• ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ##
    ..
    ..
    ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ...
    .
    1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ
    2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่
    3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป
    4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก
    5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน
    6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้
    .
    แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111
    .
    สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!!
    .
    เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่าตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง...
    ...
    ...
    โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เช่น...
    .
    1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี
    2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
    3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน
    4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน
    5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน
    6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ***
    7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล
    8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล ***
    11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ ***
    12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ ***
    ...
    ...
    ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ
    .
    แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้
    .
    มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน
    .
    เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน
    .
    แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ...
    .
    แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน...
    ...
    ...
    ประเด็นสำคัญคือ
    .
    พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน
    .
    แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ
    .
    เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา
    .
    เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น
    .
    แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย
    .
    มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ
    .
    มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา
    .
    อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา
    .
    ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก
    .
    โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา
    .
    ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน)
    .
    ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป...
    .
    สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง
    .
    และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่
    1.รัฐสภา
    2.กระทรวงการต่างประเทศ และ
    3.กองทัพเรือ
    .
    เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ
    .
    สุดท้ายของฝากไว้...
    ....
    ....
    ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119

    ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต
    ....
    ....
    https://youtu.be/pee-3jgOGrQ?si=VEkike7oS8olHZqn
    ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ## .. .. ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ... . 1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ 2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่ 3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป 4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก 5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน 6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้ . แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111 . สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!! . เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่าตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง... ... ... โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เช่น... . 1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี 2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี 3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน 4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน 5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน 6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา *** 7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล 8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล *** 11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ *** 12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ *** ... ... ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ . แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้ . มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน . เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน . แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ... . แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน... ... ... ประเด็นสำคัญคือ . พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน . แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ . เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา . เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น . แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย . มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ . มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา . อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา . ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก . โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา . ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน) . ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป... . สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง . และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่ 1.รัฐสภา 2.กระทรวงการต่างประเทศ และ 3.กองทัพเรือ . เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ . สุดท้ายของฝากไว้... .... .... ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119 ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต .... .... https://youtu.be/pee-3jgOGrQ?si=VEkike7oS8olHZqn
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 394 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ##
    ..
    ..
    ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ...
    .
    1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ

    2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่

    3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป

    4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก

    5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน

    6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้
    .
    แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111
    .
    สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!!
    .
    เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่านตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง...
    ...
    ...
    โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เช่น...
    .
    1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี
    2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
    3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน
    4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน
    5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน
    6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ***
    7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล
    8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล ***
    11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ ***
    12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ ***
    ...
    ...
    ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ
    .
    แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้
    .
    มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน
    .
    เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน
    .
    แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ...
    .
    แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน...
    ...
    ...
    ประเด็นสำคัญคือ
    .
    พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน
    .
    แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ
    .
    เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา
    .
    เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น
    .
    แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย
    .
    มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ
    .
    มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา
    .
    อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา
    .
    ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก
    .
    โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา
    .
    ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน)
    .
    ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป...
    .
    สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง
    .
    และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่
    1.รัฐสภา
    2.กระทรวงการต่างประเทศ และ
    3.กองทัพเรือ
    .
    เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ
    .
    สุดท้ายของฝากไว้...
    ....
    ....
    ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119

    ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต
    ....
    ....
    https://youtu.be/wR4PZ-c5ExA?si=onTI6IaLFkxZfEnv
    ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ## .. .. ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ... . 1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ 2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่ 3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป 4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก 5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน 6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้ . แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111 . สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!! . เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่านตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง... ... ... โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เช่น... . 1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี 2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี 3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน 4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน 5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน 6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา *** 7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล 8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล *** 11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ *** 12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ *** ... ... ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ . แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้ . มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน . เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน . แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ... . แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน... ... ... ประเด็นสำคัญคือ . พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน . แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ . เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา . เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น . แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย . มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ . มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา . อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา . ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก . โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา . ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน) . ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป... . สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง . และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่ 1.รัฐสภา 2.กระทรวงการต่างประเทศ และ 3.กองทัพเรือ . เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ . สุดท้ายของฝากไว้... .... .... ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119 ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต .... .... https://youtu.be/wR4PZ-c5ExA?si=onTI6IaLFkxZfEnv
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 376 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544 ##
    ..
    ..
    ด่วนที่สุด!
    ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗
    วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗

    เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย
    กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
    อ้างถึง
    (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
    (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙

    ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป

    ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว
    บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้
    ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน
    ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓)
    ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙
    และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป
    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

    ขอแสดงความนับถือ
    นายสนธิ ลิ้มทองกุล
    นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    ## เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544 ## .. .. ด่วนที่สุด! ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗ เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙ ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 304 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ) ##
    ..
    ..
    เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 ธันวาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้
    วันนี้ (9 มีนาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ด้วยเหตุผลดังนี้
    ข้อ 1 ประเทศไทยได้ลงนามในหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และหนังสือสัญญาดังกล่าวระบุว่า “เกาะกูด” เป็นของสยาม
    .
    ข้อ 2 ต่อมาวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตประเทศไทยมีระยะ ”12 ไมล์ทะเล“ โดยวัดจากเส้นฐานที่ใช้สำหรับวัดความกว้างของทะเลอาณาเขต เป็นการประกาศ “อำนาจอธิปไตย” ออกไปจากอาณาเขตพื้นดินและน่านน้ำภายในจนถึงแนวทะเลประชิดชายฝั่ง ซึ่งเรียกว่า“ทะเลอาณาเขต” รวมตลอดถึงห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต พื้นท้องทะเล และแผ่นดินใต้พื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขต ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้
    .
    ข้อ 3 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2512 โดยมีผลบังคับใช้สำหรับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2511 ส่งผลการยืนยันประกาศพื้นที่ของประเทศไทยทั้ง “น่านน้ำภายใน” และ “ทะเลอาณาเขต”ว่าเป็น “อำนาจอธิปไตย” ของประเทศไทยตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
    อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังได้กำหนด “เขตต่อเนื่อง” ขยายไปอีก 12 ไมล์ทะเลต่อจากทะเลอาณาเขต สำหรับเป็นพื้นที่ป้องกันการละเมิดข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร รัษฎากร การเข้าเมือง หรือการอนามัย ภายในอาณาเขตหรือทะเลอาณาเขตของประเทศไทยอีกด้วย
    โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังกำหนดด้วยว่าหากไม่มีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น รัฐทั้งสองอยู่ตรงข้ามหรือประชิดกันให้ใช้ “เส้นมัธยะ” คือ จุดทุกจุดบนเส้นนั้นมีระยะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ที่สุดของเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตของแต่ละรัฐ
    ต่อมาวันที่ 11 มิถุนายน 2513 ได้มีประกาศของสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย โดยมีเส้นที่ลากเส้นจาก “หลักเขตที่ 73” ซึ่งตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราดไปยังปลายแหลมด้านใต้สุดของ “เกาะกูด” นั้นเป็น “เส้นฐานตรง” โดยพื้นที่เหนือเส้นฐานตรงบริเวณนี้เป็น “น่านน้ำภายใน” ของราชอาณาจักรไทย มีอำนาจอธิปไตยเหมือนแผ่นดินของราชอาณาจักรไทยทุกประการ
    เมื่อ “เกาะกูด”เป็นของประเทศไทยตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ดังนั้น พื้นที่รอบเกาะกูด 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทย และน่านน้ำภายในของราชอาณาจักรไทย จึงเป็นเขตแดนทางทะเลที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้
    ดังนั้นพื้นที่เหนือของเส้นฐานตรงที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ถึงปลายแหลมสุดทิศด้านใต้ของเกาะกูดของราชอาณาจักรไทย จึงอยู่ใน“อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย รวมทั้งทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเส้นฐานของเกาะกูดก็เป็นเขตที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทยเช่นเดียวกัน อันเป็นไปตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ซึ่งผู้ใดหรือชาติใดจะละเมิดมิได้
    .
    ข้อ 4 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18พฤษภาคม 2516 เพื่อประกาศสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย โดยได้แนบแผนที่ซึ่งลากเส้นเขตไหล่ทวีปจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของประเทศไทยกับเกาะกงของกัมพูชา เป็น “เส้นมัธยะ” แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่มีพื้นที่อ้างสิทธิอธิปไตยจากประเทศอื่น ไม่มีการแบ่งปันการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยให้กับประเทศอื่นใด ซึ่งเป็นไปตามหลัก “เส้นมัธยะ” ของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958 พระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ ยังกำหนดเงื่อนไขวิธีการเจรจาตกลงกระหว่างประเทศใกล้เคียงในอนาคตด้วยว่าต้องเป็นไปตามมูลฐานกฎหมายทะเลสากลเท่านั้นไม่ใช่การเจรจาตกลงกันตามอำเภอใจ
    ทั้งนี้ราชอาณาจักรไทยได้ยึดถือและปกป้องอำนาจอธิปไตยน่านน้ำทะเลภายในและทะเลอาณาเขต ตลอดจนรักษาสิทธิอธิปไตยตามเส้นเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการทุกฉบับ โดยได้ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 มาโดยตลอด และต่อมาประเทศไทยได้มีการลงนามและยึดถือมูลฐานตามที่กำหนดในอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ที่ได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาฯ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 ด้วย
    .
    ข้อ 5 อย่างไรก็ตาม MOU 2544 ได้แนบแผนที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตามพระราชกฤษฎีกาประกาศเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อปี 2515 ก่อให้เกิดการอ้างสิทธิในพื้นที่ไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาที่มีขนาดใหญ่เกินจริง โดยไม่ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” อันเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อประเทศกัมพูชาเกินกว่าหลักมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
    การอ้างสิทธิดังกล่าวจึงส่งผลทำให้เป็นการเปลี่ยนแปลง “หลักการ” สำคัญของอำนาจอธิปไตย และสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย คือ เกิดการละเมิดอำนาจอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยบริเวณพื้นที่ “น่านน้ำภายใน”เหนือเส้นฐานตรงด้านทิศตะวันออกของเกาะกูด และการละเมิดอำนาจอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด และไม่ยึดหลักเส้น “มัธยะ” เพียงอย่างเดียวที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 แต่กลับไปยึดถือ “เขตแดนแนวทางอื่น” ในการเจรจาตกลงกันเองระหว่างไทยและกัมพูชาในพื้นที่อ้างสิทธิเกินจริงของกัมพูชา รวมพื้นที่ประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่กัมพูชาเป็นหลัก
    ดังนั้นการดำเนินการตาม MOU 2544 ที่ถูกรับรองโดย JC 2544 จึงเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดทะเลอาณาเขต เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2509 และพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2516 ซึ่งได้ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” แห่งมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
    .
    ข้อ 6 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งลงนามใน MOU 2544 ได้เคยเขียนบทความเมื่อเดือนพฤษภาคม 2544 ยอมรับว่า MOU 2544 มีสถานะเป็น “สนธิสัญญา” ในขณะที่ นายประจิตต์ โรจนพฤกษ์ อดีตหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทยที่ประสบความสำเร็จในการเจรจาพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซียได้เขียนบทความ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554 แนะนำว่า ฝ่ายไทยจะต้องรีบบอกเลิก MOU 2544 โดยเร็ว มิฉะนั้นแล้วฝ่ายไทยจะเสียเปรียบหากเป็นคดีขึ้นสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล
    ทั้งนี้การที่ประเทศไทยได้ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่ที่มีการอ้างสิทธิเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตาม MOU 2544 อาจทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบซ้ำรอยการถูกตัดสินโดย “หลักกฎหมายปิดปาก” ที่ประเทศไทยเคย “รับรู้”และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่แนบท้ายหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 เป็นเหตุที่ทำให้ประเทศไทยต้องเสียปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 2505 ในการตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมาแล้ว
    .
    ข้อ 7 เมื่อพิจารณาตาม MOU 2544 แล้ว จะพบว่าประเทศไทยมีแต่จะเสียประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เพราะไม่ว่าผลการเจรจาจะเป็นประการใด ประเทศไทยก็จะต้องสูญเสียสิทธิอธิปไตยในพื้นที่ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวให้กลายเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยและกัมพูชาซึ่งมีพื้นที่อย่างน้อย 16,000 ตารางกิโลเมตรขึ้นไปใต้พื้นที่อ้างสิทธิไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาใต้ละติจูด 11 องศาเหนือ หรือถึงขั้นสูญเสียอำนาจอธิปไตยทางทะเลไปมากกว่านี้ได้ด้วย
    ผลลัพธ์ดังกล่าวจึงย่อมส่งผลกระทบในทางเสียหายต่อสิทธิอธิปไตยมากกว่าวิธีการเจรจาด้วย “เส้นมัธยะ” ตามมูลฐานที่บัญญัติเอาไว้ภายใต้อนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อ MOU 2544 ซึ่งได้รับรองโดย JC 2544 มีผลทำให้เกิดเป็นการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตหรือเขตอำนาจแห่งรัฐทางทะเลที่ไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภากรณีจึงขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 มาตั้งแต่แรกและสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
    นอกจากนั้น MOU 2544 ที่รับรองโดย JC 2544 ยังทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงย่อมเป็นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ด้วยเช่นเดียวกัน
    .
    จึงเรียนมาเพื่อขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบในการดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 โดยทันที และดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอดังต่อไปนี้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือฉบับนี้
    .
    1)ให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการที่ประกาศตามมูลฐานแห่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) อันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล ตามบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 52 ของหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
    .
    2) ให้ท่านเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติให้ส่ง MOU 2544 และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ตั้งแต่แรก และขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่ รวมทั้งขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ด้วยหรือไม่ อันเป็นการดำเนินการตามมาตรา 178 วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อน
    .
    3) หากดำเนินการตาม ๒) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544และ JC 2544 ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ให้ยกเลิกการเจรจาตาม MOU 2544 และ JC 2544 เพื่อปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาทันที
    .
    4) หากดำเนินการตาม 2) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544 และ JC 2544 ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ก็ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU 2544 และ JC 2544 ทันที โดยให้เจรจากันใหม่ภายใต้การกำหนดขอบเขตเฉพาะพื้นที่พัฒนาร่วมบนพื้นฐานโดยใช้หลักการของ “เส้นมัธยะ” ในการอ้างสิทธิไหล่ทวีปทับซ้อนตามจริงของมูลฐานแห่งบทบัญญัติอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ประกอบกับอนุสัญญาสหประชาชาติด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 แล้วนำผลของการเจรจาเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้เจรจาเสร็จสิ้น ก่อนนำขึ้นกราบบังคมทูลเกล้าฯ ต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศเป็นพระราชโองการ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของมาตรา 1 และมาตรา 178 วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ต่อไป
    .
    5) ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU 2544 และ JC 2544ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้อง
    .
    6) ให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชนในเรื่อง MOU 2544 และ JC 2544 โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ ทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป
    ทั้งนี้ขอให้ท่านเสนอหนังสือฉบับนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา และหากคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาแล้วมีผลเป็นประการใดขอได้โปรดแจ้งข้าพเจ้าได้ทราบ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาหนังสือฉบับนี้
    .
    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1110891340404565/?
    ## เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ) ## .. .. เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 ธันวาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้ วันนี้ (9 มีนาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ด้วยเหตุผลดังนี้ ข้อ 1 ประเทศไทยได้ลงนามในหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และหนังสือสัญญาดังกล่าวระบุว่า “เกาะกูด” เป็นของสยาม . ข้อ 2 ต่อมาวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตประเทศไทยมีระยะ ”12 ไมล์ทะเล“ โดยวัดจากเส้นฐานที่ใช้สำหรับวัดความกว้างของทะเลอาณาเขต เป็นการประกาศ “อำนาจอธิปไตย” ออกไปจากอาณาเขตพื้นดินและน่านน้ำภายในจนถึงแนวทะเลประชิดชายฝั่ง ซึ่งเรียกว่า“ทะเลอาณาเขต” รวมตลอดถึงห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต พื้นท้องทะเล และแผ่นดินใต้พื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขต ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้ . ข้อ 3 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2512 โดยมีผลบังคับใช้สำหรับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2511 ส่งผลการยืนยันประกาศพื้นที่ของประเทศไทยทั้ง “น่านน้ำภายใน” และ “ทะเลอาณาเขต”ว่าเป็น “อำนาจอธิปไตย” ของประเทศไทยตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังได้กำหนด “เขตต่อเนื่อง” ขยายไปอีก 12 ไมล์ทะเลต่อจากทะเลอาณาเขต สำหรับเป็นพื้นที่ป้องกันการละเมิดข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร รัษฎากร การเข้าเมือง หรือการอนามัย ภายในอาณาเขตหรือทะเลอาณาเขตของประเทศไทยอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังกำหนดด้วยว่าหากไม่มีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น รัฐทั้งสองอยู่ตรงข้ามหรือประชิดกันให้ใช้ “เส้นมัธยะ” คือ จุดทุกจุดบนเส้นนั้นมีระยะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ที่สุดของเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตของแต่ละรัฐ ต่อมาวันที่ 11 มิถุนายน 2513 ได้มีประกาศของสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย โดยมีเส้นที่ลากเส้นจาก “หลักเขตที่ 73” ซึ่งตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราดไปยังปลายแหลมด้านใต้สุดของ “เกาะกูด” นั้นเป็น “เส้นฐานตรง” โดยพื้นที่เหนือเส้นฐานตรงบริเวณนี้เป็น “น่านน้ำภายใน” ของราชอาณาจักรไทย มีอำนาจอธิปไตยเหมือนแผ่นดินของราชอาณาจักรไทยทุกประการ เมื่อ “เกาะกูด”เป็นของประเทศไทยตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ดังนั้น พื้นที่รอบเกาะกูด 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทย และน่านน้ำภายในของราชอาณาจักรไทย จึงเป็นเขตแดนทางทะเลที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้ ดังนั้นพื้นที่เหนือของเส้นฐานตรงที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ถึงปลายแหลมสุดทิศด้านใต้ของเกาะกูดของราชอาณาจักรไทย จึงอยู่ใน“อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย รวมทั้งทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเส้นฐานของเกาะกูดก็เป็นเขตที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทยเช่นเดียวกัน อันเป็นไปตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ซึ่งผู้ใดหรือชาติใดจะละเมิดมิได้ . ข้อ 4 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18พฤษภาคม 2516 เพื่อประกาศสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย โดยได้แนบแผนที่ซึ่งลากเส้นเขตไหล่ทวีปจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของประเทศไทยกับเกาะกงของกัมพูชา เป็น “เส้นมัธยะ” แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่มีพื้นที่อ้างสิทธิอธิปไตยจากประเทศอื่น ไม่มีการแบ่งปันการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยให้กับประเทศอื่นใด ซึ่งเป็นไปตามหลัก “เส้นมัธยะ” ของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958 พระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ ยังกำหนดเงื่อนไขวิธีการเจรจาตกลงกระหว่างประเทศใกล้เคียงในอนาคตด้วยว่าต้องเป็นไปตามมูลฐานกฎหมายทะเลสากลเท่านั้นไม่ใช่การเจรจาตกลงกันตามอำเภอใจ ทั้งนี้ราชอาณาจักรไทยได้ยึดถือและปกป้องอำนาจอธิปไตยน่านน้ำทะเลภายในและทะเลอาณาเขต ตลอดจนรักษาสิทธิอธิปไตยตามเส้นเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการทุกฉบับ โดยได้ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 มาโดยตลอด และต่อมาประเทศไทยได้มีการลงนามและยึดถือมูลฐานตามที่กำหนดในอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ที่ได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาฯ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 ด้วย . ข้อ 5 อย่างไรก็ตาม MOU 2544 ได้แนบแผนที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตามพระราชกฤษฎีกาประกาศเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อปี 2515 ก่อให้เกิดการอ้างสิทธิในพื้นที่ไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาที่มีขนาดใหญ่เกินจริง โดยไม่ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” อันเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อประเทศกัมพูชาเกินกว่าหลักมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 การอ้างสิทธิดังกล่าวจึงส่งผลทำให้เป็นการเปลี่ยนแปลง “หลักการ” สำคัญของอำนาจอธิปไตย และสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย คือ เกิดการละเมิดอำนาจอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยบริเวณพื้นที่ “น่านน้ำภายใน”เหนือเส้นฐานตรงด้านทิศตะวันออกของเกาะกูด และการละเมิดอำนาจอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด และไม่ยึดหลักเส้น “มัธยะ” เพียงอย่างเดียวที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 แต่กลับไปยึดถือ “เขตแดนแนวทางอื่น” ในการเจรจาตกลงกันเองระหว่างไทยและกัมพูชาในพื้นที่อ้างสิทธิเกินจริงของกัมพูชา รวมพื้นที่ประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่กัมพูชาเป็นหลัก ดังนั้นการดำเนินการตาม MOU 2544 ที่ถูกรับรองโดย JC 2544 จึงเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดทะเลอาณาเขต เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2509 และพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2516 ซึ่งได้ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” แห่งมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 . ข้อ 6 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งลงนามใน MOU 2544 ได้เคยเขียนบทความเมื่อเดือนพฤษภาคม 2544 ยอมรับว่า MOU 2544 มีสถานะเป็น “สนธิสัญญา” ในขณะที่ นายประจิตต์ โรจนพฤกษ์ อดีตหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทยที่ประสบความสำเร็จในการเจรจาพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซียได้เขียนบทความ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554 แนะนำว่า ฝ่ายไทยจะต้องรีบบอกเลิก MOU 2544 โดยเร็ว มิฉะนั้นแล้วฝ่ายไทยจะเสียเปรียบหากเป็นคดีขึ้นสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล ทั้งนี้การที่ประเทศไทยได้ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่ที่มีการอ้างสิทธิเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตาม MOU 2544 อาจทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบซ้ำรอยการถูกตัดสินโดย “หลักกฎหมายปิดปาก” ที่ประเทศไทยเคย “รับรู้”และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่แนบท้ายหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 เป็นเหตุที่ทำให้ประเทศไทยต้องเสียปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 2505 ในการตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมาแล้ว . ข้อ 7 เมื่อพิจารณาตาม MOU 2544 แล้ว จะพบว่าประเทศไทยมีแต่จะเสียประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เพราะไม่ว่าผลการเจรจาจะเป็นประการใด ประเทศไทยก็จะต้องสูญเสียสิทธิอธิปไตยในพื้นที่ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวให้กลายเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยและกัมพูชาซึ่งมีพื้นที่อย่างน้อย 16,000 ตารางกิโลเมตรขึ้นไปใต้พื้นที่อ้างสิทธิไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาใต้ละติจูด 11 องศาเหนือ หรือถึงขั้นสูญเสียอำนาจอธิปไตยทางทะเลไปมากกว่านี้ได้ด้วย ผลลัพธ์ดังกล่าวจึงย่อมส่งผลกระทบในทางเสียหายต่อสิทธิอธิปไตยมากกว่าวิธีการเจรจาด้วย “เส้นมัธยะ” ตามมูลฐานที่บัญญัติเอาไว้ภายใต้อนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อ MOU 2544 ซึ่งได้รับรองโดย JC 2544 มีผลทำให้เกิดเป็นการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตหรือเขตอำนาจแห่งรัฐทางทะเลที่ไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภากรณีจึงขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 มาตั้งแต่แรกและสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้น MOU 2544 ที่รับรองโดย JC 2544 ยังทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงย่อมเป็นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ด้วยเช่นเดียวกัน . จึงเรียนมาเพื่อขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบในการดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 โดยทันที และดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอดังต่อไปนี้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือฉบับนี้ . 1)ให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการที่ประกาศตามมูลฐานแห่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) อันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล ตามบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 52 ของหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 . 2) ให้ท่านเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติให้ส่ง MOU 2544 และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ตั้งแต่แรก และขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่ รวมทั้งขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ด้วยหรือไม่ อันเป็นการดำเนินการตามมาตรา 178 วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อน . 3) หากดำเนินการตาม ๒) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544และ JC 2544 ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ให้ยกเลิกการเจรจาตาม MOU 2544 และ JC 2544 เพื่อปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาทันที . 4) หากดำเนินการตาม 2) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544 และ JC 2544 ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ก็ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU 2544 และ JC 2544 ทันที โดยให้เจรจากันใหม่ภายใต้การกำหนดขอบเขตเฉพาะพื้นที่พัฒนาร่วมบนพื้นฐานโดยใช้หลักการของ “เส้นมัธยะ” ในการอ้างสิทธิไหล่ทวีปทับซ้อนตามจริงของมูลฐานแห่งบทบัญญัติอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ประกอบกับอนุสัญญาสหประชาชาติด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 แล้วนำผลของการเจรจาเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้เจรจาเสร็จสิ้น ก่อนนำขึ้นกราบบังคมทูลเกล้าฯ ต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศเป็นพระราชโองการ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของมาตรา 1 และมาตรา 178 วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ต่อไป . 5) ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU 2544 และ JC 2544ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้อง . 6) ให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชนในเรื่อง MOU 2544 และ JC 2544 โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ ทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ทั้งนี้ขอให้ท่านเสนอหนังสือฉบับนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา และหากคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาแล้วมีผลเป็นประการใดขอได้โปรดแจ้งข้าพเจ้าได้ทราบ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาหนังสือฉบับนี้ . https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1110891340404565/?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 475 มุมมอง 0 รีวิว
  • “สนธิ” ยื่นหนังสือทวงถามนายกฯ ปมยกเลิก MOU2544 และ JC2544 หลังยื่นข้อเรียกร้องครบ 15 วันแล้วยังนิ่งเฉย เสี่ยงทำให้ประเทศเสียอธิปไตยทางทะเล ผิดรัฐธรรมนูญ เตรียมดำเนินการทางกฎหมายตามที่เห็นสมควรต่อไป
    .
    วันนี้(24 ธ.ค.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะได้เดินทางไปที่ทำเนียบรัฐบาล เพื่อยื่นหนังสือทวงถามกรณีให้เพิกถอน MOU 2544 และ JC 2544 ที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ (กพร. ฝั่งตรงข้ามทำเนียบรัฐบาล) วันอังคารที่ 24 ธันวาคม 2567 ร่วมลงนามตั้งแต่ 9.00 น. และยื่นหนังสือเวลา 10.00 น. หลังเคยยื่นหนังสือเรียกร้องเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2567 และครบกำหนด 15 วัน จึงมาทวงถามในวันนี้
    .
    รายละเอียดหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี
    .
    ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗
    วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗
    เรื่อง ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย
    .
    กราบเรียนฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
    อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
    (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙
    .
    ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว
    .
    บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้น การแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้น ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป
    .
    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
    ขอแสดงความนับถือ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000123204
    ..............
    Sondhi X
    “สนธิ” ยื่นหนังสือทวงถามนายกฯ ปมยกเลิก MOU2544 และ JC2544 หลังยื่นข้อเรียกร้องครบ 15 วันแล้วยังนิ่งเฉย เสี่ยงทำให้ประเทศเสียอธิปไตยทางทะเล ผิดรัฐธรรมนูญ เตรียมดำเนินการทางกฎหมายตามที่เห็นสมควรต่อไป . วันนี้(24 ธ.ค.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะได้เดินทางไปที่ทำเนียบรัฐบาล เพื่อยื่นหนังสือทวงถามกรณีให้เพิกถอน MOU 2544 และ JC 2544 ที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ (กพร. ฝั่งตรงข้ามทำเนียบรัฐบาล) วันอังคารที่ 24 ธันวาคม 2567 ร่วมลงนามตั้งแต่ 9.00 น. และยื่นหนังสือเวลา 10.00 น. หลังเคยยื่นหนังสือเรียกร้องเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2567 และครบกำหนด 15 วัน จึงมาทวงถามในวันนี้ . รายละเอียดหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี . ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗ เรื่อง ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย . กราบเรียนฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙ . ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว . บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้น การแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้น ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป . จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000123204 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    14
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 804 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544

