อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าองค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ
สัทธรรมลำดับที่ : 991
ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991
เนื้อความทั้งหมด :-
--องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ;
จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.
....
--ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ.
--ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย
.... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ....
ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ.
http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน
--ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ.
--ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย
.... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ...
ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.-
http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน
(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น
สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป
จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค
ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ
โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี.
---๒๑/๓๐๓/๒๐๖.
http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96
ในสูตรอื่น
แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ
แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี
---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘,
http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี
--- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ;
http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99
ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก
อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก.
ในสูตรอื่น
แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ
เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้
แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น
เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี
--๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.
http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
)
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205.
http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕.
http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 991
ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991
เนื้อความทั้งหมด :-
--องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ;
จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.
....
--ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ.
--ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย
.... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ....
ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ.
http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน
--ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ.
--ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย
.... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ...
ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.-
http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน
(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น
สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป
จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค
ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ
โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี.
---๒๑/๓๐๓/๒๐๖.
http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96
ในสูตรอื่น
แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ
แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี
---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘,
http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี
--- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ;
http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99
ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก
อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก.
ในสูตรอื่น
แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ
เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้
แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น
เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี
--๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.
http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
)
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205.
http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕.
http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าองค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ
สัทธรรมลำดับที่ : 991
ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991
เนื้อความทั้งหมด :-
--องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ;
จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.
....
--ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ.
--ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย
.... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ....
ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ.
http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน
--ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ.
--ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย
.... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ...
ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.-
http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน
(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น
สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป
จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค
ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ
โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี.
---๒๑/๓๐๓/๒๐๖.
http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96
ในสูตรอื่น
แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ
แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี
---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘,
http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี
--- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ;
http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99
ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก
อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก.
ในสูตรอื่น
แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ
เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้
แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น
เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี
--๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.
http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
)
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205.
http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕.
http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
0 Comments
0 Shares
19 Views
0 Reviews