเรื่อง Ep258 (live)
    กรรมกำลังทำงาน ในที่สุด “สมยศ ตำรวจไซด์ไลน์” ก็ถูกอัยการยื่นฟ้องศาล คดีช่วย “บอส อยู่วิทยา” งานนี้ใครไม่ “อาย” แต่ผม “อาย”
    https://www.youtube.com/watch?v=AjVg0IiFYeA
    SONDHITALK : ผู้เฒ่าเล่าเรื่อง Ep258 (live) กรรมกำลังทำงาน ในที่สุด “สมยศ ตำรวจไซด์ไลน์” ก็ถูกอัยการยื่นฟ้องศาล คดีช่วย “บอส อยู่วิทยา” งานนี้ใครไม่ “อาย” แต่ผม “อาย” https://www.youtube.com/watch?v=AjVg0IiFYeA
    Like
    Love
    Haha
    Yay
    81
    1 ความคิดเห็น 3 การแบ่งปัน 11165 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กางเขนแดงหัวใจขาว"
    ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล
    ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม
    ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก
    - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    - โรงพยาบาลยันฮี
    - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
    .
    "กางเขนแดงหัวใจขาว" ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - โรงพยาบาลยันฮี - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 905 มุมมอง 126 0 รีวิว
  • "ศิลปาชีพ"
    ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล
    ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์
    ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร
    ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ศิลปาชีพ" ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์ ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 842 มุมมอง 138 0 รีวิว
  • "กายเราคือเสาหลัก"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี
    ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "กายเราคือเสาหลัก" ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 819 มุมมอง 119 0 รีวิว
  • "คนโขน"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย
    ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่
    ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "คนโขน" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 813 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ภาพพันปี"
    ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม
    ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล
    ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ
    ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "ภาพพันปี" ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 831 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ
    ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า
    .
    ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย..
    .
    คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า)
    น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ)
    น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง)
    ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ)
    น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่)
    คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่
    เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง
    โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย
    ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่
    คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า
    ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา
    .
    "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า . ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย.. . คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า) น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ) น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง) ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ) น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่) คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่ เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่ คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 953 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "โพธิ์ทองของปวงไทย"
    ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์)
    ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย
    ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้
    ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej
    และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ
    .
    "โพธิ์ทองของปวงไทย" ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์) ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้ ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ .
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 864 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ"
    ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช
    ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 838 มุมมอง 80 0 รีวิว
  • "สุดหัวใจ"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล,
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล,
    ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "สุดหัวใจ" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล, เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล, ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 780 มุมมอง 81 0 รีวิว
  • "เพลงไหมแพรวา"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ,
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช
    ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน
    ปรัชญา นันธะชัย : แคน
    ==========================
    .
    ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "เพลงไหมแพรวา" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ, เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน ปรัชญา นันธะชัย : แคน ========================== . ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 788 มุมมอง 58 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1115 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1033 มุมมอง 0 รีวิว
  • ค-ดี บอสสั่งไม่ฟ้อง แต่คนที่สั่งไม่ฟ้องบอส กำลังถูกดำเนิน ค-ดี 8 ตัว สมยศ อดีตผบตร.โดนด้วย คุ้มมั๊ย ไอ่ฉัด
    #คิงส์โพธิ์แดง
    ค-ดี บอสสั่งไม่ฟ้อง แต่คนที่สั่งไม่ฟ้องบอส กำลังถูกดำเนิน ค-ดี 8 ตัว สมยศ อดีตผบตร.โดนด้วย คุ้มมั๊ย ไอ่ฉัด #คิงส์โพธิ์แดง
    Haha
    2
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 461 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดคำฟ้อง "พล.ต.อ.สมยศ" กับพวก 8 คนปฏิบัติหน้าที่มิชอบ ใช้อำนาจกดดันลูกน้องเปลี่ยนความเร็ว ส่วน "เนตร นาคสุข" ใช้ดุลพินิจตามอำเภอใจสั่งไม่ฟ้อง ศาลนัดสอบคำให้การจำเลย 10 กันยายนนี้

    29 สิงหาคม 2567 - เมื่อเวลา 10.00 น. ที่ศาลอาญาคดีทุจริตเเละประพฤติมิชอบ อัยการสูงสุด โดยพนักงานอัยการสำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดี ปราบปรามการทุจริต 1 เป็นโจทก์ยืนฟ้องพล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธ์ม่วง กับพวกรวม 8 คน เป็นจำเลยในคดีอาญา หมายเลขดำที่ อท 131 /2567 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 , 157 , 200 , 83 , 86 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 123 /1 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2563 มาตรา 172,192
    พนักงานอัยการโจทก์ฟ้องว่า คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวันที่3 ก.ย.2555 เวลาประมาณ 05.20 น. เกิดเหตุนายวรยุทธ อยู่วิทยา ผู้ต้องหา ขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลยี่ห้อเฟอรารี่ ไปตามถนนสุขุมวิทฝั่งขาออก มุ่งหน้าไปทางพระโขนง เมื่อถึงบริเวณระหว่างปากซอยสุขุมวิท 47 และปากซอยสุขุมวิท 49 ได้ชนท้ายรถจักรยานยนต์ตราโล่ซึ่งมีด.ต.วิเชียร กลั่นประเสริฐเป็นผู้ขับขี่ เป็นเหตุให้รถจักรยานยนต์คันที่ ด.ต.วิเชียร ขับขี่ส้มลงครูดไถลไปตามพื้นถนน หยุดอยู่ที่บริเวณปากซอยสุขุมวิท 49 ห่างจากจุดชนประมาณ 164.45 เมตร เป็นเหตุให้รถยนต์และรถจักรยานยนต์ ได้รับความเสียหาย ด.ต.วิเชียร ถึงแก่ความตาย
    ต่อมาพนักงานสอบสวน สน.ทองหล่อ สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานในคดีจราจรโดยมีพยานหลักฐานที่พนักงานสอบสวนรวบรวมได้เองและรวบรวมพยานเอกสารประกอบสำนวนการสอบสวน โดยมีรายงานกองพิสูจน์หลักฐาน กลุ่มงานตรวจทางเคมีฟิสิกส์ กองพิสูจน์หลักฐานกลาง ตรวจสอบรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่จากภาพของกล้องวงจรปิด และจากการวัดระยะจริง ในสถานที่เดียวกับที่ปรากฏในภาพ คำนวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงที่รถยนต์ในภาพเคลื่อนที่เข้ามาทางของภาพด้านขวาจนถึงจุดที่เคลื่อนที่ออกจากภาพทางด้านซ้ายเมื่อคำนวณอัตราเร็วอัตราเร็วโดยเฉลี่ย มีค่าเท่ากับ 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

