• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1035
    ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1035
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ(สัมมัตตะสิบ)​ ว่าเป็นผู้
    มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม
    อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้.
    สิบประการ นั้นเป็นอย่างไรเล่า?
    ที่บุคคลประกอบพร้อมแล้ว เราบัญญัติว่าเขาเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    http://etipitaka.com/read/pali/13/346/?keywords=อกุสลา+สีลา
    เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการ บรรลุอันอุดม อันใคร ๆ รบให้แพ้ไม่ได้ ?
    --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ :-
    ๑--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ
    ๒--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ
    ๓--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ
    ๔--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ
    ๕--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ
    ๖--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ
    ๗--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาสติ อันเป็นอเสขะ
    ๘--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ.
    ๙--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาญาณะ อันเป็นอเสขะ
    ๑๐--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาวิมุติ อันเป็นอเสขะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=สมฺมาวิมุตฺติยา
    --ถปติ ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ทสหิ+ธมฺเมหิ
    เราบัญญัติว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    #เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใคร ๆ รบให้แพ้ไม่ได้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/265, 269/361, 366.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/265/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๖, ๓๕๑/๓๖๑, ๓๖๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/346/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1035
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1035
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ สัทธรรมลำดับที่ : 1035 ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1035 เนื้อความทั้งหมด :- --ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ(สัมมัตตะสิบ)​ ว่าเป็นผู้ มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สิบประการ นั้นเป็นอย่างไรเล่า? ที่บุคคลประกอบพร้อมแล้ว เราบัญญัติว่าเขาเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง http://etipitaka.com/read/pali/13/346/?keywords=อกุสลา+สีลา เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการ บรรลุอันอุดม อันใคร ๆ รบให้แพ้ไม่ได้ ? --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ :- ๑--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ๒--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ๓--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ๔--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ๕--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ๖--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ๗--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ๘--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ. ๙--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาญาณะ อันเป็นอเสขะ ๑๐--เป็นผู้ประกอบด้วย สัมมาวิมุติ อันเป็นอเสขะ. http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=สมฺมาวิมุตฺติยา --ถปติ ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ทสหิ+ธมฺเมหิ เราบัญญัติว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง #เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใคร ๆ รบให้แพ้ไม่ได้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/265, 269/361, 366. http://etipitaka.com/read/thai/13/265/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๖, ๓๕๑/๓๖๑, ๓๖๖. http://etipitaka.com/read/pali/13/346/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1035 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1035 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ
    -(ผู้ศึกษาพึงคำนวณดูเองโดยปฏิปักขนัย ว่า จักต้องมีองค์แห่งมรรคที่เป็นอเสขะ ที่เป็นองค์มรรคของพระอรหันต์.) ประโยชน์อันสูงสุดของสัมมัตตะสิบ ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ ว่าเป็นผู้ มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สิบประการ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ที่บุคคลประกอบพร้อมแล้ว เราบัญญัติว่าเขาเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการ บรรลุอันอุดม อันใคร ๆ รบให้แพ้ไม่ได้ ? ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิอันเป็นอเสขะ เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะอันเป็นอเสขะ เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมาวาจาอันเป็นอเสขะ เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะอันเป็นอเสขะ เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะอันเป็นอเสขะ เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมาวายามะอันเป็นอเสขะ เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมาสติอันเป็นอเสขะ เป็นผู้ประกอบด้วยสัมมาสมาธิอันเป็นอเสขะ. ถปติ ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล เราบัญญัติว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใคร ๆ รบให้แพ้ไม่ได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การให้ผลของมิจฉัตตะและสัมมัตตะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1029
    ชื่อบทธรรม :- การให้ผลของมิจฉัตตะและสัมมัตตะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1029
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การให้ผลของ มิจฉัตตะ และ สัมมัตตะ
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลมี
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา
    .... ฯลฯ ....
    มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ เสียแล้ว,
    กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
    ที่เขากระทำเต็มที่ตาม
    ทิฏฐินั้น ใดๆ ก็ดี
    เจตนา ก็ดี
    ความปรารถนา ก็ดี
    ปณิธาน ก็ดี
    สังขาร (การปรุงแต่ง) ใดๆ ก็ดี
    ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดของบุคคลนั้น #ย่อมเป็นไปเพื่อความทุกข์
    อันไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ทิฏฐินั้นเป็นทิฏฐิชั่ว (ปาปิก).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/227/?keywords=ปาปิก

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน พรรณไม้สะเดา พรรณไม้ บวบขม พรรณไม้น้ำเต้าขม
    ที่เขาปลูกลงไปในดินเปียก;
    พืชนั้นเข้าไปจับเอา รสแห่งดินและรสแห่งน้ำใดๆ
    รสแห่งดินและรสแห่งน้ำทั้งหมดนั้น
    ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นของขม ของเผ็ดร้อน ของไม่อร่อย.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    ข้อนั้นเพราะเหตุว่าพืชนั้นเป็นพืชชั่ว, ฉันใดก็ฉันนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลมี
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา
    ….ฯลฯ....
    สัมมาญานะ สัมมาวิมุตติ แล้ว,
    กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่เขากระทำเต็มที่ตาม
    ทิฏฐินั้น ใดๆ ก็ดี
    เจตนา ก็ดี
    ความปรารถนา ก็ดี
    ปณิธาน ก็ดี
    สังขาร ใดๆ ก็ดี
    ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดของบุคคลนั้น #ย่อมเป็นไปเพื่อความสุข
    อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นประโยชน์เกื้อกูล.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ทิฏฐินั้นเป็นทิฏฐิดี (ภทฺทิก).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/228/?keywords=ภทฺทิก