    ด่วนท่ีสุด!

    ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗

    วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗

    เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย

    กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี

    อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
    (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙

    ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป

    ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว
    บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้
    ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน

    ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓)

    ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙
    และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป

    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
    ขอแสดงความนับถือ
    นายสนธิ ลิ้มทองกุล
    นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544 ด่วนท่ีสุด! ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗ เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙ ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    Like
    Love
    Wow
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 1 รีวิว
  • ผมไม่แน่ใจว่า “นายกรัฐมนตรี อ.อ.” เคยรู้เห็นเรื่องเกี่ยวกับ พรบ.การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ปี ๒๕๖๒ หรือไม่

    หรือเธอถูกปิดบังไม่ให้รู้เรื่องนี้

    หรือเคยศึกษาเรื่อง “กฎหมายทะเลหรือไม่?” ในฐานะที่เป็นนายกรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบเรื่อง “ผลประโยชน์ของชาติทั้งมวล โดยเฉพาะผลประโยชน์ทางทะเล”

    เอาละ “เรื่องมาตราส่วนแผ่นที่ระหว่างแผนที่ทางบกกับแผ่นที่ทางทะเลต่างกัน มาตรฐานการใช้มาตราส่วนต่างกัน แผนที่ทะเลมีมาตรฐานเดียวทั้งโลก แต่มาตราส่วนขึ้นอยู่กับขนาดของแผ่นที่ที่ใช้ว่าต้องการละเอียดมากน้อยอย่างไร ซึ่งมีมาแต่โบราณแต่มาตราส่วนแผ่นที่ทางบกนั้นแต่งต่างกันตามยุค ตามเวลา ที่มีการทำขึ้นเพื่อใช้ในข้อตกลง

    แต่แผ่นที่ทะเลมีการกำหนดพิกัดตำบลสมมติบนผิวทะเลตามเส้นรุ้ง เส้นแวงที่มีฐานจากการวัดตำแหน่งของดวงดาวตามที่ Sextant เครื่องวัดมุมตามตำแหน่งของดวงดาวต่างๆ ที่กระทำต่อพื้นผิวทะเล

    ทำให้วิธี “คำนวณลากเส้นมัธยฐานเลขาคณิตสมุทรศาสตร์เป็นสากล”

    ดังนั้นการกำหนดเส้นมัธยฐานทางทะเลเพื่อแบ่งเขตทะเลจึงพิสูจน์ได้ง่ายเป็นสากลตาม กฎหมายทะเล ที่สหประชาชาติประกาศใช้

    พรบ.ประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยของไทย พ.ศ.๒๕๑๖ (ค.ศ.๑๙๗๓) ก็เป็นไปตาม “หลักกฎหมายทะเลของสหประชาชาติว่าด้วยการกำหนดเขตไหล่ทวีป แต่เขตไหล่ทวีปไม่ละเอียดพอ ทำให้สหประชาชาติจึงออกกฎหมายทะเล ฉบับปี ค.ศ. ๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๑๕) เพื่อ “ขยายความไหล่ทวีปที่มีขนาดไม่เท่ากันในพื้นที่ทะเลต่างๆ และแก้ไขด้วยการกำหนดเป็นระยะทาง ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่ก็ยังใช้หลักการทางนิตินัยเดิมเป็นหลัก

    It was not until 1982 with the UN Convention on the Law of the Sea (UNCLOS) that the 200 nautical mile exclusive economic zone was formally adopted.

    ตัวแปรหลักๆ เรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีป (ก่อน พ.ศ.๒๕ค๑๕) เปลี่ยนเป็นเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่พื้นฐานการลากเส้นกำหนดเขตทะเลเป็นไปตาม “กฎหมายทะเล” ก่อนหน้านี้ คือ ๑. แนวเส้นชายฝั่งทะเลของไทยและวัดออกไป ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากแนวเขตทะเลต่อเนื่องที่น้ำลงต่ำสุด โดยลากตามหลักกฎหมายทะเล ๒๕๑๕ (ค.ศ.๑๙๘๒) ๒. เกาะกูดเป็นของไทยตามสนธิสัญญาสยาม/ฝรั่งเศส และเกาะกูดตามกฎหมายทะเลนั้นมีทะเลอาณาเขตของมันเอง แม้ติดกับชาบฝั่งทะเลของกัมพูชาก็ตามก็มีกฎหมายกำหนดวิธีกำหนดเขตชายฝั่งของเกาะกูด

    ดังนั้นเรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีปหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเลไม่มีการทับซ้อนกัน” อย่างแน่นอน (ศึกษาเพิ่มเติมจาก IILSS - International Institue for Law of the Sea Studies ซึ่งเป็นองค์กรที่ปรึกษากฎหมายทะเลอิสระ)

    ไม่ทราบว่านายกรัฐมนตรี อ.อ.รู้เรื่องหรือเปล่า (เห็นท่าทางจะใช้ IPad ได้คล่องแคล่ว).