    โดยการคำนวณดังกล่าวอาจจะมีความคลาดเคลื่อนมากขึ้นหรือน้อยลงประมาณ 17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และได้สรุปหลักฐานทางคดีและความเห็นของพนักงานสอบสวนส่งไปยังพนักงานอัยการ สำนักงานคดีอาญากรุงเทพใต้
    โดยมีความเห็นควรสั่งฟ้อง นายวรยุทธ ฐานขับรถโดยประมาทหรือน่าหวาดเสียวอันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลและทรัพย์สิน ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ขับรถในทางซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่น ไม่หยุดรถให้ความช่วยเหลือและแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ เห็นควรสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธ ฐานขับรถเร็วเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด ขับรถในขณะเมาสุราเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย เห็นควรสั่งไม่ฟ้อง ด.ต.วิเชียร ฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ชนรถผู้อื่นเสียหาย เนื่องจากถึงแก่ความตาย

    ต่อมาเมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2556 อธิบดีอัยการ สำนักงานคดีอาญากรุงเทพใต้ พิจารณาแล้ว มีคำสั่งฟ้องนายวรยุทธ ในข้อหาขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ชนรถของผู้อื่นเสียหาย และ มีผู้ถึงแก่ความตาย ขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด และขับรถในทางก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลและทรัพย์สินของผู้อื่น ไม่หยุดรถและให้ความช่วยเหลือตามสมควรฯ และมีคำสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธ ในข้อหาขับรถในขณะเมาสุราเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ยุติการดำเนินคดีกับ ด.ต.วิเชียร ในข้อหาขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ขนรถของผู้อื่นเสียหาย ต่อมาผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้พิจารณาแล้วไม่แย้งคำสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธฐานขับรถในขณะเมาสุราเป็นเหตุให้ผู้อื่น ถึงแก่ความตาย คำสั่งไม่ฟ้องจึงเด็ดขาดเป็นที่ยุติ

    ในระหว่างนั้นความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้รถของผู้อื่นเสียหาย ขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ขับรถในทางซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินผู้อื่น ไม่หยุดรถและให้ความช่วยเหลือตามสมควรฯ ได้ล่วงเลยพ้นกำหนดระยะเวลาอายุความตามกฎหมาย คงเหลือความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย

    ต่อมาจำเลยที่ 8 ในฐานะพนักงานอัยการผู้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาสั่งคดี ที่มีการร้องขอความเป็นธรรมต่ออัยการสูงสุดได้พิจารณาคำร้องขอความเป็นธรรมของนายวรยุทธและมีคำสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา291 และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติโดยผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติที่ได้รับมอบหมาย ไม่แย้งคำสั่งพนักงานอัยการ คำสั่งไม่ฟ้อง จึงเป็น อันเด็ดขาด
    ขณะเกิดเหตุ จำเลยที่ 1 ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและเป็นคณะกรรมาธิการการกฎหมายกระบวนการยุติธรรมและกิจการตำรวจ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จำเลยที่ 2 ขณะเกิดเหตุดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกองพิสูจน์หลักฐานกลาง สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติจำเลยที่ 3 ขณะเกิดเหตุดำรงตำแหน่งพนักงานสอบสวนสถานีตำรวจนครบาลทองหล่อ กองบังคับการตำรวจนครบาล4 กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำเลยที่4-7 ในขณะเกิดเหตุมิได้มีสถานะหรือได้กระทำการในสถานะเป็นเจ้าพนักงาน แต่เป็นบุคคลผู้สนับสนุนเจ้าพนักงานตามกฎหมาย หรือเจ้าพนักงานของรัฐในการกระทำผิด จำเลยที่ 8 ขณะเกิดเหตุดำรงตำแหน่งอธิบดีอัยการ สำนักงานคดีอัยการศาลสูง รักษาการในตำแหน่งรองอัยการสูงสุด ได้รับมอบหมายและมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนอัยการสูงสุด

    เมื่อระหว่างวันที่ 29 ก.พ. 2559 เวลากลางวัน ถึงวันที่ 13 มิ.ย.2563 เวลากลางวัน จำเลยทั้งแปดได้กระทำความผิดจำเลยที่1-3 ได้อาศัยโอกาสที่ตนเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบร่วมกับจำเลยที่ 4-7 สมคบกันกระทำผิดด้วยการวางแผนร่วมกันเปลี่ยนแปลงความเร็วของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ในวันเกิดเหตุเฉี่ยวชนกับรถจักรยานยนต์คันที่ ด.ต.วิเชียร ขับขี่จนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและ ด.ต.วิเชียรถึงแก่ความตาย จากความเร็วของรถยนต์ตามรายงานการตรวจพิสูจน์ของกลุ่มงานตรวจทางเคมีฟิสิกส์ กองพิสูจน์หลักฐานกลาง ลงวันที่ 26 ก.ย. 2555 ซึ่งมี พ.ต.อ. ธ เป็นผู้จัดทำรายงานไว้ว่ารถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่มีความเร็วโดยเฉลี่ย 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีความคลาดเคลื่อนมากขึ้นหรือ น้อยลงประมาณ 17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ให้เป็นความเร็วไม่เกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตามที่ได้วางแผนกัน
    โดยให้จำเลยที่5 ดำเนินการยื่นคำร้องขอความเป็นธรรม ครั้งที่ 9 ต่อพนักงานอัยการในคดีที่นายวรยุทธเป็นผู้ต้องหา ขอให้สอบพยาน พ.ต.อ. ธ. ในประเด็นเกี่ยวกับการคำนวณความเร็วของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ เมื่อพนักงานอัยการมีคำสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. ตามที่ร้องขอ จำเลยที่5 และจำเลยที่6 ได้ทำหน้าที่ติดต่อประสานงานกับจำเลยที่ 7 ซึ่งเป็นอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัย ให้ดำเนินการคิดวิธีคำนวณความเร็วของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ให้มีความเร็ว ไม่เกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และจำเลยที่ 7 ได้คิดค้นหาวิธีคำนวณโดยใช้วิธีนำความยาวของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่แล่นผ่านจุดใดจุดหนึ่งตามภาพที่ได้จากคลิปไฟล์ภาพที่ไม่ใช่ไฟล์ภาพต้นฉบับมาใช้คำนวณจนทำให้คำนวณความเร็วรถยนต์ได้ไม่เกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อันเป็นการคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงอย่างมาก

