• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    สัทธรรมลำดับที่ : 239
    ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ?
    สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?”
    --โลก ถูกตัณหาชักนำไป,
    --โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก
    สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183.
    http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก สัทธรรมลำดับที่ : 239 ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 เนื้อความทั้งหมด :- --เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” --โลก ถูกตัณหาชักนำไป, --โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183. http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    -(ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. - ๑๗/๑๙๒/๒๗๖). เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” โลก ถูกตัณหาชักนำไป, โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ ตัณหา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 238
    ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย
    ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก
    ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา)​
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา
    #ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ;
    ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.-

    (ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต
    --- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96
    ).

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่ สัทธรรมลำดับที่ : 238 ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 เนื้อความทั้งหมด :- --สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา)​ http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา #ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.- (ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต --- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖ http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96 ). #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286. http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    -สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า สักกายสมุทัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษานิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 237
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณาการแห่งตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด
    #เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    --- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91

    http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    --- ขนฺธ. สํ. ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%95

    +--#ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล
    http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=ตณฺหา
    ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น.
    เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว
    ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น.
    ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว,
    ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ*--๑
    ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น.

    ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น,
    เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป.
    +--ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย
    มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่,
    ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น
    อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา.
    +--กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง.
    เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่.
    ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย #ด้วยปัญญา.
    +--โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์,
    สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี,
    สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา.
    +--หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง)
    ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง
    เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น.
    สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.-

    *--๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/41/34.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/41/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๖๐/๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=237
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษานิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 237 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณาการแห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด #เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา --- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑; http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา --- ขนฺธ. สํ. ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%95 +--#ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=ตณฺหา ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น. เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น. ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว, ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ*--๑ ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น. ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น, เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป. +--ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่, ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา. +--กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง. เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่. ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย #ด้วยปัญญา. +--โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์, สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี, สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา. +--หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง) ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น. สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.- *--๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/41/34. http://etipitaka.com/read/thai/25/41/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๖๐/๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=237 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ____________ นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา (มี ๔๑ เรื่อง) ลักษณาการแห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ. ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑; และ ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕. ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น. เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น. ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว, ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ๑ ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น. ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น, เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป. ๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย. ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่, ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา. กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง. เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่. ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย ด้วยปัญญา. โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์, สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี, สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา. หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง) ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น. สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 236
    ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด
    เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    ได้แก่
    ตัณหาในกาม
    ตัณหาในความมีความเป็น
    ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ;
    นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 236 ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 เนื้อความทั้งหมด :- --อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680. http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๓
    -นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ จบ ภาค ๑ ว่าด้วยทุกขอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์ จบ คำชี้ชวนวิงวอน ____________ ภิกษุ ท. ! โยคกรรม อันเธอพึงกระทำ เพื่อให้รู้ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับสนิทแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์.” เทสิตํ โว มยา นิพฺพานํ เทสิโต นิพฺพานคามิมคฺโค นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอทั้งหลาย. กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี นี่แหละ วาจาเครื่องพร่ำสอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. (มหาวาร.สํ. - สฬา.สํ.) ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐ คือเหตุให้เกิดทุกข์ ภาค ๒ มีเรื่อง :- นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา ๔๑ เรื่อง นิทเทศ ๕ ว่าด้วยที่เกิดและการเกิดแห่งตัณหา ๕ เรื่อง นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์ ๓๑ เรื่อง นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฎฐิที่เกี่ยวกับตัณหา ๘ เรื่อง นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย ๑๕ เรื่อง อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ (มี ๓ นิทเทศ) __________ อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาให้รู้ชัดว่า กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    สัทธรรมลำดับที่ : 229
    ชื่อบทธรรม :- กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน.
    --ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ?
    --ภิกษุ ท. !
    ตา เป็นของร้อน,
    รูป เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางตา(จักษุวิญญาณ) เป็นของร้อน,
    สัมผัสทางตา เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข-ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม
    ก็เป็นของร้อน(อาทิตฺตํ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=อาทิตฺตํ