    :Vachara Riddhagni
    ผมไม่แน่ใจว่า “นายกรัฐมนตรี อ.อ.” เคยรู้เห็นเรื่องเกี่ยวกับ พรบ.การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ปี ๒๕๖๒ หรือไม่ หรือเธอถูกปิดบังไม่ให้รู้เรื่องนี้ หรือเคยศึกษาเรื่อง “กฎหมายทะเลหรือไม่?” ในฐานะที่เป็นนายกรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบเรื่อง “ผลประโยชน์ของชาติทั้งมวล โดยเฉพาะผลประโยชน์ทางทะเล” เอาละ “เรื่องมาตราส่วนแผ่นที่ระหว่างแผนที่ทางบกกับแผ่นที่ทางทะเลต่างกัน มาตรฐานการใช้มาตราส่วนต่างกัน แผนที่ทะเลมีมาตรฐานเดียวทั้งโลก แต่มาตราส่วนขึ้นอยู่กับขนาดของแผ่นที่ที่ใช้ว่าต้องการละเอียดมากน้อยอย่างไร ซึ่งมีมาแต่โบราณแต่มาตราส่วนแผ่นที่ทางบกนั้นแต่งต่างกันตามยุค ตามเวลา ที่มีการทำขึ้นเพื่อใช้ในข้อตกลง แต่แผ่นที่ทะเลมีการกำหนดพิกัดตำบลสมมติบนผิวทะเลตามเส้นรุ้ง เส้นแวงที่มีฐานจากการวัดตำแหน่งของดวงดาวตามที่ Sextant เครื่องวัดมุมตามตำแหน่งของดวงดาวต่างๆ ที่กระทำต่อพื้นผิวทะเล ทำให้วิธี “คำนวณลากเส้นมัธยฐานเลขาคณิตสมุทรศาสตร์เป็นสากล” ดังนั้นการกำหนดเส้นมัธยฐานทางทะเลเพื่อแบ่งเขตทะเลจึงพิสูจน์ได้ง่ายเป็นสากลตาม กฎหมายทะเล ที่สหประชาชาติประกาศใช้ พรบ.ประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยของไทย พ.ศ.๒๕๑๖ (ค.ศ.๑๙๗๓) ก็เป็นไปตาม “หลักกฎหมายทะเลของสหประชาชาติว่าด้วยการกำหนดเขตไหล่ทวีป แต่เขตไหล่ทวีปไม่ละเอียดพอ ทำให้สหประชาชาติจึงออกกฎหมายทะเล ฉบับปี ค.ศ. ๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๑๕) เพื่อ “ขยายความไหล่ทวีปที่มีขนาดไม่เท่ากันในพื้นที่ทะเลต่างๆ และแก้ไขด้วยการกำหนดเป็นระยะทาง ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่ก็ยังใช้หลักการทางนิตินัยเดิมเป็นหลัก It was not until 1982 with the UN Convention on the Law of the Sea (UNCLOS) that the 200 nautical mile exclusive economic zone was formally adopted. ตัวแปรหลักๆ เรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีป (ก่อน พ.ศ.๒๕ค๑๕) เปลี่ยนเป็นเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่พื้นฐานการลากเส้นกำหนดเขตทะเลเป็นไปตาม “กฎหมายทะเล” ก่อนหน้านี้ คือ ๑. แนวเส้นชายฝั่งทะเลของไทยและวัดออกไป ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากแนวเขตทะเลต่อเนื่องที่น้ำลงต่ำสุด โดยลากตามหลักกฎหมายทะเล ๒๕๑๕ (ค.ศ.๑๙๘๒) ๒. เกาะกูดเป็นของไทยตามสนธิสัญญาสยาม/ฝรั่งเศส และเกาะกูดตามกฎหมายทะเลนั้นมีทะเลอาณาเขตของมันเอง แม้ติดกับชาบฝั่งทะเลของกัมพูชาก็ตามก็มีกฎหมายกำหนดวิธีกำหนดเขตชายฝั่งของเกาะกูด ดังนั้นเรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีปหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเลไม่มีการทับซ้อนกัน” อย่างแน่นอน (ศึกษาเพิ่มเติมจาก IILSS - International Institue for Law of the Sea Studies ซึ่งเป็นองค์กรที่ปรึกษากฎหมายทะเลอิสระ) ไม่ทราบว่านายกรัฐมนตรี อ.อ.รู้เรื่องหรือเปล่า (เห็นท่าทางจะใช้ IPad ได้คล่องแคล่ว). :Vachara Riddhagni
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดช่องยื่นผู้ตรวจฯ ส่งศาลฉีก MOU2544 ก่อนตัดสินใจลงถนน
    .
    ปมประเด็นปัญหาในเรื่องข้อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชาผ่านกรณีMOU 2544 นั้น ถือเป็นประเด็นหนึ่งที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ และมีนักวิชาการ รวมไปถึงผู้ทรงคุณวุฒิออกมาให้ความเห็นเป็นอย่างมาก โดยนายธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก โดยระบุว่า "MOU 2544 มีความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่? กรณีที่คุณสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะทำหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2567 ขอให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU 2544 และ JC 2544 ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯและฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตยและบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องและเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยนั้น ผมเห็นด้วยกับเหตุผลตามหนังสือดังกล่าวทุกประการ เพราะหากรัฐบาลยังดำเนินการใดๆต่อไปตาม MOU 2544 เท่ากับเป็นการเปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ”เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย กลายเป็น “การรับรู้” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลโดยปริยาย"
    .
    "ดังนั้นการที่รัฐบาลไทย “รับรู้” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล แม้ว่ารัฐบาลไทยจะอ้างว่ายังคงปฏิเสธการลากเส้นของกัมพูชาดังกล่าว ประเทศไทยก็จะตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดของเราคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว และกลายเป็นการยอมรับความไม่ชัดเจนของพื้นที่อาณาเขตทางทะเลว่ามีความเหลื่อมซ้อนกันอยู่ระหว่างสองประเทศ ตลอดทั้งการให้สัมภาษณ์ของนายกรัฐมนตรีไทยในทำนองว่าหากตกลงกันไม่ได้ ก็แบ่งครึ่งกัน จึงอาจเข้าทำนองรอยเดิมกรณีปราสาทพระวิหารที่ฝ่ายไทยต้องพ่ายแพ้ด้วยเหตุผลของ “กฎหมายปิดปาก” นั่นเอง"
    .
    นายธีรภัทร์ ให้ความเห็นอีกว่า ข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะให้นายกรัฐมนตรีเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและมีมติให้ส่ง MOU 2544และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อนนั้น จึงเป็นข้อเรียกร้องที่มีเหตุมีผลที่รัฐบาลควรสนองตอบ และเป็นทางออกที่เป็นไปตามกติกาของบ้านเมือง อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลไม่สนองตอบข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะ ผมก็ขอเสนอต่อไปว่าคุณสนธิและคณะควรจะเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ผ่านผู้ตรวจการแผ่นดินตามมาตรา 231 ของรัฐธรรมนูญฯเพื่อให้ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองแล้วแต่กรณีเพื่อพิจารณาให้ได้ข้อยุติต่อไปได้ หากกระบวนการโดยสันติตามรัฐธรรมนูญฯไม่บังเกิดผลแล้ว จึงค่อยใช้เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฯกันต่อไป
    ..............
    Sondhi X
    เปิดช่องยื่นผู้ตรวจฯ ส่งศาลฉีก MOU2544 ก่อนตัดสินใจลงถนน . ปมประเด็นปัญหาในเรื่องข้อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชาผ่านกรณีMOU 2544 นั้น ถือเป็นประเด็นหนึ่งที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ และมีนักวิชาการ รวมไปถึงผู้ทรงคุณวุฒิออกมาให้ความเห็นเป็นอย่างมาก โดยนายธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก โดยระบุว่า "MOU 2544 มีความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่? กรณีที่คุณสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะทำหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2567 ขอให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU 2544 และ JC 2544 ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯและฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตยและบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องและเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยนั้น ผมเห็นด้วยกับเหตุผลตามหนังสือดังกล่าวทุกประการ เพราะหากรัฐบาลยังดำเนินการใดๆต่อไปตาม MOU 2544 เท่ากับเป็นการเปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ”เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย กลายเป็น “การรับรู้” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลโดยปริยาย" . "ดังนั้นการที่รัฐบาลไทย “รับรู้” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล แม้ว่ารัฐบาลไทยจะอ้างว่ายังคงปฏิเสธการลากเส้นของกัมพูชาดังกล่าว ประเทศไทยก็จะตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดของเราคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว และกลายเป็นการยอมรับความไม่ชัดเจนของพื้นที่อาณาเขตทางทะเลว่ามีความเหลื่อมซ้อนกันอยู่ระหว่างสองประเทศ ตลอดทั้งการให้สัมภาษณ์ของนายกรัฐมนตรีไทยในทำนองว่าหากตกลงกันไม่ได้ ก็แบ่งครึ่งกัน จึงอาจเข้าทำนองรอยเดิมกรณีปราสาทพระวิหารที่ฝ่ายไทยต้องพ่ายแพ้ด้วยเหตุผลของ “กฎหมายปิดปาก” นั่นเอง" . นายธีรภัทร์ ให้ความเห็นอีกว่า ข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะให้นายกรัฐมนตรีเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและมีมติให้ส่ง MOU 2544และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อนนั้น จึงเป็นข้อเรียกร้องที่มีเหตุมีผลที่รัฐบาลควรสนองตอบ และเป็นทางออกที่เป็นไปตามกติกาของบ้านเมือง อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลไม่สนองตอบข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะ ผมก็ขอเสนอต่อไปว่าคุณสนธิและคณะควรจะเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ผ่านผู้ตรวจการแผ่นดินตามมาตรา 231 ของรัฐธรรมนูญฯเพื่อให้ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองแล้วแต่กรณีเพื่อพิจารณาให้ได้ข้อยุติต่อไปได้ หากกระบวนการโดยสันติตามรัฐธรรมนูญฯไม่บังเกิดผลแล้ว จึงค่อยใช้เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฯกันต่อไป .............. Sondhi X
    Like
    7
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 865 มุมมอง 0 รีวิว
  • เรื่องราวเขมรนั้นเป็นบทเรียนสำคัญสำหรับผมเสมอมาโดยเฉพาะในเรื่อง “ความกตัญญูกตเวทีอันเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของมนุษยชาติ” (แต่จะไม่สามารถเปรียบเทียบกับการตอบแทนบุญคุณชาติบ้านเมือง บุพกษัตริย์และวีรชนของชาติซึ่งยิ่งใหญ่มหาศาลมากกว่ามากมายนัก)ไม่ต้องพูดถึงอดีตกาลโบราณ เอาแค่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ฝรั่งเศสให้เอกราชกัมพูชา ซึ่งมีไทยส่งเสริมสนับสนุนและเป็นชาติแรกๆ ที่รับรองกัมพูชาเป็นสมาชิก UNช่วงสงครามกลางเมืองกัมพูชา ๒๕๑๕ เป็นต้นไป “รัฐบาลไทยสนับสนุนรัฐบาลเจ้านโรดมสีหนุซึ่งวางตัวเป็นกลางไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดในยุคสงครามเย็น”แต่ CIA เห็นว่าเจ้าสีหนุที่เป็นทั้งพระมหากษัตริย์ ประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีและไว้ใจไม่ได้ จึงสนับสนุนนายพลลอนนนอลรัฐประหารล้มระบอบกษัตริย์ในกัมพูชาฝ่ายพรรคคคอมมิวนิสต์กัมพูชาเห็นความอ่อนแอของรัฐ จึงยึดประเทศเกิดสงครามกลางเมือง (นี่ คือจุดอ่อนของระบอบกษัตริย์ในกัมพูชาจึงง่ายกับการถูกรัฐประหารและล้มล้างระบอบการปกครอง)สงครามกลางเมืองขยายขอบเขตสร้างความเดือนร้อนต่อประชาชนอย่างมหาศาลและกลายเป็นผู้ลี้ภัยทะลักเข้าสู่ประเทศไทยเป็นจำนวนนับหมิ่นๆ คนตลอดแนวชายแดนไทย/กัมพูชาโดยเฉพาะที่บริเวณเขาอีด่าง จังหวัดสระแก้วในปัจจุบัน (ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๙ เสด็จไปเยี่ยมผู้อพยพเขมรจนพระองค์ติดเชื้อโรคร้ายเกือบสิ้นพระชนม์ชีพในช่วงนั้นเลย) จิตอาสาแพทย์ไทยหลายสิบๆ คนเสียสละไปช่วยรักษาโรคให้ผู้อพยพเขมรจำนวนมากกองทัพไทยส่งหน่วยทหารไปวางแผนช่วยรัฐบาลนายพลลอนนอลรบกับคอมมิวนิสต์ โดยกองทัพอากาศส่งเครื่องบินไปโจมตีที่ตั้งเขมรแดงในเขตยึดครองเขมรแดงสนับสนุนนายพลลอนนอล (มีตำนานเล่าขานว่า มีนักบิน T-28 ทอ.ไทยถูกยิงตกที่บริเวณทะเลสาปเขมรแต่ก่อนตายถูกทรมานอย่างโหดเหี้ยมมากๆ) ขณะเดียวกันรัฐบาลลอนนอลฉวยโอกาสประกาศอ้างสิทธิ์เขตไหล่ทวีปทับทะเลอาณาเขตของไทย (ที่เป็นช่องทางให้สมเด็จฮุนเซนและลูกใช้อ้างเป็นพื้นที่ทับซ้อนและหวังนำสู่ศาลโลกเพื่อพลิกผันให้มีการตกลงแบ่งกันคนละครึ่งโดยมีคนไทยในระบอบทักษิณสมรู้ร่วมคิดนายพลลอนนอลคงไม่รู้คำว่า “กตัญญูกตเวทิตา” เป็นแน่แท้ (นายพลลอนนอลหนีไปสหรัฐฯ และเป็นโรคร้ายตายในสหรัฐฯ ไปแล้วและเรื่องที่ต้องเล่าแม้เป็นตำนานแต่ก็เป็นที่รู้กัน คือ เรื่องนี้เพราะ รร.นายร้อย West Piont นั้นไม่ใช่จะสมัครสอบเข้าเรียนได้เหมือนอย่างแหล่งอุดมศึกษาอื่นๆ ในสหรัฐฯ แต่มีเงื่อนไขทางกฎหมายสหรัฐฯ กำกับไว้สำหรับผู้ที่มีสิทธิ์อย่างชัดเจนคือ นายพล ฮุน มาเน็ต ที่เรียนจบจาก รร.นายร้อย West Point นั้นได้เข้าเรียนเพราะกองทัพบกไทย (โดยนายพลท่านหนึ่งสั่งการและอนุมัติให้กองทับบกดำเนินการเอาโคว้ต้าของนักเรียนนายร้อย จปร.ที่สามารถเข้าเรียนได้ตามสิทธิ์ในข้อตกลงระหว่างกองทัพไทยกับกองทัพบกสหรัฐฯ ไปให้ ฮุน มาเน็ต บุตรชายสมเด็จฮุนเซนได้เข้าเรียนที่ West Point เป็นกรณีพิเศษเพื่อสัมพันธไมตรีระหว่างสมเด็จฮุนเซนกับนายพลท่านผู้นั้น)ผมไม่ได้ตำหนิ “นายพลคนใดคนหนึ่งในกองทัพบก” เพราะท่านก็ทำเพื่อสัมพันธไมตรีอันดีเพื่อชาติ (สัมพันธไมตรีนั้นเป็น “นามธรรม” มูลค่าวัดไม่ได้) แต่เรื่องที่ผมอยากพูด คือ คนเนรคุณไม่รู้จักบุญคุณคนไทยทั้งชาติ สำหรับนายกรัฐมนตรี ฮุน มาเน็ต ไม่รู้บุญคุณนักเรียนนายร้อย จปร.ที่สละสิทธิ์ให้เขาไปเรียน :Vachara Riddhagni
    เรื่องราวเขมรนั้นเป็นบทเรียนสำคัญสำหรับผมเสมอมาโดยเฉพาะในเรื่อง “ความกตัญญูกตเวทีอันเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของมนุษยชาติ” (แต่จะไม่สามารถเปรียบเทียบกับการตอบแทนบุญคุณชาติบ้านเมือง บุพกษัตริย์และวีรชนของชาติซึ่งยิ่งใหญ่มหาศาลมากกว่ามากมายนัก)ไม่ต้องพูดถึงอดีตกาลโบราณ เอาแค่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ฝรั่งเศสให้เอกราชกัมพูชา ซึ่งมีไทยส่งเสริมสนับสนุนและเป็นชาติแรกๆ ที่รับรองกัมพูชาเป็นสมาชิก UNช่วงสงครามกลางเมืองกัมพูชา ๒๕๑๕ เป็นต้นไป “รัฐบาลไทยสนับสนุนรัฐบาลเจ้านโรดมสีหนุซึ่งวางตัวเป็นกลางไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดในยุคสงครามเย็น”แต่ CIA เห็นว่าเจ้าสีหนุที่เป็นทั้งพระมหากษัตริย์ ประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีและไว้ใจไม่ได้ จึงสนับสนุนนายพลลอนนนอลรัฐประหารล้มระบอบกษัตริย์ในกัมพูชาฝ่ายพรรคคคอมมิวนิสต์กัมพูชาเห็นความอ่อนแอของรัฐ จึงยึดประเทศเกิดสงครามกลางเมือง (นี่ คือจุดอ่อนของระบอบกษัตริย์ในกัมพูชาจึงง่ายกับการถูกรัฐประหารและล้มล้างระบอบการปกครอง)สงครามกลางเมืองขยายขอบเขตสร้างความเดือนร้อนต่อประชาชนอย่างมหาศาลและกลายเป็นผู้ลี้ภัยทะลักเข้าสู่ประเทศไทยเป็นจำนวนนับหมิ่นๆ คนตลอดแนวชายแดนไทย/กัมพูชาโดยเฉพาะที่บริเวณเขาอีด่าง จังหวัดสระแก้วในปัจจุบัน (ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๙ เสด็จไปเยี่ยมผู้อพยพเขมรจนพระองค์ติดเชื้อโรคร้ายเกือบสิ้นพระชนม์ชีพในช่วงนั้นเลย) จิตอาสาแพทย์ไทยหลายสิบๆ คนเสียสละไปช่วยรักษาโรคให้ผู้อพยพเขมรจำนวนมากกองทัพไทยส่งหน่วยทหารไปวางแผนช่วยรัฐบาลนายพลลอนนอลรบกับคอมมิวนิสต์ โดยกองทัพอากาศส่งเครื่องบินไปโจมตีที่ตั้งเขมรแดงในเขตยึดครองเขมรแดงสนับสนุนนายพลลอนนอล (มีตำนานเล่าขานว่า มีนักบิน T-28 ทอ.ไทยถูกยิงตกที่บริเวณทะเลสาปเขมรแต่ก่อนตายถูกทรมานอย่างโหดเหี้ยมมากๆ) ขณะเดียวกันรัฐบาลลอนนอลฉวยโอกาสประกาศอ้างสิทธิ์เขตไหล่ทวีปทับทะเลอาณาเขตของไทย (ที่เป็นช่องทางให้สมเด็จฮุนเซนและลูกใช้อ้างเป็นพื้นที่ทับซ้อนและหวังนำสู่ศาลโลกเพื่อพลิกผันให้มีการตกลงแบ่งกันคนละครึ่งโดยมีคนไทยในระบอบทักษิณสมรู้ร่วมคิดนายพลลอนนอลคงไม่รู้คำว่า “กตัญญูกตเวทิตา” เป็นแน่แท้ (นายพลลอนนอลหนีไปสหรัฐฯ และเป็นโรคร้ายตายในสหรัฐฯ ไปแล้วและเรื่องที่ต้องเล่าแม้เป็นตำนานแต่ก็เป็นที่รู้กัน คือ เรื่องนี้เพราะ รร.นายร้อย West Piont นั้นไม่ใช่จะสมัครสอบเข้าเรียนได้เหมือนอย่างแหล่งอุดมศึกษาอื่นๆ ในสหรัฐฯ แต่มีเงื่อนไขทางกฎหมายสหรัฐฯ กำกับไว้สำหรับผู้ที่มีสิทธิ์อย่างชัดเจนคือ นายพล ฮุน มาเน็ต ที่เรียนจบจาก รร.นายร้อย West Point นั้นได้เข้าเรียนเพราะกองทัพบกไทย (โดยนายพลท่านหนึ่งสั่งการและอนุมัติให้กองทับบกดำเนินการเอาโคว้ต้าของนักเรียนนายร้อย จปร.ที่สามารถเข้าเรียนได้ตามสิทธิ์ในข้อตกลงระหว่างกองทัพไทยกับกองทัพบกสหรัฐฯ ไปให้ ฮุน มาเน็ต บุตรชายสมเด็จฮุนเซนได้เข้าเรียนที่ West Point เป็นกรณีพิเศษเพื่อสัมพันธไมตรีระหว่างสมเด็จฮุนเซนกับนายพลท่านผู้นั้น)ผมไม่ได้ตำหนิ “นายพลคนใดคนหนึ่งในกองทัพบก” เพราะท่านก็ทำเพื่อสัมพันธไมตรีอันดีเพื่อชาติ (สัมพันธไมตรีนั้นเป็น “นามธรรม” มูลค่าวัดไม่ได้) แต่เรื่องที่ผมอยากพูด คือ คนเนรคุณไม่รู้จักบุญคุณคนไทยทั้งชาติ สำหรับนายกรัฐมนตรี ฮุน มาเน็ต ไม่รู้บุญคุณนักเรียนนายร้อย จปร.ที่สละสิทธิ์ให้เขาไปเรียน :Vachara Riddhagni
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 551 มุมมอง 0 รีวิว
  • นายกอุ๊งอิ๊ง แพรทองธารได้เห็นหนังสือข้อเรียกร้องของนายสนธิ ลิ้มทองกุล และคณะ
    เกี่ยวกับ mou 44เป็นที่เรียบร้อยแล้วถึงแม้นายกอุ๊งอิ๊งจะไม่ได้บอกตรง ๆ ว่า
    จะทําตามหรือปฏิเสธข้อเรียกร้องโดยบอกเพียงแค่ว่าจะให้หน่วยงานด้วยกันหรือไม่
    แต่ฟังจากน้ําเสียงก็พอรู้แล้วว่าไม่ทําแน่นอนการตั้งคณะกรรมการเทคนิคเตรียมเจรจากับเขมรก็ยังจะเดินหน้า
    เพียงแต่ตอนนี้ยังไม่เรียบร้อยส่วนข้อเรียกร้องให้เปิดเวทีสาธารณะเอาแต่ละฝ่ายมาดีเบตกันก็คงไม่เปิดอ้างว่าที่ให้ สมคิด เชื้อคง มารับหนังสือจากสนธิเมื่อวันที่เก้าธันวาคมก็คงเป็นการเปิดรับความคิดเห็นต่างคงไม่เปิดเวทีอะไรอีกถ้าอย่างนั้นก็เท่ากับว่าอุ๋งอิ๋ง
    เล่นบทคุณหนูดื้อเงียบไม่ปฏิเสธข้อเรียกร้องแต่ก็คงไม่ทําตามสักข้อจริงจริงแล้วเรื่องสุ่มเสี่ยงทําให้ประเทศชาติเสียอธิปไตย
    เป็นเรื่องที่คอขาดบาดตุยที่คนไทยทั้งชาติจะยอมไม่ได้คนอายุพึ่งสามสิบแปดอย่างอุ๊งอิ๊ง
    ไม่น่าจะเปรี้ยวแซ่บอะไรขนาดนี้ถ้าไม่ใช่เพราะเป็นแรงหนุนจากพ่อนายทักษิณผู้เป็นต้นเรื่องของmou44
    ย้อนไปเมื่อตอนครม.สัญจรเชียงใหม่วันที่ยี่สิบเจ็ดพฤศจิกายนกายนที่ผ่านมา
    อุ๊งอิ๋งเคยให้สัมภาษณ์เรื่องmou44ว่าจะเดินต่อหรือไม่ต่อให้ผ่านคณะกรรมการที่มีการพูดคุยกันทั้งสองประเทศ
    ส่วนพระบรมราชโองการของในหลวงรัชกาลที่เก้าเรื่องการประกาศเขตไหล่ทวีปก็ได้ดูเนื้อหาโดยละเอียดแล้ว
    อะไรที่เป็นปัญหาก็จะไม่ชนกับปัญหาอย่างแน่นอนต้องค่อยค่อยร่วมกันแก้ไข
    แต่มาวันนี้ อุ๊งอิ๊งจากที่บอกว่าจะไม่ชนกับปัญหาก็กําลังเดินหน้าชนกับปัญหาเข้าอย่างจัง
    ก็ไม่รู้ว่าเป็นเพราะเพิ่งผ่านการติวเข้มจากพ่อมาหรือเปล่าเพราะคนยโสโอหังอย่างทักษิณไม่เคยฟังใครอยู่แล้ว
    อยากได้อะไรก็ต้องได้ไม่ได้สนว่าตัวเองจะพบจุดจบอย่างไรคงลืมไปว่าความยโสโอหังเคยทําให้ทักษิณพังมาแล้วตอนขายหุ้นชินคอร์ปเมื่อปีสี่เก้าได้เงินมาเจ็ดจุดสามหมื่นล้านบาทไม่ยอมเสียภาษีสักบาทอ้างว่ากฎหมายบอกไม่ให้เสีย
    แต่แท้ที่จริงแล้วใช้ช่องโหว่ของกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยงภาษีต่างหากนั่นก็ทําให้กระแสต้านทักษิณจุดติดขึ้นมาทั่วประเทศทันที
    จากเดิมมีแค่เมืองไทยรายสัปดาห์ของสนธิลิ้มทองกุลกลายมาเป็นพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
    ต่อต้านระบบทักษิณกระหึ่มหึ่มทั้งแผ่นดินหลังจากนั้นชะตาของทักษิณเป็นยังไงก็รู้รู้กันอยู่
    มารอบนี้ประวัติศาสตร์จะต้องซ้ําประวัติศาสตร์จะไม่เปลี่ยนถ้าทักษิณ ชินวัตรยังยโสโอหัง สั่งลูกสาวเดินหน้า Mou 44ต่อ
    ก็คอยดูเลยว่าความจริงจะสู้กับกิเลสได้หรือไม่ติดตามข่าวซีฟๆแบบนี้ได้ที่ #คิงส์โพธ์ดำ
    นายกอุ๊งอิ๊ง แพรทองธารได้เห็นหนังสือข้อเรียกร้องของนายสนธิ ลิ้มทองกุล และคณะ เกี่ยวกับ mou 44เป็นที่เรียบร้อยแล้วถึงแม้นายกอุ๊งอิ๊งจะไม่ได้บอกตรง ๆ ว่า จะทําตามหรือปฏิเสธข้อเรียกร้องโดยบอกเพียงแค่ว่าจะให้หน่วยงานด้วยกันหรือไม่ แต่ฟังจากน้ําเสียงก็พอรู้แล้วว่าไม่ทําแน่นอนการตั้งคณะกรรมการเทคนิคเตรียมเจรจากับเขมรก็ยังจะเดินหน้า เพียงแต่ตอนนี้ยังไม่เรียบร้อยส่วนข้อเรียกร้องให้เปิดเวทีสาธารณะเอาแต่ละฝ่ายมาดีเบตกันก็คงไม่เปิดอ้างว่าที่ให้ สมคิด เชื้อคง มารับหนังสือจากสนธิเมื่อวันที่เก้าธันวาคมก็คงเป็นการเปิดรับความคิดเห็นต่างคงไม่เปิดเวทีอะไรอีกถ้าอย่างนั้นก็เท่ากับว่าอุ๋งอิ๋ง เล่นบทคุณหนูดื้อเงียบไม่ปฏิเสธข้อเรียกร้องแต่ก็คงไม่ทําตามสักข้อจริงจริงแล้วเรื่องสุ่มเสี่ยงทําให้ประเทศชาติเสียอธิปไตย เป็นเรื่องที่คอขาดบาดตุยที่คนไทยทั้งชาติจะยอมไม่ได้คนอายุพึ่งสามสิบแปดอย่างอุ๊งอิ๊ง ไม่น่าจะเปรี้ยวแซ่บอะไรขนาดนี้ถ้าไม่ใช่เพราะเป็นแรงหนุนจากพ่อนายทักษิณผู้เป็นต้นเรื่องของmou44 ย้อนไปเมื่อตอนครม.สัญจรเชียงใหม่วันที่ยี่สิบเจ็ดพฤศจิกายนกายนที่ผ่านมา อุ๊งอิ๋งเคยให้สัมภาษณ์เรื่องmou44ว่าจะเดินต่อหรือไม่ต่อให้ผ่านคณะกรรมการที่มีการพูดคุยกันทั้งสองประเทศ ส่วนพระบรมราชโองการของในหลวงรัชกาลที่เก้าเรื่องการประกาศเขตไหล่ทวีปก็ได้ดูเนื้อหาโดยละเอียดแล้ว อะไรที่เป็นปัญหาก็จะไม่ชนกับปัญหาอย่างแน่นอนต้องค่อยค่อยร่วมกันแก้ไข แต่มาวันนี้ อุ๊งอิ๊งจากที่บอกว่าจะไม่ชนกับปัญหาก็กําลังเดินหน้าชนกับปัญหาเข้าอย่างจัง ก็ไม่รู้ว่าเป็นเพราะเพิ่งผ่านการติวเข้มจากพ่อมาหรือเปล่าเพราะคนยโสโอหังอย่างทักษิณไม่เคยฟังใครอยู่แล้ว อยากได้อะไรก็ต้องได้ไม่ได้สนว่าตัวเองจะพบจุดจบอย่างไรคงลืมไปว่าความยโสโอหังเคยทําให้ทักษิณพังมาแล้วตอนขายหุ้นชินคอร์ปเมื่อปีสี่เก้าได้เงินมาเจ็ดจุดสามหมื่นล้านบาทไม่ยอมเสียภาษีสักบาทอ้างว่ากฎหมายบอกไม่ให้เสีย แต่แท้ที่จริงแล้วใช้ช่องโหว่ของกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยงภาษีต่างหากนั่นก็ทําให้กระแสต้านทักษิณจุดติดขึ้นมาทั่วประเทศทันที จากเดิมมีแค่เมืองไทยรายสัปดาห์ของสนธิลิ้มทองกุลกลายมาเป็นพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ต่อต้านระบบทักษิณกระหึ่มหึ่มทั้งแผ่นดินหลังจากนั้นชะตาของทักษิณเป็นยังไงก็รู้รู้กันอยู่ มารอบนี้ประวัติศาสตร์จะต้องซ้ําประวัติศาสตร์จะไม่เปลี่ยนถ้าทักษิณ ชินวัตรยังยโสโอหัง สั่งลูกสาวเดินหน้า Mou 44ต่อ ก็คอยดูเลยว่าความจริงจะสู้กับกิเลสได้หรือไม่ติดตามข่าวซีฟๆแบบนี้ได้ที่ #คิงส์โพธ์ดำ
    Like
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 499 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส.ค.ส.พระราชทาน ๒๕๔๗ “สามัคคีเป็นพลัง ค้ำจุนแผ่นดินไทย”.วันนี้ (9 ธันวาคม 2567) ผมและอาจารย์ปานเทพได้มอบเอกสารหนังสือร้องเรียนกึ่งๆกล่าวหาว่า รัฐบาลชุดนี้กำลังทำผิด เพราะ MOU44 มันเป็น MOU ขายชาติ .นี่คือส.ค.ส.๒๕๔๗ ยี่สิบปีที่แล้วที่รัชกาลที่ ๙ ได้ทรงเขียนขึ้นมา แล้วพระราชทานให้ประชาชนคนไทยได้รับทราบ ทรงเขียนว่า มีระเบิดทั่วไปหมด มีประเทศไทยประเทศเดียวไม่มี และที่สำคัญคือว่าท่านบอกว่า “สามัคคีเป็นพลังค้ำจุนแผ่นดินไทย” .พี่น้องลองดู ตรงนี้ถึงตรงนี้ เป็นพื้นที่ประเทศไทยที่พระองค์ทรงเขียนขึ้นมา และตัวจริงคือนี่คือแผนที่ประเทศไทย ถ้าเอาสองแผ่นประกบกันจะตรงกันเป๊ะ และภาพถัดไปเราเอาแผนที่ตัวจริงและพระบรมราชโองการลงตัวกันพอดี มีเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทยชัดเจน .ผมจะอ่านพระบรมราชโองการปี 2516 ให้ฟัง “ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย มีพระบรมราชโองการให้ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้ เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย .ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฏหมายระหว่างประเทศอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไปและตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีปซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ.๑๙๕๘ และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๑ .แผนที่และจุดต่อเนื่องที่กำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ตามประกาศนี้มีเพื่อแสดงแนวทั่วไปของเส้นกำหนดไหล่ทวีป สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ. ๑๙๕๘ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ เป็นปีที่ ๒๘ ในรัชกาลปัจจุบัน”
    ส.ค.ส.พระราชทาน ๒๕๔๗ “สามัคคีเป็นพลัง ค้ำจุนแผ่นดินไทย”.วันนี้ (9 ธันวาคม 2567) ผมและอาจารย์ปานเทพได้มอบเอกสารหนังสือร้องเรียนกึ่งๆกล่าวหาว่า รัฐบาลชุดนี้กำลังทำผิด เพราะ MOU44 มันเป็น MOU ขายชาติ .นี่คือส.ค.ส.๒๕๔๗ ยี่สิบปีที่แล้วที่รัชกาลที่ ๙ ได้ทรงเขียนขึ้นมา แล้วพระราชทานให้ประชาชนคนไทยได้รับทราบ ทรงเขียนว่า มีระเบิดทั่วไปหมด มีประเทศไทยประเทศเดียวไม่มี และที่สำคัญคือว่าท่านบอกว่า “สามัคคีเป็นพลังค้ำจุนแผ่นดินไทย” .พี่น้องลองดู ตรงนี้ถึงตรงนี้ เป็นพื้นที่ประเทศไทยที่พระองค์ทรงเขียนขึ้นมา และตัวจริงคือนี่คือแผนที่ประเทศไทย ถ้าเอาสองแผ่นประกบกันจะตรงกันเป๊ะ และภาพถัดไปเราเอาแผนที่ตัวจริงและพระบรมราชโองการลงตัวกันพอดี มีเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทยชัดเจน .ผมจะอ่านพระบรมราชโองการปี 2516 ให้ฟัง “ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย มีพระบรมราชโองการให้ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้ เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย .ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฏหมายระหว่างประเทศอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไปและตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีปซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ.๑๙๕๘ และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๑ .แผนที่และจุดต่อเนื่องที่กำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ตามประกาศนี้มีเพื่อแสดงแนวทั่วไปของเส้นกำหนดไหล่ทวีป สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ. ๑๙๕๘ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ เป็นปีที่ ๒๘ ในรัชกาลปัจจุบัน”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 514 มุมมอง 0 รีวิว
  • 9/12/67

    เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ)

    เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 ธันวาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้

    วันนี้ (9 มีนาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ด้วยเหตุผลดังนี้

    ข้อ 1 ประเทศไทยได้ลงนามในหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และหนังสือสัญญาดังกล่าวระบุว่า “เกาะกูด” เป็นของสยาม

    ข้อ 2 ต่อมาวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตประเทศไทยมีระยะ ”12 ไมล์ทะเล“ โดยวัดจากเส้นฐานที่ใช้สำหรับวัดความกว้างของทะเลอาณาเขต เป็นการประกาศ “อำนาจอธิปไตย” ออกไปจากอาณาเขตพื้นดินและน่านน้ำภายในจนถึงแนวทะเลประชิดชายฝั่ง ซึ่งเรียกว่า“ทะเลอาณาเขต” รวมตลอดถึงห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต พื้นท้องทะเล และแผ่นดินใต้พื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขต ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้

    ข้อ 3 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2512 โดยมีผลบังคับใช้สำหรับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2511 ส่งผลการยืนยันประกาศพื้นที่ของประเทศไทยทั้ง “น่านน้ำภายใน” และ “ทะเลอาณาเขต”ว่าเป็น “อำนาจอธิปไตย” ของประเทศไทยตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958

    อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังได้กำหนด “เขตต่อเนื่อง” ขยายไปอีก 12 ไมล์ทะเลต่อจากทะเลอาณาเขต สำหรับเป็นพื้นที่ป้องกันการละเมิดข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร รัษฎากร การเข้าเมือง หรือการอนามัย ภายในอาณาเขตหรือทะเลอาณาเขตของประเทศไทยอีกด้วย

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังกำหนดด้วยว่าหากไม่มีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น รัฐทั้งสองอยู่ตรงข้ามหรือประชิดกันให้ใช้ “เส้นมัธยะ” คือ จุดทุกจุดบนเส้นนั้นมีระยะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ที่สุดของเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตของแต่ละรัฐ

    ต่อมาวันที่ 11 มิถุนายน 2513 ได้มีประกาศของสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย โดยมีเส้นที่ลากเส้นจาก “หลักเขตที่ 73” ซึ่งตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราดไปยังปลายแหลมด้านใต้สุดของ “เกาะกูด” นั้นเป็น “เส้นฐานตรง” โดยพื้นที่เหนือเส้นฐานตรงบริเวณนี้เป็น “น่านน้ำภายใน” ของราชอาณาจักรไทย มีอำนาจอธิปไตยเหมือนแผ่นดินของราชอาณาจักรไทยทุกประการ

    เมื่อ “เกาะกูด”เป็นของประเทศไทยตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ดังนั้น พื้นที่รอบเกาะกูด 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทย และน่านน้ำภายในของราชอาณาจักรไทย จึงเป็นเขตแดนทางทะเลที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้

    ดังนั้นพื้นที่เหนือของเส้นฐานตรงที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ถึงปลายแหลมสุดทิศด้านใต้ของเกาะกูดของราชอาณาจักรไทย จึงอยู่ใน“อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย รวมทั้งทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเส้นฐานของเกาะกูดก็เป็นเขตที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทยเช่นเดียวกัน อันเป็นไปตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ซึ่งผู้ใดหรือชาติใดจะละเมิดมิได้

    ข้อ 4 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18พฤษภาคม 2516 เพื่อประกาศสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย โดยได้แนบแผนที่ซึ่งลากเส้นเขตไหล่ทวีปจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของประเทศไทยกับเกาะกงของกัมพูชา เป็น “เส้นมัธยะ” แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่มีพื้นที่อ้างสิทธิอธิปไตยจากประเทศอื่น ไม่มีการแบ่งปันการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยให้กับประเทศอื่นใด ซึ่งเป็นไปตามหลัก “เส้นมัธยะ” ของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958 พระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ ยังกำหนดเงื่อนไขวิธีการเจรจาตกลงกระหว่างประเทศใกล้เคียงในอนาคตด้วยว่าต้องเป็นไปตามมูลฐานกฎหมายทะเลสากลเท่านั้นไม่ใช่การเจรจาตกลงกันตามอำเภอใจ

    ทั้งนี้ราชอาณาจักรไทยได้ยึดถือและปกป้องอำนาจอธิปไตยน่านน้ำทะเลภายในและทะเลอาณาเขต ตลอดจนรักษาสิทธิอธิปไตยตามเส้นเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการทุกฉบับ โดยได้ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 มาโดยตลอด และต่อมาประเทศไทยได้มีการลงนามและยึดถือมูลฐานตามที่กำหนดในอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ที่ได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาฯ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 ด้วย

    ข้อ 5 อย่างไรก็ตาม MOU 2544 ได้แนบแผนที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตามพระราชกฤษฎีกาประกาศเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อปี 2515 ก่อให้เกิดการอ้างสิทธิในพื้นที่ไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาที่มีขนาดใหญ่เกินจริง โดยไม่ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” อันเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อประเทศกัมพูชาเกินกว่าหลักมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958

    การอ้างสิทธิดังกล่าวจึงส่งผลทำให้เป็นการเปลี่ยนแปลง “หลักการ” สำคัญของอำนาจอธิปไตย และสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย คือ เกิดการละเมิดอำนาจอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยบริเวณพื้นที่ “น่านน้ำภายใน”เหนือเส้นฐานตรงด้านทิศตะวันออกของเกาะกูด และการละเมิดอำนาจอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด และไม่ยึดหลักเส้น “มัธยะ” เพียงอย่างเดียวที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 แต่กลับไปยึดถือ “เขตแดนแนวทางอื่น” ในการเจรจาตกลงกันเองระหว่างไทยและกัมพูชาในพื้นที่อ้างสิทธิเกินจริงของกัมพูชา รวมพื้นที่ประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่กัมพูชาเป็นหลัก