    จากนั้นจำเลยที่ 3 อาศัยโอกาสที่ตนเป็นพนักงานสอบสวนมีหน้าที่สอบสวนเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. ตามคำสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานอัยการ โดยนัดแนะและให้จำเลยที่ 1 ,2,4,5,7 เข้าร่วมการสอบปากคำดังกล่าวด้วย จากนั้นในขณะการสอบปากคำเพิ่มเติมจำเลยที่ 3 ได้ปล่อยให้จำเลยที่ 7 ได้แสดงวิธีคิดคำนวณความเร็วรถยนต์ตามที่ได้นัดแนะกับจำเลยที่5-6 ให้ พ.ต.อ. ธ.ดูเพื่อโน้มน้าว พ.ต.อ. ธ. ให้เชื่อคล้อยตามวิธีคิดคำนวณของจำเลยที่ 7 ที่ตระเตรียมมา โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งร่วมกับจำเลยที่ 2 ในฐานะ ผู้บังคับบัญชาของ พ.ต.อ. ธ. อาศัยโอกาสที่มีอำนาจหน้าที่ร่วมกับจำเลยที่ 4-5 ทำการใช้อิทธิพลบังคับกดดันและโน้มน้าว พ.ต.อ. ธ. ให้ยึดถือวิธีการคิดคำนวณตามที่จำเลยที่นำเสนอ
    โดยจำเลยที่ 1 ได้ทำการพูดในขณะร่วมสนทนาและสอบปากคำว่า "สิ่งหนึ่งที่ผมพูดกับคุยน้อง มันไว้ ก็คือน้องเนี่ยคำนวณจากระยะ แล้วก็ออกมาเป็นความเร็ว ความเร็วที่คิดมันคิดจากทฤษฎีที่เป็นทฤษฎีที่คิดในห้องทดลอง ห้องทดลองก็จะอากาศเบาบาง คือมันพยายามให้คิดความเร็วเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ เพื่อการทำมาร์เก็ตติ้งความเร็วเท่าไหร่ เร่งเท่าไหร่ แต่ว่าในความเป็นจริง ในทัศนวิสัยเช่นว่ายามเช้าอากาศหนักอะไรอย่างเนี่ย ความเร็วไม่เป็นไปตามทฤษฎี นี่คือสิ่งที่ผมคิดนะ อย่างที่สองคือระยะทางที่ใช้คำนวณหน้ากล้องหลังกล้อง ความเร็วอาจจะเปลี่ยน อาจจะเร็วขึ้นก็ได้ อาจจะลดลงก็ได้ลดลงเพราะว่าทัศนวิสัยการจราจรอะไรก็แล้วแต่ที่มันอยู่ข้างหน้า ซึ่งในกล้องมันไม่ปรากฏ นี่ผมคิดในมุมมองผมแบบนี้" กับให้ พล.ต.ท. ม. ซึ่งดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจพิสูจน์หลักฐาน ในฐานะผู้บังคับบัญชาของ พ.ต.อ. ธ. พูดกับ พ.ต.อ. ธ. ว่า "ทางพี่ อ.(ซึ่งหมายถึงชื่อเล่นของจำเลยที่ 1 ) เค้าอยากให้จบในชั้นอัยการเค้าจะได้จบเลยจะได้ไม่ต้องสืบ"

    ส่วนจำเลยที่2 ในฐานะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องตรวจสอบถึงความบกพร่องของรายงานตรวจพิสูจน์หากเกิดความผิดพลาดขึ้นจริงรวมถึงตรวจสอบการคิดคำนวณตามวิธีของจำเลยที่ 7 ซึ่งใช้ไฟล์ที่มิใช่ต้นฉบับ อันเป็นข้อสงสัยถึงวิธีการคิดคำนวณว่ามิได้อยู่บนรากฐานของความถูกต้อง แต่จำเลยที่ 2 กลับไม่ดำเนินการตรวจสอบและได้พูดว่า "เราคำนวณตามอาจารย์ (ซึ่งหมายถึงจำเลยที่7 ) ได้มั้ย อาจารย์คิดได้ 79.22 เราไปลองดูซิว่าคิดตามแบบเค้าได้ไหม" สอดคล้องกับจำเลยที่ 4 ที่พูดว่า "อยากขอให้เป็น 79.22 ตามที่ อาจารย์ ส. คำนวณ"
    ซึ่งพฤติการณ์ทั้งมวลนี้แสดงถึงเจตนาประสงค์จะหักล้างหลักฐานตามที่ พ.ต.อ. ธ. ได้จัดทำรายงานเกี่ยวกับความเร็วรถยนต์ไว้ โดยใช้อิทธิพลบังคับกดดันให้ พ.ต.อ. ธ. เชื่อและยอมที่จะให้การเปลี่ยนแปลงความเร็วรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ เป็นเหตุให้ พ.ต.อ. ธ. ต้องจำยอมและให้การต่อจำเลยที่ 3 เปลี่ยนแปลงวิธีคิดคำนวณความเร็วรถยนต์จากเดิมที่คิดคำนวณไว้ความเร็วที่ 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความคลาดเคลื่อนมากขึ้นหรือน้อยลง 17 กิโลเมตรต่อชั่วโมงมาเป็นให้การว่าการคำนวณดังกล่าวนั้นคลาดเคลื่อนและทำการคำนวณความเร็วใหม่ได้ความเร็วรถยนต์ 79.22 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดังที่จำเลยที่ 7 นำเสนอ จากนั้นจำเลยที่ 3 โดยคำแนะนำของจำเลยที่ 4 ได้จัดทำคำให้การพร้อมกับทำการเปลี่ยนแปลงแก้ไขวันที่ให้การโดยคำให้การฉบับแรกจากวันที่ 29 ก.พ.2559 เป็นวันที่ 26 ก.พ.2559 และคำให้การฉบับที่สองจากวันที่ 6 มี.ค. 59 มาเป็น 1 มี.ค.59 ให้ พ.ต.อ. ธ. ลงลายมือชื่อ เป็นหลักฐานเพื่อนำส่งให้แก่พนักงานอัยการพิจารณาต่อไป
    ต่อมาจำเลยที่ 1 ในฐานะกรรมาธิการกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกิจการตำรวจ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณารายงานผลการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียนนายวรยุทธขอความเป็นธรรม กรณีการใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการ ต่อคณะกรรมาธิการๆ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ได้รับเรื่องดังกล่าวไว้พิจารณา จำเลยที่1 ควรใช้อำนาจรวบรวมข้อเท็จจริง พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องร้องเรียนโดยไม่มีการชี้ขาดหรือเลือกปฏิบัติ แต่จำเลยที่1 กลับอ้าง ข้อมูลในเหตุการณ์สอบปากคำเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. มิชอบดังกล่าวที่ตนมีส่วนร่วมอยู่ด้วยเพื่อสนับสนุนการร้องขอความเป็นธรรมให้กับนายวรยุทธ
    การกระทำดังกล่าวของจำเลยที่ 1-7 จึงเป็นการร่วมกันกระทำผิดโดยมีเจตนามุ่งเพื่อจะช่วยเหลือนายวรยุทธ ผู้ต้องหาซึ่งถูกกล่าวหากระทำผิดฐาน ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายมิให้ต้องรับโทษหรือให้รับโทษน้อยลง อันเป็นการ มิชอบต่อกฎหมาย เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ต.อ. ธ. ญาติของ ด.ต.วิเชียร ผู้ตายและบุคคลหรือประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องจำเลยที่ 8