    --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า
    “ร้อนเพราะไฟคือราคะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโทสะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโมหะ,
    ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน
    เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. !
    จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/24/?keywords=อาทิตฺตํ
    --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า
    “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโทสะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโมหะ,
    ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก
    เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ
    และเพราะความคับแค้นใจ”
    ดังนี้แล.-
    --ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่าย
    ทั้งในจักษุ ทั้งในรูป ทั้งในจักษุวิญญาณ ทั้งในจักษุสัมผัส
    ทั้งใน สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา
    ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย...
    โสต​... ฆานะ... ชิวหา... กาย... ฯลฯ
    ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในใจ ทั้งในธรรมารมณ์ ทั้งในมโนวิญญาณ ทั้งในมโนสัมผัส
    ทั้งในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา
    ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย
    เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด
    จิตอมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว
    รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/17/31.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓/๓๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=229
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาให้รู้ชัดว่า กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน สัทธรรมลำดับที่ : 229 ชื่อบทธรรม :- กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229 เนื้อความทั้งหมด :- --กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน. --ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ? --ภิกษุ ท. ! ตา เป็นของร้อน, รูป เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางตา(จักษุวิญญาณ) เป็นของร้อน, สัมผัสทางตา เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข-ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน(อาทิตฺตํ)​. http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=อาทิตฺตํ --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟคือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. http://etipitaka.com/read/pali/18/24/?keywords=อาทิตฺตํ --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้แล.- --ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในจักษุ ทั้งในรูป ทั้งในจักษุวิญญาณ ทั้งในจักษุสัมผัส ทั้งใน สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย... โสต​... ฆานะ... ชิวหา... กาย... ฯลฯ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในใจ ทั้งในธรรมารมณ์ ทั้งในมโนวิญญาณ ทั้งในมโนสัมผัส ทั้งในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตอมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/17/31. http://etipitaka.com/read/thai/18/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓/๓๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=229 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    -กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ? ภิกษุ ท. ! ตา เป็นของร้อน, รูป เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางตา เป็นของร้อน, สัมผัสทางตา เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟคือราคะ. ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 101 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 227
    ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท
    หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ;
    ดังนั้นจึงกล่าวว่า
    ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต
    ).
    --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา,
    เพลิดเพลินอยู่กับหู,
    เพลิดเพลินอยู่กับจมูก,
    เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น,
    เพลิดเพลินอยู่กับกาย,
    และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ

    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป,
    เพลิดเพลินอยู่กับเสียง,
    เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น,
    เพลิดเพลินอยู่กับรส,
    เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ,
    เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) สัทธรรมลำดับที่ : 227 ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 เนื้อความทั้งหมด :- (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต ). --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20. http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    -(คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต). ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 112 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    สัทธรรมลำดับที่ : 226
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
    กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
    ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;
    ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
    หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.
    นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
    ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ;
    #เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด
    ).
    --อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ
    ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ?
    อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ผสฺสปจฺจยา
    ....
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/37/87.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/37/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๔๙/๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=226
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม) สัทธรรมลำดับที่ : 226 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226 เนื้อความทั้งหมด :- (พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ; ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์ หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์. นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ; #เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด ). --อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ? อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ผสฺสปจฺจยา .... --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/37/87. http://etipitaka.com/read/thai/16/37/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๔๙/๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=226 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    -(พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ; ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์ หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์. นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ; เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด). อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม). ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ? อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือผัสสะเกิดขึ้น. .... ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วยผู้อื่นทำให้ด้วยก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 161 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    สัทธรรมลำดับที่ : 225
    ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์)
    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า
    “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้
    : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต

    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า
    “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้
    : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ

    --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง
    ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า
    “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว,
    จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต สัทธรรมลำดับที่ : 225 ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50. http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    -ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต (ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;.... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 129 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    สัทธรรมลำดับที่ : 225
    ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์)
    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า
    “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้
    : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต

    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า
    “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้
    : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ

    --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง
    ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า
    “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว,
    จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต สัทธรรมลำดับที่ : 225 ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50. http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    -ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต (ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;.... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 131 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าการที่บุคคลเป็นทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    สัทธรรมลำดับที่ : 224
    ชื่อบทธรรม :- ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำ ซึ่งมีกำเนิดแต่ภูเขา
    ไหลไปทางต่ำสิ้นระยะไกล มีกระแสเชี่ยวจัด.
    ถ้าหากหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม
    หรือต้นไม้ก็ตาม เกิดอยู่ที่ฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้นไซร้,
    หญ้าหรือต้นไม้เหล่านั้น ก็จะพึงย้อยลงปกฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้น.
    บุรุษผู้หนึ่ง ถูกกระแสแห่งแม่น้ำนั้นพัดมา
    ถ้าจะจับหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม
    หรือต้นไม้ก็ตาม สิ่งเหล่านั้นก็จะพึงขาดหลุดไป (เพราะกระแสเชี่ยวจัดของแม่น้ำ).
    บุรุษผู้นั้นย่อมถึงการพินาศ เพราะการทำเช่นนั้น, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ #บุถุชน
    ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ไม่ได้เห็นเหล่าพระอริยเจ้า
    ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=อริยธมฺมสฺส
    ไม่ได้เห็นเหล่าสัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ

    +--บุถุชน ย่อม
    ตามเห็นพร้อม (คือเห็นดิ่งอยู่เป็นประจำ) ซึ่งรูป โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีรูป
    หรือตามเห็นพร้อมซึ่งรูป ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในรูป,
    รูปนั้นย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีเวทนา
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในเวทนา,
    เวทนานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสัญญา
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสัญญา,
    สัญญานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา, เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขาร ทั้งหลาย โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสังขาร
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขารทั้งหลาย ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสังขารทั้งหลาย,
    สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีวิญญาณ
    หรือตามเห็นพร้อมซึ่งวิญญาณ ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อมซึ่งตน ว่ามีอยู่ในวิญญาณ,
    วิญญาณนั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ
    แล.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/132/237.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๖๘/๒๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=224
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าการที่บุคคลเป็นทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ สัทธรรมลำดับที่ : 224 ชื่อบทธรรม :- ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำ ซึ่งมีกำเนิดแต่ภูเขา ไหลไปทางต่ำสิ้นระยะไกล มีกระแสเชี่ยวจัด. ถ้าหากหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม เกิดอยู่ที่ฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้นไซร้, หญ้าหรือต้นไม้เหล่านั้น ก็จะพึงย้อยลงปกฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้น. บุรุษผู้หนึ่ง ถูกกระแสแห่งแม่น้ำนั้นพัดมา ถ้าจะจับหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม สิ่งเหล่านั้นก็จะพึงขาดหลุดไป (เพราะกระแสเชี่ยวจัดของแม่น้ำ). บุรุษผู้นั้นย่อมถึงการพินาศ เพราะการทำเช่นนั้น, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ #บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ไม่ได้เห็นเหล่าพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=อริยธมฺมสฺส ไม่ได้เห็นเหล่าสัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ +--บุถุชน ย่อม ตามเห็นพร้อม (คือเห็นดิ่งอยู่เป็นประจำ) ซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีรูป หรือตามเห็นพร้อมซึ่งรูป ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในรูป, รูปนั้นย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีเวทนา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในเวทนา, เวทนานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสัญญา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสัญญา, สัญญานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา, เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขาร ทั้งหลาย โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสังขาร หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขารทั้งหลาย ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสังขารทั้งหลาย, สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีวิญญาณ หรือตามเห็นพร้อมซึ่งวิญญาณ ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อมซึ่งตน ว่ามีอยู่ในวิญญาณ, วิญญาณนั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ แล. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/132/237. http://etipitaka.com/read/thai/17/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๖๘/๒๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=224 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    -ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำ ซึ่งมีกำเนิดแต่ภูเขา ไหลไปทางต่ำสิ้นระยะไกล มีกระแสเชี่ยวจัด. ถ้าหากหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม เกิดอยู่ที่ฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้นไซร้, หญ้าหรือต้นไม้เหล่านั้น ก็จะพึงย้อยลงปกฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้น. บุรุษผู้หนึ่ง ถูกกระแสแห่งแม่น้ำนั้นพัดมา ถ้าจะจับหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม สิ่งเหล่านั้นก็จะพึงขาดหลุดไป (เพราะกระแสเชี่ยวจัดของแม่น้ำ). บุรุษผู้นั้นย่อมถึงการพินาศ เพราะการทำเช่นนั้น, อุปมานี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ไม่ได้เห็นเหล่าพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่ได้เห็นเหล่าสัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ ย่อม ตามเห็นพร้อม (คือเห็นดิ่งอยู่เป็นประจำ) ซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีรูป หรือตามเห็นพร้อมซึ่งรูป ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในรูป, รูปนั้นย่อม แตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีเวทนา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในเวทนา, เวทนานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสัญญา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสัญญา, สัญญานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา, เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขาร ทั้งหลาย โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสังขาร หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขารทั้งหลาย ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสังขารทั้งหลาย, สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีวิญญาณ หรือตามเห็นพร้อมซึ่งวิญญาณ ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อมซึ่งตน ว่ามีอยู่ในวิญญาณ, วิญญาณนั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 223
    ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์.
    เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ สัทธรรมลำดับที่ : 223 ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 เนื้อความทั้งหมด :- --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์. เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218. http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    -เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 177 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 222
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์
    เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
    รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก
    แห่งรูป ตามเป็นจริง
    ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข
    แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).-