    ดังนั้นการดำเนินการตาม MOU 2544 ที่ถูกรับรองโดย JC 2544 จึงเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดทะเลอาณาเขต เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2509 และพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2516 ซึ่งได้ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” แห่งมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958

    ข้อ 6 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งลงนามใน MOU 2544 ได้เคยเขียนบทความเมื่อเดือนพฤษภาคม 2544 ยอมรับว่า MOU 2544 มีสถานะเป็น “สนธิสัญญา” ในขณะที่ นายประจิตต์ โรจนพฤกษ์ อดีตหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทยที่ประสบความสำเร็จในการเจรจาพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซียได้เขียนบทความ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554 แนะนำว่า ฝ่ายไทยจะต้องรีบบอกเลิก MOU 2544 โดยเร็ว มิฉะนั้นแล้วฝ่ายไทยจะเสียเปรียบหากเป็นคดีขึ้นสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล

    ทั้งนี้การที่ประเทศไทยได้ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่ที่มีการอ้างสิทธิเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตาม MOU 2544 อาจทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบซ้ำรอยการถูกตัดสินโดย “หลักกฎหมายปิดปาก” ที่ประเทศไทยเคย “รับรู้”และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่แนบท้ายหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 เป็นเหตุที่ทำให้ประเทศไทยต้องเสียปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 2505 ในการตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมาแล้ว

    ข้อ 7 เมื่อพิจารณาตาม MOU 2544 แล้ว จะพบว่าประเทศไทยมีแต่จะเสียประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เพราะไม่ว่าผลการเจรจาจะเป็นประการใด ประเทศไทยก็จะต้องสูญเสียสิทธิอธิปไตยในพื้นที่ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวให้กลายเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยและกัมพูชาซึ่งมีพื้นที่อย่างน้อย 16,000 ตารางกิโลเมตรขึ้นไปใต้พื้นที่อ้างสิทธิไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาใต้ละติจูด 11 องศาเหนือ หรือถึงขั้นสูญเสียอำนาจอธิปไตยทางทะเลไปมากกว่านี้ได้ด้วย

    ผลลัพธ์ดังกล่าวจึงย่อมส่งผลกระทบในทางเสียหายต่อสิทธิอธิปไตยมากกว่าวิธีการเจรจาด้วย “เส้นมัธยะ” ตามมูลฐานที่บัญญัติเอาไว้ภายใต้อนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อ MOU 2544 ซึ่งได้รับรองโดย JC 2544 มีผลทำให้เกิดเป็นการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตหรือเขตอำนาจแห่งรัฐทางทะเลที่ไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภากรณีจึงขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 มาตั้งแต่แรกและสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

    นอกจากนั้น MOU 2544 ที่รับรองโดย JC 2544 ยังทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงย่อมเป็นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ด้วยเช่นเดียวกัน

    จึงเรียนมาเพื่อขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบในการดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 โดยทันที และดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอดังต่อไปนี้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือฉบับนี้

    1)ให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการที่ประกาศตามมูลฐานแห่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) อันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล ตามบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 52 ของหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

    2) ให้ท่านเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติให้ส่ง MOU 2544 และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ตั้งแต่แรก และขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่ รวมทั้งขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ด้วยหรือไม่ อันเป็นการดำเนินการตามมาตรา 178 วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อน

    3) หากดำเนินการตาม ๒) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544และ JC 2544 ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ให้ยกเลิกการเจรจาตาม MOU 2544 และ JC 2544 เพื่อปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาทันที

    4) หากดำเนินการตาม 2) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544 และ JC 2544 ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ก็ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU 2544 และ JC 2544 ทันที โดยให้เจรจากันใหม่ภายใต้การกำหนดขอบเขตเฉพาะพื้นที่พัฒนาร่วมบนพื้นฐานโดยใช้หลักการของ “เส้นมัธยะ” ในการอ้างสิทธิไหล่ทวีปทับซ้อนตามจริงของมูลฐานแห่งบทบัญญัติอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ประกอบกับอนุสัญญาสหประชาชาติด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 แล้วนำผลของการเจรจาเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้เจรจาเสร็จสิ้น ก่อนนำขึ้นกราบบังคมทูลเกล้าฯ ต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศเป็นพระราชโองการ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของมาตรา 1 และมาตรา 178 วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ต่อไป

    5) ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU 2544 และ JC 2544ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้อง

    6) ให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชนในเรื่อง MOU 2544 และ JC 2544 โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ ทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป

    ทั้งนี้ขอให้ท่านเสนอหนังสือฉบับนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา และหากคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาแล้วมีผลเป็นประการใดขอได้โปรดแจ้งข้าพเจ้าได้ทราบ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาหนังสือฉบับนี้

    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1110891340404565/?
    9/12/67 เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ) เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 ธันวาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้ วันนี้ (9 มีนาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ด้วยเหตุผลดังนี้ ข้อ 1 ประเทศไทยได้ลงนามในหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และหนังสือสัญญาดังกล่าวระบุว่า “เกาะกูด” เป็นของสยาม ข้อ 2 ต่อมาวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตประเทศไทยมีระยะ ”12 ไมล์ทะเล“ โดยวัดจากเส้นฐานที่ใช้สำหรับวัดความกว้างของทะเลอาณาเขต เป็นการประกาศ “อำนาจอธิปไตย” ออกไปจากอาณาเขตพื้นดินและน่านน้ำภายในจนถึงแนวทะเลประชิดชายฝั่ง ซึ่งเรียกว่า“ทะเลอาณาเขต” รวมตลอดถึงห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต พื้นท้องทะเล และแผ่นดินใต้พื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขต ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้ ข้อ 3 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2512 โดยมีผลบังคับใช้สำหรับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2511 ส่งผลการยืนยันประกาศพื้นที่ของประเทศไทยทั้ง “น่านน้ำภายใน” และ “ทะเลอาณาเขต”ว่าเป็น “อำนาจอธิปไตย” ของประเทศไทยตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังได้กำหนด “เขตต่อเนื่อง” ขยายไปอีก 12 ไมล์ทะเลต่อจากทะเลอาณาเขต สำหรับเป็นพื้นที่ป้องกันการละเมิดข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร รัษฎากร การเข้าเมือง หรือการอนามัย ภายในอาณาเขตหรือทะเลอาณาเขตของประเทศไทยอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังกำหนดด้วยว่าหากไม่มีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น รัฐทั้งสองอยู่ตรงข้ามหรือประชิดกันให้ใช้ “เส้นมัธยะ” คือ จุดทุกจุดบนเส้นนั้นมีระยะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ที่สุดของเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตของแต่ละรัฐ ต่อมาวันที่ 11 มิถุนายน 2513 ได้มีประกาศของสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย โดยมีเส้นที่ลากเส้นจาก “หลักเขตที่ 73” ซึ่งตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราดไปยังปลายแหลมด้านใต้สุดของ “เกาะกูด” นั้นเป็น “เส้นฐานตรง” โดยพื้นที่เหนือเส้นฐานตรงบริเวณนี้เป็น “น่านน้ำภายใน” ของราชอาณาจักรไทย มีอำนาจอธิปไตยเหมือนแผ่นดินของราชอาณาจักรไทยทุกประการ เมื่อ “เกาะกูด”เป็นของประเทศไทยตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ดังนั้น พื้นที่รอบเกาะกูด 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทย และน่านน้ำภายในของราชอาณาจักรไทย จึงเป็นเขตแดนทางทะเลที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้ ดังนั้นพื้นที่เหนือของเส้นฐานตรงที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ถึงปลายแหลมสุดทิศด้านใต้ของเกาะกูดของราชอาณาจักรไทย จึงอยู่ใน“อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย รวมทั้งทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเส้นฐานของเกาะกูดก็เป็นเขตที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทยเช่นเดียวกัน อันเป็นไปตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ซึ่งผู้ใดหรือชาติใดจะละเมิดมิได้ ข้อ 4 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18พฤษภาคม 2516 เพื่อประกาศสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย โดยได้แนบแผนที่ซึ่งลากเส้นเขตไหล่ทวีปจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของประเทศไทยกับเกาะกงของกัมพูชา เป็น “เส้นมัธยะ” แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่มีพื้นที่อ้างสิทธิอธิปไตยจากประเทศอื่น ไม่มีการแบ่งปันการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยให้กับประเทศอื่นใด ซึ่งเป็นไปตามหลัก “เส้นมัธยะ” ของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958 พระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ ยังกำหนดเงื่อนไขวิธีการเจรจาตกลงกระหว่างประเทศใกล้เคียงในอนาคตด้วยว่าต้องเป็นไปตามมูลฐานกฎหมายทะเลสากลเท่านั้นไม่ใช่การเจรจาตกลงกันตามอำเภอใจ ทั้งนี้ราชอาณาจักรไทยได้ยึดถือและปกป้องอำนาจอธิปไตยน่านน้ำทะเลภายในและทะเลอาณาเขต ตลอดจนรักษาสิทธิอธิปไตยตามเส้นเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการทุกฉบับ โดยได้ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 มาโดยตลอด และต่อมาประเทศไทยได้มีการลงนามและยึดถือมูลฐานตามที่กำหนดในอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ที่ได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาฯ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 ด้วย ข้อ 5 อย่างไรก็ตาม MOU 2544 ได้แนบแผนที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตามพระราชกฤษฎีกาประกาศเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อปี 2515 ก่อให้เกิดการอ้างสิทธิในพื้นที่ไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาที่มีขนาดใหญ่เกินจริง โดยไม่ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” อันเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อประเทศกัมพูชาเกินกว่าหลักมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 การอ้างสิทธิดังกล่าวจึงส่งผลทำให้เป็นการเปลี่ยนแปลง “หลักการ” สำคัญของอำนาจอธิปไตย และสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย คือ เกิดการละเมิดอำนาจอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยบริเวณพื้นที่ “น่านน้ำภายใน”เหนือเส้นฐานตรงด้านทิศตะวันออกของเกาะกูด และการละเมิดอำนาจอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด และไม่ยึดหลักเส้น “มัธยะ” เพียงอย่างเดียวที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 แต่กลับไปยึดถือ “เขตแดนแนวทางอื่น” ในการเจรจาตกลงกันเองระหว่างไทยและกัมพูชาในพื้นที่อ้างสิทธิเกินจริงของกัมพูชา รวมพื้นที่ประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่กัมพูชาเป็นหลัก ดังนั้นการดำเนินการตาม MOU 2544 ที่ถูกรับรองโดย JC 2544 จึงเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดทะเลอาณาเขต เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2509 และพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2516 ซึ่งได้ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” แห่งมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ข้อ 6 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งลงนามใน MOU 2544 ได้เคยเขียนบทความเมื่อเดือนพฤษภาคม 2544 ยอมรับว่า MOU 2544 มีสถานะเป็น “สนธิสัญญา” ในขณะที่ นายประจิตต์ โรจนพฤกษ์ อดีตหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทยที่ประสบความสำเร็จในการเจรจาพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซียได้เขียนบทความ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554 แนะนำว่า ฝ่ายไทยจะต้องรีบบอกเลิก MOU 2544 โดยเร็ว มิฉะนั้นแล้วฝ่ายไทยจะเสียเปรียบหากเป็นคดีขึ้นสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล ทั้งนี้การที่ประเทศไทยได้ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่ที่มีการอ้างสิทธิเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตาม MOU 2544 อาจทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบซ้ำรอยการถูกตัดสินโดย “หลักกฎหมายปิดปาก” ที่ประเทศไทยเคย “รับรู้”และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่แนบท้ายหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 เป็นเหตุที่ทำให้ประเทศไทยต้องเสียปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 2505 ในการตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมาแล้ว ข้อ 7 เมื่อพิจารณาตาม MOU 2544 แล้ว จะพบว่าประเทศไทยมีแต่จะเสียประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เพราะไม่ว่าผลการเจรจาจะเป็นประการใด ประเทศไทยก็จะต้องสูญเสียสิทธิอธิปไตยในพื้นที่ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวให้กลายเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยและกัมพูชาซึ่งมีพื้นที่อย่างน้อย 16,000 ตารางกิโลเมตรขึ้นไปใต้พื้นที่อ้างสิทธิไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาใต้ละติจูด 11 องศาเหนือ หรือถึงขั้นสูญเสียอำนาจอธิปไตยทางทะเลไปมากกว่านี้ได้ด้วย ผลลัพธ์ดังกล่าวจึงย่อมส่งผลกระทบในทางเสียหายต่อสิทธิอธิปไตยมากกว่าวิธีการเจรจาด้วย “เส้นมัธยะ” ตามมูลฐานที่บัญญัติเอาไว้ภายใต้อนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อ MOU 2544 ซึ่งได้รับรองโดย JC 2544 มีผลทำให้เกิดเป็นการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตหรือเขตอำนาจแห่งรัฐทางทะเลที่ไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภากรณีจึงขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 มาตั้งแต่แรกและสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้น MOU 2544 ที่รับรองโดย JC 2544 ยังทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงย่อมเป็นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ด้วยเช่นเดียวกัน จึงเรียนมาเพื่อขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบในการดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 โดยทันที และดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอดังต่อไปนี้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือฉบับนี้ 1)ให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการที่ประกาศตามมูลฐานแห่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) อันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล ตามบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 52 ของหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 2) ให้ท่านเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติให้ส่ง MOU 2544 และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ตั้งแต่แรก และขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่ รวมทั้งขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ด้วยหรือไม่ อันเป็นการดำเนินการตามมาตรา 178 วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อน 3) หากดำเนินการตาม ๒) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544และ JC 2544 ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ให้ยกเลิกการเจรจาตาม MOU 2544 และ JC 2544 เพื่อปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาทันที 4) หากดำเนินการตาม 2) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544 และ JC 2544 ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ก็ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU 2544 และ JC 2544 ทันที โดยให้เจรจากันใหม่ภายใต้การกำหนดขอบเขตเฉพาะพื้นที่พัฒนาร่วมบนพื้นฐานโดยใช้หลักการของ “เส้นมัธยะ” ในการอ้างสิทธิไหล่ทวีปทับซ้อนตามจริงของมูลฐานแห่งบทบัญญัติอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ประกอบกับอนุสัญญาสหประชาชาติด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 แล้วนำผลของการเจรจาเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้เจรจาเสร็จสิ้น ก่อนนำขึ้นกราบบังคมทูลเกล้าฯ ต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศเป็นพระราชโองการ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของมาตรา 1 และมาตรา 178 วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ต่อไป 5) ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU 2544 และ JC 2544ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้อง 6) ให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชนในเรื่อง MOU 2544 และ JC 2544 โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ ทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ทั้งนี้ขอให้ท่านเสนอหนังสือฉบับนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา และหากคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาแล้วมีผลเป็นประการใดขอได้โปรดแจ้งข้าพเจ้าได้ทราบ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาหนังสือฉบับนี้ https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1110891340404565/?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 648 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส.ค.ส.พระราชทาน ๒๕๔๗ “สามัคคีเป็นพลัง ค้ำจุนแผ่นดินไทย”
    .
    วันนี้ (9 ธันวาคม 2567) ผมและอาจารย์ปานเทพได้มอบเอกสารหนังสือร้องเรียนกึ่งๆกล่าวหาว่า รัฐบาลชุดนี้กำลังทำผิด เพราะ MOU44 มันเป็น MOU ขายชาติ
    .
    นี่คือส.ค.ส.๒๕๔๗ ยี่สิบปีที่แล้วที่รัชกาลที่ ๙ ได้ทรงเขียนขึ้นมา แล้วพระราชทานให้ประชาชนคนไทยได้รับทราบ ทรงเขียนว่า มีระเบิดทั่วไปหมด มีประเทศไทยประเทศเดียวไม่มี และที่สำคัญคือว่าท่านบอกว่า “สามัคคีเป็นพลังค้ำจุนแผ่นดินไทย”
    .
    พี่น้องลองดู ตรงนี้ถึงตรงนี้ เป็นพื้นที่ประเทศไทยที่พระองค์ทรงเขียนขึ้นมา และตัวจริงคือนี่คือแผนที่ประเทศไทย ถ้าเอาสองแผ่นประกบกันจะตรงกันเป๊ะ และภาพถัดไปเราเอาแผนที่ตัวจริงและพระบรมราชโองการลงตัวกันพอดี มีเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทยชัดเจน
    .
    ผมจะอ่านพระบรมราชโองการปี 2516 ให้ฟัง “ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย มีพระบรมราชโองการให้ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้ เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย
    .
    ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฏหมายระหว่างประเทศอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไปและตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีปซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ.๑๙๕๘ และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๑
    .
    แผนที่และจุดต่อเนื่องที่กำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ตามประกาศนี้มีเพื่อแสดงแนวทั่วไปของเส้นกำหนดไหล่ทวีป สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ. ๑๙๕๘ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ เป็นปีที่ ๒๘ ในรัชกาลปัจจุบัน”
    ส.ค.ส.พระราชทาน ๒๕๔๗ “สามัคคีเป็นพลัง ค้ำจุนแผ่นดินไทย” . วันนี้ (9 ธันวาคม 2567) ผมและอาจารย์ปานเทพได้มอบเอกสารหนังสือร้องเรียนกึ่งๆกล่าวหาว่า รัฐบาลชุดนี้กำลังทำผิด เพราะ MOU44 มันเป็น MOU ขายชาติ . นี่คือส.ค.ส.๒๕๔๗ ยี่สิบปีที่แล้วที่รัชกาลที่ ๙ ได้ทรงเขียนขึ้นมา แล้วพระราชทานให้ประชาชนคนไทยได้รับทราบ ทรงเขียนว่า มีระเบิดทั่วไปหมด มีประเทศไทยประเทศเดียวไม่มี และที่สำคัญคือว่าท่านบอกว่า “สามัคคีเป็นพลังค้ำจุนแผ่นดินไทย” . พี่น้องลองดู ตรงนี้ถึงตรงนี้ เป็นพื้นที่ประเทศไทยที่พระองค์ทรงเขียนขึ้นมา และตัวจริงคือนี่คือแผนที่ประเทศไทย ถ้าเอาสองแผ่นประกบกันจะตรงกันเป๊ะ และภาพถัดไปเราเอาแผนที่ตัวจริงและพระบรมราชโองการลงตัวกันพอดี มีเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทยชัดเจน . ผมจะอ่านพระบรมราชโองการปี 2516 ให้ฟัง “ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย มีพระบรมราชโองการให้ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้ เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย . ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฏหมายระหว่างประเทศอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไปและตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีปซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ.๑๙๕๘ และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๑ . แผนที่และจุดต่อเนื่องที่กำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ตามประกาศนี้มีเพื่อแสดงแนวทั่วไปของเส้นกำหนดไหล่ทวีป สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ค.ศ. ๑๙๕๘ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ เป็นปีที่ ๒๘ ในรัชกาลปัจจุบัน”
    Like
    Love
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 883 มุมมอง 0 รีวิว
  • “สนธิ” ย้ำเอ็มโอยู44 คือเอ็มโอยูขายชาติ “ทักษิณ” จับมือ “ฮุนเซน” แบ่งปันผลประโยชน์โดยใช้ “สุรเกียรติ์” ที่อยากเป็นเลขาฯ ยูเอ็นเป็นคนลงนาม ลั่นสู้กับรัฐบาลโจรต้องรอบคอบ เป็นขั้นเป็นตอน อีก 15 วันจะทวงถามความคืบหน้า พร้อมยื่นประธานสภาฯ ให้เอาผิด สส.-สว.หากไม่ยอมยกเลิก จี้ กต.ยึดมั่นพระบรมราชโองการ หากทำสุดซอยแล้วยังไม่รู้เรื่องจึงจะลงถนน และสู้ครั้งนี้ต้องชนะลูกเดียว