    ต่อมาจำเลยที่ 1 ในฐานะกรรมาธิการกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกิจการตำรวจ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณารายงานผลการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียนนายวรยุทธขอความเป็นธรรม กรณีการใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการ ต่อคณะกรรมาธิการๆ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ได้รับเรื่องดังกล่าวไว้พิจารณา จำเลยที่1 ควรใช้อำนาจรวบรวมข้อเท็จจริง พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องร้องเรียนโดยไม่มีการชี้ขาดหรือเลือกปฏิบัติ แต่จำเลยที่1 กลับอ้าง ข้อมูลในเหตุการณ์สอบปากคำเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. มิชอบดังกล่าวที่ตนมีส่วนร่วมอยู่ด้วยเพื่อสนับสนุนการร้องขอความเป็นธรรมให้กับนายวรยุทธ การกระทำดังกล่าวของจำเลยที่ 1-7 จึงเป็นการร่วมกันกระทำผิดโดยมีเจตนามุ่งเพื่อจะช่วยเหลือนายวรยุทธ ผู้ต้องหา ซึ่งถูกกล่าวหากระทำผิดฐาน ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายมิให้ต้องรับโทษหรือให้รับโทษน้อยลง อันเป็นการ มิชอบต่อกฎหมาย เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ต.อ. ธ. ญาติของ ด.ต.วิเชียร ผู้ตายและบุคคลหรือประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
    จำเลยที่ 8 ขณะนั้นเป็นพนักงานอัยการ รักษาการตำแหน่งรองอัยการสูงสุดได้อาศัยโอกาสที่ตนได้รับมอบหมายและมอบอำนาจ ให้ปฏิบัติราชการแทนอัยการสูงสุดในงานด้านคดีร้องขอความเป็นธรรม ตามคำสั่งอัยการสูงสุดที่1515/2562 ลงวันที่ 1 ต.ค.62 มีอำนาจพิจารณาสำนวนคดีอาญาที่มีการร้องขอความเป็นธรรม ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ พิจารณาคำร้องขอความเป็นธรรม ที่ยื่นต่อพนักงานอัยการเป็นครั้งที่ 14 ในคดีที่นายวรยุทธ ผู้ต้องหา ในข้อหาความผิดขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และได้มีคำสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม พลอากาศโท จ. และนาย จ. เมื่อได้รับผลการสอบสวนเพิ่มเติมจำเลยที่ 8 ได้ใช้อำนาจวินิจฉัยสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธ ผู้ต้องหาคดีดังกล่าว

    ทั้งที่ผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุ รายงานการตรวจสภาพรถคันเกิดเหตุรายงานการเก็บวัตถุพยาน ภาพถ่ายประกอบรายงานการตรวจพิสูจน์ ภาพถ่ายรถยนต์คันเกิดเหตุ และภาพถ่ายรถจักรยานยนต์คันเกิดเหตุ พยานใกล้ชิดเหตุการณ์ปากนาย จ. ซึ่งความเห็นอธิบดีอัยการสำนักงานคดีอาญากรุงเทพใต้และอดีตอัยการสูงสุด หรืออดีตรองอัยการสูงสุดได้วินิจฉัยพยานไว้ก่อนโดยละเอียดแล้ว ว่ามีน้ำหนักน่าเชื่อถือ โดยเฉพาะผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุซึ่งปรากฏผลการพิสูจน์ความเร็วของนายวรยุทธขับขี่ ความเร็ว 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งมีเหตุอันสมควรเพียงพอที่จะนำนายวรยุทธ ผู้ต้องหาเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญา แต่จำเลยที่ 8 กลับพิจารณาอาศัยพยานปาก พลอากาศโท จ. ซึ่งให้การหลังเกิดเหตุนานกว่า 2 ปี เศษ และพยานผู้เชี่ยวชาญอื่น อันเป็นการเลือกหยิบยกพยานหลักฐานดังกล่าวมาพิจารณา

    ทั้งที่อดีตอัยการสูงสุดและอดีตรองอัยการสูงสุดได้วินิจฉัยไว้ก่อนแล้วว่าไม่ควรนำมารับฟังเนื่องจากไม่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือ โดยจำเลยที่ 8 มิได้ให้เหตุผลหักล้างหรือแสดงผลเป็นอย่างอื่น และไม่รับฟังพยานหลักฐานอื่นในสำนวนที่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือ อันเป็นการวินิจฉัย มูลความผิด โดยใช้ดุลพินิจตามอำเภอใจด่วนวินิจฉัยคดีเสียเอง ไม่ได้ใช้เกณฑ์วินิจฉัยมูลความผิดอย่าง ที่พนักงานอัยการพึงใช้ อันผิดปกติวิสัยของพนักงานอัยการโดยทั่วไป เป็นการกระทำการมิชอบ โดยมีเจตนา เพื่อจะช่วยนายวรยุทธผู้ต้องหามิให้ต้องโทษหรือรับโทษน้อยลงอันเป็นการมิชอบด้วยกฎหมายเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่สำนักงานอัยการสูงสุด ญาติของ ด.ต.วิเชียร ผู้ตาย และผู้อื่นหรือประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
    เหตุตามฟ้องเกิดที่ สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ ถนนอังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร, อาคารรัฐสภา (หลังเก่า) ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิตกรุงเทพมหานคร, สำนักงานอัยการสูงสุด (อาคารถนนแจ้งวัฒนะ) ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
    ชั้นไต่สวน จำเลยทั้งแปดให้การปฏิเสธ ข้อกล่าวหา
    คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วมีมติว่าการกระทำของจำเลยทั้งแปด มีมูลความผิด ทางอาญาตามข้อกล่าวหาและได้ส่งรายงาน เอกสาร พร้อมความเห็นมายังอัยการสูงสุดเพื่อดำเนินการ ฟ้องคดี โจทก์จึงฟ้องจำเลยทั้งแปดเป็นคดีนี้
    ในการฟ้องคดีนี้ อัยการสูงสุด มีคำสั่งมอบหมายให้ พนักงานอัยการสำนักงานอัยการคดีปราบปรามการทุจริต เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินคดีจนคดีถึงที่สุด

    ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลางรับคดีไว้พิจารณา เป็นคดีอาญาหมายเลขดำที่ อท 131/2567 ให้จำเลยทั้งแปดแต่งทนายความ และให้นัดสอบคำให้การจำเลย ในวันที่ 10 ก.ย.2567 เวลา09.30น.
    ศาลอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวจำเลยทั้งแปดและมีคำสั่งห้ามจำเลยทั้งแปดออกนอกราชอาณาจักร เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากศาล

    #Thaitimes
    เปิดคำฟ้อง "พล.ต.อ.สมยศ" กับพวก 8 คนปฏิบัติหน้าที่มิชอบ ใช้อำนาจกดดันลูกน้องเปลี่ยนความเร็ว ส่วน "เนตร นาคสุข" ใช้ดุลพินิจตามอำเภอใจสั่งไม่ฟ้อง ศาลนัดสอบคำให้การจำเลย 10 กันยายนนี้ 29 สิงหาคม 2567 - เมื่อเวลา 10.00 น. ที่ศาลอาญาคดีทุจริตเเละประพฤติมิชอบ อัยการสูงสุด โดยพนักงานอัยการสำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดี ปราบปรามการทุจริต 1 เป็นโจทก์ยืนฟ้องพล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธ์ม่วง กับพวกรวม 8 คน เป็นจำเลยในคดีอาญา หมายเลขดำที่ อท 131 /2567 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 , 157 , 200 , 83 , 86 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 123 /1 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2563 มาตรา 172,192 พนักงานอัยการโจทก์ฟ้องว่า คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวันที่3 ก.ย.2555 เวลาประมาณ 05.20 น. เกิดเหตุนายวรยุทธ อยู่วิทยา ผู้ต้องหา ขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลยี่ห้อเฟอรารี่ ไปตามถนนสุขุมวิทฝั่งขาออก มุ่งหน้าไปทางพระโขนง เมื่อถึงบริเวณระหว่างปากซอยสุขุมวิท 47 และปากซอยสุขุมวิท 49 ได้ชนท้ายรถจักรยานยนต์ตราโล่ซึ่งมีด.ต.วิเชียร กลั่นประเสริฐเป็นผู้ขับขี่ เป็นเหตุให้รถจักรยานยนต์คันที่ ด.ต.วิเชียร ขับขี่ส้มลงครูดไถลไปตามพื้นถนน หยุดอยู่ที่บริเวณปากซอยสุขุมวิท 49 ห่างจากจุดชนประมาณ 164.45 เมตร เป็นเหตุให้รถยนต์และรถจักรยานยนต์ ได้รับความเสียหาย ด.ต.วิเชียร ถึงแก่ความตาย ต่อมาพนักงานสอบสวน สน.ทองหล่อ สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานในคดีจราจรโดยมีพยานหลักฐานที่พนักงานสอบสวนรวบรวมได้เองและรวบรวมพยานเอกสารประกอบสำนวนการสอบสวน โดยมีรายงานกองพิสูจน์หลักฐาน กลุ่มงานตรวจทางเคมีฟิสิกส์ กองพิสูจน์หลักฐานกลาง ตรวจสอบรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่จากภาพของกล้องวงจรปิด และจากการวัดระยะจริง ในสถานที่เดียวกับที่ปรากฏในภาพ คำนวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงที่รถยนต์ในภาพเคลื่อนที่เข้ามาทางของภาพด้านขวาจนถึงจุดที่เคลื่อนที่ออกจากภาพทางด้านซ้ายเมื่อคำนวณอัตราเร็วอัตราเร็วโดยเฉลี่ย มีค่าเท่ากับ 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยการคำนวณดังกล่าวอาจจะมีความคลาดเคลื่อนมากขึ้นหรือน้อยลงประมาณ 17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และได้สรุปหลักฐานทางคดีและความเห็นของพนักงานสอบสวนส่งไปยังพนักงานอัยการ สำนักงานคดีอาญากรุงเทพใต้ โดยมีความเห็นควรสั่งฟ้อง นายวรยุทธ ฐานขับรถโดยประมาทหรือน่าหวาดเสียวอันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลและทรัพย์สิน ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ขับรถในทางซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่น ไม่หยุดรถให้ความช่วยเหลือและแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ เห็นควรสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธ ฐานขับรถเร็วเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด ขับรถในขณะเมาสุราเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย เห็นควรสั่งไม่ฟ้อง ด.ต.วิเชียร ฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ชนรถผู้อื่นเสียหาย เนื่องจากถึงแก่ความตาย ต่อมาเมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2556 อธิบดีอัยการ สำนักงานคดีอาญากรุงเทพใต้ พิจารณาแล้ว มีคำสั่งฟ้องนายวรยุทธ ในข้อหาขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ชนรถของผู้อื่นเสียหาย และ มีผู้ถึงแก่ความตาย ขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด และขับรถในทางก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลและทรัพย์สินของผู้อื่น ไม่หยุดรถและให้ความช่วยเหลือตามสมควรฯ และมีคำสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธ ในข้อหาขับรถในขณะเมาสุราเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ยุติการดำเนินคดีกับ ด.ต.