    --คาถาท้ายพระสูตร--
    รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น
    อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด
    รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก
    สมมติว่าเป็นสุข
    ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น
    เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์
    ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ
    (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข
    การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย
    ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข
    เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้
    ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ
    เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ
    เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา
    ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้
    อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ
    ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ
    เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน
    บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 222 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).- --คาถาท้ายพระสูตร-- รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก สมมติว่าเป็นสุข ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์ ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์ บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์ พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้ ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้ อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน ฯ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216. http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    -ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ย่อม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุขแม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 192 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าความเป็นทุกข์สามลักษณะเป็นธรรมดาของธรรมชาติในโลกธาตุ
    สัทธรรมลำดับที่ : 221
    ชื่อบทธรรม : -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้.
    สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ?
    สามลักษณะคือ :-
    +--๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=ทุกฺขทุกฺขตา
    +--๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของยึดติดมั่นและประกอบ(อุปทายรูป)
    เป็น​สิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=สงฺขารทุกฺขตา
    +--๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=วิปริณามทุกฺขตา

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/83/319.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/83/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๕/๓๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=221
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าความเป็นทุกข์สามลักษณะเป็นธรรมดาของธรรมชาติในโลกธาตุ สัทธรรมลำดับที่ : 221 ชื่อบทธรรม : -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221 เนื้อความทั้งหมด :- --ความเป็นทุกข์สามลักษณะ --ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้. สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ? สามลักษณะคือ :- +--๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก, http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=ทุกฺขทุกฺขตา +--๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของยึดติดมั่นและประกอบ(อุปทายรูป) เป็น​สิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว, http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=สงฺขารทุกฺขตา +--๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=วิปริณามทุกฺขตา --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.- ​ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/83/319. http://etipitaka.com/read/thai/19/83/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๕/๓๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=221 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้. สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ? สามลักษณะคือ : ๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก, ๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของปรุงแต่งและปรุงแต่งสิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว, ๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 146 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา
    สัทธรรมลำดับที่ : 220
    ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้
    เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่.
    ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์
    พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?”
    --สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​
    ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด,
    ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ

    (ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​
    ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา สัทธรรมลำดับที่ : 220 ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” --สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ (ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72. http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    -(ในสูตรอื่น (๑๗/๒๔๐/๓๘๒) ได้ตรัสเรียกสิ่งที่เรียกว่าทุกข์ ว่า ทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา). ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 151 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 216
    ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์,
    และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์”
    ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง
    ความเกิด เป็นทุกข์,
    ความแก่ เป็นทุกข์,
    ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์,
    ความตาย เป็นทุกข์,
    ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์,
    ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ;
    กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่,
    ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่,
    ที่คลายช้า มีอยู่,
    และที่คลายเร็ว มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้
    ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว
    ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ;
    หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า
    “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น
    ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 216 ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 เนื้อความทั้งหมด :- ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒
    -นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์ จบ นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ (มี ๑๘ เรื่อง) หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ความเป็นต่างกันของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ผลของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 233 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 213
    ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง,
    พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ไม่เที่ยง,
    เวทนา ไม่เที่ยง,
    สัญญา ไม่เที่ยง,
    สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ
    วิญญาณ ไม่เที่ยง.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213

    สัทธรรมลำดับที่ : 214
    ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูปเป็นทุกข์,
    เวทนาเป็นทุกข์,
    สัญญา เป็นทุกข์,
    สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ
    วิญญาณ เป็นทุกข์.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214