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน พืชพรรณอ้อย พืชพรรณข้าวสาลี พืชพรรณองุ่น (มุทฺทิก)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/228/?keywords=มุทฺทิกพีชํ
    ที่เขาปลูกลงไปในดินเปียก;
    พืชนั้นเข้าไปจับเอารสแห่งดินและรสแห่งน้ำใดๆ รสแห่งดินและรสแห่งน้ำ ทั้งหมดนั้น
    ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นรสน่ายินดี รสหวาน รสชุ่มฉ่ำ.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    ข้อนั้นเพราะเหตุว่าพืชนั้นเป็นพืชดี ฉันใดก็ฉันนั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/182 - 184/104.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/182/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๒๖ - ๒๒๘/๑๐๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1029
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1029
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การให้ผลของมิจฉัตตะและสัมมัตตะ สัทธรรมลำดับที่ : 1029 ชื่อบทธรรม :- การให้ผลของมิจฉัตตะและสัมมัตตะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1029 เนื้อความทั้งหมด :- --การให้ผลของ มิจฉัตตะ และ สัมมัตตะ --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลมี มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา .... ฯลฯ .... มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ เสียแล้ว, กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่เขากระทำเต็มที่ตาม ทิฏฐินั้น ใดๆ ก็ดี เจตนา ก็ดี ความปรารถนา ก็ดี ปณิธาน ก็ดี สังขาร (การปรุงแต่ง) ใดๆ ก็ดี ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดของบุคคลนั้น #ย่อมเป็นไปเพื่อความทุกข์ อันไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ทิฏฐินั้นเป็นทิฏฐิชั่ว (ปาปิก). http://etipitaka.com/read/pali/24/227/?keywords=ปาปิก --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน พรรณไม้สะเดา พรรณไม้ บวบขม พรรณไม้น้ำเต้าขม ที่เขาปลูกลงไปในดินเปียก; พืชนั้นเข้าไปจับเอา รสแห่งดินและรสแห่งน้ำใดๆ รสแห่งดินและรสแห่งน้ำทั้งหมดนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นของขม ของเผ็ดร้อน ของไม่อร่อย. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่าพืชนั้นเป็นพืชชั่ว, ฉันใดก็ฉันนั้น. --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลมี สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา ….ฯลฯ.... สัมมาญานะ สัมมาวิมุตติ แล้ว, กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่เขากระทำเต็มที่ตาม ทิฏฐินั้น ใดๆ ก็ดี เจตนา ก็ดี ความปรารถนา ก็ดี ปณิธาน ก็ดี สังขาร ใดๆ ก็ดี ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดของบุคคลนั้น #ย่อมเป็นไปเพื่อความสุข อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นประโยชน์เกื้อกูล. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ทิฏฐินั้นเป็นทิฏฐิดี (ภทฺทิก). http://etipitaka.com/read/pali/24/228/?keywords=ภทฺทิก --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน พืชพรรณอ้อย พืชพรรณข้าวสาลี พืชพรรณองุ่น (มุทฺทิก) http://etipitaka.com/read/pali/24/228/?keywords=มุทฺทิกพีชํ ที่เขาปลูกลงไปในดินเปียก; พืชนั้นเข้าไปจับเอารสแห่งดินและรสแห่งน้ำใดๆ รสแห่งดินและรสแห่งน้ำ ทั้งหมดนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นรสน่ายินดี รสหวาน รสชุ่มฉ่ำ. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่าพืชนั้นเป็นพืชดี ฉันใดก็ฉันนั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/182 - 184/104. http://etipitaka.com/read/thai/24/182/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๒๖ - ๒๒๘/๑๐๔. http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1029 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1029 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การให้ผลของมิจฉัตตะและสัมมัตตะ
    -(ความไม่ประสงค์ (วิราธนา) มีได้เพราะอาศัยมิจฉัตตะ ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงได้เอง. คำขยายความที่กว้างขวางออกไป มีอยู่ในข้อความต่อไป จากข้อความตอนนี้). การให้ผลของมิจฉัตตะและสัมมัตตะ ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลมีมิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา .... ฯลฯ .... มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ เสียแล้ว, กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่เขากระทำเต็มที่ตามทิฏฐินั้น ใดๆ ก็ดี เจตนา ก็ดี ความปรารถนา ก็ดี ปณิธาน ก็ดี สังขาร (การปรุงแต่ง) ใดๆ ก็ดี ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดของบุคคลนั้น ย่อม เป็นไปเพื่อความทุกข์อันไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ ไม่เป็นประโยชน์ เกื้อกูล. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ทิฏฐินั้นเป็นทิฏฐิชั่ว (ปาปิก). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน พรรณไม้สะเดา พรรณไม้ บวบขม พรรณไม้น้ำเต้าขม ที่เขาปลูกลงไปในดินเปียก; พืชนั้นเข้าไปจับเอา รสแห่งดินและรสแห่งน้ำใดๆ รสแห่งดินและรสแห่งน้ำทั้งหมดนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นของขม ของเผ็ดร้อน ของไม่อร่อย. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่าพืชนั้นเป็นพืชชั่ว, ฉันใดก็ฉันนั้น. ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลมีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา ….ฯลฯ.... สัมมาญานะ สัมมาวิมุตติ แล้ว, กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่เขากระทำเต็มที่ตามทิฏฐินั้น ใดๆ ก็ดี เจตนา ก็ดี ความปรารถนา ก็ดี ปณิธาน ก็ดี สังขาร ใดๆ ก็ดี ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดของบุคคลนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อความสุขอันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นประโยชน์เกื้อกูล. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ทิฏฐินั้นเป็นทิฏฐิดี (ภทฺทิก). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน พืชพรรณอ้อย พืชพรรณข้าวสาลี พืชพรรณองุ่น (มุทฺทิก) ที่เขาปลูกลงไปในดินเปียก; พืชนั้นเข้าไปจับเอารสแห่งดินและรสแห่งน้ำใดๆ รสแห่ง ดินและรสแห่งน้ำทั้งหมดนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นรสน่ายินดี รสหวาน รสชุ่มฉ่ำ. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่าพืชนั้นเป็นพืชดี ฉันใดก็ฉันนั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความ​ประสงค์​สูง​สุด​ มีได้เพราะการปฏิบัติ​ที่ถูกทาง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1028
    ชื่อบทธรรม : -ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ(การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยสัมมัตตะ (การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=สมฺมตฺตะ
    อาราธนา (ความสำเร็จสูงสุดชนิดเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า) ย่อมมี
    มิใช่มีวิราธนา (ความไม่ประสพความสำเร็จฯ).
    ข้อนั้น เป็นอย่าไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    +--สำหรับผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาวายามะ สัมมาสติย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาสติ สัมมาสมาธิย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติย่อมมีเพียงพอ ;
    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล
    : เรียกว่า #เพราะอาศัยสัมมัตตะจึงมีอาราธนา(ความประสงค์)​ มิใช่ มีวิราธนา.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=อาราธนา

