• 10 ปี สิ้นวีรบุรุษสะพานมัฆวาน “บิ๊กซัน” พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก มือปราบกบฏยังเติร์ก

    ย้อนเวลากลับไปเมื่อ 10 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558 ประเทศไทยได้สูญเสียบุคคลสำคัญ ผู้ทรงอิทธิพลในประวัติศาสตร์การเมือง และการทหารของชาติไป นั่นคือ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก หรือที่สื่อมวลชนขนานนามว่า “บิ๊กซัน” วีรบุรุษสะพานมัฆวาน ผู้ซึ่งเป็นกำลังสำคัญ ในการปกป้องระบอบประชาธิปไตย และปราบกบฏยังเติร์ก อย่างกล้าหาญ

    พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก เกิดเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468 ณ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ ร้อยตรีพิณ กำลังเอก และนางสาคร กำลังเอก ชีวิตในวัยเด็ก เต็มไปด้วยความมุ่งมั่น และพยายามในการศึกษา

    การศึกษาของพลเอกอาทิตย์ เริ่มต้นที่โรงเรียนพรหมวิทยามูล ก่อนจะเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร (ปัจจุบันคือโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร) และสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร

    ด้วยความฝันที่จะเป็นทหาร จึงได้เข้าศึกษาใน โรงเรียนเตรียมทหารบก รุ่นที่ 5 (ตทบ. 5) ระหว่างปี พ.ศ. 2487–2491 โดยรุ่นเดียวกันนี้ยังมีเพื่อนร่วมรุ่นสำคัญ อาทิ พลเอกเทียนชัย สิริสัมพันธ์ และพลเอกบรรจบ บุนนาค

    วีรบุรุษสะพานมัฆวาน ช่วงเวลาแห่งการสร้างตำนาน
    หนึ่งในเหตุการณ์สำคัญ ที่ทำให้ชื่อของพลเอกอาทิตย์โดดเด่นคือ การประท้วงใหญ่ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประชาชนรวมตัวกัน เดินขบวนประท้วงการเลือกตั้ง ที่ถูกมองว่าไม่โปร่งใส

    ในขณะนั้น พลเอกอาทิตย์มียศเพียงร้อยเอก และเป็นหนึ่งในทหาร ที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อย ตามคำสั่งของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก ซึ่งได้สั่งห้ามทหาร ทำร้ายประชาชน โดยเด็ดขาด

    การเปิดสะพานมัฆวานรังสรรค์ ให้ขบวนประท้วง เดินผ่านไปยังทำเนียบรัฐบาล ได้โดยสงบ กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ที่แสดงถึงความเป็นผู้นำ และการใช้เหตุผลเหนือกำลังอาวุธ

    กบฏยังเติร์ก บทบาทผู้นำในช่วงวิกฤต
    อีกเหตุการณ์ ที่ทำให้ชื่อของพลเอกอาทิตย์ ได้รับการยกย่องคือ การเข้าร่วมปราบ กบฏยังเติร์ก หรือ กบฏเมษาฮาวาย ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 1–3 เมษายน พ.ศ. 2524

    กลุ่มกบฏซึ่งส่วนใหญ่ เป็นนายทหารรุ่น “จปร. 7” มีเป้าหมายที่จะยึดอำนาจ จากรัฐบาลนายกรัฐมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ โดยการเคลื่อนกำลังทหารถึง 42 กองพัน ถือว่าเป็นความพยายามรัฐประหาร ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในประวัติศาสตร์ไทย

    ในขณะนั้น พลเอกอาทิตย์ ดำรงตำแหน่งรองแม่ทัพภาคที่ 2 และเป็นกำลังสำคัญ ในการปฏิบัติการตอบโต้กลุ่มกบฏ โดยได้รับการสนับสนุนจากประชาชน และความไว้วางใจจากพลเอกเปรม

    ผลลัพธ์ของกบฏ
    การก่อกบฏสิ้นสุดลง โดยไม่มีการต่อสู้อย่างรุนแรง ฝ่ายรัฐบาล ภายใต้การนำของพลเอกเปรมสามารถจัดการสถานการณ์ ได้อย่างรวดเร็ว และกลุ่มกบฏ ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ

    บทบาทของพลเอกอาทิตย์ในครั้งนี้ ส่งผลให้ได้รับการเลื่อนตำแหน่ง เป็นแม่ทัพภาคที่ 1 และในเวลาต่อมาได้เป็น ผู้บัญชาการทหารบก