    สัทธรรมลำดับที่ : 215
    ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นอนัตตา,
    เวทนา เป็นอนัตตา,
    สัญญา เป็นอนัตตา,
    สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ
    วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 213 ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 เนื้อความทั้งหมด :- --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? --ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ วิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213 สัทธรรมลำดับที่ : 214 ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า เนื้อความทั้งหมด :- ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ? --ภิกษุ ท. ! รูปเป็นทุกข์, เวทนาเป็นทุกข์, สัญญา เป็นทุกข์, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ วิญญาณ เป็นทุกข์. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214 สัทธรรมลำดับที่ : 215 ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ เนื้อความทั้งหมด :- --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ? --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, เวทนา เป็นอนัตตา, สัญญา เป็นอนัตตา, สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ วิญญาณ เป็นอนัตตา. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    -ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และวิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 181 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 212
    ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป,
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 212 ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 เนื้อความทั้งหมด :- --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64. http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    -เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 161 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา
    สัทธรรมลำดับที่ : 211
    ชื่อบทธรรม :- ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้.
    ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา
    ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง
    ย่อมไม่รู้จักรูป,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ;
    เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ;
    เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ;
    เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และ
    เขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ.
    --ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘#อวิชชา’
    http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=อวิชฺชา
    และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/156/300.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/156/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๘/๓๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=211
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 211 ชื่อบทธรรม :- ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211 เนื้อความทั้งหมด :- --ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้. ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ย่อมไม่รู้จักรูป, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ; เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ; เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ; เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และ เขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ. --ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘#อวิชชา’ http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=อวิชฺชา และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/156/300. http://etipitaka.com/read/thai/17/156/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๘/๓๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=211 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
    -ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้. ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ย่อมไม่รู้จักรูป, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ; เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ; เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ; เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และเขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ. ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘อวิชชา’ และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 150 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าภาระหรือของหนักคือยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ห้า
    สัทธรรมลำดับที่ : 207
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงภาระ (ของหนัก)... แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลาย จงฟังข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นของหนัก ?
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานขันธ์ทั้งห้า นั้นแหละ #เรากล่าวว่าเป็นของหนัก.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ภารนิกฺเขปนญฺจ
    ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ รูป,
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ เวทนา,
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สัญญา,
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สังขาร,
    และขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ของหนัก แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/25/49.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/25/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๔๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=207
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าภาระหรือของหนักคือยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ห้า สัทธรรมลำดับที่ : 207 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงภาระ (ของหนัก)... แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นของหนัก ? --ภิกษุ ท. ! อุปาทานขันธ์ทั้งห้า นั้นแหละ #เรากล่าวว่าเป็นของหนัก. http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ภารนิกฺเขปนญฺจ ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สังขาร, และขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ของหนัก แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/25/49. http://etipitaka.com/read/thai/17/25/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๔๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=207 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
    -เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงภาระ (ของหนัก)... แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นของหนัก ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานขันธ์ทั้งห้า นั้นแหละ เรากล่าวว่าเป็นของหนัก. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สังขาร, และขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ของหนัก แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 142 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    สัทธรรมลำดับที่ : 206
    ชื่อบทธรรม :- เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตา,
    รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็น อัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นอนัตตา,
    เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นอนัตตา,
    สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัยเพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นอนัตตา,
    สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=วิญฺญาณ+อนตฺตา
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นอนัตตา,
    วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/23/47.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/23/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๐/๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=206
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา สัทธรรมลำดับที่ : 206 ชื่อบทธรรม :- เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตา, รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็น อัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นอนัตตา, เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นอนัตตา, สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัยเพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นอนัตตา, สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=วิญฺญาณ+อนตฺตา ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นอนัตตา, วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/23/47. http://etipitaka.com/read/thai/17/23/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๐/๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=206 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    -เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตา, รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็น อัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นอนัตตา, เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นอนัตตา, สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัยเพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นอนัตตา, สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นอนัตตา, วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 117 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงเรียนรู้ว่าผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์