    วันนี้(9 ธ.ค.) ภายหลังจากนายสนธิ ลิ้มทองกุล อดีตแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พร้อมนายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลชนจำนวนหนึ่ง ได้ยื่นหนังสือการยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี ที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ ทำเนียบรัฐบาล
    โดยผ่านนายสมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลดำเนินการเพื่อยกเลิกบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC2544) นายสนธิ ได้ให้สัมภาษณเกี่ยวกับแนวทางการเคลื่อนไหวต่อเนื่องหลังจากยื่นหนังสือแล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้

    “พี่น้องครับผมจะตอบคําถามว่า เราจะลงถนนเมื่อไหร่ พี่น้องครับ เวลาเราสู้กับรัฐบาลโจร เราต้องทํางานด้วยความรอบคอบ รอบคอบแปลว่าอะไร

    ทําไมเราต้องมาร้องเรียนเรื่องนี้ เพราะเราร้องเรียนแล้วเราก็วางเอาไว้ด้วยว่าถ้าคุณไม่ทําวันนี้จะเกิดอะไรขึ้นกับคุณ ถ้าคุณไม่ทําอันนี้จะเกิดอะไรขึ้น

    แล้วเราก็จะร้องเรียนต่อไปที่สภาผู้แทนราษฎร ท่านวันมูหะมัดนอร์ มะทา และ สส.ทุกคน รวมทั้ง สว.ด้วย ชี้แจงให้ฟังว่า ถ้าท่านไม่ยกเลิกเอ็มโอยู 2544 ท่านก็เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการขายชาติ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/politics/detail/9670000118257

    #MGROnline #MOU44 #JC2544 #เกาะกูด #กัมพูชา #ไหล่ทวีป #พื้นที่ทับซ้อน #สนธิลิ้มทองกุล
    “สนธิ” ย้ำเอ็มโอยู44 คือเอ็มโอยูขายชาติ “ทักษิณ” จับมือ “ฮุนเซน” แบ่งปันผลประโยชน์โดยใช้ “สุรเกียรติ์” ที่อยากเป็นเลขาฯ ยูเอ็นเป็นคนลงนาม ลั่นสู้กับรัฐบาลโจรต้องรอบคอบ เป็นขั้นเป็นตอน อีก 15 วันจะทวงถามความคืบหน้า พร้อมยื่นประธานสภาฯ ให้เอาผิด สส.-สว.หากไม่ยอมยกเลิก จี้ กต.ยึดมั่นพระบรมราชโองการ หากทำสุดซอยแล้วยังไม่รู้เรื่องจึงจะลงถนน และสู้ครั้งนี้ต้องชนะลูกเดียว • วันนี้(9 ธ.ค.) ภายหลังจากนายสนธิ ลิ้มทองกุล อดีตแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พร้อมนายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลชนจำนวนหนึ่ง ได้ยื่นหนังสือการยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี ที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ ทำเนียบรัฐบาล โดยผ่านนายสมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลดำเนินการเพื่อยกเลิกบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC2544) นายสนธิ ได้ให้สัมภาษณเกี่ยวกับแนวทางการเคลื่อนไหวต่อเนื่องหลังจากยื่นหนังสือแล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้ • “พี่น้องครับผมจะตอบคําถามว่า เราจะลงถนนเมื่อไหร่ พี่น้องครับ เวลาเราสู้กับรัฐบาลโจร เราต้องทํางานด้วยความรอบคอบ รอบคอบแปลว่าอะไร • ทําไมเราต้องมาร้องเรียนเรื่องนี้ เพราะเราร้องเรียนแล้วเราก็วางเอาไว้ด้วยว่าถ้าคุณไม่ทําวันนี้จะเกิดอะไรขึ้นกับคุณ ถ้าคุณไม่ทําอันนี้จะเกิดอะไรขึ้น • แล้วเราก็จะร้องเรียนต่อไปที่สภาผู้แทนราษฎร ท่านวันมูหะมัดนอร์ มะทา และ สส.ทุกคน รวมทั้ง สว.ด้วย ชี้แจงให้ฟังว่า ถ้าท่านไม่ยกเลิกเอ็มโอยู 2544 ท่านก็เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการขายชาติ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9670000118257 • #MGROnline #MOU44 #JC2544 #เกาะกูด #กัมพูชา #ไหล่ทวีป #พื้นที่ทับซ้อน #สนธิลิ้มทองกุล
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 462 มุมมอง 0 รีวิว
  • รูปที่ 1 คือแผนที่ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ประเทศไทย โดยพระบรมราชโองการ ของ ในหลวงรัชกาลที่ 9
    .
    รูปที่ 2 คือแผนที่ ประกาศเขตไหล่ทวีป ที่ขีดขึ้นตามอำเภอใจ ของ ประเทศกัมพูชา
    รูปที่ 1 คือแผนที่ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ประเทศไทย โดยพระบรมราชโองการ ของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 . รูปที่ 2 คือแผนที่ ประกาศเขตไหล่ทวีป ที่ขีดขึ้นตามอำเภอใจ ของ ประเทศกัมพูชา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ)

    เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 มีนาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้

    วันนี้ (9 ธันวาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/politics/detail/9670000118115

    #MGROnline #MOU2544 #JC2544 #สนธิลิ้มทองกุล #ปานเทพพัวพงษ์พันธ์
    เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ) • เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 มีนาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้ • วันนี้ (9 ธันวาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9670000118115 • #MGROnline #MOU2544 #JC2544 #สนธิลิ้มทองกุล #ปานเทพพัวพงษ์พันธ์
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 343 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## กัมพูชา ประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ทะลุเกาะกูด ของประเทศไทย ##
    ..
    ..
    ย้ำนะคับว่า จากข้อมูลล่าสุด กัมพูชา ไม่ได้ ขีดอ้อมเกาะกูด เป็นตัว U
    .
    แต่ขีดจากหลักเขตที่ 73 มาหยุดที่เกาะกูด แล้วไปโผล่อีกฝั่งของเกาะกูด...
    .
    ซึ่งก็คือ ทะลุ เกาะกูด ไปนั่นแหละ...!!!
    .
    ซึ่งเรา เข้าใจเราว่า เป็นการขีดเส้นตามอำเภอใจของ กัมพูชา...
    .
    แต่ถ้าใครอ่านข่าวของ Khmer Times นี้แล้ว จะเข้าใจว่าทำไม เขาถึง "ขีดเส้นไหล่ทวีป" แบบนี้...
    .
    นั่นเพราะว่าเขาถือว่า "เกาะกูด" เป็น กรรมสิทธิ์ ของ กัมพูชา...!!!
    .
    แล้ว MOU44 ก็ดันไปมี แผนที่ไหล่ทวีปของ กัมพูชา แนบท้าย...
    .
    ซึ่งมีผลเป็นการ "รับรู้" เส้นไหล่ทวีป ของกัมพูชา ซึ่ง เขียนขึ้น โดย ยึดถือ เกาะกูด เป็นกรรมสิทธิ์ ของ กัมพูชา...!!!
    ...
    ...
    หลายคนเขาถึงออกมา เรียกร้องให้รัฐบาล ระวังประเทศไทยจะเสียเปรียบ จาก MOU44
    .
    ซึ่งจริงๆแล้ว รัฐบาล ควรจะประกาศให้เป็น เป็นโมฆะ ไปซะ เนื่องจาก...
    .
    MOU44 เป็นหนังสือหนังสือสัญญาใด ซึ่งมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือ เขตอำนาจแห่งรัฐ
    .
    แต่ดัน ไม่ได้ผานความเห็นชอบของรัฐสภา
    .
    ขัด รัฐธรรมนูญ ปี 40 และ ทุกฉบับ หลังจากนั้น จนถึงปัจจุบัน...!!!
    .
    จึงไม่สามารถบังคับใช้ได้ มีผลเป็ โมฆะ มาตั้งแต่ต้น...!!!
    .
    https://www.khmertimeskh.com/501596196/opposition-abroad-accused-of-provoking-border-dispute-over-koh-kut/?fbclid=IwY2xjawHDKr5leHRuA2FlbQIxMQABHQAiTpS54januqut-pfYOafTNOarJlVrsHsm64N1W3ZeViTyTKh9QvI-MQ_aem_AGWlBPIpMnytDfJTVExJzA
    ## กัมพูชา ประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ทะลุเกาะกูด ของประเทศไทย ## .. .. ย้ำนะคับว่า จากข้อมูลล่าสุด กัมพูชา ไม่ได้ ขีดอ้อมเกาะกูด เป็นตัว U . แต่ขีดจากหลักเขตที่ 73 มาหยุดที่เกาะกูด แล้วไปโผล่อีกฝั่งของเกาะกูด... . ซึ่งก็คือ ทะลุ เกาะกูด ไปนั่นแหละ...!!! . ซึ่งเรา เข้าใจเราว่า เป็นการขีดเส้นตามอำเภอใจของ กัมพูชา... . แต่ถ้าใครอ่านข่าวของ Khmer Times นี้แล้ว จะเข้าใจว่าทำไม เขาถึง "ขีดเส้นไหล่ทวีป" แบบนี้... . นั่นเพราะว่าเขาถือว่า "เกาะกูด" เป็น กรรมสิทธิ์ ของ กัมพูชา...!!! . แล้ว MOU44 ก็ดันไปมี แผนที่ไหล่ทวีปของ กัมพูชา แนบท้าย... . ซึ่งมีผลเป็นการ "รับรู้" เส้นไหล่ทวีป ของกัมพูชา ซึ่ง เขียนขึ้น โดย ยึดถือ เกาะกูด เป็นกรรมสิทธิ์ ของ กัมพูชา...!!! ... ... หลายคนเขาถึงออกมา เรียกร้องให้รัฐบาล ระวังประเทศไทยจะเสียเปรียบ จาก MOU44 . ซึ่งจริงๆแล้ว รัฐบาล ควรจะประกาศให้เป็น เป็นโมฆะ ไปซะ เนื่องจาก... . MOU44 เป็นหนังสือหนังสือสัญญาใด ซึ่งมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือ เขตอำนาจแห่งรัฐ . แต่ดัน ไม่ได้ผานความเห็นชอบของรัฐสภา . ขัด รัฐธรรมนูญ ปี 40 และ ทุกฉบับ หลังจากนั้น จนถึงปัจจุบัน...!!! . จึงไม่สามารถบังคับใช้ได้ มีผลเป็ โมฆะ มาตั้งแต่ต้น...!!! . https://www.khmertimeskh.com/501596196/opposition-abroad-accused-of-provoking-border-dispute-over-koh-kut/?fbclid=IwY2xjawHDKr5leHRuA2FlbQIxMQABHQAiTpS54januqut-pfYOafTNOarJlVrsHsm64N1W3ZeViTyTKh9QvI-MQ_aem_AGWlBPIpMnytDfJTVExJzA
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 244 มุมมอง 0 รีวิว
  • ต้องปลดแอกจักรวรรดินิยมฝรั่งเศสกฤษฎีกากัมพูชาที่เกี่ยวข้องกับเขตแดนในทะเล มีสองฉบับ**หนึ่ง กฤษฎีกาเลขที่ 439/72/PRK ที่กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีป**สอง กฤษฎีกาเลขที่ 518/72/PRK ที่กำหนดทะเลอาณาเขตปรากฏว่าทั้งสองฉบับรุกล้ำทะเลอาณาเขตของไทยโดยอ้างสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส คศ 1907 ##กรณีเส้นเขตไหล่ทวีปรูป 1 จากเพจปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ กัมพูชาประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปครั้งแรกปี 2513 ผ่านเกาะกูดเต็มที่รูป 2 ต่อมาเปลี่ยนเป็นกฤษฎีกาเลขที่ 439/72/PRK เกาะกูดอยู่ที่ปลายลูกศรสีแดง กลับเขียนเกาะกูดมีเส้นขยุกขยิก ทำให้ไม่ชัดเจนว่าเส้นผ่านเกาะกูดหรือไม่รูป 3 ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เขียนเอกสารวิชาการว่า เส้นไม่ได้ผ่านเกาะกูด แต่มาจรดชายฝั่งสองด้าน รูป 4 คือล้ำเข้ามาในทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของไทย วงกลมสีเหลือง##กรณีทะเลอาณาเขตรูป 5 ดร.สุรเกียรติ์ แสดงแผนที่ในกฤษฎีกาเลขที่ 518/72/PRK ปรากฏว่ากัมพูชาลากเส้นทะเลอาณาเขต จากหมุด 73 บนชายฝั่งมาจรดเกาะกูด แล้วหักลงใต้ผมค้นหากฤษฎีกาเลขที่ 518/72/PRK ในกูเกิ้ล ไม่พบเลย จึงขอเรียกร้องให้กระทรวงต่างประเทศเอาเอกสารสำคัญทั้งหมดเผยแพร่ในเว็บไซต์รูป 6 เส้นทะเลอาณาเขตของกัมพูชาก็รุกล้ำเข้ามาในทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของไทยอีกเช่นกัน วงกลมสีเหลืองรูป 7 จากเว็บไซต์ CIA สถานฑูตในกรุงพนมเปญรายงานว่า กัมพูชาตราเส้นทะเลอาณาเขตเกินระยะทาง 12 ไมล์ทะเลมาประชิดเกาะกูด ก็โดยอ้างอิงสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส คศ 1907ผมให้ข้อมูลดังนี้:-หนึ่ง เส้นเขตไหล่ทวีปที่ประชิดเกาะกูดสองด้านนั้น อ้างพื้นฐานมาจากเส้นทะเลอาณาเขตเกินระยะทาง 12 ไมล์ทะเลที่กัมพูชาลากมาประชิดเกาะกูดนั่นเองสอง กัมพูชาลากเส้นทะเลอาณาเขตมาประชิดเกาะกูด เป็นการรุกล้ำเขตอธิปไตยของประเทศไทย(เขตอธิปไตยของประเทศไทยซึ่งกองทัพไทยมีหน้าที่ต้องปกป้องทันทีถ้ามีการรุกราน ไม่ว่าทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศ คือผืนแผ่นดินไทยซึ่งบวกกับทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล)สาม MOU44 มีการแสดงเส้นเขตไหล่ทวีปที่มีพื้นฐานมาจากเส้นทะเลอาณาเขต จึงเป็นการรับรู้ว่า กัมพูชาลากเส้นทะเลอาณาเขตรุกล้ำเข้ามาในเขตอธิปไตยของประเทศไทยพูดแบบชาวบ้าน เป็นการไปรับรู้ว่า อาณาเขตทางทะเลของกัมพูชา กินแดนเข้ามาในอาณาเขตทางทะเลของไทยสี่ กัมพูชาอ้างสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส คศ 1907 บิดเบือน เพราะสนธิสัญญาฯพูดถึงการแบ่งเขตบนชายฝั่ง ไม่ใช่ในทะเลห้า เส้นเขตไหล่ทวีปที่ประชิดเกาะกูดสองด้านนั้น ไม่ถูกต้องตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป เพราะอนุสัญญาใช้สำหรับเล็งเส้นในทะเล ไม่ใช่เล็งเส้นผ่านพื้นที่บนบกและอนุสัญญาฯไม่ได้ยอมให้อ้างอิงสิทธิทางประวัติศาสตร์กล่าวโดยสรุป เหตุผลสนับสนุนยกเลิก MOU44 อีกประการหนึ่งคือ MOU44 ไปรับรู้ ทั้งเส้นเขตไหล่ทวีป และเส้นทะเลอาณาเขตของกัมพูชา รับรู้ว่าทั้งสองเส้นรุกล้ำเข้ามาในเขตอธิปไตยของประเทศไทยวันที่ 6 ธันวาคม 2567นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และประธานคณะกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ
    ต้องปลดแอกจักรวรรดินิยมฝรั่งเศสกฤษฎีกากัมพูชาที่เกี่ยวข้องกับเขตแดนในทะเล มีสองฉบับ**หนึ่ง กฤษฎีกาเลขที่ 439/72/PRK ที่กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีป**สอง กฤษฎีกาเลขที่ 518/72/PRK ที่กำหนดทะเลอาณาเขตปรากฏว่าทั้งสองฉบับรุกล้ำทะเลอาณาเขตของไทยโดยอ้างสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส คศ 1907 ##กรณีเส้นเขตไหล่ทวีปรูป 1 จากเพจปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ กัมพูชาประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปครั้งแรกปี 2513 ผ่านเกาะกูดเต็มที่รูป 2 ต่อมาเปลี่ยนเป็นกฤษฎีกาเลขที่ 439/72/PRK เกาะกูดอยู่ที่ปลายลูกศรสีแดง กลับเขียนเกาะกูดมีเส้นขยุกขยิก ทำให้ไม่ชัดเจนว่าเส้นผ่านเกาะกูดหรือไม่รูป 3 ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เขียนเอกสารวิชาการว่า เส้นไม่ได้ผ่านเกาะกูด แต่มาจรดชายฝั่งสองด้าน รูป 4 คือล้ำเข้ามาในทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของไทย วงกลมสีเหลือง##กรณีทะเลอาณาเขตรูป 5 ดร.สุรเกียรติ์ แสดงแผนที่ในกฤษฎีกาเลขที่ 518/72/PRK ปรากฏว่ากัมพูชาลากเส้นทะเลอาณาเขต จากหมุด 73 บนชายฝั่งมาจรดเกาะกูด แล้วหักลงใต้ผมค้นหากฤษฎีกาเลขที่ 518/72/PRK ในกูเกิ้ล ไม่พบเลย จึงขอเรียกร้องให้กระทรวงต่างประเทศเอาเอกสารสำคัญทั้งหมดเผยแพร่ในเว็บไซต์รูป 6 เส้นทะเลอาณาเขตของกัมพูชาก็รุกล้ำเข้ามาในทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของไทยอีกเช่นกัน วงกลมสีเหลืองรูป 7 จากเว็บไซต์ CIA สถานฑูตในกรุงพนมเปญรายงานว่า กัมพูชาตราเส้นทะเลอาณาเขตเกินระยะทาง 12 ไมล์ทะเลมาประชิดเกาะกูด ก็โดยอ้างอิงสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส คศ 1907ผมให้ข้อมูลดังนี้:-หนึ่ง เส้นเขตไหล่ทวีปที่ประชิดเกาะกูดสองด้านนั้น อ้างพื้นฐานมาจากเส้นทะเลอาณาเขตเกินระยะทาง 12 ไมล์ทะเลที่กัมพูชาลากมาประชิดเกาะกูดนั่นเองสอง กัมพูชาลากเส้นทะเลอาณาเขตมาประชิดเกาะกูด เป็นการรุกล้ำเขตอธิปไตยของประเทศไทย(เขตอธิปไตยของประเทศไทยซึ่งกองทัพไทยมีหน้าที่ต้องปกป้องทันทีถ้ามีการรุกราน ไม่ว่าทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศ คือผืนแผ่นดินไทยซึ่งบวกกับทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล)สาม MOU44 มีการแสดงเส้นเขตไหล่ทวีปที่มีพื้นฐานมาจากเส้นทะเลอาณาเขต จึงเป็นการรับรู้ว่า กัมพูชาลากเส้นทะเลอาณาเขตรุกล้ำเข้ามาในเขตอธิปไตยของประเทศไทยพูดแบบชาวบ้าน เป็นการไปรับรู้ว่า อาณาเขตทางทะเลของกัมพูชา กินแดนเข้ามาในอาณาเขตทางทะเลของไทยสี่ กัมพูชาอ้างสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส คศ 1907 บิดเบือน เพราะสนธิสัญญาฯพูดถึงการแบ่งเขตบนชายฝั่ง ไม่ใช่ในทะเลห้า เส้นเขตไหล่ทวีปที่ประชิดเกาะกูดสองด้านนั้น ไม่ถูกต้องตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป เพราะอนุสัญญาใช้สำหรับเล็งเส้นในทะเล ไม่ใช่เล็งเส้นผ่านพื้นที่บนบกและอนุสัญญาฯไม่ได้ยอมให้อ้างอิงสิทธิทางประวัติศาสตร์กล่าวโดยสรุป เหตุผลสนับสนุนยกเลิก MOU44 อีกประการหนึ่งคือ MOU44 ไปรับรู้ ทั้งเส้นเขตไหล่ทวีป และเส้นทะเลอาณาเขตของกัมพูชา รับรู้ว่าทั้งสองเส้นรุกล้ำเข้ามาในเขตอธิปไตยของประเทศไทยวันที่ 6 ธันวาคม 2567นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และประธานคณะกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 445 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ปานเทพ” ถาม “อุ๊งอิ๊งค์-ภูมิธรรม” เป็นนายกฯ - รมว.กลาโหม ของประเทศไหนกันแน่ ไม่ปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ผิดกฎหมายทะเลสากล แถมอธิบายให้เสร็จสรรพว่าเขาอ้อมเกาะกูดไว้ให้ เพื่อคนไทยจะไม่ปฏิเสธเขตไหล่ทวีปของเขมรตาม MOU44

