• อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 676
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง
    ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ
    ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค
    อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ
    ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค

    #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    สองอย่างนี้แล.

    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง
    ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ
    สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง),
    สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง)
    สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง),
    สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง)
    สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 676 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง), สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง), สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    -หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และการประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง) สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง) สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง). ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร-
    0 Comments 0 Shares 45 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 78 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 305
    ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    เนื้อความทั้งหมด : -
    --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้
    เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู
    และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น)
    ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู
    แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ;
    --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด
    มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย,
    มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย,
    คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้
    เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น
    ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก
    ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน,
    มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ;
    ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง.
    --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า
    คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน

    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก
    เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง
    เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​
    เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้
    เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว
    เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่
    : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส,
    และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ,
    +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ
    และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก.
    ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว
    ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก,
    ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล
    ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย.
    กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว,
    เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม,
    เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ.
    เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น,
    +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ

    ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่,
    ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส
    และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453
    http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 305 ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 เนื้อความทั้งหมด : - --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย, คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา. http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453 http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓ http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์)
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์) อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึงน้ำนมของมารดา. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ๑ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และเป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ๑. โมกขจิกะ เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้. ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้นเป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 109 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 662
    ชื่อบทธรรม :- การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น

    --ก. สุขที่ควรกลัว

    --อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ๑. รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ;
    ๒. เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู...ฯลฯ.;
    ๓. กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก...ฯลฯ.;
    ๔. รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น...ฯลฯ.;
    ๕. โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย
    อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
    --อุทายิ ! เหล่านี้แล $กามคุณห้าอย่าง.
    --อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น
    นี้เรากล่าวว่า #กามสุข มิฬ๎หสุข ปุถุชนสุข อนริยสุข,
    เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว.

    --ข. สุขที่ไม่ควรกลัว

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    +--สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ;
    +--เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง
    +--เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ;
    +--เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง $จตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    นี้เรากล่าวว่า #เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข.
    เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว.

    --ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม
    (สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น.)​เข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ?
    วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่.
    วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ปฐมฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ?
    ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่,
    ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ทุติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ?
    อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่,
    อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน $ตติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน
    เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่.
    --อุทายิ !
    เรากล่าว &จตุตถฌาน นี้แลว่า #ไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.

    --ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ !
    เรากล่าว &ปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย
    เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ปฐมฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ปฐมฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ทุติยฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ทุติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง ตติยฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน
    เข้าถึง &จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์
    เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &ตติยฌานนั้น.
    --อุทายิ !
    เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย
    เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง $อากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากาสานัญจายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง
    เป็นผู้เข้าถึง $วิญญาณัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากาสานัญจายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง วิญญาณัญจายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง $อากิญจัญญายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากิญจัญญายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากิญจัญญายตนะ
    โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากิญจัญญายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เป็นผู้เข้าถึง #สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล
    เรากล่าวการละแม้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
    --อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ?
    “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/189-192/182-185.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๘๙-๑๙๒/๑๘๒-๑๘๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=662
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46
    ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น สัทธรรมลำดับที่ : 662 ชื่อบทธรรม :- การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662 เนื้อความทั้งหมด :- --การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น --ก. สุขที่ควรกลัว --อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ ๑. รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ; ๒. เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู...ฯลฯ.; ๓. กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก...ฯลฯ.; ๔. รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น...ฯลฯ.; ๕. โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด. --อุทายิ ! เหล่านี้แล $กามคุณห้าอย่าง. --อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น นี้เรากล่าวว่า #กามสุข มิฬ๎หสุข ปุถุชนสุข อนริยสุข, เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว. --ข. สุขที่ไม่ควรกลัว --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ +--สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; +--เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง +--เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; +--เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง $จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้เรากล่าวว่า #เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข. เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว. --ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม (สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น.)​เข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ? วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่. วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ปฐมฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ? ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ทุติยฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ? อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน $ตติยฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าว &จตุตถฌาน นี้แลว่า #ไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. --ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าว &ปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ปฐมฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ปฐมฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ทุติยฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ทุติยฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง ตติยฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &ตติยฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง $อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากาสานัญจายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง $วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากาสานัญจายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง วิญญาณัญจายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง $อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากิญจัญญายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากิญจัญญายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง #สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น. --อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล เรากล่าวการละแม้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ. --อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ? “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/189-192/182-185. http://etipitaka.com/read/thai/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๘๙-๑๙๒/๑๘๒-๑๘๕. http://etipitaka.com/read/pali/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=662 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46 ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (นี้แสดงว่า การอาศัยทางอย่างหนึ่งละทางอย่างหนึ่งเสียนั้น เป็นนิโรธอย่างหนึ่ง ๆ ซึ่งควรจะมองให้เห็นว่าเป็นนิโรธ ๗ ขั้นตอน ดังนี้คือ :
    -(นี้แสดงว่า การอาศัยทางอย่างหนึ่งละทางอย่างหนึ่งเสียนั้น เป็นนิโรธอย่างหนึ่ง ๆ ซึ่งควรจะมองให้เห็นว่าเป็นนิโรธ ๗ ขั้นตอน ดังนี้คือ : อาศัย เนกขัมมสิตโสมนัส ละเคหสิตโสมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตโสมนัส ละเนกขัมมสิตโทมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตโทมนัส ละเคหสิตโทมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตอุเบกขา ละเคหสิตอุเบกขา คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตอุเบกขา ละเนกขัมมสิตโสมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เอกัตตอุเบกขา ละนานัตตอุเบกขา คู่หนึ่ง ; อาศัย อตัมมยตา ละเอกัตตอุเบกขา (คู่หนึ่ง). การละความผูกพันในความสุขทุกชั้น ก. สุขที่ควรกลัว อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ; เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู....; กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก....; รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น....; โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด. อุทายิ ! เหล่านี้แล กามคุณห้าอย่าง. อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น นี้เรากล่าวว่า กามสุข มิฬ๎หสุข๑ ปุถุชนสุข อนริยสุข, เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว. ข. สุขที่ไม่ควรกลัว อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้เรากล่าวว่า เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข. เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว. ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ๑. สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น. เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ? วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่. วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ? ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในทุติยฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ? อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละ เป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวจตุตถฌานนี้แล ว่าไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งปฐมฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. นี้แหละ เป็นการก้าวล่วงซึ่งปฐมฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งทุติยฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่งทุติยฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่งตติยฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งตติยฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่งจตุตถฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่งจตุตถฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งอากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งอากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น. อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล เรากล่าวการละแม้ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ. อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ? “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”-
    0 Comments 0 Shares 170 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความ​ประสงค์​สูง​สุด​ มีได้เพราะการปฏิบัติ​ที่ถูกทาง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1028
    ชื่อบทธรรม : -ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ(การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยสัมมัตตะ (การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=สมฺมตฺตะ
    อาราธนา (ความสำเร็จสูงสุดชนิดเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า) ย่อมมี
    มิใช่มีวิราธนา (ความไม่ประสพความสำเร็จฯ).
    ข้อนั้น เป็นอย่าไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    +--สำหรับผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาวายามะ สัมมาสติย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาสติ สัมมาสมาธิย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะย่อมมีเพียงพอ ;
    +--สำหรับผู้มีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติย่อมมีเพียงพอ ;
    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล
    : เรียกว่า #เพราะอาศัยสัมมัตตะจึงมีอาราธนา(ความประสงค์)​ มิใช่ มีวิราธนา.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=อาราธนา

    (ความไม่ประสงค์ (วิราธนา) มีได้เพราะอาศัย มิจฉัตตะ
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=มิจฺฉตฺต
    ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงได้เอง.
    คำขยายความที่กว้างขวางออกไป
    มีอยู่ในสัทธรรมสูตรลำดับมลำดับถัดไป จากสัทธรรมบทนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/24/227/?keywords=สมฺมตฺตะ+มิจฺฉตฺต
    ).
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/226/104, 103.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/182/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/182/๑๐๔, ๑๐๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1028
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความ​ประสงค์​สูง​สุด​ มีได้เพราะการปฏิบัติ​ที่ถูกทาง สัทธรรมลำดับที่ : 1028 ชื่อบทธรรม : -ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ(การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028 เนื้อความทั้งหมด :- --ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยสัมมัตตะ (การปฏิบัติ​ที่ถูกทาง)​ http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=สมฺมตฺตะ อาราธนา (ความสำเร็จสูงสุดชนิดเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า) ย่อมมี มิใช่มีวิราธนา (ความไม่ประสพความสำเร็จฯ). ข้อนั้น เป็นอย่าไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! +--สำหรับผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาวายามะ สัมมาสติย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาสติ สัมมาสมาธิย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะย่อมมีเพียงพอ ; +--สำหรับผู้มีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติย่อมมีเพียงพอ ; --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล : เรียกว่า #เพราะอาศัยสัมมัตตะจึงมีอาราธนา(ความประสงค์)​ มิใช่ มีวิราธนา.- http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=อาราธนา (ความไม่ประสงค์ (วิราธนา) มีได้เพราะอาศัย มิจฉัตตะ http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=มิจฺฉตฺต ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงได้เอง. คำขยายความที่กว้างขวางออกไป มีอยู่ในสัทธรรมสูตรลำดับมลำดับถัดไป จากสัทธรรมบทนี้ http://etipitaka.com/read/pali/24/227/?keywords=สมฺมตฺตะ+มิจฺฉตฺต ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/226/104, 103. http://etipitaka.com/read/thai/24/182/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/182/๑๐๔, ๑๐๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/226/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1028 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1028 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ
    -ความประสงค์สูงสุด มีได้เพราะสัมมัตตะ ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยสัมมัตตะ อาราธนา (ความสำเร็จสูงสุดชนิดเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า) ย่อมมี มิใช่มีวิราธนา (ความไม่ประสพความสำเร็จฯ). ข้อนั้น เป็นอย่าไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สำหรับผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาวายามะ สัมมาสติย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาสติ สัมมาสมาธิย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะย่อมมีเพียงพอ ; สำหรับผู้มีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติย่อมมีเพียงพอ ; ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า เพราะอาศัยสัมมัตตะ จึงมีอาราธนา มิใช่มีวิราธนา.
    0 Comments 0 Shares 150 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 654
    ชื่อบทธรรม :- ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    --ภิกษุ ท. !
    +--ปีติ ที่ประกอบด้วยอามิส (สามิส) ก็มี
    ปีติที่ไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิส) ก็มี
    ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิสตร) ก็มี.
    +--ความสุข ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    ความสุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิสก็มี
    ความสุขไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี.
    +--อุเบกขา ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี.
    +--วิโมกข์ ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี.

    +--ภิกษุ ท. ! ปีติที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า?
    +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่, ห้าอย่างคือ
    รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ....
    เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ ....
    กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ....
    รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ....
    โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย
    อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด
    : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง.
    +--ภิกษุ ท. ! ปีติใดอาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น,
    ปีตินี้เรียกว่า #ปีติประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+สามิส

    --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ได้ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึง
    &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่;
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง
    &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจ ในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจาก สมาธิ แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! ปีตินี้เรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+นิรามิส

    --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต
    ที่หลุดพ้นจากราคะ
    จิตที่หลุดพ้นจากโทสะ
    จิตที่หลุดพ้นจากโมหะอยู่ ;
    ปีติใดเกิดขึ้น,
    +--ภิกษุ ท. ! ปีตินั้นเรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=ปีติ+นิรามิสตร

    --ภิกษุ ท. ! สุขที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ
    รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ....
    เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ ....
    กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .....
    รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ....
    โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด
    : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง.
    +--ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น,
    สุขนี้เรียกว่า #สุขประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+อามิส

    --ภิกษุ ท. ! สุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลายเข้าถึง
    &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่;
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง
    &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้ อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้, เข้าถึง
    &ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! สุขนี้เรียกว่า #สุขไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิส

    --ภิกษุ ท.! สุขไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิสเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา
    จิต ที่พ้นแล้วจากราคะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ;
    สุขโสมนัสใดเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัสนั้นเรียกว่า #สุขไม่กอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิสตร

    --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ
    รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ....
    เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ ....
    กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ....
    รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ....
    โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย
    อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด
    : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง.
    +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขาใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น,
    อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+อามิส

    --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน, เข้าถึง
    &จตุตถฌานไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา
    แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิส

    --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา
    จิตที่พ้นแล้วจากราคะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ;
    อุเบกขาใดเกิดขึ้น,
    อุเบกขานั้นเรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิสตร

    --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในรูป เรียกว่า #วิโมกข์ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+อามิส
    +--ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในอรูป เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิส
    --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ทิ่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุขีณาสพ พิจารณา
    จิตที่พ้นแล้วจากราคะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ;
    วิโมกข์ใดเกิดขึ้น,
    วิโมกข์นั้น เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิสตร
    แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/248-251/446-457.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๙๒-๒๙๕/๔๔๖-๔๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96
    ถึง
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=654
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45
    ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น สัทธรรมลำดับที่ : 654 ชื่อบทธรรม :- ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654 เนื้อความทั้งหมด :- --ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น --ภิกษุ ท. ! +--ปีติ ที่ประกอบด้วยอามิส (สามิส) ก็มี ปีติที่ไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิส) ก็มี ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิสตร) ก็มี. +--ความสุข ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี ความสุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิสก็มี ความสุขไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. +--อุเบกขา ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. +--วิโมกข์ ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. +--ภิกษุ ท. ! ปีติที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า? +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่, ห้าอย่างคือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. +--ภิกษุ ท. ! ปีติใดอาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, ปีตินี้เรียกว่า #ปีติประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+สามิส --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ได้ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึง &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจ ในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจาก สมาธิ แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! ปีตินี้เรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+นิรามิส --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต ที่หลุดพ้นจากราคะ จิตที่หลุดพ้นจากโทสะ จิตที่หลุดพ้นจากโมหะอยู่ ; ปีติใดเกิดขึ้น, +--ภิกษุ ท. ! ปีตินั้นเรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=ปีติ+นิรามิสตร --ภิกษุ ท. ! สุขที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ..... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. +--ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, สุขนี้เรียกว่า #สุขประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+อามิส --ภิกษุ ท. ! สุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลายเข้าถึง &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้ อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้, เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! สุขนี้เรียกว่า #สุขไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิส --ภิกษุ ท.! สุขไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิสเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา จิต ที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; สุขโสมนัสใดเกิดขึ้น, สุขโสมนัสนั้นเรียกว่า #สุขไม่กอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิสตร --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขาใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+อามิส --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน, เข้าถึง &จตุตถฌานไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิส --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา จิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; อุเบกขาใดเกิดขึ้น, อุเบกขานั้นเรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิสตร --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในรูป เรียกว่า #วิโมกข์ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+อามิส +--ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในอรูป เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิส --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ทิ่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุขีณาสพ พิจารณา จิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; วิโมกข์ใดเกิดขึ้น, วิโมกข์นั้น เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิสตร แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/248-251/446-457. http://etipitaka.com/read/thai/18/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๙๒-๒๙๕/๔๔๖-๔๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96 ถึง http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=654 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45 ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    -ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น ภิกษุ ท. ! ปีติ ที่ประกอบด้วยอามิส (สามิส) ก็มี ปีติที่ไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิส) ก็มี ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิสตร) ก็มี. ความสุข ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี ความสุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิสก็มี ความสุขไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. อุเบกขา ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. วิโมกข์ ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. ภิกษุ ท. ! ปีติที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่, ห้าอย่างคือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ปีติใดอาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, ปีตินี้เรียกว่า ปีติประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ได้ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจ ในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ปีตินี้เรียกว่า ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต ที่หลุดพ้นจากราคะ จิตที่หลุดพ้นจากโทสะ จิตที่หลุดพ้นจากโมหะอยู่ ; ปีติใดเกิดขึ้น, ปีตินั้นเรียกว่า ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! สุขที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ..... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, สุขนี้เรียกว่า สุขประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! สุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึง ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้ อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้, เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! สุขนี้เรียกว่า สุขไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท.! สุขไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิสเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต ที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; สุขโสมนัสใดเกิดขึ้น, สุขโสมนัสนั้นเรียกว่า สุขไม่กอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, อุเบกขานี้เรียกว่า อุเบกขาประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน, เข้าถึง จตุตถฌานไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อุเบกขานี้เรียกว่า อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; อุเบกขาใดเกิดขึ้น, อุเบกขานั้นเรียกว่า อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในรูป เรียกว่า วิโมกข์ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในอรูป เรียกว่า วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ทิ่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; วิโมกข์ใดเกิดขึ้น, วิโมกข์นั้น เรียกว่า วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส แล.
    0 Comments 0 Shares 271 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าภาวะที่รักและไม่เป็นที่รักเป็นเหมือนป่ามีหนาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 283
    ชื่อบทธรรม :- ภาวะเป็นที่รักที่ยินดี เป็น หนามในอริยวินัย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=283
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภาวะเป็นที่รักที่ยินดี เป็น หนามในอริยวินัย
    --ภิกษุ ท.! ธรรมเป็นเครื่องประพฤติและธรรมเป็นเครื่องอยู่
    เป็นอันติดตามภิกษุอย่างไรเล่า?
    อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส
    ย่อมไม่ครอบงำภิกษุผู้ประพฤติอยู่ด้วยอาการใด
    ธรรมเป็นเครื่องประพฤติและธรรมเป็นเครื่องอยู่
    เป็นอันติดตามภิกษุด้วยอาการนั้น
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง จะพึงเข้าไปสู่ป่า ที่มีหนามมาก ;
    คือ หนามข้างหน้าของบุรุษนั้น ก็มีอยู่,
    หนามข้างหลัง ก็มีอยู่,
    หนามข้างเหนือ ก็มีอยู่,
    หนามข้างใต้ ก็มีอยู่,
    หนามข้างล่างก็มีอยู่,
    หนามข้างบน ก็มีอยู่,
    บุรุษนั้น จะต้องมีสติ ค่อยๆ ก้าวไปข้างหน้า
    มีสติค่อยๆ ถอยกลับหลัง ด้วย คิดอยู่ว่า “หนามอย่ายอก อย่าตำ เราเลย”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น,
    ภาวะเป็นที่รัก ภาวะเป็นที่ยินดี (#ปิยรูปสาตรูปซึ่งเป็นที่เกิดที่ดับแห่งตัณหา) ในโลก ใดๆ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/235/?keywords=ปิยรูเป+ธมฺเม
    --ภิกษุ ท. ! ปิยรูปสาตรูปนี้ เราเรียกว่า “#หนามในวินัยของพระอริยเจ้า”
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/205/334
    http://etipitaka.com/read/thai/18/205/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓๔/๓๓๔
    http://etipitaka.com/read/pali/18/234/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=283
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=283
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าภาวะที่รักและไม่เป็นที่รักเป็นเหมือนป่ามีหนาม สัทธรรมลำดับที่ : 283 ชื่อบทธรรม :- ภาวะเป็นที่รักที่ยินดี เป็น หนามในอริยวินัย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=283 เนื้อความทั้งหมด :- --ภาวะเป็นที่รักที่ยินดี เป็น หนามในอริยวินัย --ภิกษุ ท.! ธรรมเป็นเครื่องประพฤติและธรรมเป็นเครื่องอยู่ เป็นอันติดตามภิกษุอย่างไรเล่า? อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ย่อมไม่ครอบงำภิกษุผู้ประพฤติอยู่ด้วยอาการใด ธรรมเป็นเครื่องประพฤติและธรรมเป็นเครื่องอยู่ เป็นอันติดตามภิกษุด้วยอาการนั้น --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง จะพึงเข้าไปสู่ป่า ที่มีหนามมาก ; คือ หนามข้างหน้าของบุรุษนั้น ก็มีอยู่, หนามข้างหลัง ก็มีอยู่, หนามข้างเหนือ ก็มีอยู่, หนามข้างใต้ ก็มีอยู่, หนามข้างล่างก็มีอยู่, หนามข้างบน ก็มีอยู่, บุรุษนั้น จะต้องมีสติ ค่อยๆ ก้าวไปข้างหน้า มีสติค่อยๆ ถอยกลับหลัง ด้วย คิดอยู่ว่า “หนามอย่ายอก อย่าตำ เราเลย” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, ภาวะเป็นที่รัก ภาวะเป็นที่ยินดี (#ปิยรูปสาตรูปซึ่งเป็นที่เกิดที่ดับแห่งตัณหา) ในโลก ใดๆ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/235/?keywords=ปิยรูเป+ธมฺเม --ภิกษุ ท. ! ปิยรูปสาตรูปนี้ เราเรียกว่า “#หนามในวินัยของพระอริยเจ้า” ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/205/334 http://etipitaka.com/read/thai/18/205/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓๔/๓๓๔ http://etipitaka.com/read/pali/18/234/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=283 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=283 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภาวะเป็นที่รักที่ยินดี เป็น หนามในอริยวินัย
    -ภาวะเป็นที่รักที่ยินดี เป็น หนามในอริยวินัย ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง จะพึงเข้าไปสู่ป่า ที่มีหนามมาก ; คือ หนามข้างหน้าของบุรุษนั้น ก็มีอยู่, หนามข้างหลัง ก็มีอยู่, หนามข้างเหนือ ก็มีอยู่, หนามข้างใต้ ก็มีอยู่, หนามข้างล่างก็มีอยู่, หนามข้างบน ก็มีอยู่, บุรุษนั้น จะต้องมีสติ ค่อยๆ ก้าวไปข้างหน้า มีสติค่อยๆ ถอยกลับหลัง ด้วย คิดอยู่ว่า “หนามอย่ายอก อย่าตำ เราเลย” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, ภาวะเป็นที่รัก ภาวะเป็นที่ยินดี (ปิยรูปสาตรูป ซึ่งเป็นที่เกิดที่ดับแห่งตัณหา) ในโลก ใดๆ ; ภิกษุ ท. ! ปิยรูปสาตรูปนี้ เราเรียกว่า “หนามในวินัยของพระอริยเจ้า” ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 141 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้
    สัทธรรมลำดับที่ : 268
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนป่าใหญ่ ตั้งอยู่ไม่ไกลหมู่บ้านหรือนิคมนัก.
    ในป่าใหญ่นั้น มีต้นไม้ ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย,
    ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย.
    ครั้งนั้น
    -มีบุรุษผู้หนึ่งผ่านมา เป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อยู่,
    เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้ว พบต้นไม้ต้นนั้นแล้วคิดว่า
    “ต้นไม้นี้มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย
    และเราก็รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้อยู่,
    ถ้าไฉน เราขึ้นสู่ต้นไม้นี้แล้ว จะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย
    จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย”
    ดังนี้แล้ว
    เขาก็ขึ้นสู่ต้นไม้นั้น เก็บกินตามความพอใจด้วย ห่อจนเต็มห่อด้วย.
    ในลำดับนั้นเอง
    -บุรุษคนที่สอง ซึ่งเป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อย่างเดียวกัน
    ถือขวานคมผ่านมาที่นั้น,
    เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้วก็พบต้นไม้ต้นเดียวนั้น ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย,
    เขาจึง คิดว่า
    “ต้นไม้นี้ มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย
    และเราก็ไม่รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้,
    ถ้าไฉน เราจะโค่นมันที่โคน แล้วจะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย
    จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย”
    ดังนี้แล้ว เขาจึงโค่นต้นไม้นั้นที่โคน.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    บุรุษผู้ขึ้นอยู่บนต้นไม้คนแรก,
    ถ้าเขาไม่รีบลงมาโดยเร็วไซร้,
    เมื่อต้นไม้นั้นล้มลง,
    เขาก็จะต้องมือหักบ้าง เท้าหักบ้าง
    หรืออวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งหักบ้าง โดยแท้.
    บุรุษผู้นั้น ก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย
    เพราะข้อนั้น เป็นเหตุ มิใช่หรือ ?
    --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    #มีอุปมาด้วยผลไม้ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/45/?keywords=รุกฺขผลูปมา+กามา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว
    (เช่นเจริญอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวง แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/39/53.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/39/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๔/๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=268
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18
    ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้ สัทธรรมลำดับที่ : 268 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้ --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนป่าใหญ่ ตั้งอยู่ไม่ไกลหมู่บ้านหรือนิคมนัก. ในป่าใหญ่นั้น มีต้นไม้ ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย. ครั้งนั้น -มีบุรุษผู้หนึ่งผ่านมา เป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อยู่, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้ว พบต้นไม้ต้นนั้นแล้วคิดว่า “ต้นไม้นี้มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้อยู่, ถ้าไฉน เราขึ้นสู่ต้นไม้นี้แล้ว จะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาก็ขึ้นสู่ต้นไม้นั้น เก็บกินตามความพอใจด้วย ห่อจนเต็มห่อด้วย. ในลำดับนั้นเอง -บุรุษคนที่สอง ซึ่งเป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อย่างเดียวกัน ถือขวานคมผ่านมาที่นั้น, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้วก็พบต้นไม้ต้นเดียวนั้น ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, เขาจึง คิดว่า “ต้นไม้นี้ มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็ไม่รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้, ถ้าไฉน เราจะโค่นมันที่โคน แล้วจะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาจึงโค่นต้นไม้นั้นที่โคน. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษผู้ขึ้นอยู่บนต้นไม้คนแรก, ถ้าเขาไม่รีบลงมาโดยเร็วไซร้, เมื่อต้นไม้นั้นล้มลง, เขาก็จะต้องมือหักบ้าง เท้าหักบ้าง หรืออวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งหักบ้าง โดยแท้. บุรุษผู้นั้น ก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้น เป็นเหตุ มิใช่หรือ ? --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า #มีอุปมาด้วยผลไม้ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/45/?keywords=รุกฺขผลูปมา+กามา ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นเจริญอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวง แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/39/53. http://etipitaka.com/read/thai/13/39/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๔/๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=268 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18 ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยผลไม้
    -กามเปรียบด้วยผลไม้ คฤหบดี ! เปรียบเหมือนป่าใหญ่ ตั้งอยู่ไม่ไกลหมู่บ้านหรือนิคมนัก. ในป่าใหญ่นั้น มีต้นไม้ ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย. ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งผ่านมา เป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยว แสวงหาผลไม้อยู่, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้ว พบต้นไม้ต้นนั้นแล้วคิดว่า “ต้นไม้นี้มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้อยู่, ถ้าไฉน เราขึ้นสู่ต้นไม้นี้แล้ว จะพึงกินผลไม้ตามความพอใจ ด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาก็ขึ้นสู่ต้นไม้นั้น เก็บกินตามความพอใจด้วย ห่อจนเต็มห่อด้วย. ในลำดับนั้นเอง บุรุษคนที่สอง ซึ่งเป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อย่างเดียวกัน ถือขวานคมผ่านมาที่นั้น, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้วก็พบต้นไม้ต้นเดียวนั้น ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, เขาจึง คิดว่า “ต้นไม้นี้ มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็ไม่รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้, ถ้าไฉน เราจะโค่นมันที่โคน แล้วจะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาจึงโค่นต้นไม้นั้นที่โคน. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษผู้ขึ้นอยู่บนต้นไม้คนแรก, ถ้าเขาไม่รีบลงมาโดยเร็วไซร้, เมื่อต้นไม้นั้นล้มลง, เขาก็จะต้องมือหักบ้าง เท้าหักบ้าง หรืออวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งหักบ้าง โดยแท้. บุรุษผู้นั้น ก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้น เป็นเหตุ มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยผลไม้ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นเจริญอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวง แล.
    0 Comments 0 Shares 252 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยของในความฝันหรือกามเปรียบด้วยของยืม
    สัทธรรมลำดับที่ : 266
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยของในความฝัน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยของในความฝัน
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ฝันเห็น
    สวน อันรื่นรมย์ใจบ้าง
    ป่าไม้ อันรื่นรมย์ใจบ้าง
    ภูมิภาค อันรื่นรมย์ใจบ้าง หรือ
    สระโบกขรณี อันรื่นรมย์ใจบ้าง,
    ครั้นบุรุษนั้นตื่นขึ้นมา ก็ไม่ได้พบเห็นอะไรเลย.
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    มีอุปมาด้วยของในความฝัน เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุปินกูปมา+กามา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้.
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (#กามคุณห้า)
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นสิ่งที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวงแล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/51.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=266