    ความสัมพันธ์กับพลเอกเปรม จากมิตรสู่ความขัดแย้ง
    ในช่วงที่พลเอกเปรม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พลเอกอาทิตย์ ได้รับการสนับสนุนอย่างมาก แต่ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสอง กลับตึงเครียดในช่วงปี พ.ศ. 2527 เมื่อพลเอกอาทิตย์ ออกมาวิพากษ์วิจารณ์ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล

    ความขัดแย้งดังกล่าว นำไปสู่การที่พลเอกอาทิตย์ ถูกปลดจากตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ในปี พ.ศ. 2529 ท่ามกลางกระแสการเมือง ที่ร้อนแรง

    หลังเกษียณ ชีวิตในวงการการเมือง
    หลังจากเกษียณราชการ พลเอกอาทิตย์ได้เข้าสู่การเมือง โดยการก่อตั้ง พรรคปวงชนชาวไทย และได้รับการแต่งตั้งเป็น รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ

    อย่างไรก็ตาม ช่วงปลายชีวิตทางการเมือง กลับเต็มไปด้วยความตึงเครียด โดยเฉพาะในช่วงเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ (พ.ศ. 2535)

    การจากไปของ “บิ๊กซัน”
    พลเอกอาทิตย์ป่วยเรื้อรัง จากอาการติดเชื้อในปอด และเข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเป็นเวลานาน จนกระทั่งถึงแก่อนิจกรรม เมื่อเวลา 06.20 น. ของวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558 ด้วยวัย 89 ปี

    พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก เป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ ต่อประวัติศาสตร์ไทย ในหลายด้าน ทั้งในฐานะนักปกป้องประชาธิปไตย วีรบุรุษสะพานมัฆวาน และผู้นำในช่วงวิกฤตการณ์การเมือง

    แม้จะมีช่วงเวลา ที่ขัดแย้งกับผู้มีอำนาจทางการเมือง แต่ความมุ่งมั่นในหน้าที่ และความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ยังคงทำให้ชื่อของบิ๊กซัน เป็นที่จดจำ

    🎖️ ความทรงจำที่ไม่มีวันลบเลือน! 🎖️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 190919 ม.ค. 2568

    #บิ๊กซัน #อาทิตย์กำลังเอก #วีรบุรุษสะพานมัฆวาน #กบฏยังเติร์ก #ประวัติศาสตร์ไทย #ผู้นำแห่งชาติ #ไทยในอดีต #การเมืองไทย #กองทัพไทย #10ปีแห่งการจากไป
    10 ปี สิ้นวีรบุรุษสะพานมัฆวาน “บิ๊กซัน” พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก มือปราบกบฏยังเติร์ก ย้อนเวลากลับไปเมื่อ 10 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558 ประเทศไทยได้สูญเสียบุคคลสำคัญ ผู้ทรงอิทธิพลในประวัติศาสตร์การเมือง และการทหารของชาติไป นั่นคือ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก หรือที่สื่อมวลชนขนานนามว่า “บิ๊กซัน” วีรบุรุษสะพานมัฆวาน ผู้ซึ่งเป็นกำลังสำคัญ ในการปกป้องระบอบประชาธิปไตย และปราบกบฏยังเติร์ก อย่างกล้าหาญ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก เกิดเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468 ณ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ ร้อยตรีพิณ กำลังเอก และนางสาคร กำลังเอก ชีวิตในวัยเด็ก เต็มไปด้วยความมุ่งมั่น และพยายามในการศึกษา การศึกษาของพลเอกอาทิตย์ เริ่มต้นที่โรงเรียนพรหมวิทยามูล ก่อนจะเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร (ปัจจุบันคือโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร) และสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร ด้วยความฝันที่จะเป็นทหาร จึงได้เข้าศึกษาใน โรงเรียนเตรียมทหารบก รุ่นที่ 5 (ตทบ. 5) ระหว่างปี พ.ศ. 2487–2491 โดยรุ่นเดียวกันนี้ยังมีเพื่อนร่วมรุ่นสำคัญ อาทิ พลเอกเทียนชัย สิริสัมพันธ์ และพลเอกบรรจบ บุนนาค วีรบุรุษสะพานมัฆวาน ช่วงเวลาแห่งการสร้างตำนาน หนึ่งในเหตุการณ์สำคัญ ที่ทำให้ชื่อของพลเอกอาทิตย์โดดเด่นคือ การประท้วงใหญ่ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประชาชนรวมตัวกัน เดินขบวนประท้วงการเลือกตั้ง ที่ถูกมองว่าไม่โปร่งใส ในขณะนั้น พลเอกอาทิตย์มียศเพียงร้อยเอก และเป็นหนึ่งในทหาร ที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อย ตามคำสั่งของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก ซึ่งได้สั่งห้ามทหาร ทำร้ายประชาชน โดยเด็ดขาด การเปิดสะพานมัฆวานรังสรรค์ ให้ขบวนประท้วง เดินผ่านไปยังทำเนียบรัฐบาล ได้โดยสงบ กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ที่แสดงถึงความเป็นผู้นำ และการใช้เหตุผลเหนือกำลังอาวุธ กบฏยังเติร์ก บทบาทผู้นำในช่วงวิกฤต อีกเหตุการณ์ ที่ทำให้ชื่อของพลเอกอาทิตย์ ได้รับการยกย่องคือ การเข้าร่วมปราบ กบฏยังเติร์ก หรือ กบฏเมษาฮาวาย ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 1–3 เมษายน พ.ศ. 2524 กลุ่มกบฏซึ่งส่วนใหญ่ เป็นนายทหารรุ่น “จปร. 7” มีเป้าหมายที่จะยึดอำนาจ จากรัฐบาลนายกรัฐมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ โดยการเคลื่อนกำลังทหารถึง 42 กองพัน ถือว่าเป็นความพยายามรัฐประหาร ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในประวัติศาสตร์ไทย ในขณะนั้น พลเอกอาทิตย์ ดำรงตำแหน่งรองแม่ทัพภาคที่ 2 และเป็นกำลังสำคัญ ในการปฏิบัติการตอบโต้กลุ่มกบฏ โดยได้รับการสนับสนุนจากประชาชน และความไว้วางใจจากพลเอกเปรม ผลลัพธ์ของกบฏ การก่อกบฏสิ้นสุดลง โดยไม่มีการต่อสู้อย่างรุนแรง ฝ่ายรัฐบาล ภายใต้การนำของพลเอกเปรมสามารถจัดการสถานการณ์ ได้อย่างรวดเร็ว และกลุ่มกบฏ ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ บทบาทของพลเอกอาทิตย์ในครั้งนี้ ส่งผลให้ได้รับการเลื่อนตำแหน่ง เป็นแม่ทัพภาคที่ 1 และในเวลาต่อมาได้เป็น ผู้บัญชาการทหารบก ความสัมพันธ์กับพลเอกเปรม จากมิตรสู่ความขัดแย้ง ในช่วงที่พลเอกเปรม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พลเอกอาทิตย์ ได้รับการสนับสนุนอย่างมาก แต่ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสอง กลับตึงเครียดในช่วงปี พ.ศ. 2527 เมื่อพลเอกอาทิตย์ ออกมาวิพากษ์วิจารณ์ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ความขัดแย้งดังกล่าว นำไปสู่การที่พลเอกอาทิตย์ ถูกปลดจากตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ในปี พ.ศ. 2529 ท่ามกลางกระแสการเมือง ที่ร้อนแรง หลังเกษียณ ชีวิตในวงการการเมือง หลังจากเกษียณราชการ พลเอกอาทิตย์ได้เข้าสู่การเมือง โดยการก่อตั้ง พรรคปวงชนชาวไทย และได้รับการแต่งตั้งเป็น รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อย่างไรก็ตาม ช่วงปลายชีวิตทางการเมือง กลับเต็มไปด้วยความตึงเครียด โดยเฉพาะในช่วงเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ (พ.ศ. 2535) การจากไปของ “บิ๊กซัน” พลเอกอาทิตย์ป่วยเรื้อรัง จากอาการติดเชื้อในปอด และเข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเป็นเวลานาน จนกระทั่งถึงแก่อนิจกรรม เมื่อเวลา 06.20 น. ของวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558 ด้วยวัย 89 ปี พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก เป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ ต่อประวัติศาสตร์ไทย ในหลายด้าน ทั้งในฐานะนักปกป้องประชาธิปไตย วีรบุรุษสะพานมัฆวาน และผู้นำในช่วงวิกฤตการณ์การเมือง แม้จะมีช่วงเวลา ที่ขัดแย้งกับผู้มีอำนาจทางการเมือง แต่ความมุ่งมั่นในหน้าที่ และความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ยังคงทำให้ชื่อของบิ๊กซัน เป็นที่จดจำ 🎖️ ความทรงจำที่ไม่มีวันลบเลือน! 🎖️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 190919 ม.ค. 2568 #บิ๊กซัน #อาทิตย์กำลังเอก #วีรบุรุษสะพานมัฆวาน #กบฏยังเติร์ก #ประวัติศาสตร์ไทย #ผู้นำแห่งชาติ #ไทยในอดีต #การเมืองไทย #กองทัพไทย #10ปีแห่งการจากไป
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 135 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..นี้คือรองเท้ายอดนิยมของพวกคนไม่ดีทั้งหลายมี่กระจายอยู่ทั่วโลกของเดอะแก๊งซาตานอีลิทท่านลอร์ดที่ฝ่ายดีได้ให้เวลาระยะต้น ก่อนจะไปวัดหรือดำเนินคดีใดๆต่อพวกบัดสบนี้,ยุคๆก่อนโควิดหรือระหว่างโควิดจะเห็นกันเยอะมากรวมทั้งประเทศไทยด้วย ปกปิดและนั่งรถเข็ญเอาปิดปกคลุมกันสื่อเห็นด้วย ไม่อะไรหน่อยอาจเดินกันให้เห็นชัดๆเลยล่ะ ทางคุกคือกำไลEMระดับสูงล่ะ,ตัวพ่อตัวแม่ที่ชั่วๆเลวๆก็ด้วย วงในเขารู้กัน สามารถไปค้นหากันเองในข่าวๆของไทยในอดีตได้ว่ามีใครใส่มันบ้าง ตัวเหี้ยเลยล่ะฟันธงไว้ก่อน,คือรอถูกกำจัดก็ว่า อาจพวกแดกอะดริโนโครมเด็กด้วย เขาไม่เอาไว้ แล้วให้ตัวปลอมตัวโคลนมาแทนตัวจริงก็ว่า,เขาล้ำมากนะ,ตย.เขาปล่อยวินฯ98มาให้มนุษย์ใช้แต่ ตัวเขาเองใช้วินXกันจนเบื่อแล้วก็ว่า,ในช่วงเวลาเดียวกัน,ที่เราเห็นๆAIหุ่นยนต์เหล็กที่ออกผ่านสื่อก็ด้วย,แต่ของแท้มีหนังมนุษย์คลุมสมบูรณ์ คิดอ่านแบบมนุษย์ ล้ำมาก แบบหนังคนเหล็กประมาณนั้น หลอมเหลวแล้วสามารถกลายร่างเป็นใครก็ได้หรือเป็นหุ่นยนต์ปกติในร่างเนื้อหนังมนุษย์จริงๆนี้ล่ะ.
    ..พวกดาราวูดๆอเมริกา ไปgitmo ตรึม.&ใส่กันยกคณะเลย สังเกตุสิ คนพวกนี้ไปไหนหมด มีหนัง&รับงานแสดงหลงเหลือกี่คน เพราะฝ่ายขาวเขาเก็บกวาดฆ่าสังหาร&ไล่ล่าเด็ดหัวจริงนั้นเอง แบบลับๆ.
    ..นี้คือรองเท้ายอดนิยมของพวกคนไม่ดีทั้งหลายมี่กระจายอยู่ทั่วโลกของเดอะแก๊งซาตานอีลิทท่านลอร์ดที่ฝ่ายดีได้ให้เวลาระยะต้น ก่อนจะไปวัดหรือดำเนินคดีใดๆต่อพวกบัดสบนี้,ยุคๆก่อนโควิดหรือระหว่างโควิดจะเห็นกันเยอะมากรวมทั้งประเทศไทยด้วย ปกปิดและนั่งรถเข็ญเอาปิดปกคลุมกันสื่อเห็นด้วย ไม่อะไรหน่อยอาจเดินกันให้เห็นชัดๆเลยล่ะ ทางคุกคือกำไลEMระดับสูงล่ะ,ตัวพ่อตัวแม่ที่ชั่วๆเลวๆก็ด้วย วงในเขารู้กัน สามารถไปค้นหากันเองในข่าวๆของไทยในอดีตได้ว่ามีใครใส่มันบ้าง ตัวเหี้ยเลยล่ะฟันธงไว้ก่อน,คือรอถูกกำจัดก็ว่า อาจพวกแดกอะดริโนโครมเด็กด้วย เขาไม่เอาไว้ แล้วให้ตัวปลอมตัวโคลนมาแทนตัวจริงก็ว่า,เขาล้ำมากนะ,ตย.เขาปล่อยวินฯ98มาให้มนุษย์ใช้แต่ ตัวเขาเองใช้วินXกันจนเบื่อแล้วก็ว่า,ในช่วงเวลาเดียวกัน,ที่เราเห็นๆAIหุ่นยนต์เหล็กที่ออกผ่านสื่อก็ด้วย,แต่ของแท้มีหนังมนุษย์คลุมสมบูรณ์ คิดอ่านแบบมนุษย์ ล้ำมาก แบบหนังคนเหล็กประมาณนั้น หลอมเหลวแล้วสามารถกลายร่างเป็นใครก็ได้หรือเป็นหุ่นยนต์ปกติในร่างเนื้อหนังมนุษย์จริงๆนี้ล่ะ. ..พวกดาราวูดๆอเมริกา ไปgitmo ตรึม.&ใส่กันยกคณะเลย สังเกตุสิ คนพวกนี้ไปไหนหมด มีหนัง&รับงานแสดงหลงเหลือกี่คน เพราะฝ่ายขาวเขาเก็บกวาดฆ่าสังหาร&ไล่ล่าเด็ดหัวจริงนั้นเอง แบบลับๆ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 184 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล
    ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ
    อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย

    นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก
    เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน
    คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
    ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ
    ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม
    ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท
    และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา

    SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก
    จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย
    ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก
    ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก
    ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน

    ปัจจัยภายในประเทศ :

    1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก :
    ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ
    ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป
    เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด
    ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต
    กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD)
    ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี
    เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD
    ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ
    และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์
    และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย
    จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า
    การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก
    ไทยทั้งหมดในปี 2566

    2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า :
    ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก
    ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า
    ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย
    ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ
    ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้
    อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก
    ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
    จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์
    สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก)

    ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก
    ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23%
    ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
    ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38%
    เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า
    ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง
    มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้
    ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง
    และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า
    แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น
    ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน

    3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง :
    การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ
    ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น
    ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน
    ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย
    สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง
    และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้

    จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก
    ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์
    สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง
    ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้?

    SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน
    จากต่างชาติที่ลดลง :

    1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ
    22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม
    เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ
    ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า
    และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

    ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ
    เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า
    เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

    2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง :
    FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย
    เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก
    รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
    การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง
    ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ
    อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3,
    และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank)

    สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก

    (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย
    ยังมีมากที่สุดในอาเซียน

    (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)
    กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง
    เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป
    และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น

    (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง

    (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง
    นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน
    วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง
    และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ

    (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน
    ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง
    และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า

    ปัจจัยภายนอก :

    การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ

    ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ
    ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา
    กับสินค้าจีน

    2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี
    สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม

    3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว
    ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ
    ต่อการค้าโลก

    4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง
    สำคัญทั่วโลก

    (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย
    และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์


    ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย
    อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน
    ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้
    ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ
    ที่เปราะบาง

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว
    หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน
    โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน
    ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น
    และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว
    เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ
    ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย
    แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย
    ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง
    การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ

    การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า
    ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์
    ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง
    แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า
    ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า
    ไปคันแล้วคันเล่า

    ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน ปัจจัยภายในประเทศ : 1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก : ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD) ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์ และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก ไทยทั้งหมดในปี 2566 2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า : ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้ อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์ สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก) ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23% ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38% เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้ ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน 3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง : การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้ จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์ สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้? SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน จากต่างชาติที่ลดลง : 1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ 22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง : FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3, และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank) สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย ยังมีมากที่สุดในอาเซียน (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า ปัจจัยภายนอก : การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา กับสินค้าจีน 2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม 3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ ต่อการค้าโลก 4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง สำคัญทั่วโลก (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์ ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้ ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ ที่เปราะบาง อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์ ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า ไปคันแล้วคันเล่า ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 922 มุมมอง 0 รีวิว