    (ความไม่ประสงค์ (วิราธนา) มีได้เพราะอาศัย มิจฉัตตะ
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=มิจฺฉตฺต
    ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงได้เอง.
    คำขยายความที่กว้างขวางออกไป
    มีอยู่ในสัทธรรมสูตรลำดับมลำดับถัดไป จากสัทธรรมบทนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/24/227/?keywords=สมฺมตฺตะ+มิจฺฉตฺต
    ).
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/226/104, 103.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/182/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/182/๑๐๔, ๑๐๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1028
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความ​ประสงค์​สูง​สุด​ มีได้เพราะการปฏิบัติ​ที่ถูกทาง สัทธรรมลำดับที่ : 1028 ชื่อบทธรรม : -ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ(การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028 เนื้อความทั้งหมด :- --ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยสัมมัตตะ (การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​ http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=สมฺมตฺตะ อาราธนา (ความสำเร็จสูงสุดชนิดเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า) ย่อมมี มิใช่มีวิราธนา (ความไม่ประสพความสำเร็จฯ). ข้อนั้น เป็นอย่าไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! +--สำหรับผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาวายามะ สัมมาสติย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาสติ สัมมาสมาธิย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติย่อมมีเพียงพอ ; --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล : เรียกว่า #เพราะอาศัยสัมมัตตะจึงมีอาราธนา(ความประสงค์)​ มิใช่ มีวิราธนา.- http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=อาราธนา (ความไม่ประสงค์ (วิราธนา) มีได้เพราะอาศัย มิจฉัตตะ http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=มิจฺฉตฺต ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงได้เอง. คำขยายความที่กว้างขวางออกไป มีอยู่ในสัทธรรมสูตรลำดับมลำดับถัดไป จากสัทธรรมบทนี้ http://etipitaka.com/read/pali/24/227/?keywords=สมฺมตฺตะ+มิจฺฉตฺต ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/226/104, 103. http://etipitaka.com/read/thai/24/182/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/182/๑๐๔, ๑๐๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1028 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ
    -ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยสัมมัตตะ อาราธนา (ความสำเร็จสูงสุดชนิดเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า) ย่อมมี มิใช่มีวิราธนา (ความไม่ประสพความสำเร็จฯ). ข้อนั้น เป็นอย่าไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สำหรับผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาวายามะ สัมมาสติย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาสติ สัมมาสมาธิย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติย่อมมีเพียงพอ ; ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า เพราะอาศัยสัมมัตตะ จึงมีอาราธนา มิใช่มีวิราธนา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 180 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 1019
    ชื่อบทธรรม : -พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พิธีปลงบาปด้วยลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ
    --พราหมณ์ ! อะไรกันหนอ ท่านจึงสระเกล้าในวัดอุโบสถ
    นุ่งห่ม ผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ กำหญ้ากุสะสด มายืนอยู่ ณ ที่นี้ ?
    วันนี้เป็นวันอะไรของพวกสกุลพราหมณ์ ?
    --“พระโคดมผู้เจริญ ! วันนี้เป็นวันปัจโจโรหณี (ปลงบาป) ของ พวกสกุลพราหมณ์”
    http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=ปจฺโจโรหณี
    --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างไรกันเล่า ?
    --“พระโคดมผู้เจริญ ! ในกรณีนี้ พราหมณ์ทั้งหลายสระเกล้าในวันอุโบสถ
    นุ่งห่มผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ ฉาบแผ่นดินด้วยโคมัยสด
    ปูลาดด้วยหญ้ากุสะสด แล้วสำเร็จการ นอนระหว่างกองกูณฑ์และเรือนไฟ
    ลุกขึ้นประคองอัญชลีต่อไฟนั้นสามครั้ง ในราตรีนั้น กล่าวอยู่ว่า
    “ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ, ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ”
    ดังนี้
    หล่อเลี้ยงไฟไว้ด้วยเนยใส น้ำมัน เนยข้น อันพอเพียง;
    ล่วงราตรีนั้นแล้ว เลี้ยงดูพราหมณ์ ทั้งหลายให้อิ่มหนำ ด้วยขาทนียโภชนียะอันประณีต.
    --พระโคดมผู้เจริญ ! พิธีปัจโจโรหณี ของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างนี้ แล”.
    --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างหนึ่ง.
    ส่วน พิธีปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น; กล่าวคือ
    --พราหมณ์! อริยสาวกในกรณีนี้ พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ว่า
    “วิบากแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ นี้แล เป็น ธรรมลามกทั้งในทิฏฐิธรรม (ขณะนี้)
    และอภิสัมปรายะ (ขณะอื่น)”.
    ครั้น พิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ก็ ละเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ปลงลงเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ.
    (ในกรณีแห่ง
    มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ
    ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ
    ).