    สัทธรรมลำดับที่ : 267
    ชื่อบทธรรม : -กามเปรียบด้วยของยืม
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยของยืม
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ขอยืมทรัพย์จากผู้อื่นได้แล้ว
    เอาลงใส่เกวียนน้อย มีตุ้มหูแก้วมณีอันล้ำค่า เป็นต้น.
    บุรุษผู้นั้น วางของยืม เหล่านั้นไว้ข้างหน้าตัวบ้าง รอบ ๆ ตัวบ้าง ขับผ่านไปตามหมู่ชาวร้าน.
    หมู่ชน เห็นบุรุษผู้นั้นแล้ว ก็จะพึงกล่าวกันแซ่ว่า
    “ท่านผู้เจริญทั้งหลายเอ๋ย
    ! บุรุษผู้นี้ร่ำรวยจริงหนอ
    ! ดูซิ, พวกคนรวย เขาใช้สอยโภคะกันอย่างนี้เอง”
    ดังนี้,
    ครั้นเจ้าของทรัพย์ พบบุรุษ ซึ่งทำอยู่ดังนั้น
    ในที่ใด ๆ เขาก็จะทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไปเสีย ณ ที่นั้น ๆ นั่นเอง.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    คือควรจะทำอย่างอื่นแก่บุรุษนั้นไหมหนอ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ?
    “เพราะเหตุว่า ธรรมดาเจ้าของทรัพย์ ก็ต้องทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไป”
    ดังนี้.

    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    มีอุปมาด้วยของยืม เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=ยาจิตกูปมา+กามา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง
    มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ ต่าง ๆ (#กามคุณห้า),
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/52.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=267
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=267
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยของในความฝันหรือกามเปรียบด้วยของยืม สัทธรรมลำดับที่ : 266 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยของในความฝัน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยของในความฝัน --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ฝันเห็น สวน อันรื่นรมย์ใจบ้าง ป่าไม้ อันรื่นรมย์ใจบ้าง ภูมิภาค อันรื่นรมย์ใจบ้าง หรือ สระโบกขรณี อันรื่นรมย์ใจบ้าง, ครั้นบุรุษนั้นตื่นขึ้นมา ก็ไม่ได้พบเห็นอะไรเลย. --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยของในความฝัน เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุปินกูปมา+กามา ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (#กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นสิ่งที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/51. http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=266 สัทธรรมลำดับที่ : 267 ชื่อบทธรรม : -กามเปรียบด้วยของยืม เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยของยืม --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ขอยืมทรัพย์จากผู้อื่นได้แล้ว เอาลงใส่เกวียนน้อย มีตุ้มหูแก้วมณีอันล้ำค่า เป็นต้น. บุรุษผู้นั้น วางของยืม เหล่านั้นไว้ข้างหน้าตัวบ้าง รอบ ๆ ตัวบ้าง ขับผ่านไปตามหมู่ชาวร้าน. หมู่ชน เห็นบุรุษผู้นั้นแล้ว ก็จะพึงกล่าวกันแซ่ว่า “ท่านผู้เจริญทั้งหลายเอ๋ย ! บุรุษผู้นี้ร่ำรวยจริงหนอ ! ดูซิ, พวกคนรวย เขาใช้สอยโภคะกันอย่างนี้เอง” ดังนี้, ครั้นเจ้าของทรัพย์ พบบุรุษ ซึ่งทำอยู่ดังนั้น ในที่ใด ๆ เขาก็จะทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไปเสีย ณ ที่นั้น ๆ นั่นเอง. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? คือควรจะทำอย่างอื่นแก่บุรุษนั้นไหมหนอ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ? “เพราะเหตุว่า ธรรมดาเจ้าของทรัพย์ ก็ต้องทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไป” ดังนี้. --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยของยืม เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=ยาจิตกูปมา+กามา ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ ต่าง ๆ (#กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/52. http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=267 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=267 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยของในความฝัน
    -กามเปรียบด้วยของในความฝัน คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ฝันเห็น สวน อันรื่นรมย์ใจบ้าง ป่าไม้อันรื่นรมย์ใจบ้าง ภูมิภาค อันรื่นรมย์ใจบ้าง หรือสระโบกขรณี อันรื่นรมย์ใจบ้าง, ครั้นบุรุษนั้นตื่นขึ้นมา ก็ไม่ได้พบเห็นอะไรเลย. คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยของในความฝัน เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นสิ่งที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 Comments 0 Shares 239 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    สัทธรรมลำดับที่ : 265
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ลึกชั่วบุรุษหนึ่ง
    เต็มด้วยถ่านเพลิง ที่ปราศจากเปลวและปราศจากควัน.
    ครั้งนั้น บุรุษผู้หนึ่ง ผู้ต้องการเป็นอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ มาสู่ที่นั้น.
    และมีบุรุษ ที่มีกำลังกล้าแข็งอีกสองคน จับบุรุษนั้น ที่แขนแต่ละข้าง
    แล้วฉุดคร่าพาไปยังหลุมถ่านเพลิง.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    บุรุษนั้น จะไม่บิด ตัวดิ้นไปทางโน้นที ทางนี้ที บ้างแลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ?
    “เพราะเหตุว่า บุรุษนั้น รู้อยู่ว่าถ้าเราจะตกลงไปสู่หลุมถ่านเพลิงนี้ไซร้,
    เราก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะข้อนั้นเป็นเหตุ พระเจ้าข้า !”
    ดังนี้.
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    #มีอุปมาด้วยหลุมถ่านเพลิง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุขกาโม
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้.
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า)
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=265
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง สัทธรรมลำดับที่ : 265 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ลึกชั่วบุรุษหนึ่ง เต็มด้วยถ่านเพลิง ที่ปราศจากเปลวและปราศจากควัน. ครั้งนั้น บุรุษผู้หนึ่ง ผู้ต้องการเป็นอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ มาสู่ที่นั้น. และมีบุรุษ ที่มีกำลังกล้าแข็งอีกสองคน จับบุรุษนั้น ที่แขนแต่ละข้าง แล้วฉุดคร่าพาไปยังหลุมถ่านเพลิง. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษนั้น จะไม่บิด ตัวดิ้นไปทางโน้นที ทางนี้ที บ้างแลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ? “เพราะเหตุว่า บุรุษนั้น รู้อยู่ว่าถ้าเราจะตกลงไปสู่หลุมถ่านเพลิงนี้ไซร้, เราก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะข้อนั้นเป็นเหตุ พระเจ้าข้า !” ดังนี้. --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า #มีอุปมาด้วยหลุมถ่านเพลิง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุขกาโม ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/50. http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=265 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    -กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง คฤหบดี ! เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ลึกชั่วบุรุษหนึ่ง เต็มด้วยถ่านเพลิง ที่ปราศจากเปลวและปราศจากควัน. ครั้งนั้น บุรุษผู้หนึ่ง ผู้ต้องการเป็นอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ มาสู่ที่นั้น. และมีบุรุษ ที่มีกำลังกล้าแข็งอีกสองคน จับบุรุษนั้น ที่แขนแต่ละข้าง แล้วฉุดคร่าพาไปยังหลุมถ่านเพลิง. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษนั้น จะไม่บิด ตัวดิ้นไปทางโน้นที ทางนี้ที บ้างแลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ? “เพราะเหตุว่า บุรุษนั้น รู้อยู่ว่าถ้าเราจะตกลงไปสู่หลุมถ่านเพลิงนี้ไซร้, เราก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะข้อนั้นเป็นเหตุ พระเจ้าข้า !” ดังนี้. คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยหลุมถ่านเพลิง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 Comments 0 Shares 262 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    สัทธรรมลำดับที่ : 264
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง
    ถือเอาคบหญ้าแห้ง ที่ติดไฟ(อาทิตฺตํ)​โพลงอยู่ พาทวนลมไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=อาทิตฺตํ
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    ถ้าบุรุษผู้นั้น ไม่รีบทิ้งคบหญ้าแห้งนั้นเสียโดยเร็วไซร้,
    คบไฟนั้น ก็จะพึงลามไหม้มือ ไหม้แขน
    หรือไหม้อวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งของบุรุษนั้น,
    เขาก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย
    เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ?
    --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”

    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    มีอุปมาด้วยคบหญ้าแห้ง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ(ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย)​ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/49.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒/๔๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=264
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม สัทธรรมลำดับที่ : 264 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ถือเอาคบหญ้าแห้ง ที่ติดไฟ(อาทิตฺตํ)​โพลงอยู่ พาทวนลมไป. http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=อาทิตฺตํ --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าบุรุษผู้นั้น ไม่รีบทิ้งคบหญ้าแห้งนั้นเสียโดยเร็วไซร้, คบไฟนั้น ก็จะพึงลามไหม้มือ ไหม้แขน หรือไหม้อวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งของบุรุษนั้น, เขาก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยคบหญ้าแห้ง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ(ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย)​ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/49. http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒/๔๙. http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=264 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    -กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ถือเอาคบหญ้าแห้ง ที่ติดไฟโพลงอยู่ พาทวนลมไป. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าบุรุษผู้นั้น ไม่รีบทิ้งคบหญ้าแห้งนั้นเสียโดยเร็วไซร้, คบไฟนั้น ก็จะพึงลามไหม้มือ ไหม้แขน หรือไหม้อวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งของบุรุษนั้น, เขาก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยคบหญ้าแห้ง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 Comments 0 Shares 224 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามทั้งหลายเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    สัทธรรมลำดับที่ : 263
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนแร้ง หรือเหยี่ยว หรือนกตะกรุมก็ตาม ตัวหนึ่ง
    คาบชิ้นเนื้อพาบินไป.
    ฝูงแร้งบ้าง ฝูงเหยี่ยวบ้าง ฝูงนกตะกรุมบ้าง ตามโฉบ ตอมโฉบ นกตัวนั้น
    เพื่อให้ทิ้งชิ้นเนื้อนั้น ยังนกตัวนั้นให้ปล่อย ให้คาย.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    ถ้าแร้ง หรือ เหยี่ยว หรือนกตะกรุมนั้น ไม่รีบสลัดทิ้งชิ้นเนื้อนั้นเสียไซร้,
    มันก็จะถึงซึ่ง ความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ?
    --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า
    #มีอุปมาด้วยชิ้นเนื้อ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=กาม+พหุทุกฺขา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้,

    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ
    (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว
    (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทาน
    อันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/48.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=263
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามทั้งหลายเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก สัทธรรมลำดับที่ : 263 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนแร้ง หรือเหยี่ยว หรือนกตะกรุมก็ตาม ตัวหนึ่ง คาบชิ้นเนื้อพาบินไป. ฝูงแร้งบ้าง ฝูงเหยี่ยวบ้าง ฝูงนกตะกรุมบ้าง ตามโฉบ ตอมโฉบ นกตัวนั้น เพื่อให้ทิ้งชิ้นเนื้อนั้น ยังนกตัวนั้นให้ปล่อย ให้คาย. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าแร้ง หรือ เหยี่ยว หรือนกตะกรุมนั้น ไม่รีบสลัดทิ้งชิ้นเนื้อนั้นเสียไซร้, มันก็จะถึงซึ่ง ความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า #มีอุปมาด้วยชิ้นเนื้อ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=กาม+พหุทุกฺขา ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทาน อันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/48. http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=263 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    -กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก คฤหบดี ! เปรียบเหมือนแร้ง หรือเหยี่ยว หรือนกตะกรุมก็ตาม ตัวหนึ่ง คาบชิ้นเนื้อพาบินไป. ฝูงแร้งบ้าง ฝูงเหยี่ยวบ้าง ฝูงนกตะกรุมบ้าง ตามโฉบ ตอมโฉบ นกตัวนั้น เพื่อให้ทิ้งชิ้นเนื้อนั้น ยังนกตัวนั้นให้ปล่อย ให้คาย. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าแร้ง หรือ เหยี่ยว หรือนกตะกรุมนั้น ไม่รีบสลัดทิ้งชิ้นเนื้อนั้นเสียไซร้, มันก็จะถึงซึ่ง ความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า มีอุปมาด้วยชิ้นเนื้อ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 Comments 0 Shares 204 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    สัทธรรมลำดับที่ : 262
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนสุนัข ที่หมดกำลังเพราะหิวจัด
    จะพึงเข้าไปยืนชะเง้ออยู่ ในที่ที่ฆ่าโค.
    คนฆ่าโคหรือลูกมือของเขา ผู้เชี่ยวชาญ
    ก็จะพึง เอาท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว
    ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่ แม้แต่น้อยเดียว
    เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง โยนไปให้สุนัขตัวนั้นแทะ.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    สุนัขตัวนั้นแทะท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว
    ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว
    เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง นั้นอยู่,
    จะพึงบรรเทาความหมดกำลัง เพราะหิวจัด ได้ละหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    “เพราะว่าท่อนกระดูกที่ชำแหละเนื้อ ออกหมดแล้วนั้น
    ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว
    เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง เท่านั้น.
    สุนัขตัวนั้น ก็จะได้รับแต่ความเหนื่อยใจ และความแค้นใจโดยแท้ พระเจ้าข้า !”
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า
    มี #อุปมาด้วยท่อนกระดูก เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=กาม+ทุกฺข
    ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    แล้วก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ
    อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว
    (เช่นอุเบกขา ที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ-อุปาทาน อันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุท้ย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/47.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=262
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามเปรียบด้วยท่อนกระดูก สัทธรรมลำดับที่ : 262 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนสุนัข ที่หมดกำลังเพราะหิวจัด จะพึงเข้าไปยืนชะเง้ออยู่ ในที่ที่ฆ่าโค. คนฆ่าโคหรือลูกมือของเขา ผู้เชี่ยวชาญ ก็จะพึง เอาท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่ แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง โยนไปให้สุนัขตัวนั้นแทะ. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? สุนัขตัวนั้นแทะท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง นั้นอยู่, จะพึงบรรเทาความหมดกำลัง เพราะหิวจัด ได้ละหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? “เพราะว่าท่อนกระดูกที่ชำแหละเนื้อ ออกหมดแล้วนั้น ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง เท่านั้น. สุนัขตัวนั้น ก็จะได้รับแต่ความเหนื่อยใจ และความแค้นใจโดยแท้ พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า มี #อุปมาด้วยท่อนกระดูก เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=กาม+ทุกฺข ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้วก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขา ที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ-อุปาทาน อันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุท้ย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/47. http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=262 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    -กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก คฤหบดี ! เปรียบเหมือนสุนัข ที่หมดกำลังเพราะหิวจัด จะพึงเข้าไปยืนชะเง้ออยู่ ในที่ที่ฆ่าโค. คนฆ่าโคหรือลูกมือของเขา ผู้เชี่ยวชาญ ก็จะพึง เอาท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่ แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง โยนไปให้สุนัขตัวนั้นแทะ. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? สุนัขตัวนั้นแทะท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง นั้นอยู่, จะพึงบรรเทาความหมดกำลัง เพราะหิวจัด ได้ละหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? “เพราะว่าท่อนกระดูกที่ชำแหละเนื้อ ออกหมดแล้วนั้น ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง เท่านั้น. สุนัขตัวนั้น ก็จะได้รับแต่ความเหนื่อยใจ และความแค้นใจโดยแท้ พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า มี อุปมาด้วยท่อนกระดูก เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้วก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขา ที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 Comments 0 Shares 244 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1001
    ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ)
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ
    ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ
    ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :-
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น
    เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า
    ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ
    คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ).
    คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต
    มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา;
    ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา.
    --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ )
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น
    แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ
    อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก
    มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน;
    และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ
    อย่างเดียวกับสูตรข้างบน
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 1001 ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :- +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).- http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ). คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา; ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา. --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ ) http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน; และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ อย่างเดียวกับสูตรข้างบน ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90. http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    -(การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : อนภิชฌา และอัพยาบาท คือ สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับสัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค). ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูปโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูปหรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขารโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่าการตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์ (ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา)-
    0 Comments 0 Shares 308 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 995
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
    การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
    แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
    เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
    เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.

    --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
    ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
    เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
    (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
    ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ(เปยยาล)​....
    (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
    แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
    ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
    ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
    $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ ....
    ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ....
    ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
    จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
    เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
    โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
    เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
    ด้วยการกำหนดว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
    -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
    จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
    มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
    แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
    “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-

    (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
    เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
    ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
    และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
    ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
    เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
    นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
    ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
    อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
    ).

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
    ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล)​.... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    0 Comments 0 Shares 366 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าการที่บุคคลเป็นทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    สัทธรรมลำดับที่ : 224
    ชื่อบทธรรม :- ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำ ซึ่งมีกำเนิดแต่ภูเขา
    ไหลไปทางต่ำสิ้นระยะไกล มีกระแสเชี่ยวจัด.
    ถ้าหากหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม
    หรือต้นไม้ก็ตาม เกิดอยู่ที่ฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้นไซร้,
    หญ้าหรือต้นไม้เหล่านั้น ก็จะพึงย้อยลงปกฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้น.
    บุรุษผู้หนึ่ง ถูกกระแสแห่งแม่น้ำนั้นพัดมา
    ถ้าจะจับหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม
    หรือต้นไม้ก็ตาม สิ่งเหล่านั้นก็จะพึงขาดหลุดไป (เพราะกระแสเชี่ยวจัดของแม่น้ำ).
    บุรุษผู้นั้นย่อมถึงการพินาศ เพราะการทำเช่นนั้น, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ #บุถุชน
    ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ไม่ได้เห็นเหล่าพระอริยเจ้า
    ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=อริยธมฺมสฺส
    ไม่ได้เห็นเหล่าสัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ

    +--บุถุชน ย่อม
    ตามเห็นพร้อม (คือเห็นดิ่งอยู่เป็นประจำ) ซึ่งรูป โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีรูป
    หรือตามเห็นพร้อมซึ่งรูป ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในรูป,
    รูปนั้นย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีเวทนา
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในเวทนา,
    เวทนานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสัญญา
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสัญญา,
    สัญญานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา, เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขาร ทั้งหลาย โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสังขาร
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขารทั้งหลาย ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสังขารทั้งหลาย,
    สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ;
    +--บุถุชนนั้น ย่อม
    ตามเห็นพร้อม ซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน
    หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีวิญญาณ
    หรือตามเห็นพร้อมซึ่งวิญญาณ ว่ามีอยู่ในตน
    หรือตามเห็นพร้อมซึ่งตน ว่ามีอยู่ในวิญญาณ,
    วิญญาณนั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ
    แล.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/132/237.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๖๘/๒๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=224
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าการที่บุคคลเป็นทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ สัทธรรมลำดับที่ : 224 ชื่อบทธรรม :- ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำ ซึ่งมีกำเนิดแต่ภูเขา ไหลไปทางต่ำสิ้นระยะไกล มีกระแสเชี่ยวจัด. ถ้าหากหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม เกิดอยู่ที่ฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้นไซร้, หญ้าหรือต้นไม้เหล่านั้น ก็จะพึงย้อยลงปกฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้น. บุรุษผู้หนึ่ง ถูกกระแสแห่งแม่น้ำนั้นพัดมา ถ้าจะจับหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม สิ่งเหล่านั้นก็จะพึงขาดหลุดไป (เพราะกระแสเชี่ยวจัดของแม่น้ำ). บุรุษผู้นั้นย่อมถึงการพินาศ เพราะการทำเช่นนั้น, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ #บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ไม่ได้เห็นเหล่าพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=อริยธมฺมสฺส ไม่ได้เห็นเหล่าสัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ +--บุถุชน ย่อม ตามเห็นพร้อม (คือเห็นดิ่งอยู่เป็นประจำ) ซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีรูป หรือตามเห็นพร้อมซึ่งรูป ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในรูป, รูปนั้นย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีเวทนา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในเวทนา, เวทนานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสัญญา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสัญญา, สัญญานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา, เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขาร ทั้งหลาย โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสังขาร หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขารทั้งหลาย ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสังขารทั้งหลาย, สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; +--บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีวิญญาณ หรือตามเห็นพร้อมซึ่งวิญญาณ ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อมซึ่งตน ว่ามีอยู่ในวิญญาณ, วิญญาณนั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ แล. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/132/237. http://etipitaka.com/read/thai/17/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๖๘/๒๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/168/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=224 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=224 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้
    -ทุกข์เพราะยึดถือสิ่งที่ยึดถือไม่ได้ ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำ ซึ่งมีกำเนิดแต่ภูเขา ไหลไปทางต่ำสิ้นระยะไกล มีกระแสเชี่ยวจัด. ถ้าหากหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม เกิดอยู่ที่ฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้นไซร้, หญ้าหรือต้นไม้เหล่านั้น ก็จะพึงย้อยลงปกฝั่งทั้งสองของแม่น้ำนั้น. บุรุษผู้หนึ่ง ถูกกระแสแห่งแม่น้ำนั้นพัดมา ถ้าจะจับหญ้ากาสะก็ตาม หญ้ากุสะก็ตาม หญ้าปัพพชะก็ตาม หญ้าวีรณะก็ตาม หรือต้นไม้ก็ตาม สิ่งเหล่านั้นก็จะพึงขาดหลุดไป (เพราะกระแสเชี่ยวจัดของแม่น้ำ). บุรุษผู้นั้นย่อมถึงการพินาศ เพราะการทำเช่นนั้น, อุปมานี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ไม่ได้เห็นเหล่าพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่ได้เห็นเหล่าสัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ ย่อม ตามเห็นพร้อม (คือเห็นดิ่งอยู่เป็นประจำ) ซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีรูป หรือตามเห็นพร้อมซึ่งรูป ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในรูป, รูปนั้นย่อม แตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีเวทนา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งเวทนา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในเวทนา, เวทนานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสัญญา หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสัญญา ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสัญญา, สัญญานั้นย่อมแตกสลาย แก่เขา, เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขาร ทั้งหลาย โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีสังขาร หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งสังขารทั้งหลาย ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีอยู่ในสังขารทั้งหลาย, สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ บ้าง ; บุถุชนนั้น ย่อม ตามเห็นพร้อม ซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือตามเห็นพร้อม ซึ่งตน ว่ามีวิญญาณ หรือตามเห็นพร้อมซึ่งวิญญาณ ว่ามีอยู่ในตน หรือตามเห็นพร้อมซึ่งตน ว่ามีอยู่ในวิญญาณ, วิญญาณนั้น ย่อมแตกสลายแก่เขา เขาย่อมถึงการพินาศ เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ แล.
    0 Comments 0 Shares 206 Views 0 Reviews
  • #ผู้ที่จะมาบูรณะวัดท่าซุงในกาลข้างหน้า ท่านบอกว่าในจำนวน ๕ ทหารเสือนี่แหละ ในจำนวน ๒ คนนี้ซึ่งมีเชื้อสายมาจากพุทธภูมิ ในอดีตทั้ง ๒ คนนี้เคยอยู่ที่ อิตาลี และเยอรมัน คนหนึ่งจะได้มาเป็นพระอรหันต์องค์นั้น ส่วนอีกคนจะมาเกิดเป็นพระเจ้าธรรมิกราชตามพุทธพยากรณ์นั้น และสถานที่แห่งนี้หลวงพ่อได้เคยเล่าให้พระฟังหลังจากทำสังฆกรรมในพระอุโบสถเมื่อประมาณ ๒-๓ ปีก่อนว่า สถานที่บริเวณวัดท่าซุงแห่งนี้ตั้งแต่อดีตกาลนานมาแล้ว ได้มีผู้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ไปแล้ว ๗๒ องค์ โดยท่านทั้งหมดได้มาปรากฎแล้วบอกให้หลวงพ่อทราบ อีกทั้งหลวงพ่อยังได้ตั้งสัตยาธิษฐานฝากลูกหลานของท่านไว้ดังนี้

    "ฉันขอตั้งสัตยาธิษฐาน อ้างคุณพระศรีรัตนตรัย มีองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประมุข พร้อมด้วยพระอริยสงฆ์ทั้งหมด และพรหมและเทพเจ้าทั้งหมด
    ขอทุกท่านจงกำหนดจิตจดจำลูกหลานของฉันไว้ว่า บุคคลใดก็ตาม เมื่อเวลาจะตายขอให้สติสัมปชัญญะสมบูรณ์ มีจิตน้อมไปในกุศลกรรม และขอให้ได้รับผลที่ฉันได้ทำไปแล้วทุกประการแก่ลูกหลานของฉันทุกคน เวลานี้ฉันมองดูแล้วนะ ตรวจดูแล้ว สิ่งที่ฉันต้องการมันสมใจนึกแล้ว ฉันมีความอิ่มใจบอกไม่ถูก ปลื้มใจที่ความปรารถนาสมหวังที่ฉันตั้งใจไว้นาน ปรารถนาไว้นาน คิดว่าจะทำไม่ได้แต่เวลานี้ทำได้แล้ว
    ลูกหลานของฉันทุกคน มีศรัทธาเป็นอจลศรัทธาแล้ว มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาแล้ว มีความดีพอสมควรแล้ว"

    พุทธพยากรณ์อนาคตของวัดท่าซุง

    ☀ "สถานที่นี้จะเป็นศูนย์ที่มีความสำคัญต่อไปในเบื้องหน้า วัดนี้ถ้ามันจะพังจริงๆ ก็ต้องพุทธศักราชสิ้นไป ๔,๕๐๐ ปีเศษ คือ ๔,๕๐๐ ปีเศษวัดนี้จึงจะสลายตัว นับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปหลังจากฝังลูกนิมิตในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ แล้ว ท่านบอกว่า "จากนี้ไป ๓ ปี วัดนี้จะมีพระอริยเจ้าประจำตลอดไปจนถึงพระพุทธศาสนาล่วงไปถึง ๔,๕๐๐ ปี หลังจากนั้นจึงขาดพระอริยเจ้า ส่วนคำสอนของวัดท่าซุงจะอยู่เป็นหลักตลอดไปถึง ๔,๕๐๐ ปีเช่นกัน..."

    จากหนังสือ "อนุสรณ์ครบ ๑๐๐ ปีเกิด หลวงพ่อพระราชพรหมยาน"
    (ปกแข็งสีทอง) หน้าที่ ๑๘ - ๑๙
    #ผู้ที่จะมาบูรณะวัดท่าซุงในกาลข้างหน้า ท่านบอกว่าในจำนวน ๕ ทหารเสือนี่แหละ ในจำนวน ๒ คนนี้ซึ่งมีเชื้อสายมาจากพุทธภูมิ ในอดีตทั้ง ๒ คนนี้เคยอยู่ที่ อิตาลี และเยอรมัน คนหนึ่งจะได้มาเป็นพระอรหันต์องค์นั้น ส่วนอีกคนจะมาเกิดเป็นพระเจ้าธรรมิกราชตามพุทธพยากรณ์นั้น และสถานที่แห่งนี้หลวงพ่อได้เคยเล่าให้พระฟังหลังจากทำสังฆกรรมในพระอุโบสถเมื่อประมาณ ๒-๓ ปีก่อนว่า สถานที่บริเวณวัดท่าซุงแห่งนี้ตั้งแต่อดีตกาลนานมาแล้ว ได้มีผู้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ไปแล้ว ๗๒ องค์ โดยท่านทั้งหมดได้มาปรากฎแล้วบอกให้หลวงพ่อทราบ อีกทั้งหลวงพ่อยังได้ตั้งสัตยาธิษฐานฝากลูกหลานของท่านไว้ดังนี้ 💥💥 "ฉันขอตั้งสัตยาธิษฐาน อ้างคุณพระศรีรัตนตรัย มีองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประมุข พร้อมด้วยพระอริยสงฆ์ทั้งหมด และพรหมและเทพเจ้าทั้งหมด 🌟ขอทุกท่านจงกำหนดจิตจดจำลูกหลานของฉันไว้ว่า บุคคลใดก็ตาม เมื่อเวลาจะตายขอให้สติสัมปชัญญะสมบูรณ์ มีจิตน้อมไปในกุศลกรรม และขอให้ได้รับผลที่ฉันได้ทำไปแล้วทุกประการแก่ลูกหลานของฉันทุกคน เวลานี้ฉันมองดูแล้วนะ ตรวจดูแล้ว สิ่งที่ฉันต้องการมันสมใจนึกแล้ว ฉันมีความอิ่มใจบอกไม่ถูก ปลื้มใจที่ความปรารถนาสมหวังที่ฉันตั้งใจไว้นาน ปรารถนาไว้นาน คิดว่าจะทำไม่ได้แต่เวลานี้ทำได้แล้ว 🔆ลูกหลานของฉันทุกคน มีศรัทธาเป็นอจลศรัทธาแล้ว มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาแล้ว มีความดีพอสมควรแล้ว" พุทธพยากรณ์อนาคตของวัดท่าซุง ☀ "สถานที่นี้จะเป็นศูนย์ที่มีความสำคัญต่อไปในเบื้องหน้า วัดนี้ถ้ามันจะพังจริงๆ ก็ต้องพุทธศักราชสิ้นไป ๔,๕๐๐ ปีเศษ คือ ๔,๕๐๐ ปีเศษวัดนี้จึงจะสลายตัว นับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปหลังจากฝังลูกนิมิตในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ แล้ว ท่านบอกว่า "จากนี้ไป ๓ ปี วัดนี้จะมีพระอริยเจ้าประจำตลอดไปจนถึงพระพุทธศาสนาล่วงไปถึง ๔,๕๐๐ ปี หลังจากนั้นจึงขาดพระอริยเจ้า ส่วนคำสอนของวัดท่าซุงจะอยู่เป็นหลักตลอดไปถึง ๔,๕๐๐ ปีเช่นกัน..." จากหนังสือ "อนุสรณ์ครบ ๑๐๐ ปีเกิด หลวงพ่อพระราชพรหมยาน" (ปกแข็งสีทอง) หน้าที่ ๑๘ - ๑๙
    0 Comments 0 Shares 462 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    สัทธรรมลำดับที่ : 209
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ
    เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑.
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ.

    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น.
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ
    รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    แล.-
    *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง สัทธรรมลำดับที่ : 209 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑. --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ. เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น. เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี แล.- *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334. http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    -เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง,๑ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง. ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน ๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน. สัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ แล.
    0 Comments 0 Shares 244 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 964
    ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    ...
    --[กรณีของปฐมฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น
    มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด;
    กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ;
    ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น.

    +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป;
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของทุติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว
    ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของตติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของจตุตถฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้,
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน,
    จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป,
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.
    ...
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 964 ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 เนื้อความทั้งหมด :- --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ ... --[กรณีของปฐมฌาน] --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. ... #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282. http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ [กรณีของปฐมฌาน] โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้นมองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอ ย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. (ในกรณีแห่ง อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ และอากิญจัญญายตนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    0 Comments 0 Shares 305 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากายนครที่ปลอดภัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 589
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589
    ชื่อบทธรรม :- กายนครที่ปลอดภัย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กายนครที่ปลอดภัย
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ
    และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม,
    ในกาลใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน
    สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า
    “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม”
    ดังนี้,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มี ๑.สัทธา เป็นเสาระเนียด
    ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ
    บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=สทฺโธ+ตถาคต

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๒.หิริ
    ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
    ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่,
    ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=หิริ

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ
    ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๓.โอตตัปปะ
    สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
    สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=โอตฺตปฺ

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก
    ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว
    สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๔.สุตะ
    อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ,
    ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
    ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง
    พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ,
    ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก
    ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ
    ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=สุตา+พหุสฺสุโต

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก
    คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +-ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมี ๕.ความเพียร(วิริยะ)​อันปรารภแล้ว
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม
    มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย
    ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=วิริยพลกาโย

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร
    ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา
    ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก
    เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๖.สติ
    ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง
    ระลึกถึงตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มี​สติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=สติโทวาริโก

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง
    สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๗.ปัญญา
    ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้
    อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ
    ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่,
    ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=ปญฺญาย

    --อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่(๔) อันประกอบในจิตอันยิ่ง
    เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ?
    ๑--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๒--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๓--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้ากล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๔--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือ
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    --อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม
    เหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้
    และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่(๔)อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม
    เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้
    เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.-
    (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร.
    กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ;
    เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และ
    มีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้
    จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก
    แห่งพระบาลีนี้).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/87-93/64.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/87/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐๗-๑๑๓/๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/107/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=589
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากายนครที่ปลอดภัย สัทธรรมลำดับที่ : 589 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589 ชื่อบทธรรม :- กายนครที่ปลอดภัย เนื้อความทั้งหมด :- --กายนครที่ปลอดภัย --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม, ในกาลใด ; --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม” ดังนี้, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มี ๑.สัทธา เป็นเสาระเนียด ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง. -http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=สทฺโธ+ตถาคต --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๒.หิริ ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=หิริ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๓.โอตตัปปะ สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=โอตฺตปฺ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๔.สุตะ อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ, ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ, ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ. +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่. -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=สุตา+พหุสฺสุโต --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +-ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมี ๕.ความเพียร(วิริยะ)​อันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า. -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=วิริยพลกาโย --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๖.สติ ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง ระลึกถึงตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มี​สติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก. http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=สติโทวาริโก --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๗.ปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด. http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=ปญฺญาย --อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่(๔) อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ? ๑--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=นิพฺพานสฺส ๒--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส ๓--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้ากล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส ๔--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส --อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่(๔)อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ; --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.- (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และ มีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/87-93/64. http://etipitaka.com/read/thai/23/87/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐๗-๑๑๓/๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/23/107/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=589 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กายนครที่ปลอดภัย
    -กายนครที่ปลอดภัย ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม, ในกาลใด ; ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้. ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม” ดังนี้, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสัทธาเป็นเสาระเนียด ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีหิริ ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีโอตตัปปะ สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสุตะ อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ, ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ, ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมีความเพียรอันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง ระลึกถึง ตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด. อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้า กล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือเพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบากซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ; ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.
    0 Comments 0 Shares 503 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    สัทธรรมลำดับที่ : 585
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    --ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า.
    --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่.
    --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา
    น่ารักใคร่น่าพอใจ
    ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘#สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=อริยสฺส+สมุทฺโท

    โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
    หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น.
    เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
    เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ,
    สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้.

    --ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ ....

    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า
    ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’.
    โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
    หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์
    โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น.
    เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
    เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ,
    สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้.

    (คาถาผนวกท้ายพระสูตร)
    ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว
    ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว
    ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน
    ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก.
    เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง
    ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ;
    ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ;
    ท่านนั้น มอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้
    http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อโมหยี+มจฺจุราชนฺติ

    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/176/287-288.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๗-๒๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=585
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ลวงมัจจุราชให้หลง สัทธรรมลำดับที่ : 585 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585 ชื่อบทธรรม :- ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง --ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า. --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่. --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘#สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’. http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=อริยสฺส+สมุทฺโท โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. --ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก. เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ; ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ; ท่านนั้น มอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้ http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อโมหยี+มจฺจุราชนฺติ ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/176/287-288. http://etipitaka.com/read/thai/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๗-๒๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=585 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    -ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า. ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่. ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก. เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ; ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ; ท่านนั้นมอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้ ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 352 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    สัทธรรมลำดับที่ : 147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น,
    ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม,
    หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป
    อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ
    อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม,
    หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน
    ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น.
    ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส).

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา
    อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้แล้ว
    เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์
    ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่
    อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ”
    ดังนี้.
    เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้
    ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย.
    ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส)
    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่
    คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก
    ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง.
    อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น
    ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน.

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้
    แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้
    อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล.
    --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ สัทธรรมลำดับที่ : 147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่ คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630. http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    -เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้นเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขา ย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่าความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจาก เหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่าอุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 330 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 146
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=146
    ชื่อบทธรรม :- อัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากกามและสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย
    ย่อมบรรลุฌานที่หนึ่ง ซึ่งมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ,
    เพราะสงัดจากกามและสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย
    ย่อมบรรลุฌานที่หนึ่ง ซึ่งมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่,
    ในสมัยนั้น เธอย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง,
    ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น,
    และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย.
    ในสมัยนั้น เธอย่อมเสวยเวทนา อันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย.
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย
    ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง.
    --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ,
    เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ ย่อมบรรลุฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียวแห่งใจ
    ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด, ภิกษุ,
    เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ ย่อมบรรลุฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสในภายใน
    นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียวแห่งใจ,
    ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่,
    ในสมัยนั้นเธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง,
    ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น,
    และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย.
    ในสมัยนั้น เธอ ย่อมเสวยเวทนาอันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย.
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย
    ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง.
    --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ,
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ
    เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมบรรลุฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า
    “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข”
    ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ,
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ
    เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมบรรลุฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า
    “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข”
    ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในสมัยนั้น เธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง,
    ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น,
    และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย.
    ในสมัยนั้น เธอย่อมเสวยเวทนา อันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย.
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย
    ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง.
    --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ,
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้,
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน,
    ย่อมบรรลุฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา
    แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ,
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้,
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน,
    ย่อมบรรลุฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา
    แล้วแลอยู่.
    ในสมัยนั้น เธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง,
    ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น,
    และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย.
    ในสมัยนั้น เธอ ย่อมเสวยเวทนาอันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย.
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย
    -http://etipitaka.com/read/pali/12/177/?keywords=จตุตฺถํ+อสฺสาท
    ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่งแล.-

    #ทุกข์#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/121/205.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/121/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๗๖/๒๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=146
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=146
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 146 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=146 ชื่อบทธรรม :- อัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --อัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา --ภิกษุ ท. ! อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ย่อมบรรลุฌานที่หนึ่ง ซึ่งมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ, เพราะสงัดจากกามและสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ย่อมบรรลุฌานที่หนึ่ง ซึ่งมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่, ในสมัยนั้น เธอย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอย่อมเสวยเวทนา อันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง. --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ, เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ ย่อมบรรลุฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียวแห่งใจ ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด, ภิกษุ, เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ ย่อมบรรลุฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียวแห่งใจ, ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่, ในสมัยนั้นเธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมเสวยเวทนาอันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง. --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ, เพราะความจางคลายไปแห่งปีติเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมบรรลุฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ, เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมบรรลุฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอย่อมเสวยเวทนา อันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง. --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ, เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, ย่อมบรรลุฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ, เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, ย่อมบรรลุฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมเสวยเวทนาอันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย -http://etipitaka.com/read/pali/12/177/?keywords=จตุตฺถํ+อสฺสาท ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่งแล.- #ทุกข์​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/121/205. http://etipitaka.com/read/thai/12/121/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๗๖/๒๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/12/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=146 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=146 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา
    -อัสสาทะชั้นเลิศของเวทนา ภิกษุ ท. ! อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ย่อมบรรลุฌานที่หนึ่ง ซึ่งมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ, เพราะสงัดจากกามและสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ย่อมบรรลุฌานที่หนึ่ง ซึ่งมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่, ในสมัยนั้น เธอย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอย่อมเสวยเวทนา อันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ, เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ ย่อมบรรลุฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียวแห่งใจ ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด, ภิกษุ, เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ ย่อมบรรลุฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียวแห่งใจ ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่, ในสมัยนั้นเธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมเสวยเวทนาอันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ, เพราะความจางคลายไปแห่งปีติเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมบรรลุฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ, เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมบรรลุฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอย่อมเสวยเวทนา อันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก, ภิกษุ, เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละ ทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, ย่อมบรรลุฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ, เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, ย่อมบรรลุฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง, ย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น, และย่อมไม่คิดแม้ในทางที่จะให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย. ในสมัยนั้น เธอ ย่อมเสวยเวทนาอันไม่ทำความเดือดร้อนแต่อย่างใดเลย. ภิกษุ ท. ! เรากล่าว อัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนาทั้งหลาย ว่า มีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่งแล.
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 387 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952
    ชื่อบทธรรม : -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์
    ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?”
    --พราหมณ์ ! ในกรณีนี้
    เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร
    เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น.
    ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า.
    เรานั้น,
    วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม,
    คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า,
    เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....*--๑
    ฌานที่ ๒ ....
    ฌานที่ ๓ ....
    ฌานที่ ๔ ....
    อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข...
    มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่,

    (นั่งคู่บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเราสงัดจากกาม
    สงัดจากอกุศลธรรม เข้า &​ปฐมฌาน(ฌานที่๑)​;
    มีวิตก วิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้า &ทุติยฌาน(ฌานที่ ๒)​
    มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจาร สงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย;
    เพราะปีติสิ้นไป เข้า &​ตติยฌาน(ฌานที่ ๓)​
    ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข;
    เข้า &​จตุตถฌาน(ฌานที่ ๔)​ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข
    เพราะละสุขละทุกข์(อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข)​ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้
    มีแต่สติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    )​
    *--๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่า #ตถาคตไสยา” .

    --พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่,
    ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์,
    ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์,
    ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์,
    ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์.
    --พราหมณ์ ! นี้แล #ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์
    http://etipitaka.com/read/pali/20/234/?keywords=พฺราหฺมณ+ทิพฺ
    ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/234/503.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/175/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๓๔/๕๐๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_51.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ สัทธรรมลำดับที่ : 952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952 ชื่อบทธรรม : -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ เนื้อความทั้งหมด :- --ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?” --พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น. ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า. เรานั้น, วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม, คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....*--๑ ฌานที่ ๒ .... ฌานที่ ๓ .... ฌานที่ ๔ .... อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข... มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่, (นั่งคู่บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเราสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้า &​ปฐมฌาน(ฌานที่๑)​; มีวิตก วิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้า &ทุติยฌาน(ฌานที่ ๒)​ มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจาร สงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย; เพราะปีติสิ้นไป เข้า &​ตติยฌาน(ฌานที่ ๓)​ ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข; เข้า &​จตุตถฌาน(ฌานที่ ๔)​ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์(อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข)​ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีแต่สติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. )​ *--๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่า #ตถาคตไสยา” . --พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่, ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์, ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์, ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์, ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์. --พราหมณ์ ! นี้แล #ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ http://etipitaka.com/read/pali/20/234/?keywords=พฺราหฺมณ+ทิพฺ ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/234/503. http://etipitaka.com/read/thai/20/175/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๓๔/๕๐๓. http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_51.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?” พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น. ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า. เรานั้น, วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม, คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....๑ ที่ ๒ .... ที่ ๓ .... ที่ ๔ อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่, พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่, ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์, ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์, ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์, ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์. พราหมณ์ ! นี้แล ที่นั่งนอน ๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่าตถาคตไสยา” ที่หน้า ๑๓๐๙ แห่งหนังสือเล่มนี้. สูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 431 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาหมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    สัทธรรมลำดับที่ : 577
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577
    ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว
    ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า.
    ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ
    ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :
    --(๑) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย
    ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ;
    --(๒) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ;
    --(๓) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ;
    --(๔) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ;
    --(๕) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ;
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล
    เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก,
    เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร)
    เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ;

    เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็น​#ผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=ทุกฺขสฺมาติ

    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.17/158/305.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/158/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.๑๗/๒๐๑/๓๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=577
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาหมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน สัทธรรมลำดับที่ : 577 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577 ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน เนื้อความทั้งหมด :- --หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า. ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : --(๑) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ; --(๒) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ; --(๓) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ; --(๔) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ; --(๕) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ; --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก, เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร) เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ; เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็น​#ผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=ทุกฺขสฺมาติ ดังนี้แล.- ​ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.17/158/305. http://etipitaka.com/read/thai/17/158/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.๑๗/๒๐๑/๓๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=577 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    -หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า. ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : (๑) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ; (๒) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ; (๓) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ; (๔) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ; (๕) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ; ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก, เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร) เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ; เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 312 Views 0 Reviews
More Results