    สัทธรรมลำดับที่ : 205
    ชื่อบทธรรม :- ผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้,
    สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย,
    สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=ทีฆรตฺตํ+หิตาย+สุขาย
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ?
    +--ภิกษุ ท. ! รูป มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ;
    รูปนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! เวทนา มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละเวทนานั้นเสีย ;
    เวทนานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! สัญญา มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสัญญานั้นเสีย ;
    สัญญานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสังขารทั้งหลายเหล่านั้นเสีย ;
    สังขารทั้งหลายเหล่านั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละวิญญาณนั้นเสีย ;
    วิญญาณนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจะสำคัญ ความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    คือข้อที่หญ้าไม้ กิ่งไม้และใบไม้ ใด ๆ มีอยู่ ในเชตวันนี้,
    เมื่อคนเขาขนเอามันไปก็ตามเผาเสียก็ตาม
    หรือกระทำตามความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม ;
    พวกเธอเคยเกิดความคิดอย่างนี้บ้างหรือไม่ ว่า
    “คนเขาขนเอาเราไปบ้าง
    เขาเผาเราบ้าง
    เขาทำแก่เราตามความปรารถนาของเขาบ้าง”
    ดังนี้ ?
    --“ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ?
    “เพราะเหตุว่านั่น หาได้เป็น ตัวตน
    หรือของเนื่องด้วยตัวตน ของข้าพระองค์ไม่ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น,
    คือ สิ่งใด มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย ;
    สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    #จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน
    http://etipitaka.com/read/pali/12/280/?keywords=หิตาย+สุขาย+ภวิสฺสติ
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/194/287
    http://etipitaka.com/read/thai/12/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๗๙/๒๘๗
    http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=205
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงเรียนรู้ว่าผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์ สัทธรรมลำดับที่ : 205 ชื่อบทธรรม :- ผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205 เนื้อความทั้งหมด :- --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย, สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=ทีฆรตฺตํ+หิตาย+สุขาย --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ? +--ภิกษุ ท. ! รูป มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ; รูปนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! เวทนา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละเวทนานั้นเสีย ; เวทนานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! สัญญา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสัญญานั้นเสีย ; สัญญานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสังขารทั้งหลายเหล่านั้นเสีย ; สังขารทั้งหลายเหล่านั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละวิญญาณนั้นเสีย ; วิญญาณนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจะสำคัญ ความข้อนี้ว่าอย่างไร ? คือข้อที่หญ้าไม้ กิ่งไม้และใบไม้ ใด ๆ มีอยู่ ในเชตวันนี้, เมื่อคนเขาขนเอามันไปก็ตามเผาเสียก็ตาม หรือกระทำตามความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม ; พวกเธอเคยเกิดความคิดอย่างนี้บ้างหรือไม่ ว่า “คนเขาขนเอาเราไปบ้าง เขาเผาเราบ้าง เขาทำแก่เราตามความปรารถนาของเขาบ้าง” ดังนี้ ? --“ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ? “เพราะเหตุว่านั่น หาได้เป็น ตัวตน หรือของเนื่องด้วยตัวตน ของข้าพระองค์ไม่ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, คือ สิ่งใด มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย ; สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว #จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน http://etipitaka.com/read/pali/12/280/?keywords=หิตาย+สุขาย+ภวิสฺสติ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/194/287 http://etipitaka.com/read/thai/12/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๗๙/๒๘๗ http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=205 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย, สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ?
    -ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย, สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ? ภิกษุ ท. ! รูป มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ; รูปนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! เวทนา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละเวทนานั้นเสีย ; เวทนานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! สัญญา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสัญญานั้นเสีย ; สัญญานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสังขารทั้งหลายเหล่านั้นเสีย ; สังขารทั้งหลายเหล่านั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละวิญญาณนั้นเสีย ; วิญญาณนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! พวกเธอจะสำคัญ ความข้อนี้ว่าอย่างไร ? คือข้อที่หญ้าไม้ กิ่งไม้และใบไม้ ใด ๆ มีอยู่ ในเชตวันนี้, เมื่อคนเขาขนเอามันไปก็ตามเผาเสียก็ตาม หรือกระทำตามความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม ; พวกเธอเคยเกิดความคิดอย่างนี้บ้างหรือไม่ ว่า “คนเขาขนเอาเราไปบ้าง เขาเผาเราบ้าง เขาทำแก่เราตามความปรารถนาของเขาบ้าง” ดังนี้ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ? “เพราะเหตุว่านั่น หาได้เป็น ตัวตน หรือของเนื่องด้วยตัวตน ของข้าพระองค์ไม่ พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, คือ สิ่งใด มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย ; สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 159 มุมมอง 0 รีวิว
  • อาริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอนัตตรัตนสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 204
    ชื่อบทธรรม :- อนัตตรัตนสูตร
    (อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=รูป+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ;
    อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า
    ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา
    รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า
    ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,
    รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=เวทนา+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า
    ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนาเป็นอนัตตา
    เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า
    ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สญฺญา+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า
    ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญาเป็นอนัตตา
    สัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า
    ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สงฺขาร+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า
    ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา
    สังขารทั้งหลาย จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า
    ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=วิญฺญาณํ+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า
    ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา
    วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า
    ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้,
    รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/64-66/127-129.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒-๘๔/๑๒๗-๑๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=204
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อาริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอนัตตรัตนสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 204 ชื่อบทธรรม :- อนัตตรัตนสูตร (อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204 เนื้อความทั้งหมด :- --อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น. --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=รูป+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=เวทนา+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนาเป็นอนัตตา เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สญฺญา+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญาเป็นอนัตตา สัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สงฺขาร+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา สังขารทั้งหลาย จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=วิญฺญาณํ+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/64-66/127-129. http://etipitaka.com/read/thai/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒-๘๔/๑๒๗-๑๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=204 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้.
    -ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนา เป็นอนัตตา เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญา เป็นอนัตตาสัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา สังขารทั้งหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. .... ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 174 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    สัทธรรมลำดับที่ : 203
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนตฺตา
    บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/22/44.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๒๘/๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=203
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นอนัตตา สัทธรรมลำดับที่ : 203 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นอนัตตา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นอนัตตา --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนตฺตา บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/22/44. http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๒๘/๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=203 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    -เบญจขันธ์เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 202
    ชื่อบทธรรม :- เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=202
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นทุกข์,
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นทุกข์,
    รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=รูป+ทุกฺข+ปจฺจโย
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นทุกข์,
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นทุกข์,
    เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นทุกข์,
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นทุกข์,
    สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์,
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นทุกข์,
    สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นทุกข์,
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นทุกข์,
    วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/29/46.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๙/๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพื่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=202
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=202
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 202 ชื่อบทธรรม :- เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=202 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์ --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นทุกข์, รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=รูป+ทุกฺข+ปจฺจโย --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นทุกข์, เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นทุกข์, สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นทุกข์, สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นทุกข์, วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/29/46. http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๙/๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพื่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=202 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=202 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์
    -เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์ ภิกษุ ท. ! รูป เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นทุกข์, รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นทุกข์, เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นทุกข์, สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นทุกข์, สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นทุกข์, ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นทุกข์, วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 126 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    สัทธรรมลำดับที่ : 609
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    ...
    --ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ
    เกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีตัณหาเป็นต้นเหตุมีตัณหาเป็นเหตุเกิด
    มีตัณหาเป็นกำเนิด มีตัณหาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย
    ตัณหานี้เล่ามีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิดมีอะไรเป็นกำเนิด
    มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ตัณหามีเวทนาเป็นต้นเหตุ มีเวทนาเป็นเหตุเกิด
    มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิน
    --ภิกษุทั้งหลายเวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    เวทนามีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด
    มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ผัสสะมีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด
    มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สฬายตนะมีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด
    มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    นามรูปมีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด
    มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    วิญญาณมีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด
    มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    #สังขารมีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด
    มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=อวิชฺชา
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลใด
    อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ;
    ในกาลนั้น ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ;
    (ทั้งนี้)
    เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา.
    เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ;
    เมื่อไม่สะดุ้ง, #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม.ม.12/134/158.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม.ม.๑๒/๑๓๔/๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=609
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด สัทธรรมลำดับที่ : 609 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด ... --ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีตัณหาเป็นต้นเหตุมีตัณหาเป็นเหตุเกิด มีตัณหาเป็นกำเนิด มีตัณหาเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย ตัณหานี้เล่ามีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิดมีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? ตัณหามีเวทนาเป็นต้นเหตุ มีเวทนาเป็นเหตุเกิด มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิน --ภิกษุทั้งหลายเวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? เวทนามีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด? ผัสสะมีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สฬายตนะมีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? นามรูปมีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? วิญญาณมีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? #สังขารมีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=อวิชฺชา ... --ภิกษุ ท. ! ในกาลใด อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ; ในกาลนั้น ภิกษุนั้น ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ; (ทั้งนี้) เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา. เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ; เมื่อไม่สะดุ้ง, #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=ปรินิพฺพายติ เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม.ม.12/134/158. http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม.ม.๑๒/๑๓๔/๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=609 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    -อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด ภิกษุ ท. ! ในกาลใด อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ; ในกาลนั้น ภิกษุนั้นย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ; (ทั้งนี้) เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา. เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ; เมื่อไม่สะดุ้ง, ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว. เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 207 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts