อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
สัทธรรมลำดับที่ : 999
ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
เนื้อความทั้งหมด :-
--การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
...
---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
--สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
+--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
+--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
+--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
“สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
: นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
+--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
--สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
“ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
ดังนี้.
--สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
ของเธอนั้น,
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
ดังนี้แล.
--- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97
(ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
)
--สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
+--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 999
ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
เนื้อความทั้งหมด :-
--การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
...
---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
--สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
+--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
+--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
+--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
“สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
: นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
+--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
--สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
“ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
ดังนี้.
--สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
ของเธอนั้น,
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
ดังนี้แล.
--- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97
(ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
)
--สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
+--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
สัทธรรมลำดับที่ : 999
ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
เนื้อความทั้งหมด :-
--การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
...
---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
--สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
+--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
+--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
+--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
“สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
: นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
+--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
--สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
“ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
ดังนี้.
--สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
ของเธอนั้น,
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
ดังนี้แล.
--- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97
(ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
)
--สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
+--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
55 มุมมอง
0 รีวิว