วิเชียร ในข้อหาขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ขนรถของผู้อื่นเสียหาย ต่อมาผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้พิจารณาแล้วไม่แย้งคำสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธฐานขับรถในขณะเมาสุราเป็นเหตุให้ผู้อื่น ถึงแก่ความตาย คำสั่งไม่ฟ้องจึงเด็ดขาดเป็นที่ยุติ ในระหว่างนั้นความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้รถของผู้อื่นเสียหาย ขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ขับรถในทางซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินผู้อื่น ไม่หยุดรถและให้ความช่วยเหลือตามสมควรฯ ได้ล่วงเลยพ้นกำหนดระยะเวลาอายุความตามกฎหมาย คงเหลือความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต่อมาจำเลยที่ 8 ในฐานะพนักงานอัยการผู้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาสั่งคดี ที่มีการร้องขอความเป็นธรรมต่ออัยการสูงสุดได้พิจารณาคำร้องขอความเป็นธรรมของนายวรยุทธและมีคำสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธความผิดฐานขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา291 และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติโดยผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติที่ได้รับมอบหมาย ไม่แย้งคำสั่งพนักงานอัยการ คำสั่งไม่ฟ้อง จึงเป็น อันเด็ดขาด ขณะเกิดเหตุ จำเลยที่ 1 ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและเป็นคณะกรรมาธิการการกฎหมายกระบวนการยุติธรรมและกิจการตำรวจ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จำเลยที่ 2 ขณะเกิดเหตุดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกองพิสูจน์หลักฐานกลาง สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติจำเลยที่ 3 ขณะเกิดเหตุดำรงตำแหน่งพนักงานสอบสวนสถานีตำรวจนครบาลทองหล่อ กองบังคับการตำรวจนครบาล4 กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำเลยที่4-7 ในขณะเกิดเหตุมิได้มีสถานะหรือได้กระทำการในสถานะเป็นเจ้าพนักงาน แต่เป็นบุคคลผู้สนับสนุนเจ้าพนักงานตามกฎหมาย หรือเจ้าพนักงานของรัฐในการกระทำผิด จำเลยที่ 8 ขณะเกิดเหตุดำรงตำแหน่งอธิบดีอัยการ สำนักงานคดีอัยการศาลสูง รักษาการในตำแหน่งรองอัยการสูงสุด ได้รับมอบหมายและมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนอัยการสูงสุด เมื่อระหว่างวันที่ 29 ก.พ. 2559 เวลากลางวัน ถึงวันที่ 13 มิ.ย.2563 เวลากลางวัน จำเลยทั้งแปดได้กระทำความผิดจำเลยที่1-3 ได้อาศัยโอกาสที่ตนเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบร่วมกับจำเลยที่ 4-7 สมคบกันกระทำผิดด้วยการวางแผนร่วมกันเปลี่ยนแปลงความเร็วของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ในวันเกิดเหตุเฉี่ยวชนกับรถจักรยานยนต์คันที่ ด.ต.วิเชียร ขับขี่จนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและ ด.ต.วิเชียรถึงแก่ความตาย จากความเร็วของรถยนต์ตามรายงานการตรวจพิสูจน์ของกลุ่มงานตรวจทางเคมีฟิสิกส์ กองพิสูจน์หลักฐานกลาง ลงวันที่ 26 ก.ย. 2555 ซึ่งมี พ.ต.อ. ธ เป็นผู้จัดทำรายงานไว้ว่ารถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่มีความเร็วโดยเฉลี่ย 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีความคลาดเคลื่อนมากขึ้นหรือ น้อยลงประมาณ 17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ให้เป็นความเร็วไม่เกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตามที่ได้วางแผนกัน โดยให้จำเลยที่5 ดำเนินการยื่นคำร้องขอความเป็นธรรม ครั้งที่ 9 ต่อพนักงานอัยการในคดีที่นายวรยุทธเป็นผู้ต้องหา ขอให้สอบพยาน พ.ต.อ. ธ. ในประเด็นเกี่ยวกับการคำนวณความเร็วของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ เมื่อพนักงานอัยการมีคำสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. ตามที่ร้องขอ จำเลยที่5 และจำเลยที่6 ได้ทำหน้าที่ติดต่อประสานงานกับจำเลยที่ 7 ซึ่งเป็นอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัย ให้ดำเนินการคิดวิธีคำนวณความเร็วของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ให้มีความเร็ว ไม่เกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และจำเลยที่ 7 ได้คิดค้นหาวิธีคำนวณโดยใช้วิธีนำความยาวของรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่แล่นผ่านจุดใดจุดหนึ่งตามภาพที่ได้จากคลิปไฟล์ภาพที่ไม่ใช่ไฟล์ภาพต้นฉบับมาใช้คำนวณจนทำให้คำนวณความเร็วรถยนต์ได้ไม่เกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อันเป็นการคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงอย่างมาก จากนั้นจำเลยที่ 3 อาศัยโอกาสที่ตนเป็นพนักงานสอบสวนมีหน้าที่สอบสวนเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. ตามคำสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานอัยการ โดยนัดแนะและให้จำเลยที่ 1 ,2,4,5,7 เข้าร่วมการสอบปากคำดังกล่าวด้วย จากนั้นในขณะการสอบปากคำเพิ่มเติมจำเลยที่ 3 ได้ปล่อยให้จำเลยที่ 7 ได้แสดงวิธีคิดคำนวณความเร็วรถยนต์ตามที่ได้นัดแนะกับจำเลยที่5-6 ให้ พ.ต.อ. ธ.ดูเพื่อโน้มน้าว พ.ต.อ. ธ. ให้เชื่อคล้อยตามวิธีคิดคำนวณของจำเลยที่ 7 ที่ตระเตรียมมา โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งร่วมกับจำเลยที่ 2 ในฐานะ ผู้บังคับบัญชาของ พ.ต.อ. ธ. อาศัยโอกาสที่มีอำนาจหน้าที่ร่วมกับจำเลยที่ 4-5 ทำการใช้อิทธิพลบังคับกดดันและโน้มน้าว พ.ต.อ. ธ. ให้ยึดถือวิธีการคิดคำนวณตามที่จำเลยที่นำเสนอ โดยจำเลยที่ 1 ได้ทำการพูดในขณะร่วมสนทนาและสอบปากคำว่า "สิ่งหนึ่งที่ผมพูดกับคุยน้อง มันไว้ ก็คือน้องเนี่ยคำนวณจากระยะ แล้วก็ออกมาเป็นความเร็ว ความเร็วที่คิดมันคิดจากทฤษฎีที่เป็นทฤษฎีที่คิดในห้องทดลอง ห้องทดลองก็จะอากาศเบาบาง คือมันพยายามให้คิดความเร็วเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ เพื่อการทำมาร์เก็ตติ้งความเร็วเท่าไหร่ เร่งเท่าไหร่ แต่ว่าในความเป็นจริง ในทัศนวิสัยเช่นว่ายามเช้าอากาศหนักอะไรอย่างเนี่ย ความเร็วไม่เป็นไปตามทฤษฎี นี่คือสิ่งที่ผมคิดนะ อย่างที่สองคือระยะทางที่ใช้คำนวณหน้ากล้องหลังกล้อง ความเร็วอาจจะเปลี่ยน อาจจะเร็วขึ้นก็ได้ อาจจะลดลงก็ได้ลดลงเพราะว่าทัศนวิสัยการจราจรอะไรก็แล้วแต่ที่มันอยู่ข้างหน้า ซึ่งในกล้องมันไม่ปรากฏ นี่ผมคิดในมุมมองผมแบบนี้" กับให้ พล.ต.ท. ม. ซึ่งดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจพิสูจน์หลักฐาน ในฐานะผู้บังคับบัญชาของ พ.ต.อ. ธ. พูดกับ พ.ต.อ. ธ. ว่า "ทางพี่ อ.(ซึ่งหมายถึงชื่อเล่นของจำเลยที่ 1 ) เค้าอยากให้จบในชั้นอัยการเค้าจะได้จบเลยจะได้ไม่ต้องสืบ" ส่วนจำเลยที่2 ในฐานะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องตรวจสอบถึงความบกพร่องของรายงานตรวจพิสูจน์หากเกิดความผิดพลาดขึ้นจริงรวมถึงตรวจสอบการคิดคำนวณตามวิธีของจำเลยที่ 7 ซึ่งใช้ไฟล์ที่มิใช่ต้นฉบับ อันเป็นข้อสงสัยถึงวิธีการคิดคำนวณว่ามิได้อยู่บนรากฐานของความถูกต้อง แต่จำเลยที่ 2 กลับไม่ดำเนินการตรวจสอบและได้พูดว่า "เราคำนวณตามอาจารย์ (ซึ่งหมายถึงจำเลยที่7 ) ได้มั้ย อาจารย์คิดได้ 79.22 เราไปลองดูซิว่าคิดตามแบบเค้าได้ไหม" สอดคล้องกับจำเลยที่ 4 ที่พูดว่า "อยากขอให้เป็น 79.22 ตามที่ อาจารย์ ส. คำนวณ" ซึ่งพฤติการณ์ทั้งมวลนี้แสดงถึงเจตนาประสงค์จะหักล้างหลักฐานตามที่ พ.ต.อ. ธ. ได้จัดทำรายงานเกี่ยวกับความเร็วรถยนต์ไว้ โดยใช้อิทธิพลบังคับกดดันให้ พ.ต.อ. ธ. เชื่อและยอมที่จะให้การเปลี่ยนแปลงความเร็วรถยนต์คันที่นายวรยุทธขับขี่ เป็นเหตุให้ พ.ต.อ. ธ. ต้องจำยอมและให้การต่อจำเลยที่ 3 เปลี่ยนแปลงวิธีคิดคำนวณความเร็วรถยนต์จากเดิมที่คิดคำนวณไว้ความเร็วที่ 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความคลาดเคลื่อนมากขึ้นหรือน้อยลง 17 กิโลเมตรต่อชั่วโมงมาเป็นให้การว่าการคำนวณดังกล่าวนั้นคลาดเคลื่อนและทำการคำนวณความเร็วใหม่ได้ความเร็วรถยนต์ 79.22 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดังที่จำเลยที่ 7 นำเสนอ จากนั้นจำเลยที่ 3 โดยคำแนะนำของจำเลยที่ 4 ได้จัดทำคำให้การพร้อมกับทำการเปลี่ยนแปลงแก้ไขวันที่ให้การโดยคำให้การฉบับแรกจากวันที่ 29 ก.พ.2559 เป็นวันที่ 26 ก.พ.2559 และคำให้การฉบับที่สองจากวันที่ 6 มี.ค. 59 มาเป็น 1 มี.ค.59 ให้ พ.ต.อ. ธ. ลงลายมือชื่อ เป็นหลักฐานเพื่อนำส่งให้แก่พนักงานอัยการพิจารณาต่อไป ต่อมาจำเลยที่ 1 ในฐานะกรรมาธิการกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกิจการตำรวจ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณารายงานผลการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียนนายวรยุทธขอความเป็นธรรม กรณีการใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการ ต่อคณะกรรมาธิการๆ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ได้รับเรื่องดังกล่าวไว้พิจารณา จำเลยที่1 ควรใช้อำนาจรวบรวมข้อเท็จจริง พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องร้องเรียนโดยไม่มีการชี้ขาดหรือเลือกปฏิบัติ แต่จำเลยที่1 กลับอ้าง ข้อมูลในเหตุการณ์สอบปากคำเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. มิชอบดังกล่าวที่ตนมีส่วนร่วมอยู่ด้วยเพื่อสนับสนุนการร้องขอความเป็นธรรมให้กับนายวรยุทธ การกระทำดังกล่าวของจำเลยที่ 1-7 จึงเป็นการร่วมกันกระทำผิดโดยมีเจตนามุ่งเพื่อจะช่วยเหลือนายวรยุทธ ผู้ต้องหาซึ่งถูกกล่าวหากระทำผิดฐาน ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายมิให้ต้องรับโทษหรือให้รับโทษน้อยลง อันเป็นการ มิชอบต่อกฎหมาย เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ต.อ. ธ. ญาติของ ด.ต.วิเชียร ผู้ตายและบุคคลหรือประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องจำเลยที่ 8 ต่อมาจำเลยที่ 1 ในฐานะกรรมาธิการกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกิจการตำรวจ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณารายงานผลการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียนนายวรยุทธขอความเป็นธรรม กรณีการใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการ ต่อคณะกรรมาธิการๆ ซึ่งคณะกรรมาธิการฯ ได้รับเรื่องดังกล่าวไว้พิจารณา จำเลยที่1 ควรใช้อำนาจรวบรวมข้อเท็จจริง พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องร้องเรียนโดยไม่มีการชี้ขาดหรือเลือกปฏิบัติ แต่จำเลยที่1 กลับอ้าง ข้อมูลในเหตุการณ์สอบปากคำเพิ่มเติม พ.ต.อ. ธ. มิชอบดังกล่าวที่ตนมีส่วนร่วมอยู่ด้วยเพื่อสนับสนุนการร้องขอความเป็นธรรมให้กับนายวรยุทธ การกระทำดังกล่าวของจำเลยที่ 1-7 จึงเป็นการร่วมกันกระทำผิดโดยมีเจตนามุ่งเพื่อจะช่วยเหลือนายวรยุทธ ผู้ต้องหา ซึ่งถูกกล่าวหากระทำผิดฐาน ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายมิให้ต้องรับโทษหรือให้รับโทษน้อยลง อันเป็นการ มิชอบต่อกฎหมาย เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ต.อ. ธ. ญาติของ ด.ต.วิเชียร ผู้ตายและบุคคลหรือประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จำเลยที่ 8 ขณะนั้นเป็นพนักงานอัยการ รักษาการตำแหน่งรองอัยการสูงสุดได้อาศัยโอกาสที่ตนได้รับมอบหมายและมอบอำนาจ ให้ปฏิบัติราชการแทนอัยการสูงสุดในงานด้านคดีร้องขอความเป็นธรรม ตามคำสั่งอัยการสูงสุดที่1515/2562 ลงวันที่ 1 ต.ค.62 มีอำนาจพิจารณาสำนวนคดีอาญาที่มีการร้องขอความเป็นธรรม ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ พิจารณาคำร้องขอความเป็นธรรม ที่ยื่นต่อพนักงานอัยการเป็นครั้งที่ 14 ในคดีที่นายวรยุทธ ผู้ต้องหา ในข้อหาความผิดขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และได้มีคำสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม พลอากาศโท จ. และนาย จ. เมื่อได้รับผลการสอบสวนเพิ่มเติมจำเลยที่ 8 ได้ใช้อำนาจวินิจฉัยสั่งไม่ฟ้องนายวรยุทธ ผู้ต้องหาคดีดังกล่าว ทั้งที่ผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุ รายงานการตรวจสภาพรถคันเกิดเหตุรายงานการเก็บวัตถุพยาน ภาพถ่ายประกอบรายงานการตรวจพิสูจน์ ภาพถ่ายรถยนต์คันเกิดเหตุ และภาพถ่ายรถจักรยานยนต์คันเกิดเหตุ พยานใกล้ชิดเหตุการณ์ปากนาย จ. ซึ่งความเห็นอธิบดีอัยการสำนักงานคดีอาญากรุงเทพใต้และอดีตอัยการสูงสุด หรืออดีตรองอัยการสูงสุดได้วินิจฉัยพยานไว้ก่อนโดยละเอียดแล้ว ว่ามีน้ำหนักน่าเชื่อถือ โดยเฉพาะผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุซึ่งปรากฏผลการพิสูจน์ความเร็วของนายวรยุทธขับขี่ ความเร็ว 177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งมีเหตุอันสมควรเพียงพอที่จะนำนายวรยุทธ ผู้ต้องหาเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญา แต่จำเลยที่ 8 กลับพิจารณาอาศัยพยานปาก พลอากาศโท จ. ซึ่งให้การหลังเกิดเหตุนานกว่า 2 ปี เศษ และพยานผู้เชี่ยวชาญอื่น อันเป็นการเลือกหยิบยกพยานหลักฐานดังกล่าวมาพิจารณา ทั้งที่อดีตอัยการสูงสุดและอดีตรองอัยการสูงสุดได้วินิจฉัยไว้ก่อนแล้วว่าไม่ควรนำมารับฟังเนื่องจากไม่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือ โดยจำเลยที่ 8 มิได้ให้เหตุผลหักล้างหรือแสดงผลเป็นอย่างอื่น และไม่รับฟังพยานหลักฐานอื่นในสำนวนที่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือ อันเป็นการวินิจฉัย มูลความผิด โดยใช้ดุลพินิจตามอำเภอใจด่วนวินิจฉัยคดีเสียเอง ไม่ได้ใช้เกณฑ์วินิจฉัยมูลความผิดอย่าง ที่พนักงานอัยการพึงใช้ อันผิดปกติวิสัยของพนักงานอัยการโดยทั่วไป เป็นการกระทำการมิชอบ โดยมีเจตนา เพื่อจะช่วยนายวรยุทธผู้ต้องหามิให้ต้องโทษหรือรับโทษน้อยลงอันเป็นการมิชอบด้วยกฎหมายเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายและเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่สำนักงานอัยการสูงสุด ญาติของ ด.ต.วิเชียร ผู้ตาย และผู้อื่นหรือประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เหตุตามฟ้องเกิดที่ สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ ถนนอังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร, อาคารรัฐสภา (หลังเก่า) ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิตกรุงเทพมหานคร, สำนักงานอัยการสูงสุด (อาคารถนนแจ้งวัฒนะ) ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ชั้นไต่สวน จำเลยทั้งแปดให้การปฏิเสธ ข้อกล่าวหา คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วมีมติว่าการกระทำของจำเลยทั้งแปด มีมูลความผิด ทางอาญาตามข้อกล่าวหาและได้ส่งรายงาน เอกสาร พร้อมความเห็นมายังอัยการสูงสุดเพื่อดำเนินการ ฟ้องคดี โจทก์จึงฟ้องจำเลยทั้งแปดเป็นคดีนี้ ในการฟ้องคดีนี้ อัยการสูงสุด มีคำสั่งมอบหมายให้ พนักงานอัยการสำนักงานอัยการคดีปราบปรามการทุจริต เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินคดีจนคดีถึงที่สุด ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลางรับคดีไว้พิจารณา เป็นคดีอาญาหมายเลขดำที่ อท 131/2567 ให้จำเลยทั้งแปดแต่งทนายความ และให้นัดสอบคำให้การจำเลย ในวันที่ 10 ก.ย.2567 เวลา09.30น. ศาลอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวจำเลยทั้งแปดและมีคำสั่งห้ามจำเลยทั้งแปดออกนอกราชอาณาจักร เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากศาล #Thaitimes
    อัยการปราบทุจริตยื่นฟ้อง “สมยศ-เนตร” กับพวกรวม 8 คน ช่วยเหลือกลับคำสั่งคดี “บอส” ขับรถชนตำรวจจราจรทองหล่อดับ ด้านอดีต ผบ.ตร.ยอมรับกังวลใจ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000079981

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 770 มุมมอง 0 รีวิว
  • อัยการปราบทุจริตยื่นฟ้อง “สมยศ-เนตร” กับพวกรวม 8 คน ช่วยเหลือกลับคำสั่งคดี “บอส” ขับรถชนตำรวจจราจรทองหล่อดับ ด้านอดีต ผบ.ตร.ยอมรับกังวลใจ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000079981

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    อัยการปราบทุจริตยื่นฟ้อง “สมยศ-เนตร” กับพวกรวม 8 คน ช่วยเหลือกลับคำสั่งคดี “บอส” ขับรถชนตำรวจจราจรทองหล่อดับ ด้านอดีต ผบ.ตร.ยอมรับกังวลใจ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000079981 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Wow
    20
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 3425 มุมมอง 0 รีวิว