    --พราหมณ์ ! #ปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างนี้ แล.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/252/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย
    --“พระโคดมผู้เจริญ ! ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์เป็นอย่างหนึ่ง
    ในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น.
    ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ มีค่าไม่เข้าถึงส่วนเสี้ยวที่สิบหกของ
    ปัจโจโรหณีในอริยวินัยนี้ ”.-

    [
    --ในสูตรนี้
    ตรัสเรียกพิธีกรรมนี้ว่า
    “ปัจโจโรหณีในอริยวินัย”;
    --ส่วนในสูตรอื่นๆ
    (ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๓,๒๖๙/๑๒๐ ,๑๕๗)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%90
    http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97
    ตรัสเรียกว่า “ปัจโจโรหณีอันเป็นอริยะ” ก็มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย
    http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย
    --ในสูตรอื่น
    ทรงยกเอากุศลกรรมบถสิบ มาเป็นธรรมเครื่องปลงบาปแทนสัมมัตตะสิบ ก็มี
    http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=ปจฺโจโรหณิยา+พฺราหฺมณานํ
    (ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๗ - ๒๖๙/๑๕๖)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/204 - 206/119.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/204/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๑ - ๒๕๓/๑๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1019
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88
    ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ) สัทธรรมลำดับที่ : 1019 ชื่อบทธรรม : -พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019 เนื้อความทั้งหมด :- --พิธีปลงบาปด้วยลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ --พราหมณ์ ! อะไรกันหนอ ท่านจึงสระเกล้าในวัดอุโบสถ นุ่งห่ม ผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ กำหญ้ากุสะสด มายืนอยู่ ณ ที่นี้ ? วันนี้เป็นวันอะไรของพวกสกุลพราหมณ์ ? --“พระโคดมผู้เจริญ ! วันนี้เป็นวันปัจโจโรหณี (ปลงบาป) ของ พวกสกุลพราหมณ์” http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=ปจฺโจโรหณี --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างไรกันเล่า ? --“พระโคดมผู้เจริญ ! ในกรณีนี้ พราหมณ์ทั้งหลายสระเกล้าในวันอุโบสถ นุ่งห่มผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ ฉาบแผ่นดินด้วยโคมัยสด ปูลาดด้วยหญ้ากุสะสด แล้วสำเร็จการ นอนระหว่างกองกูณฑ์และเรือนไฟ ลุกขึ้นประคองอัญชลีต่อไฟนั้นสามครั้ง ในราตรีนั้น กล่าวอยู่ว่า “ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ, ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ” ดังนี้ หล่อเลี้ยงไฟไว้ด้วยเนยใส น้ำมัน เนยข้น อันพอเพียง; ล่วงราตรีนั้นแล้ว เลี้ยงดูพราหมณ์ ทั้งหลายให้อิ่มหนำ ด้วยขาทนียโภชนียะอันประณีต. --พระโคดมผู้เจริญ ! พิธีปัจโจโรหณี ของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างนี้ แล”. --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างหนึ่ง. ส่วน พิธีปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น; กล่าวคือ --พราหมณ์! อริยสาวกในกรณีนี้ พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ว่า “วิบากแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ นี้แล เป็น ธรรมลามกทั้งในทิฏฐิธรรม (ขณะนี้) และอภิสัมปรายะ (ขณะอื่น)”. ครั้น พิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ก็ ละเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ปลงลงเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ. (ในกรณีแห่ง มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ ). --พราหมณ์ ! #ปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างนี้ แล. http://etipitaka.com/read/pali/24/252/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย --“พระโคดมผู้เจริญ ! ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์เป็นอย่างหนึ่ง ในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น. ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ มีค่าไม่เข้าถึงส่วนเสี้ยวที่สิบหกของ ปัจโจโรหณีในอริยวินัยนี้ ”.- [ --ในสูตรนี้ ตรัสเรียกพิธีกรรมนี้ว่า “ปัจโจโรหณีในอริยวินัย”; --ส่วนในสูตรอื่นๆ (ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๓,๒๖๙/๑๒๐ ,๑๕๗) http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%90 http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 ตรัสเรียกว่า “ปัจโจโรหณีอันเป็นอริยะ” ก็มี. http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย --ในสูตรอื่น ทรงยกเอากุศลกรรมบถสิบ มาเป็นธรรมเครื่องปลงบาปแทนสัมมัตตะสิบ ก็มี http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=ปจฺโจโรหณิยา+พฺราหฺมณานํ (ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๗ - ๒๖๙/๑๕๖) http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/204 - 206/119. http://etipitaka.com/read/thai/24/204/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๑ - ๒๕๓/๑๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1019 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88 ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ)
    -พิธีปลงบาปด้วยลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ พราหมณ์ ! อะไรกันหนอ ท่านจึงสระเกล้าในวัดอุโบสถ นุ่งห่ม ผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ กำหญ้ากุสะสด มายืนอยู่ ณ ที่นี้ ? วันนี้เป็นวันอะไรของพวกสกุลพราหมณ์ ? “พระโคดมผู้เจริญ ! วันนี้เป็นวันปัจโจโรหณี (ปลงบาป) ของ พวกสกุลพราหมณ์” พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างไรกันเล่า ? “พระโคดมผู้เจริญ ! ในกรณีนี้ พราหมณ์ทั้งหลายสระเกล้าในวันอุโบสถ นุ่งห่มผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ ฉาบแผ่นดินด้วยโคมัยสด ปูลาดด้วยหญ้ากุสะสด แล้วสำเร็จการ นอนระหว่างกองกูณฑ์และเรือนไฟ ลุกขึ้นประคองอัญชลีต่อไฟนั้นสามครั้ง ในราตรีนั้น กล่าวอยู่ว่า “ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ, ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ” ดังนี้ หล่อเลี้ยงไฟไว้ด้วยเนยใส น้ำมัน เนยข้น อันพอเพียง; ล่วงราตรีนั้นแล้ว เลี้ยงดูพราหมณ์ ทั้งหลายให้อิ่มหนำ ด้วยขาทนียโภชนียะอันประณีต. พระโคดมผู้เจริญ ! พิธีปัจโจโรหณี ของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างนี้ แล”. พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างหนึ่ง. ส่วน พิธีปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น; กล่าวคือ พราหมณ์! อริยสาวกในกรณีนี้ พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ว่า “วิบากแห่งมิจฉาทิฏฐินี้แล เป็น ธรรมลามกทั้งในทิฏฐิธรรม (ขณะนี้) และอภิสัมปรายะ (ขณะอื่น)”. ครั้น พิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ก็ ละเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ปลงลงเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ. (ในกรณีแห่งมิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง มิจฉาทิฏฐิ). พราหมณ์ ! ปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างนี้ แล. “พระโคดมผู้เจริญ ! ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์เป็นอย่างหนึ่ง ในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น. ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ มีค่าไม่เข้าถึงส่วนเสี้ยวที่สิบหกของ ปัจโจโรหณีในอริยวินัยนี้ ”.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 159 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ภาวะแห่งความเป็น ผิด(มิจฉัตตะสิบ)​-ถูก(สัมมัตตะสิบ)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 1014
    ชื่อบทธรรม :- ภาวะแห่งความเป็นผิด - ถูก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1014
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภาวะแห่งความเป็นผิด - ถูก
    --ภิกษุ ท. ! มิจฉัตตะ (ภาวะแห่งความเป็นผิด) ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่.
    สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #มิจฉัตตะสิบ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=มิจฺฉตฺต

    --ภิกษุ ท. ! สัมมัตตะ (ภาวะแห่งความเป็นถูก) ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่.
    สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สัมมัตตะสิบ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=สมฺมตฺต

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/211/132 – 133.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/211/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๗/๑๓๒ – ๑๓๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1014
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87&id=1014
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87
    ลำดับสาธยายธรรม : 87 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_87.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ภาวะแห่งความเป็น ผิด(มิจฉัตตะสิบ)​-ถูก(สัมมัตตะสิบ)​ สัทธรรมลำดับที่ : 1014 ชื่อบทธรรม :- ภาวะแห่งความเป็นผิด - ถูก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1014 เนื้อความทั้งหมด :- --ภาวะแห่งความเป็นผิด - ถูก --ภิกษุ ท. ! มิจฉัตตะ (ภาวะแห่งความเป็นผิด) ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #มิจฉัตตะสิบ. http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=มิจฺฉตฺต --ภิกษุ ท. ! สัมมัตตะ (ภาวะแห่งความเป็นถูก) ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สัมมัตตะสิบ.- http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=สมฺมตฺต #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/211/132 – 133. http://etipitaka.com/read/thai/24/211/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๗/๑๓๒ – ๑๓๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1014 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87&id=1014 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87 ลำดับสาธยายธรรม : 87 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_87.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภาวะแห่งความเป็นผิด - ถูก
    -[ภาวะแห่งความผิดและภาวะแห่งความถูก ฝ่ายละแปดประการนี้ ในที่อื่นเรียกว่า อกุศลธรรมและกุศลธรรม ก็มี ( ๑๙/๒๒/๖๒ – ๖๔) ; ในที่อื่นเรียกว่า มิจฉาปฏิปทาและสัมมาปฏิปทา ก็มี (๑๙/๒๒-๒๓/๖๕-๖๗) ; และในที่อื่นอีกเรียกว่า มิจฉาปฏิปัตติและสัมมาปฏิปัตติ ก็มี (๑๙/๒๘/๘๙-๙๑). สำหรับสิ่งที่เรียกว่า มิจฉัตตะและสัมมัตตะ ในที่นี้นั้น แสดงไว้ด้วยองค์แปด; ในที่อื่นแสดงไว้ด้วยองค์สิบ ก็มี คือเพิ่ม มิจฉาญาณะ – รู้ผิด มิจฉาวิมุตติ – หลุดพ้นผิด เข้ากับมิจฉัตตะแปด เป็นมิจฉัตตะสิบ ก็มี (ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๗/๑๓๒), และเพิ่มสัมมาญาณะ รู้ถูก สัมมาวิมุตติ – หลุดพ้นถูก เข้ากับสัมมัตตะแปด เป็นสัมมัตตะสิบ ก็มี (ทสก. อํ. ๒๔/ ๒๕๗/๑๓๓), ดังมีข้อความตรัสไว้ดังหัวข้อข้างล่างนี้ :-]. ภาวะแห่งความเป็นผิด - ถูก ภิกษุ ท. ! มิจฉัตตะ (ภาวะแห่งความเป็นผิด) ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล มิจฉัตตะสิบ. ภิกษุ ท. ! สัมมัตตะ (ภาวะแห่งความเป็นถูก) ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัมมัตตะสิบ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 204 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ภาวะแห่งความผิด และ ภาวะแห่งความถูก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1013
    ชื่อบทธรรม :- ภาวะแห่งความถูก – ผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1013
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภาวะแห่งความถูก – ผิด
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ภาวะแห่งความไม่ถูกต้อง(ผิด-มิจฺฉตฺต) และ
    ภาวะแห่งความถูกต้อง (สมฺมตฺต). พวกเธอจงฟัง.
    --ภิกษุ ท. ! ภาวะแห่งความผิด เป็นอย่างไรเล่า ? ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #ภาวะแห่งความไม่ถูกต้อง(​ผิด)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=มิจฺฉตฺ

    --ภิกษุ ท. ! ภาวะแห่งความถูก เป็นอย่างไรเล่า ? ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #ภาวะแห่งความถูกต้อง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=สมฺมตฺต

    [ภาวะแห่งความไม่ถูกต้อง(​ผิด)และภาวะแห่งความถูก ฝ่ายละแปดประการนี้
    ในที่อื่นเรียกว่า อกุศลธรรมและกุศลธรรม ก็มี
    (มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๒ – ๖๔) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92
    ในที่อื่นเรียกว่า มิจฉาปฏิปทาและสัมมาปฏิปทา ก็มี
    (มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒-๒๓/๖๕-๖๗) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    และในที่อื่นอีกเรียกว่า มิจฉาปฏิปัตติและสัมมาปฏิปัตติ ก็มี
    (มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๘/๘๙-๙๑).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    สำหรับสิ่งที่เรียกว่า มิจฉัตตะและสัมมัตตะ ในที่นี้นั้น แสดงไว้ด้วยองค์แปด;
    ในที่อื่นแสดงไว้ด้วยองค์สิบ ก็มี
    คือเพิ่ม มิจฉาญาณะ(รู้ผิด)​ มิจฉาวิมุตติ(หลุดพ้นผิด)​
    เข้ากับมิจฉัตตะแปด เป็นมิจฉัตตะสิบ ก็มี
    (ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๗/๑๓๒),
    http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%92
    และเพิ่มสัมมาญาณะ(รู้ถูก)​ สัมมาวิมุตติ(หลุดพ้นถูก)​
    เข้ากับสัมมัตตะแปด เป็นสัมมัตตะสิบ ก็มี
    (ทสก. อํ. ๒๔/ ๒๕๗/๑๓๓),
    http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%93

    ดังมีข้อความตรัสไว้ดังหัวข้อสัทธรรมที่​ 1014 ต่อไป :-
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1014
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/59 - 61.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๕๙ - ๖๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1013
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87&id=1013
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87
    ลำดับสาธยายธรรม : 87 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_87.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ภาวะแห่งความผิด และ ภาวะแห่งความถูก สัทธรรมลำดับที่ : 1013 ชื่อบทธรรม :- ภาวะแห่งความถูก – ผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1013 เนื้อความทั้งหมด :- --ภาวะแห่งความถูก – ผิด --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ภาวะแห่งความไม่ถูกต้อง(ผิด-มิจฺฉตฺต) และ ภาวะแห่งความถูกต้อง (สมฺมตฺต). พวกเธอจงฟัง. --ภิกษุ ท. ! ภาวะแห่งความผิด เป็นอย่างไรเล่า ? ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #ภาวะแห่งความไม่ถูกต้อง(​ผิด)​. http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=มิจฺฉตฺ --ภิกษุ ท. ! ภาวะแห่งความถูก เป็นอย่างไรเล่า ? ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #ภาวะแห่งความถูกต้อง.- http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=สมฺมตฺต [ภาวะแห่งความไม่ถูกต้อง(​ผิด)และภาวะแห่งความถูก ฝ่ายละแปดประการนี้ ในที่อื่นเรียกว่า อกุศลธรรมและกุศลธรรม ก็มี (มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๒ – ๖๔) ; http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92 ในที่อื่นเรียกว่า มิจฉาปฏิปทาและสัมมาปฏิปทา ก็มี (มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒-๒๓/๖๕-๖๗) ; http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 และในที่อื่นอีกเรียกว่า มิจฉาปฏิปัตติและสัมมาปฏิปัตติ ก็มี (มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๘/๘๙-๙๑). http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 สำหรับสิ่งที่เรียกว่า มิจฉัตตะและสัมมัตตะ ในที่นี้นั้น แสดงไว้ด้วยองค์แปด; ในที่อื่นแสดงไว้ด้วยองค์สิบ ก็มี คือเพิ่ม มิจฉาญาณะ(รู้ผิด)​ มิจฉาวิมุตติ(หลุดพ้นผิด)​ เข้ากับมิจฉัตตะแปด เป็นมิจฉัตตะสิบ ก็มี (ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๗/๑๓๒), http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%92 และเพิ่มสัมมาญาณะ(รู้ถูก)​ สัมมาวิมุตติ(หลุดพ้นถูก)​ เข้ากับสัมมัตตะแปด เป็นสัมมัตตะสิบ ก็มี (ทสก. อํ. ๒๔/ ๒๕๗/๑๓๓), http://etipitaka.com/read/pali/24/257/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%93 ดังมีข้อความตรัสไว้ดังหัวข้อสัทธรรมที่​ 1014 ต่อไป :- https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1014 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/59 - 61. http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๕๙ - ๖๑. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1013 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87&id=1013 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87 ลำดับสาธยายธรรม : 87 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_87.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภาวะแห่งความถูก – ผิด
    -ภาวะแห่งความถูก – ผิด ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ภาวะแห่งความผิด (มิจฺฉตฺต) และ ภาวะแห่งความถูก (สมฺมตฺต). พวกเธอจงฟัง. ภิกษุ ท. ! ภาวะแห่งความผิด เป็นอย่างไรเล่า ? ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า ภาวะแห่งความผิด. ภิกษุ ท. ! ภาวะแห่งความถูก เป็นอย่างไรเล่า ? ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า ภาวะแห่งความถูก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 209 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    สัทธรรมลำดับที่ : 999
    ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    ...
    ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
    --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
    มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
    เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
    เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
    เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
    เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
    +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
    จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
    +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
    “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
    ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
    ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
    ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
    : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
    กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
    สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
    +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
    ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
    เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
    “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
    ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
    และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
    ดังนี้.
    --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
    ของเธอนั้น,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
    ดังนี้แล.
    --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97

    (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
    เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
    ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
    จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
    สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
    ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
    ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
    คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
    )

    --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
    +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
    เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม สัทธรรมลำดับที่ : 999 ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 เนื้อความทั้งหมด :- --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ... ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่ สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ ดังนี้แล. --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97 (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว ) --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122. http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    -(ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) ; อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙) ; นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๖๙/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี). การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ถูกแล้ว ถูกแล้ว สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลในตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สตินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่ง โวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, ดังนี้แล. มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙ – ๓๐๐/๑๐๑๗ – ๑๐๒๒. (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว). สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 481 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ
    สัทธรรมลำดับที่ : 991
    ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ;
    จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.
    ....
    --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ.
    --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย
    .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ....
    ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน

    --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ.
    --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย
    .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ...
    ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน

    (ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น
    สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป
    จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค
    ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ
    โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี.
    ---๒๑/๓๐๓/๒๐๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96
    ในสูตรอื่น
    แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ
    แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี
    ---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘,
    http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
    และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี
    -​-- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99
    ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก
    อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก.
    ในสูตรอื่น
    แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ
    เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้
    แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น
    เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี
    -​-๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    )

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ สัทธรรมลำดับที่ : 991 ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991 เนื้อความทั้งหมด :- --องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ; จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ. .... --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ. --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) .... ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ. http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ. --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ... ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.- http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน (ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. ---๒๑/๓๐๓/๒๐๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96 ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี ---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97 และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี -​-- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99 ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -​-๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔. http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205. http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ; จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ. .... ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อสัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) .... ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่า อสัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีสัมมาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ... ตนเองเป็นผู้มีสัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีสัมมาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัตบุรุษที่ยิ่งกว่า สัตบุรุษ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 264 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 979
    ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​
    --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ
    --ภิกษุ ท. !
    อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ?
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ?
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า
    “ภิกษุ ท. !
    อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ”
    ดังนี้.-

    (--
    ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ,
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ;
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย.

    --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ
    ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ.

    --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92
    ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ
    แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ
    แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ
    และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ
    --).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ สัทธรรมลำดับที่ : 979 ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​ --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ --ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ. --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.- (-- ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔). http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ, ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ; ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย. --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ. --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒) http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92 ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ --). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113. http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    -ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 235 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 970
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย.
    เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ?
    (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป
    http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ
    ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-​ )
    --กายคตาสติ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สมถะและวิปัสสนา
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สติปัฏฐานสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สัมมัปปธานสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อิทธิบาทสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อินทรีย์ห้า
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --พละห้า
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --โพชฌงค์เจ็ด
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อริยอัฏฐังคิกมรรค
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว.
    --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว
    จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท.
    พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย.
    นี้แล #เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ
    --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94
    --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90

    --ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ
    แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน)
    อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑
    หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : -
    ๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ;
    ๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น);
    ๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น);
    ๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ;
    ๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ
    ๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ

    *--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้.

    กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
    แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ
    ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :-
    ๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ;
    ๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ;
    ๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ;
    ๔--ประกอบด้วยศรัทธา;
    ๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ
    ๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.-

    (กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้,
    กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต,
    วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม สัทธรรมลำดับที่ : 970 ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-​ ) --กายคตาสติ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สมถะและวิปัสสนา : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สติปัฏฐานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สัมมัปปธานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อิทธิบาทสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อินทรีย์ห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --พละห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --โพชฌงค์เจ็ด : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อริยอัฏฐังคิกมรรค : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว. --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. นี้แล #เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา. http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94 --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90 --ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน) อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑ หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : - ๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ; ๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น); ๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น); ๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ; ๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ ๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ)​. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ *--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้. กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค. --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :- ๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ; ๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ; ๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ; ๔--ประกอบด้วยศรัทธา; ๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ ๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.- (กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้, กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต, วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357. http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    -(ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค. ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี, เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม, อริยมรรค - อนริยมรรค, กุศลธรรม - อกุศลธรรม, ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์, เป็นธรรม - เป็นอธรรม, ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ, เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ, เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา, ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส, มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร, มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน, เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ, เป็นธรรมของสัตบุรุษ ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น, ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ, ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ, ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก, ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง, ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี. - ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔). ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-) กายคตาสติ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สมถะและวิปัสสนา : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สติปัฏฐานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สัมมัปปธานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อิทธิบาทสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อินทรีย์ห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. พละห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. โพชฌงค์เจ็ด : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว. ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. นี้แล เป็นวจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา. สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒, ๔๕๐ - ๔๕๓/๖๗๔ - ๖๘๔, ๗๒๐ – ๗๕๑. ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน) อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.๑ หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ; ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น); ๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้. กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค. ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น); ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ; ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ เป็นผู้มีปัญญาทราม. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ : ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ; ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ; ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ; ประกอบด้วยศรัทธา; ประกอบด้วยฉันทะ; และ เป็นผู้ที่มีปัญญา. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 312 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 969
    ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ
    ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย
    --ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    (มิจฉาปัญญา)​มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    (มิจฉาสีลา)​มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    (มิจฉาสมาธิ)​มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ
    มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    (สัมมาปัญญา)​สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    (สัมมาสีลา)​สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    (สัมมาสมาธิ)​สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ
    สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.-

    (ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง
    สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค.
    ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก
    คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า
    สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี,
    เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม,
    อริยมรรค - อนริยมรรค,
    กุศลธรรม - อกุศลธรรม,
    ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์,
    เป็นธรรม - เป็นอธรรม,
    ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ,
    เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ,
    เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา,
    ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส,
    มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร,
    มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน,
    เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ,
    เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ,
    ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น,
    ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ,
    ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ,
    ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก,
    ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง,
    ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง,
    ดังนี้ก็มี.
    --- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔
    http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 -​ http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 969 ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 เนื้อความทั้งหมด :- --สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย --ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (มิจฉาปัญญา)​มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ (มิจฉาสีลา)​มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ (มิจฉาสมาธิ)​มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (สัมมาปัญญา)​สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ (สัมมาสีลา)​สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ (สัมมาสมาธิ)​สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.- (ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค. ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี, เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม, อริยมรรค - อนริยมรรค, กุศลธรรม - อกุศลธรรม, ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์, เป็นธรรม - เป็นอธรรม, ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ, เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ, เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา, ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส, มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร, มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน, เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ, เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น, ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ, ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ, ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก, ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง, ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี. --- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔ http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 -​ http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146. http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    -[สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่าสัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑) ตรัสเรียกว่า สัมมาปฏิบัติ ก็มี. อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑) ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียกปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑).เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง]. สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อนริยมรรค. ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อริยมรรค.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 344 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 966
    ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง)
    --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ
    --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.-

    [
    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 966 ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 เนื้อความทั้งหมด :- --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง) --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.- [ --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป). http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100. http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒๑
    -นิทเทศ ๒๑ ว่าด้วย สัมมาสมาธิ จบ นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค (มี ๗๕ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์ อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ (ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ .... ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 358 มุมมอง 0 รีวิว