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000116876

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ปานเทพ” ถาม “อุ๊งอิ๊งค์-ภูมิธรรม” เป็นนายกฯ - รมว.กลาโหม ของประเทศไหนกันแน่ ไม่ปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ผิดกฎหมายทะเลสากล แถมอธิบายให้เสร็จสรรพว่าเขาอ้อมเกาะกูดไว้ให้ เพื่อคนไทยจะไม่ปฏิเสธเขตไหล่ทวีปของเขมรตาม MOU44 อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000116876 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Yay
    Wow
    Angry
    23
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1236 มุมมอง 0 รีวิว
  • 4/12/67

    MOU 2544 นั้นทำให้ประเทศไทย ”ไม่ปฏิเสธ“ เส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะ

    1.เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชารุกล้ำ ”ทะเลภายใน“ คือพื้นที่ทิศเหนือเส้นฐานตรงจากหลักเขตที่ 73 ถึงทิศใต้สุดของเกาะกูด จึงเท่ากับรุกล้ำดินแดนของราชอาณาจักรไทย ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล
    2.รุกล้ำทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล รอบเกาะกูด จึงเท่ากับรุกล้ำอธิปไตยไทย ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล
    3.รุกล้ำเขตต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด จึงเท่ากับรุกล้ำอธิปไตยไทย ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล
    4.รุกล้ำเขตเศรษฐกิจจำเพาะของไทย ไม่สนใจเส้นมัธยะฐานแบ่งเกาะกูดกับเกาะกง จึงไม่เป็นปตามกฎหมายทะเลสากล

    การเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ภายใต้ MOU2544 จึงขัดต่อพระบรมราชโองการ พ.ศ. 2516 ในสมัยรัชกาลที่ 9 ซึ่งกำหนดวิธีการเจรจาให้อยู่บนมูลฐานของกฎหมายทะเลสากลเท่านั้น การเจรจาภายใต้ MOU2544 จึงขัดต่อพระบรมราชโองการ และเมื่อไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา จึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ จึงย่อมเป็นโมฆะ หากยังฝืนเจรจาต่อไปย่อมเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ

    ด้วยความปรารถนาดี
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    28 พฤศจิกายน 2567

    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1103720854454947/?
    4/12/67 MOU 2544 นั้นทำให้ประเทศไทย ”ไม่ปฏิเสธ“ เส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะ 1.เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชารุกล้ำ ”ทะเลภายใน“ คือพื้นที่ทิศเหนือเส้นฐานตรงจากหลักเขตที่ 73 ถึงทิศใต้สุดของเกาะกูด จึงเท่ากับรุกล้ำดินแดนของราชอาณาจักรไทย ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล 2.รุกล้ำทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล รอบเกาะกูด จึงเท่ากับรุกล้ำอธิปไตยไทย ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล 3.รุกล้ำเขตต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด จึงเท่ากับรุกล้ำอธิปไตยไทย ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล 4.รุกล้ำเขตเศรษฐกิจจำเพาะของไทย ไม่สนใจเส้นมัธยะฐานแบ่งเกาะกูดกับเกาะกง จึงไม่เป็นปตามกฎหมายทะเลสากล การเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ภายใต้ MOU2544 จึงขัดต่อพระบรมราชโองการ พ.ศ. 2516 ในสมัยรัชกาลที่ 9 ซึ่งกำหนดวิธีการเจรจาให้อยู่บนมูลฐานของกฎหมายทะเลสากลเท่านั้น การเจรจาภายใต้ MOU2544 จึงขัดต่อพระบรมราชโองการ และเมื่อไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา จึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ จึงย่อมเป็นโมฆะ หากยังฝืนเจรจาต่อไปย่อมเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ด้วยความปรารถนาดี ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 28 พฤศจิกายน 2567 https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1103720854454947/?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 357 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไม่มีการเจรจาครั้งใดในประวัติศาสตร์ที่ไทยมีแต่เสียเปรียบกัมพูชามากขนาดนี้ ภาพแรก ด้านซ้ายมือสุด เป็นพื้นที่ตามพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศเขตไหล่ทวีปตามกฎหมายทะเลสากลโดยลากจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของไทยและ เกาะกงของกัมพูชา ก่อให้เกิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะในอ่าวไทย 88,194 ตารางกิโลเมตร หรือ 55 ล้านไร่ เป็นของประเทศไทยประเทศเดียว ไม่ใช่พื้นที่ทับซ้อน สามารถใช้สิทธิทางทะเล ทั้งอ่าวไทย การท่องเที่ยว การทหาร และทรัพยากรโดยไม่เคยถูกรุกล้ำทางกายภาพจากกัมพูชาเลยแม้แต่ครั้งเดียวภาพที่สอง เป็นภาพ MOU 2544 พื้นที่เศรษฐกิจจำเพาะของไทยตามพระบรมราชโองการ 88,194 ตารางกิโลเมตร กลับหายไปประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร โดยแบ่งเป็นพี้นที่เหนือละติจูดองศาเหนือขึ้นไปประมาณ 10,000 ตารางกิโลเมตร ให้เจรจาแบ่งเขตแดน ส่วนพื้นที่ใต้ละติจูดองศาเหนือลงมา 16,000 ตารางกิโลเมตร ให้แบ่งผลประโยชน์กันระหว่างไทยกัมพูชา ทั้งๆที่เคยเป็นพื้นที่ของประเทศไทยทั้งหมด ทั้งตามกายภาพ ตามกฎหมายทะเลสากล และตามพระบรมราชโองการภาพที่สาม เป็นภาพ MOU2544 ภาพที่ 3 เป็นสมมุติฐานว่ากัมพูชาได้รับผลการเจรจาได้พื้นที่ทางทะเลมากที่สุด ไทยจะสูญเสียพื้นที่ทางทะเลเหนือละติจูด 11 องศาเหนือขึ้นไป จำนวน 10,000 ตารางกิโลเมตรตกเป็นของกัมพูชา ส่วนพื้นที่ด้านใต้ละติจูด 11 องศาเหนือลงมาจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร กลายเป็นพื้นที่แบ่งผลประโยชน์กันในการพัฒนาร่วมระหว่างไทยกัมพูชา ทั้งๆที่เคยเป็นพื้นที่ของประเทศไทยทั้งหมด ทั้งตามกายภาพ ตามกฎหมายทะเลสากล และตามพระบรมราชโองการภาพที่สี่ เป็นภาพ MOU2544 ภาพขวาสุด เป็นสมมุติฐานว่าฝ่ายไทยได้รับผลการเจรจาได้พื้นที่ทางทะเลมากที่สุดตาม MOU 2544 ไทยจะได้เพื้นที่ทางทะเลเหนือละติจูด 11 องศาเหนือขึ้นไป จำนวน 10,000 ตารางกิโลเมตรทั้งๆที่เป็นของไทยตามกฎหมายทะเลสากลอยู่แล้ว ส่วนพื้นที่ด้านใต้ละติจูด 11 องศาเหนือลงมาจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร กลายเป็นพื้นที่แบ่งผลประโยชน์กันในการพัฒนาร่วมระหว่างไทยกัมพูชา ทั้งๆที่เคยเป็นพื้นที่ของประเทศไทยทั้งหมด ทั้งตามกายภาพ ตามกฎหมายทะเลสากล และตามพระบรมราชโองการจะมีการเจรจาครั้งใดในประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรไทยที่เปลี่ยนหลักการ “สิทธิอธิปไตย” ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยที่เสียเปรียบและแตกต่างจากพระบรมราชโองการจนเสียเปรียบขนาดนี้ โดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา ไม่สนใจแผนที่ตามพระบรมราชโองการอีกด้วยถึงเวลาต้องเพิกถอน MOU2544 และ JC2544 แล้วหรือยัง? ขอเชิญทุกท่านร่วมลงนามถึงนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีแก้ไขการเสียเปรียบของชาติในครั้งนี้ ในเช้าวันจันทร์ที่ 9 ธันวาคม 2567 เวลา 9.00 น. ณ โรงอาหารศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ ของทำเนียบรัฐบาล (กพ.) และยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี เวลา 10.00 น.ด้วยจิตคารวะปานเทพ พัวพงษ์พันธ์คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 2 ธันวาคม 2567https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1106546160839083/?
    ไม่มีการเจรจาครั้งใดในประวัติศาสตร์ที่ไทยมีแต่เสียเปรียบกัมพูชามากขนาดนี้ ภาพแรก ด้านซ้ายมือสุด เป็นพื้นที่ตามพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศเขตไหล่ทวีปตามกฎหมายทะเลสากลโดยลากจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของไทยและ เกาะกงของกัมพูชา ก่อให้เกิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะในอ่าวไทย 88,194 ตารางกิโลเมตร หรือ 55 ล้านไร่ เป็นของประเทศไทยประเทศเดียว ไม่ใช่พื้นที่ทับซ้อน สามารถใช้สิทธิทางทะเล ทั้งอ่าวไทย การท่องเที่ยว การทหาร และทรัพยากรโดยไม่เคยถูกรุกล้ำทางกายภาพจากกัมพูชาเลยแม้แต่ครั้งเดียวภาพที่สอง เป็นภาพ MOU 2544 พื้นที่เศรษฐกิจจำเพาะของไทยตามพระบรมราชโองการ 88,194 ตารางกิโลเมตร กลับหายไปประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร โดยแบ่งเป็นพี้นที่เหนือละติจูดองศาเหนือขึ้นไปประมาณ 10,000 ตารางกิโลเมตร ให้เจรจาแบ่งเขตแดน ส่วนพื้นที่ใต้ละติจูดองศาเหนือลงมา 16,000 ตารางกิโลเมตร ให้แบ่งผลประโยชน์กันระหว่างไทยกัมพูชา ทั้งๆที่เคยเป็นพื้นที่ของประเทศไทยทั้งหมด ทั้งตามกายภาพ ตามกฎหมายทะเลสากล และตามพระบรมราชโองการภาพที่สาม เป็นภาพ MOU2544 ภาพที่ 3 เป็นสมมุติฐานว่ากัมพูชาได้รับผลการเจรจาได้พื้นที่ทางทะเลมากที่สุด ไทยจะสูญเสียพื้นที่ทางทะเลเหนือละติจูด 11 องศาเหนือขึ้นไป จำนวน 10,000 ตารางกิโลเมตรตกเป็นของกัมพูชา ส่วนพื้นที่ด้านใต้ละติจูด 11 องศาเหนือลงมาจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร กลายเป็นพื้นที่แบ่งผลประโยชน์กันในการพัฒนาร่วมระหว่างไทยกัมพูชา ทั้งๆที่เคยเป็นพื้นที่ของประเทศไทยทั้งหมด ทั้งตามกายภาพ ตามกฎหมายทะเลสากล และตามพระบรมราชโองการภาพที่สี่ เป็นภาพ MOU2544 ภาพขวาสุด เป็นสมมุติฐานว่าฝ่ายไทยได้รับผลการเจรจาได้พื้นที่ทางทะเลมากที่สุดตาม MOU 2544 ไทยจะได้เพื้นที่ทางทะเลเหนือละติจูด 11 องศาเหนือขึ้นไป จำนวน 10,000 ตารางกิโลเมตรทั้งๆที่เป็นของไทยตามกฎหมายทะเลสากลอยู่แล้ว ส่วนพื้นที่ด้านใต้ละติจูด 11 องศาเหนือลงมาจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร กลายเป็นพื้นที่แบ่งผลประโยชน์กันในการพัฒนาร่วมระหว่างไทยกัมพูชา ทั้งๆที่เคยเป็นพื้นที่ของประเทศไทยทั้งหมด ทั้งตามกายภาพ ตามกฎหมายทะเลสากล และตามพระบรมราชโองการจะมีการเจรจาครั้งใดในประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรไทยที่เปลี่ยนหลักการ “สิทธิอธิปไตย” ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยที่เสียเปรียบและแตกต่างจากพระบรมราชโองการจนเสียเปรียบขนาดนี้ โดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา ไม่สนใจแผนที่ตามพระบรมราชโองการอีกด้วยถึงเวลาต้องเพิกถอน MOU2544 และ JC2544 แล้วหรือยัง? ขอเชิญทุกท่านร่วมลงนามถึงนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีแก้ไขการเสียเปรียบของชาติในครั้งนี้ ในเช้าวันจันทร์ที่ 9 ธันวาคม 2567 เวลา 9.00 น. ณ โรงอาหารศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ ของทำเนียบรัฐบาล (กพ.) และยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี เวลา 10.00 น.ด้วยจิตคารวะปานเทพ พัวพงษ์พันธ์คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 2 ธันวาคม 2567https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1106546160839083/?
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 508 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประชาธิปไตย4วินาทีนอกนั้นเผด็จการประชาชนหย่อนบัตรเลือกตั้งแค่นั้น...ต่อจากนั้นไม่เคยเห็นหัวประชาชนเลยคนไทยต้องทนอยู่กับระบอบแบบนี้ต่อไปอีกนานแค่ไหนจากรุ่นสู่รุ่นงั้นหรือ???เห็นมีแต่ผลประโยชน์นักการเมืองทั้งนั้น"คนไทยตกงานเลิกจ้างย้ายฐานไปเวียดนาม "ทรัพยากรในอ่าวไทย"@เกาะกูดปล่อยมันไว้อย่างนั้นแหละไม่ต้องดูดขึ้นมาหรอกคนไทยไม่เคยได้ผลประโยชน์อะไรน้ำมันขุดในไทยอิงราคาตลาดโลกไฟฟ้าผลิตเกินความต้องการของคนไทยเหลือจนล้นต้องขายให้เพื่อนบ้านในราคาถูกกว่าคนไทยเสียอีก😔คนไทยใช้แพงกว่าเพื่อนบ้านอีกนี่มันอะไรกัน"ปตท.กำไรปีๆหนึ่งเท่าไหร่...สงสารคนชาติเดียวกันบ้างไหมกำลังจะตายกันหมดแล้วว่างงาน,ปลดพนักงานกันทั่วประเทศ นี่หรืออยู่ดีกินดีมีศักดิ์ศรี👎"ไม่มีแล้วคนจนเพราะคนจนจะตายหมดไง🤷‍♀️##@พอเหอะ"MOU44,JC44"อะไรเจรจาทำไมของประเทศไทย100%จะไปแบ่ง50/50อะไร"บันทึกความเข้าใจระหว่างคนสองคนไม่ได้ผ่านสภามันโมฆะตั้งแต่ต้นไปดู@"พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 9 พระองค์ท่านเขียนไว้ว่าอย่างไร?เจรจาในกรอบทะเลสากลรอบเกาะกูด12ไมล์ทะเลและไหล่ทวีปอีก24ไมล์ทะเลของประเทศไทย จะเจรจาในกรอบอะไรเขมรก็ไม่ได้อยู่ในสนธิสัญญาอยู่แล้วใครทำก็ผิด⚖🧲📣
    ประชาธิปไตย4วินาทีนอกนั้นเผด็จการประชาชนหย่อนบัตรเลือกตั้งแค่นั้น...ต่อจากนั้นไม่เคยเห็นหัวประชาชนเลยคนไทยต้องทนอยู่กับระบอบแบบนี้ต่อไปอีกนานแค่ไหนจากรุ่นสู่รุ่นงั้นหรือ???เห็นมีแต่ผลประโยชน์นักการเมืองทั้งนั้น"คนไทยตกงานเลิกจ้างย้ายฐานไปเวียดนาม "ทรัพยากรในอ่าวไทย"@เกาะกูดปล่อยมันไว้อย่างนั้นแหละไม่ต้องดูดขึ้นมาหรอกคนไทยไม่เคยได้ผลประโยชน์อะไรน้ำมันขุดในไทยอิงราคาตลาดโลกไฟฟ้าผลิตเกินความต้องการของคนไทยเหลือจนล้นต้องขายให้เพื่อนบ้านในราคาถูกกว่าคนไทยเสียอีก😔คนไทยใช้แพงกว่าเพื่อนบ้านอีกนี่มันอะไรกัน"ปตท.กำไรปีๆหนึ่งเท่าไหร่...สงสารคนชาติเดียวกันบ้างไหมกำลังจะตายกันหมดแล้วว่างงาน,ปลดพนักงานกันทั่วประเทศ นี่หรืออยู่ดีกินดีมีศักดิ์ศรี👎"ไม่มีแล้วคนจนเพราะคนจนจะตายหมดไง🤷‍♀️##@พอเหอะ"MOU44,JC44"อะไรเจรจาทำไมของประเทศไทย100%จะไปแบ่ง50/50อะไร"บันทึกความเข้าใจระหว่างคนสองคนไม่ได้ผ่านสภามันโมฆะตั้งแต่ต้นไปดู@"พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 9 พระองค์ท่านเขียนไว้ว่าอย่างไร?เจรจาในกรอบทะเลสากลรอบเกาะกูด12ไมล์ทะเลและไหล่ทวีปอีก24ไมล์ทะเลของประเทศไทย จะเจรจาในกรอบอะไรเขมรก็ไม่ได้อยู่ในสนธิสัญญาอยู่แล้วใครทำก็ผิด⚖🧲📣
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 400 มุมมอง 0 รีวิว
  • จะเอาพื้นที่ทางทะเลไปแบ่งเขาทำไมก่อน...???
    .
    ยึด พระบรมราชโองการ "ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทยด้านอ่าวไทย" สิครับ
    .
    ยึดหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ตาม "อนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา" สิครับ
    .
    เมื่อยึดตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ แอ่งปัตตานี ตรงนั้น เป็นของประเทศไทย ทั้งหมด...!!!
    .
    ไม่จำเป็นต้องแบ่งให้ใครเลยครับ...!!!
    จะเอาพื้นที่ทางทะเลไปแบ่งเขาทำไมก่อน...??? . ยึด พระบรมราชโองการ "ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทยด้านอ่าวไทย" สิครับ . ยึดหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ตาม "อนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา" สิครับ . เมื่อยึดตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ แอ่งปัตตานี ตรงนั้น เป็นของประเทศไทย ทั้งหมด...!!! . ไม่จำเป็นต้องแบ่งให้ใครเลยครับ...!!!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 543 มุมมอง 29 1 รีวิว
  • นายกฯ วอนอย่าก่อม็อบหวั่นกระทบท่องเที่ยว บอก “สนธิ” ยื่นหนังสือ ต้องเป็นตามกระบวนการ ยันเลิก MOU44 ฝ่ายเดียวไม่ได้ ต้องคุยกันก่อน ลั่นเกิดแผ่นดินไทย ไม่มีทางเห็นประเทศใดกว่า เผยเห็นพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปแล้ว อะไรที่เป็นปัญหาจะไม่ชน ต้องค่อยๆ ร่วมกันแก้ไข

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000114939

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    นายกฯ วอนอย่าก่อม็อบหวั่นกระทบท่องเที่ยว บอก “สนธิ” ยื่นหนังสือ ต้องเป็นตามกระบวนการ ยันเลิก MOU44 ฝ่ายเดียวไม่ได้ ต้องคุยกันก่อน ลั่นเกิดแผ่นดินไทย ไม่มีทางเห็นประเทศใดกว่า เผยเห็นพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปแล้ว อะไรที่เป็นปัญหาจะไม่ชน ต้องค่อยๆ ร่วมกันแก้ไข อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000114939 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Angry
    11
    7 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1223 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## เพิกถอน MOU 2544 ยึดมั่นพระบรมราชโองการ ##
    ..
    ..
    โดยหลักการ พื้นที่อ้างสิทธิ์ สามารถทับซ้อนกันได้...
    .
    แต่ถ้ามีพื้นที่อ้างสิทธิ์ ทับซ้อนเกินความเป็นจริงไปมาก ทำให้อีกฝั่ง เสียสิทธิ์ โดยไม่ยึดตามหลักกฎหมายทะเลสากล สิ่งนี้รับไม่ได้...
    .
    MOU44 มีแผนที่แนบท้าย ซึ่งวาดเอาเองตามอำเภอใจ ของ กัมพูชา ตีเส้นผ่านเกาะกูด ทำให้พื้นที่ "น่านน้ำภายในอ่าวไทย" และ “ทะเลอาณาเขต” หายไป รวมทั้ง “เขตต่อเนื่อง” อีกด้วย
    .
    อีกทั้งยังเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบพื้นที่อ้างสิทธิ์ที่ถูกต้องไป ทำให้เกิดพื้นที่อ้างสิทธิ์ ซึ่งเกิดการทับซ้อนเกินจริงไปมาก...!!!
    .
    ดังนั้น MOU44 มีโอกาสทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบบนเวทีโลก โดยมี กรณีเข้าพระวิหารเป็นตัวอย่างซึ่งเคยเกิดขึ้นมาแล้ว เพียงเพราะแค่ ประเทศไทย ไม่เคยแสดงออก ไม่เคยปฎิเสธ ประเทศไทยก็สูญเสียเขาพระวิหารไปแล้ว สิ่งนี้เขาเรียกว่า “หลักกฎหมายปิดปาก”
    .
    อีกทั้ง MOU44 ซึ่งมีลักษณะ อันอาจจะสามารถเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอำนาจแห่งรัฐได้ ดังนั้น MOU44 จึงถือเป็นหนังสือสัญญา ที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
    .
    ซึ่ง MOU44 ฉบับนี้ ชัดเจนที่สุดมาก ว่าไม่ได้เคยผ่านความเห็นชอบของสภาเลยแม้แต่นิดเดียว จึงเป็นการ ขัดรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ
    .
    อีกทั้ง MOU44 ฉบับนี้ มีเนื้อหาขัดต่อ พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ที่กำหนดวิธีการ ในการเจรจาไว้แล้ว ว่าจะต้องเป็นไปตามหลักกฎหมายสากลระหว่างประเทศ ว่าด้วยทะเล เท่านั้น
    .
    ดังนั้น ด้วยเหตุผลที่ว่ามาทั้งหมดนี้ MOU44 จึงเป็น “โมฆะ” มาตั้งแต่ต้น มีผลเสมือนไม่เคยเกิดมีขึ้นบนโลกใบนี้มาก่อน ตั้งแต่โบราณกาลจวบกระทั่งอนาคต ตราบชั่วฟ้าดินสลาย...!!!
    ...
    ...
    12 กรกฎาคม 2515 กัมพูชา ประกาศเขตไหล่ทวีป ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 รุกล้ำอธิปไตยไทย รุกล้ำทะเลอาณาเขต รุกล้ำทะเลต่อเนื่องไทย และ รุกล้ำเศรษฐกิจจำเพาะไทย...
    .
    โดยไม่เป็นไปตามหลักกฎหมายสากลว่าด้วยทะเล บทบัญญัติแห่งกรุงเจนีวาว่าด้วยไหล่ทวีป ค.ศ.1958...!!!
    .
    มีการนับโขดหิน ขึ้นมาอ้างเพื่อวาดเส้นไหล่ทวีปนี้ ซึ่งขัดกับ กฎหมาย UNCLOS ล่าสุดข้อหนึ่งที่ว่า ไม่ให้นับรวมโขดหินที่มนุษย์ไม่สามารถใช้ชีวิตอาศัยอยู่ได้ ในการขีดเส้นไหล่ทวีป...
    .
    ย้อนกลับไปในวันที่ 1 กรกฎาคม 2515 พระราชกฤษฎีกากัมพูชา ประกาศไหล่ทวีปฝ่ายเดียวจากหลักเขตที่ 73 อ้อมเกาะกูดของไทยเป็นรูปตัว U ลงนามโดย นายพล ลอนนอน
    .
    ขีดเส้นไหล่ทวีปประชิดเกาะกูด แต่...!!!
    .
    ยอมรับว่า เกาะกูด เป็นของประเทศไทย...!!!
    .
    โดยหลักกหมายสากลทางทะเล ถ้าเกาะกูดเป็นของประเทศไทยจริง...!!!
    .
    เกาะกูดก็ต้องมี...
    .
    1.ทะเลอาณาเขต รอบเกาะกูด (12 ไมล์ทะเล)
    2.ทะเลต่อเนื่องไทย (24 ไมล์ทะเล)
    .
    ดังนั้น ประเทศไทย เพื่อไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยเหมือนครั้งที่เสีย ปราสาทพระวิหาร ให้กัมพูชา...
    .
    จึงแก้เกมด้วยการประกาศ พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทยด้านอ่าวไทย โดย ในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นพระมหากัตริย์ เป็นพระประมุขแห่งรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดแห่งรัฐ
    .
    โดยแผนที่นี้ ขีดเส้นไหล่ทวีปด้วยการ ลากจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเส้นฐานที่ใกล้ที่สุดระหว่าง เกาะกูด และ เกาะกง ลงไป เรียกว่า เส้นมัธยฐาน...
    .
    ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นไปตาม หลักกฎหมายทะเลสากล...!!!
    .
    พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ฉบับบนี้ จึงความหมาย เป็นการ "ปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชา ที่ละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย"
    .
    โดยใน พระบรมราชโองการ กำหนดชัดเจนว่า "การใช้สิทธิ์อธิปไตย ในการสำรวจแสวงผลประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย" จึงกำหนดเขตไล่ทวีปขึ้น
    .
    ให้เป็นไปตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958 และ ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2511
    .
    และ กำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้วด้วยว่า ส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียง อันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีป
    .
    จะเป็นไปตามที่ตกลงกัน โดย...!!!
    .
    ยึดมูลฐานแห่งบทบัญญัติของ อนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958
    .
    เมื่อประเทศไทย ยึดหลักตามหลักกฎหมายทะเลสากล เส้นไหล่ทวีปที่ยึดจึงต้องเป็น เส้นไหล่ทวีป ที่ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดไว้เท่านั้น...!!!
    .
    ดังนั้น เมื่อยึดเขตไหล่ทวีปตามหลักกฎหมายสากลทางทะเล...!!!
    .
    พลังงานภายใต้ แอ่งปัตตานี ตรงนั้น จึงต้องเป็นของประเทศไทย ทั้งหมด ตามกฎหมายสากลระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล...!!!
    .
    ไม่จำเป็นต้องแบ่งให้ใครเลย...
    .
    https://www.youtube.com/watch?v=FyksvXqjj1s&t=124s
    ## เพิกถอน MOU 2544 ยึดมั่นพระบรมราชโองการ ## .. .. โดยหลักการ พื้นที่อ้างสิทธิ์ สามารถทับซ้อนกันได้... . แต่ถ้ามีพื้นที่อ้างสิทธิ์ ทับซ้อนเกินความเป็นจริงไปมาก ทำให้อีกฝั่ง เสียสิทธิ์ โดยไม่ยึดตามหลักกฎหมายทะเลสากล สิ่งนี้รับไม่ได้... . MOU44 มีแผนที่แนบท้าย ซึ่งวาดเอาเองตามอำเภอใจ ของ กัมพูชา ตีเส้นผ่านเกาะกูด ทำให้พื้นที่ "น่านน้ำภายในอ่าวไทย" และ “ทะเลอาณาเขต” หายไป รวมทั้ง “เขตต่อเนื่อง” อีกด้วย . อีกทั้งยังเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบพื้นที่อ้างสิทธิ์ที่ถูกต้องไป ทำให้เกิดพื้นที่อ้างสิทธิ์ ซึ่งเกิดการทับซ้อนเกินจริงไปมาก...!!! . ดังนั้น MOU44 มีโอกาสทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบบนเวทีโลก โดยมี กรณีเข้าพระวิหารเป็นตัวอย่างซึ่งเคยเกิดขึ้นมาแล้ว เพียงเพราะแค่ ประเทศไทย ไม่เคยแสดงออก ไม่เคยปฎิเสธ ประเทศไทยก็สูญเสียเขาพระวิหารไปแล้ว สิ่งนี้เขาเรียกว่า “หลักกฎหมายปิดปาก” . อีกทั้ง MOU44 ซึ่งมีลักษณะ อันอาจจะสามารถเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอำนาจแห่งรัฐได้ ดังนั้น MOU44 จึงถือเป็นหนังสือสัญญา ที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา . ซึ่ง MOU44 ฉบับนี้ ชัดเจนที่สุดมาก ว่าไม่ได้เคยผ่านความเห็นชอบของสภาเลยแม้แต่นิดเดียว จึงเป็นการ ขัดรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ . อีกทั้ง MOU44 ฉบับนี้ มีเนื้อหาขัดต่อ พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ที่กำหนดวิธีการ ในการเจรจาไว้แล้ว ว่าจะต้องเป็นไปตามหลักกฎหมายสากลระหว่างประเทศ ว่าด้วยทะเล เท่านั้น . ดังนั้น ด้วยเหตุผลที่ว่ามาทั้งหมดนี้ MOU44 จึงเป็น “โมฆะ” มาตั้งแต่ต้น มีผลเสมือนไม่เคยเกิดมีขึ้นบนโลกใบนี้มาก่อน ตั้งแต่โบราณกาลจวบกระทั่งอนาคต ตราบชั่วฟ้าดินสลาย...!!! ... ... 12 กรกฎาคม 2515 กัมพูชา ประกาศเขตไหล่ทวีป ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 รุกล้ำอธิปไตยไทย รุกล้ำทะเลอาณาเขต รุกล้ำทะเลต่อเนื่องไทย และ รุกล้ำเศรษฐกิจจำเพาะไทย... . โดยไม่เป็นไปตามหลักกฎหมายสากลว่าด้วยทะเล บทบัญญัติแห่งกรุงเจนีวาว่าด้วยไหล่ทวีป ค.ศ.1958...!!! . มีการนับโขดหิน ขึ้นมาอ้างเพื่อวาดเส้นไหล่ทวีปนี้ ซึ่งขัดกับ กฎหมาย UNCLOS ล่าสุดข้อหนึ่งที่ว่า ไม่ให้นับรวมโขดหินที่มนุษย์ไม่สามารถใช้ชีวิตอาศัยอยู่ได้ ในการขีดเส้นไหล่ทวีป... . ย้อนกลับไปในวันที่ 1 กรกฎาคม 2515 พระราชกฤษฎีกากัมพูชา ประกาศไหล่ทวีปฝ่ายเดียวจากหลักเขตที่ 73 อ้อมเกาะกูดของไทยเป็นรูปตัว U ลงนามโดย นายพล ลอนนอน . ขีดเส้นไหล่ทวีปประชิดเกาะกูด แต่...!!! . ยอมรับว่า เกาะกูด เป็นของประเทศไทย...!!! . โดยหลักกหมายสากลทางทะเล ถ้าเกาะกูดเป็นของประเทศไทยจริง...!!! . เกาะกูดก็ต้องมี... . 1.ทะเลอาณาเขต รอบเกาะกูด (12 ไมล์ทะเล) 2.ทะเลต่อเนื่องไทย (24 ไมล์ทะเล) . ดังนั้น ประเทศไทย เพื่อไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยเหมือนครั้งที่เสีย ปราสาทพระวิหาร ให้กัมพูชา... . จึงแก้เกมด้วยการประกาศ พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทยด้านอ่าวไทย โดย ในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นพระมหากัตริย์ เป็นพระประมุขแห่งรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดแห่งรัฐ . โดยแผนที่นี้ ขีดเส้นไหล่ทวีปด้วยการ ลากจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเส้นฐานที่ใกล้ที่สุดระหว่าง เกาะกูด และ เกาะกง ลงไป เรียกว่า เส้นมัธยฐาน... . ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นไปตาม หลักกฎหมายทะเลสากล...!!! . พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป ฉบับบนี้ จึงความหมาย เป็นการ "ปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชา ที่ละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย" . โดยใน พระบรมราชโองการ กำหนดชัดเจนว่า "การใช้สิทธิ์อธิปไตย ในการสำรวจแสวงผลประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย" จึงกำหนดเขตไล่ทวีปขึ้น . ให้เป็นไปตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958 และ ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2511 . และ กำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้วด้วยว่า ส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียง อันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีป . จะเป็นไปตามที่ตกลงกัน โดย...!!! . ยึดมูลฐานแห่งบทบัญญัติของ อนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958 . เมื่อประเทศไทย ยึดหลักตามหลักกฎหมายทะเลสากล เส้นไหล่ทวีปที่ยึดจึงต้องเป็น เส้นไหล่ทวีป ที่ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดไว้เท่านั้น...!!! . ดังนั้น เมื่อยึดเขตไหล่ทวีปตามหลักกฎหมายสากลทางทะเล...!!! . พลังงานภายใต้ แอ่งปัตตานี ตรงนั้น จึงต้องเป็นของประเทศไทย ทั้งหมด ตามกฎหมายสากลระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล...!!! . ไม่จำเป็นต้องแบ่งให้ใครเลย... . https://www.youtube.com/watch?v=FyksvXqjj1s&t=124s
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 635 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts