• รีโพสต์จากเพจเฟซบุ๊ก Art of Pipop พิภพ บุษราคัมวดี

    “ไม่เหมาะ มิบังควรอย่างยิ่ง!
    เมื่อคืนนี้เราไปเจอสินค้าชิ้นหนึ่งในแอป Temu เป็นพรมที่วางอยู่บนพื้น รูปธนบัตรไทยด้านที่มีพระบรมฉายาลักษณ์ รัชกาลที่ 10

    โดยเขียนคำบรรยายผลิตภัณฑ์เป็นภาษาไทยไว้ว่า
    “พรมห้องครัวดีไซน์เหรียญบาทไทย, โพลีเอสเตอร์ 100%, ไม่ลื่น, สามารถซักเครื่อง, ผูกผ้า, ทนทาน, ใช้ได้ทั้งประตู/ห้องน้ำ”

    ส่วนคำบรรยายผลิตภัณฑ์เป็นภาษาอังกฤษคือ
    “Thai Baht Coin Design Kitchen Mat, Soft Polyester 100%, Non-Slip, Machine Washable, Knit Weave, Durab”

    * หมายเหตุ: ขอเบลอภาพบางส่วนเพื่อความเหมาะสม

    ภาพทั้งหมดนี้ไม่เหมาะสม เป็นการนำพระบรมฉายาลักษณ์ไว้ในที่ต่ำ ทั้งๆ ที่ควรประดับพระบรมฉายาลักษณ์ในที่สูง

    นอกจากนี้การนำพระบรมฉายาลักษณ์ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะมาทำเป็นพรมหรือพรมเช็ดเท้า ถือเป็นการไม่เคารพและดูหมิ่น

    ใครที่ซื้อไปแล้วนำไปวางบนพื้น ก็มีโอกาสที่เท้าจะไปเหยียบย่ำ!

    ในขณะเดียวกัน พรมหรือพรมเช็ดเท้าเป็นสิ่งที่ต้องสัมผัสกับสิ่งสกปรก และอาจเสื่อมโทรมไปตามกาลเวลา การนำพระบรมฉายาลักษณ์มาใช้ในลักษณะนี้ จึงเป็นการแสดงออกถึงความไม่เหมาะสมและไม่สมควรที่สุด

    ประชาชนชาวไทยมีความเคารพและเทิดทูนต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ การกระทำเช่นนี้อาจสร้างความไม่พอใจและความรู้สึกที่ไม่ดีให้กับประชาชนทั่วไป

    Temu และเจ้าของผลิตภัณฑ์ควรมีวิจารณญาณในการใช้พระบรมฉายาลักษณ์ในทุกกรณี

    ขอเรียกร้องให้ Temu ระงับการจำหน่ายสินค้านี้

    ขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการติดต่อกับ Temu โดยด่วน

    รีโพสต์จากเพจเฟซบุ๊ก Art of Pipop พิภพ บุษราคัมวดี “ไม่เหมาะ มิบังควรอย่างยิ่ง! เมื่อคืนนี้เราไปเจอสินค้าชิ้นหนึ่งในแอป Temu เป็นพรมที่วางอยู่บนพื้น รูปธนบัตรไทยด้านที่มีพระบรมฉายาลักษณ์ รัชกาลที่ 10 โดยเขียนคำบรรยายผลิตภัณฑ์เป็นภาษาไทยไว้ว่า “พรมห้องครัวดีไซน์เหรียญบาทไทย, โพลีเอสเตอร์ 100%, ไม่ลื่น, สามารถซักเครื่อง, ผูกผ้า, ทนทาน, ใช้ได้ทั้งประตู/ห้องน้ำ” ส่วนคำบรรยายผลิตภัณฑ์เป็นภาษาอังกฤษคือ “Thai Baht Coin Design Kitchen Mat, Soft Polyester 100%, Non-Slip, Machine Washable, Knit Weave, Durab” * หมายเหตุ: ขอเบลอภาพบางส่วนเพื่อความเหมาะสม ภาพทั้งหมดนี้ไม่เหมาะสม เป็นการนำพระบรมฉายาลักษณ์ไว้ในที่ต่ำ ทั้งๆ ที่ควรประดับพระบรมฉายาลักษณ์ในที่สูง นอกจากนี้การนำพระบรมฉายาลักษณ์ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะมาทำเป็นพรมหรือพรมเช็ดเท้า ถือเป็นการไม่เคารพและดูหมิ่น ใครที่ซื้อไปแล้วนำไปวางบนพื้น ก็มีโอกาสที่เท้าจะไปเหยียบย่ำ! ในขณะเดียวกัน พรมหรือพรมเช็ดเท้าเป็นสิ่งที่ต้องสัมผัสกับสิ่งสกปรก และอาจเสื่อมโทรมไปตามกาลเวลา การนำพระบรมฉายาลักษณ์มาใช้ในลักษณะนี้ จึงเป็นการแสดงออกถึงความไม่เหมาะสมและไม่สมควรที่สุด ประชาชนชาวไทยมีความเคารพและเทิดทูนต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ การกระทำเช่นนี้อาจสร้างความไม่พอใจและความรู้สึกที่ไม่ดีให้กับประชาชนทั่วไป Temu และเจ้าของผลิตภัณฑ์ควรมีวิจารณญาณในการใช้พระบรมฉายาลักษณ์ในทุกกรณี ขอเรียกร้องให้ Temu ระงับการจำหน่ายสินค้านี้ ขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการติดต่อกับ Temu โดยด่วน
    Angry
    Like
    Sad
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 265 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระบรมฉายาลักษณ์สุดประทับใจ

    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช บรมนาถบพิตร และ “เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา” (สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา) เมื่อครั้งที่พระองค์ยังทรงพระเยาว์ ในขณะเสด็จร่วมพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เมื่อปี พ.ศ.2525

    ผู้บันทึกภาพนี้คือนักข่าวชาวนิวซีแลนด์ นาย John Stuart Laird ซึ่งเป็นนักข่าวเอพี Associated Press โดยพระบรมฉายาลักษณ์นี้ได้ฉายไว้เมื่อประมาณปี 2525 ในพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ใช้เลนส์ระยะ 500 มิลลิเมตร

    เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงอุ้มเจ้าฟ้าพัชรกิติยาภาไว้บนพระเพลา ในขณะนั้นเจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา ทรงมีพระชันษาเพียงขวบเศษเท่านั้น เป็นภาพที่ใครเห็นแล้วต้องสุขใจ และยิ้มไปกับพระอิริยาบถของเจ้าหญิงพระองค์น้อย กับสมเด็จปู่

    พระบรมฉายาลักษณ์นี้ทางไอจี welove_bajrakitiyabha ได้นำมาเผยเแพร่เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2560 ที่ผ่านมา โดยทางเพจได้ระบุว่า “เห็นภาพนี้ครั้งแรก ก็รู้สึกประทับใจเป็นอย่างมาก เพราะปกติไม่ค่อยเห็นทั้งสองพระองค์ถ่ายภาพด้วยกัน ทางเพจก็เลยบันทึกภาพนี้เก็บไว้เพื่อนำมาเผยแพร่ โดยที่ลืมดูว่าใครเป็นเจ้าของภาพ จนเวลาผ่านไปมีคนนำไปเผยแพร่มากมาย และเป็นภาพที่น่าจดจำ เป็นภาพที่น่าประทับใจของคนไทยหลายคน”

    #Thaitimes
    พระบรมฉายาลักษณ์สุดประทับใจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช บรมนาถบพิตร และ “เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา” (สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา) เมื่อครั้งที่พระองค์ยังทรงพระเยาว์ ในขณะเสด็จร่วมพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เมื่อปี พ.ศ.2525 ผู้บันทึกภาพนี้คือนักข่าวชาวนิวซีแลนด์ นาย John Stuart Laird ซึ่งเป็นนักข่าวเอพี Associated Press โดยพระบรมฉายาลักษณ์นี้ได้ฉายไว้เมื่อประมาณปี 2525 ในพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ใช้เลนส์ระยะ 500 มิลลิเมตร เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงอุ้มเจ้าฟ้าพัชรกิติยาภาไว้บนพระเพลา ในขณะนั้นเจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา ทรงมีพระชันษาเพียงขวบเศษเท่านั้น เป็นภาพที่ใครเห็นแล้วต้องสุขใจ และยิ้มไปกับพระอิริยาบถของเจ้าหญิงพระองค์น้อย กับสมเด็จปู่ พระบรมฉายาลักษณ์นี้ทางไอจี welove_bajrakitiyabha ได้นำมาเผยเแพร่เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2560 ที่ผ่านมา โดยทางเพจได้ระบุว่า “เห็นภาพนี้ครั้งแรก ก็รู้สึกประทับใจเป็นอย่างมาก เพราะปกติไม่ค่อยเห็นทั้งสองพระองค์ถ่ายภาพด้วยกัน ทางเพจก็เลยบันทึกภาพนี้เก็บไว้เพื่อนำมาเผยแพร่ โดยที่ลืมดูว่าใครเป็นเจ้าของภาพ จนเวลาผ่านไปมีคนนำไปเผยแพร่มากมาย และเป็นภาพที่น่าจดจำ เป็นภาพที่น่าประทับใจของคนไทยหลายคน” #Thaitimes
    Love
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 462 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 926 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • สุดมหัศจรรย์! ไฟไหม้บ้านวอด ยกเว้น "พระบรมฉายาลักษณ์ในหลวง" 09/10/67 #ไฟไหม้บ้าน #พระบรมฉายาลักษณ์ #ในหลวง
    สุดมหัศจรรย์! ไฟไหม้บ้านวอด ยกเว้น "พระบรมฉายาลักษณ์ในหลวง" 09/10/67 #ไฟไหม้บ้าน #พระบรมฉายาลักษณ์ #ในหลวง
    Like
    Love
    23
    0 ความคิดเห็น 3 การแบ่งปัน 1332 มุมมอง 395 0 รีวิว
  • ในหลวง ทอดพระเนตร พระราชินี ทรงร่วมแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย

    วันนี้ (วันอาทิตย์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๗) เวลา ๑๘.๒๖ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยมีนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสรวงศ์ เทือนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายหานจื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย นายก้องศักดิ์ ยอดมณี ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย หม่อมหลวงกฤษฎา เกษมสันต์ นายกสมาคมกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งแข็งแห่งประเทศไทยพร้อมคณะกรรมการ และคณะทำงาน ฯ เฝ้า ฯ รับเสด็จ

    ในโอกาสนี้สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ (Women’s Global Ambassador) คนแรก ตามคำกราบบังคมทูลเขิญของสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ทรงนำทีมไอซ์ฮอกกี้ราชอาณาจักรไทยแข่งขันกับทีมสาธารณรัฐประชาชนจีน นัดกระชับมิตรในครั้งนี้ด้วย

    การนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ ร่วมกับ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ผู้บริหารกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พร้อมคณะกรรมการจัดการแข่งขันฯ นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็ง ตามลำดับ

    จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายหาน จื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยกราบบังคมทูลรายงานและกราบบังคมทูลถวายพระพรชัยมงคล และพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้แทนจากสมาคมฮอกกี้น้ำแข็งแห่งประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึกแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ นายลุค ทาร์ดิฟ ประธานสหพันธ์ International Ice Hockey Federation (IHF) ทูลเกล้า ฯ ถวายโล่สัญลักษณ์ทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ของสหพันธ์ ฯ พร้อมใบประกาศ (IIHF Women's Global Ambassador) แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี

    โดยสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ได้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี เป็นทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิง(Women’s Global Ambassador) คนแรกของสหพันธ์ ด้วยพระปรีชาสามารถด้านกีฬาไอซ์ฮอกกี้อันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาปวงพสกนิกรชาวไทยและทั่วโลก เมื่อครั้งโดยเสด็จพระราชดำเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปทรงปฎิบัติพระราชกรณียกิจ ทรงเปิด ไทยแลนด์ อินเตอร์เนชันแนล ไอซ์ ฮอกกี้ อารีนา เชียงใหม่ (Thailand International Ice Hockey Arena Chiangmai) อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ทรงร่วมการแข่งขันในนัดเปิดสนามในครั้งนั้นด้วย ทรงสร้างความประทับใจและทรงเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักกีฬาหญิงจำนวนมาก และทรงเป็นแบบอย่างให้กับนักกีฬาในภูมิภาคเอเชียและทั่วโลก

    ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระนางเจ้าพระบรมราชินี ทอดพระเนตรการแสดงโชว์ในการแข่งขันกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย

    จากนั้น สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงเปลี่ยนฉลองพระองค์เป็นฉลองพระองค์นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งทีมราชอาณาจักรไทย เพื่อทรงร่วมแข่งขันกับทีมนักกีฬาฮอกกี้สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน ๓ Period ซึ่งระหว่างที่ทรงแข่งขันอยู่ในสนามนั้นสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงทุ่มเทพระวรกายในการแข่งขันอย่างเต็มพระกำลัง โดยเกมการแข่งขันของทั้งสองทีม ดำเนินไปอย่างสูสีผลัดกันรุกผลัดกันรับอย่างเข้มข้นจนจบการแข่งขัน

    ประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๑๘ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงให้ความสำคัญและทรงตั้งพระราชหฤทัยในการเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างทั้งสองประเทศที่มีมาอย่างยาวนานให้ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินเยือนและการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างสองประเทศในโอกาสต่างๆ ดังต่อไปนี้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายไฉ เจ๋อหมิน เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยคนแรก เข้าเฝ้าฯถวายสาส์นตราตั้ง ณ พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๙

    เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๓ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเป็นผู้แทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนจีนอย่างเป็นทางการ (State Visit) ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน

    วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการ ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน โดยนายว่าน หลี่ รองนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีต้อนรับณ จัตุรัสด้านตะวันออก ของมหาศาลาประชาชนกรุงปักกิ่ง และวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออก ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงรับ นาย สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนพร้อมด้วยคู่สมรส เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในโอกาสที่เดินทางมาเยือนประเทศไทย เพื่อเข้าร่วมการประชุมกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย– แปซิฟิก หรือ เอเปค (Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC) ครั้งที่ ๒๙ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร เป็นต้น

    การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena ในครั้งนี้เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ และในโอกาสครบ ๗๕ ปี แห่งการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นโอกาสอันดียิ่งที่ทั้งสองประเทศได้กระชับสัมพันธไมตรีที่ดี ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนระหว่างกันในทุกระดับ เพื่อประโยชน์สุขของราษฎรทั้งสองประเทศสืบไป

    #ทรงพระเจริญ #สืบสานรักษาต่อยอด
    #การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตร
    #สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทยจีน

    ที่มา : @พระลาน
    https://www.facebook.com/share/2aTmWcVP1wpm3egn/
    ในหลวง ทอดพระเนตร พระราชินี ทรงร่วมแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย วันนี้ (วันอาทิตย์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๗) เวลา ๑๘.๒๖ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยมีนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสรวงศ์ เทือนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายหานจื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย นายก้องศักดิ์ ยอดมณี ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย หม่อมหลวงกฤษฎา เกษมสันต์ นายกสมาคมกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งแข็งแห่งประเทศไทยพร้อมคณะกรรมการ และคณะทำงาน ฯ เฝ้า ฯ รับเสด็จ ในโอกาสนี้สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ (Women’s Global Ambassador) คนแรก ตามคำกราบบังคมทูลเขิญของสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ทรงนำทีมไอซ์ฮอกกี้ราชอาณาจักรไทยแข่งขันกับทีมสาธารณรัฐประชาชนจีน นัดกระชับมิตรในครั้งนี้ด้วย การนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ ร่วมกับ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ผู้บริหารกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พร้อมคณะกรรมการจัดการแข่งขันฯ นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็ง ตามลำดับ จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายหาน จื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยกราบบังคมทูลรายงานและกราบบังคมทูลถวายพระพรชัยมงคล และพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้แทนจากสมาคมฮอกกี้น้ำแข็งแห่งประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึกแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ นายลุค ทาร์ดิฟ ประธานสหพันธ์ International Ice Hockey Federation (IHF) ทูลเกล้า ฯ ถวายโล่สัญลักษณ์ทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ของสหพันธ์ ฯ พร้อมใบประกาศ (IIHF Women's Global Ambassador) แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี โดยสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ได้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี เป็นทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิง(Women’s Global Ambassador) คนแรกของสหพันธ์ ด้วยพระปรีชาสามารถด้านกีฬาไอซ์ฮอกกี้อันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาปวงพสกนิกรชาวไทยและทั่วโลก เมื่อครั้งโดยเสด็จพระราชดำเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปทรงปฎิบัติพระราชกรณียกิจ ทรงเปิด ไทยแลนด์ อินเตอร์เนชันแนล ไอซ์ ฮอกกี้ อารีนา เชียงใหม่ (Thailand International Ice Hockey Arena Chiangmai) อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ทรงร่วมการแข่งขันในนัดเปิดสนามในครั้งนั้นด้วย ทรงสร้างความประทับใจและทรงเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักกีฬาหญิงจำนวนมาก และทรงเป็นแบบอย่างให้กับนักกีฬาในภูมิภาคเอเชียและทั่วโลก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระนางเจ้าพระบรมราชินี ทอดพระเนตรการแสดงโชว์ในการแข่งขันกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย จากนั้น สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงเปลี่ยนฉลองพระองค์เป็นฉลองพระองค์นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งทีมราชอาณาจักรไทย เพื่อทรงร่วมแข่งขันกับทีมนักกีฬาฮอกกี้สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน ๓ Period ซึ่งระหว่างที่ทรงแข่งขันอยู่ในสนามนั้นสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงทุ่มเทพระวรกายในการแข่งขันอย่างเต็มพระกำลัง โดยเกมการแข่งขันของทั้งสองทีม ดำเนินไปอย่างสูสีผลัดกันรุกผลัดกันรับอย่างเข้มข้นจนจบการแข่งขัน ประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๑๘ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงให้ความสำคัญและทรงตั้งพระราชหฤทัยในการเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างทั้งสองประเทศที่มีมาอย่างยาวนานให้ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินเยือนและการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างสองประเทศในโอกาสต่างๆ ดังต่อไปนี้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายไฉ เจ๋อหมิน เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยคนแรก เข้าเฝ้าฯถวายสาส์นตราตั้ง ณ พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๙ เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๓ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเป็นผู้แทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนจีนอย่างเป็นทางการ (State Visit) ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการ ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน โดยนายว่าน หลี่ รองนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีต้อนรับณ จัตุรัสด้านตะวันออก ของมหาศาลาประชาชนกรุงปักกิ่ง และวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออก ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงรับ นาย สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนพร้อมด้วยคู่สมรส เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในโอกาสที่เดินทางมาเยือนประเทศไทย เพื่อเข้าร่วมการประชุมกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย– แปซิฟิก หรือ เอเปค (Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC) ครั้งที่ ๒๙ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร เป็นต้น การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena ในครั้งนี้เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ และในโอกาสครบ ๗๕ ปี แห่งการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นโอกาสอันดียิ่งที่ทั้งสองประเทศได้กระชับสัมพันธไมตรีที่ดี ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนระหว่างกันในทุกระดับ เพื่อประโยชน์สุขของราษฎรทั้งสองประเทศสืบไป #ทรงพระเจริญ #สืบสานรักษาต่อยอด #การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตร #สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทยจีน ที่มา : @พระลาน https://www.facebook.com/share/2aTmWcVP1wpm3egn/
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 808 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในหลวง-พระราชินี ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม

    วันนี้ 21 กันยายน 2567 เวลา 15.33 น.
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัส หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดย นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม พร้อมด้วยข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่และข้ราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรมประจําสํานักงานศาลยุติธรรม เฝ้า ฯ รับเสด็จ

    เมื่อเสด็จเข้าพลับพลาพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา พระพุทธยุติธรรมโลกนาถ ประทับพระราชอาสน์ทรงศีล พระราชทานพระบรมราชวโรกาส และพระวโรกาสให้ นายภพ เอครพานิช และนายเผ้าพันธ์ ชอบน้ําตาล รองเลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี

    จากนั้น นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา กราบบังคมทูลรายงาน พร้อมขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญเสด็จ ฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์และทรงเปิดอาคารที่ทําการ สํานักงานศาลยุติธรรม

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกจากพลับพลาพิธี ไปยังมณฑลพิธีวางศิลาฤกษ์ ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมแผ่นอิฐ ทอง นาก เงิน แผ่นศิลาฤกษ์ แล้วทรงวางลงในหลุม เสด็จ ฯ ไปยัง แท่นพิธีทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายอาคารที่ทําการสํานักงานศาลยุติธรรม

    ต่อมาพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม กราบบังคมทูลเบิกข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมและผู้มีอุปการคุณ จํานวน 120 ราย เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากนั้น นายไกรสร โสมจันทร์ ผู้พิพากษาศาลอุทธร์ประจําสํานักประธาน ศาลฎีกาเข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายแผ่นศิลาเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลงพระนามาภิไธย

    เสร็จแล้วทรงกราบที่หน้าเครื่องนมัสการ ทรงลาพระสงฆ์เสด็จออกจากพลับพลาพิธี เข้าห้องประทับรับรองอาคารที่ทำการสํานักงานศาลยุติธรรม ชั้น 12 ทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลง พระนามาภิไธยในสมุดที่ระลึก แล้วทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม

    ทั้งนี้ สํานักงานศาลยุติธรรมเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระ มีอํานาจหน้าที่ เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม โดยเมื่อศาลได้แยกออกจากกระทรวงยุติธรรมตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แล้ว พระราชบัญญติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีผลบังคับใช้ จึงได้ก่อตั้งสํานักงานศาลยุติธรรมและเริ่มปฏิบัติภารกิจนับตั้งแต่วันนที่ 20 ส.ค. 2543 เป็นต้นมา โดยภารกิจสําคัญรับผิดชอบงานด้านธุรการของศาลยุติธรรม รวมทั้งการส่งเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรมทั่วประเทศเป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เท่าเทียม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ

    แต่เดิมสํานักงานศาลยุติธรรมได้ใช้อาคาร ร่วมกับอาคารที่ทําการศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจุตจักร กรุงเทพมหานคร กระทั่งวันที่ 11 ม.ค. 2567 สํานักงานศาลยุติธรรมได้ย้ายที่ทําการมายังอาคารสร้างใหม่ ขนาดใหญ่พิเศษ สูง 26 ชั้น เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก มีหน่วยงานสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ จํานวน 20 สํานัก/กอง โดยอาคารที่สร้างใหม่มีความกว้างขวาง สง่างาม ผสมผสานองค์ประกอบภูมิสถาปัตยกรรม ที่ทันสมัยแสดงถึงการดํารงอยู่ขององค์กรตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน ทั้งนํารูปแบบของ “ดอกบัวไทย” ที่สื่อถึงความบริสุทธิ์ มาประยุกต์ใช้ในแกนของอาคารเพื่อแสดงออกถึง การคุ้มครองความบริสุทธิ์ ยุติธรรม อันเป็นภารกิจสําคัญของศาลยุติธรรม ขณะที่ด้านหน้าอาคารมีแนวเสาขนาดใหญ่ประดับเรียงกันเหมือน อาคารศาลทั่วไปอันเป็นรูปแบบการเชื่อมโยงกับอาคารศาลหลังอื่น ๆ ที่ล้อมรอบบริเวณข้างเคียงกัน และตรงจุดเชื่อมการสัญจรชั้นล่างกับชั้น 1 ยังได้ออกแบบผนังประดับป้ายชื่ออาคารซึ่งเป็นนลักษณะ อาคารในยุคสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพื้นที่ภายในอาคารชั้น 1 มีส่วนที่เป็นลานกว้างเพื่อรองรับผู้ที่มาติดต่อ ราชการและใช้สอยอาคาร ขณะที่ความทันสมัยในการออกแบบยังคํานึงถึงการประหยัดพลังงาน เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทานมีอายุการใช้งานยาวนาน สามารถหาทดแทนได้ในอนาคตด้วย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    ในหลวง-พระราชินี ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม วันนี้ 21 กันยายน 2567 เวลา 15.33 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัส หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดย นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม พร้อมด้วยข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่และข้ราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรมประจําสํานักงานศาลยุติธรรม เฝ้า ฯ รับเสด็จ เมื่อเสด็จเข้าพลับพลาพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา พระพุทธยุติธรรมโลกนาถ ประทับพระราชอาสน์ทรงศีล พระราชทานพระบรมราชวโรกาส และพระวโรกาสให้ นายภพ เอครพานิช และนายเผ้าพันธ์ ชอบน้ําตาล รองเลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา กราบบังคมทูลรายงาน พร้อมขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญเสด็จ ฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์และทรงเปิดอาคารที่ทําการ สํานักงานศาลยุติธรรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกจากพลับพลาพิธี ไปยังมณฑลพิธีวางศิลาฤกษ์ ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมแผ่นอิฐ ทอง นาก เงิน แผ่นศิลาฤกษ์ แล้วทรงวางลงในหลุม เสด็จ ฯ ไปยัง แท่นพิธีทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายอาคารที่ทําการสํานักงานศาลยุติธรรม ต่อมาพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม กราบบังคมทูลเบิกข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมและผู้มีอุปการคุณ จํานวน 120 ราย เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากนั้น นายไกรสร โสมจันทร์ ผู้พิพากษาศาลอุทธร์ประจําสํานักประธาน ศาลฎีกาเข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายแผ่นศิลาเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลงพระนามาภิไธย เสร็จแล้วทรงกราบที่หน้าเครื่องนมัสการ ทรงลาพระสงฆ์เสด็จออกจากพลับพลาพิธี เข้าห้องประทับรับรองอาคารที่ทำการสํานักงานศาลยุติธรรม ชั้น 12 ทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลง พระนามาภิไธยในสมุดที่ระลึก แล้วทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ทั้งนี้ สํานักงานศาลยุติธรรมเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระ มีอํานาจหน้าที่ เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม โดยเมื่อศาลได้แยกออกจากกระทรวงยุติธรรมตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แล้ว พระราชบัญญติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีผลบังคับใช้ จึงได้ก่อตั้งสํานักงานศาลยุติธรรมและเริ่มปฏิบัติภารกิจนับตั้งแต่วันนที่ 20 ส.ค. 2543 เป็นต้นมา โดยภารกิจสําคัญรับผิดชอบงานด้านธุรการของศาลยุติธรรม รวมทั้งการส่งเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรมทั่วประเทศเป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เท่าเทียม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ แต่เดิมสํานักงานศาลยุติธรรมได้ใช้อาคาร ร่วมกับอาคารที่ทําการศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจุตจักร กรุงเทพมหานคร กระทั่งวันที่ 11 ม.ค. 2567 สํานักงานศาลยุติธรรมได้ย้ายที่ทําการมายังอาคารสร้างใหม่ ขนาดใหญ่พิเศษ สูง 26 ชั้น เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก มีหน่วยงานสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ จํานวน 20 สํานัก/กอง โดยอาคารที่สร้างใหม่มีความกว้างขวาง สง่างาม ผสมผสานองค์ประกอบภูมิสถาปัตยกรรม ที่ทันสมัยแสดงถึงการดํารงอยู่ขององค์กรตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน ทั้งนํารูปแบบของ “ดอกบัวไทย” ที่สื่อถึงความบริสุทธิ์ มาประยุกต์ใช้ในแกนของอาคารเพื่อแสดงออกถึง การคุ้มครองความบริสุทธิ์ ยุติธรรม อันเป็นภารกิจสําคัญของศาลยุติธรรม ขณะที่ด้านหน้าอาคารมีแนวเสาขนาดใหญ่ประดับเรียงกันเหมือน อาคารศาลทั่วไปอันเป็นรูปแบบการเชื่อมโยงกับอาคารศาลหลังอื่น ๆ ที่ล้อมรอบบริเวณข้างเคียงกัน และตรงจุดเชื่อมการสัญจรชั้นล่างกับชั้น 1 ยังได้ออกแบบผนังประดับป้ายชื่ออาคารซึ่งเป็นนลักษณะ อาคารในยุคสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพื้นที่ภายในอาคารชั้น 1 มีส่วนที่เป็นลานกว้างเพื่อรองรับผู้ที่มาติดต่อ ราชการและใช้สอยอาคาร ขณะที่ความทันสมัยในการออกแบบยังคํานึงถึงการประหยัดพลังงาน เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทานมีอายุการใช้งานยาวนาน สามารถหาทดแทนได้ในอนาคตด้วย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    Like
    10
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 652 มุมมอง 0 รีวิว
  • วอร์นเนอร์ มิวสิค กับคอนเทนต์แซะศาล

    ไม่ว่าจะเป็นการกระทำโดยประมาท หรือจงใจอยากให้เกิดก็ตาม แต่โพสต์ในเพจเฟซบุ๊ก Warner Music Thailand ของค่ายเพลงวอร์นเนอร์ มิวสิค (ประเทศไทย) ค่ายเพลงสากลภายใต้การดูแลของ วอร์นเนอร์ มิวสิค กรุ๊ป โพสต์ภาพตัดต่อภาพตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในลักษณะที่มิบังควร เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2567 ที่ผ่านมา ถือเป็นความผิดสำเร็จแล้ว

    โพสต์ดังกล่าวเป็นการโปรโมตเพลงสากลที่ชื่อว่า Apple ของศิลปินที่ชื่อว่า Charli xcx โดยข้อความในภาพระบุว่า "I THINK THE APPLE'S ROTTEN RIGHT TO THE CORE ฉันว่ารูปแอปเปิลลูกนี้มันคงเน่าจนถึงแกนแล้วล่ะ" พร้อมกับตัดต่อภาพแอปเปิลที่มีสภาพเน่าเสียไปยังตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคน

    นอกจากนี้ ยังมีการตัดต่อภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์สองรัชกาล ที่กรอบรูปบนผนังด้านหลังบัลลังก์ โดยการปิดสีเขียวทับ และระบุข้อความภาษาอังกฤษที่มีความหมายในลักษณะที่ไม่บังควร

    ผลก็คือมีผู้คนเข้าไปแสดงความคิดเห็นไม่พอใจการกระทำของเพจเฟซบุ๊กค่ายเพลงดังกล่าวจำนวนมาก กระทั่งเวลาประมาณ 16.00 น. ของวันที่ 10 สิงหาคม 2567 ก็ได้ลบโพสต์ดังกล่าวออก แต่ก็ไม่มีท่าทีใดๆ ทำให้คนที่ไม่พอใจยังตามไปคอมเมนต์ในโพสต์เก่าๆ ส่วนแอดมินเพจเลือกที่จะลบโพสต์ย้อนหลัง และจำกัดการแสดงความคิดเห็นบนโพสต์ต่างๆ

    เมื่อไม่อาจต้านทานกระแสจากคนที่ไม่พอใจได้ ที่สุดแล้ว บริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด จึงได้ออกแถลงการณ์เมื่อเวลา 22.00 น. ของวันที่ 11 สิงหาคม 2567 ระบุว่า บริษัทฯ เสียใจเป็นอย่างยิ่งจากการนําเสนอเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมบนบัญชีสื่อโซเชียลอย่างเป็นทางการของบริษัทฯ

    "ภาพที่ใช้ในการสื่อสารทางด้านการตลาดออนไลน์มีความไม่เหมาะสม ทั้งยังไม่สอดคล้องกับหลักการและระเบียบของบริษัทฯ เนื้อหาดังกล่าวนี้ได้ถูกผลิตและเผยแพร่ออกไปโดยพนักงานระดับปฏิบัติการโดยที่ไม่ผ่านการขออนุมัติจากระดับบริหารและศิลปิน ทันทีที่ผู้บริหารทราบถึงเนื้อหาดังกล่าว จึงได้ดําเนินการลบออกทันที"

    ในแถลงการณ์ระบุว่า บริษัทฯ มีหลักการและระเบียบที่จะไม่นําเสนอ เนื้อหาและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเมือง ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมถึงการพาดพิงถึงเจ้าหน้าที่หรือตุลาการในกระบวนการยุติธรรม และอยู่ในระหว่างการพิจารณาบทลงโทษต่อพนักงานที่รับผิดชอบในการผลิตและเผยแพร่เนื้อหาดังกล่าว

    อนึ่ง กรณีแสดงความคิดเห็นในลักษณะของการวิจารณ์คำสั่งหรือคำวินิจฉัยคดีที่มิได้กระทำโดยสุจริต โดยใช้ถ้อยคำที่มีความหมายหยาบคาย เสียดสี หรืออาฆาตมาดร้าย เป็นความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 38 และมาตรา 39 และอาจเป็นความผิดฐานดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 198 ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1-7 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000-140,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

    กรณีที่เกิดขึ้น เป็นบทเรียนสำหรับคนทำการตลาด ผ่านบัญชีสื่อโซเชียลอย่างเป็นทางการ ถ้าต้องการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม สิ่งหนึ่งที่คนทำคอนเทนต์ต้องระมัดระวังโดยสามัญสำนึกก็คือ ชาติพันธุ์ ศาสนา การเมือง และสถานะทางเพศ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่จะส่งผลกระทบต่อแบรนด์ ยกเว้นถ้ามั่นใจในจุดยืนของตัวเองและฐานลูกค้าแล้ว

    #Newskit #WarnerMusicThailand #ศาลรัฐธรรมนูญ
    วอร์นเนอร์ มิวสิค กับคอนเทนต์แซะศาล ไม่ว่าจะเป็นการกระทำโดยประมาท หรือจงใจอยากให้เกิดก็ตาม แต่โพสต์ในเพจเฟซบุ๊ก Warner Music Thailand ของค่ายเพลงวอร์นเนอร์ มิวสิค (ประเทศไทย) ค่ายเพลงสากลภายใต้การดูแลของ วอร์นเนอร์ มิวสิค กรุ๊ป โพสต์ภาพตัดต่อภาพตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในลักษณะที่มิบังควร เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2567 ที่ผ่านมา ถือเป็นความผิดสำเร็จแล้ว โพสต์ดังกล่าวเป็นการโปรโมตเพลงสากลที่ชื่อว่า Apple ของศิลปินที่ชื่อว่า Charli xcx โดยข้อความในภาพระบุว่า "I THINK THE APPLE'S ROTTEN RIGHT TO THE CORE ฉันว่ารูปแอปเปิลลูกนี้มันคงเน่าจนถึงแกนแล้วล่ะ" พร้อมกับตัดต่อภาพแอปเปิลที่มีสภาพเน่าเสียไปยังตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคน นอกจากนี้ ยังมีการตัดต่อภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์สองรัชกาล ที่กรอบรูปบนผนังด้านหลังบัลลังก์ โดยการปิดสีเขียวทับ และระบุข้อความภาษาอังกฤษที่มีความหมายในลักษณะที่ไม่บังควร ผลก็คือมีผู้คนเข้าไปแสดงความคิดเห็นไม่พอใจการกระทำของเพจเฟซบุ๊กค่ายเพลงดังกล่าวจำนวนมาก กระทั่งเวลาประมาณ 16.00 น. ของวันที่ 10 สิงหาคม 2567 ก็ได้ลบโพสต์ดังกล่าวออก แต่ก็ไม่มีท่าทีใดๆ ทำให้คนที่ไม่พอใจยังตามไปคอมเมนต์ในโพสต์เก่าๆ ส่วนแอดมินเพจเลือกที่จะลบโพสต์ย้อนหลัง และจำกัดการแสดงความคิดเห็นบนโพสต์ต่างๆ เมื่อไม่อาจต้านทานกระแสจากคนที่ไม่พอใจได้ ที่สุดแล้ว บริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด จึงได้ออกแถลงการณ์เมื่อเวลา 22.00 น. ของวันที่ 11 สิงหาคม 2567 ระบุว่า บริษัทฯ เสียใจเป็นอย่างยิ่งจากการนําเสนอเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมบนบัญชีสื่อโซเชียลอย่างเป็นทางการของบริษัทฯ "ภาพที่ใช้ในการสื่อสารทางด้านการตลาดออนไลน์มีความไม่เหมาะสม ทั้งยังไม่สอดคล้องกับหลักการและระเบียบของบริษัทฯ เนื้อหาดังกล่าวนี้ได้ถูกผลิตและเผยแพร่ออกไปโดยพนักงานระดับปฏิบัติการโดยที่ไม่ผ่านการขออนุมัติจากระดับบริหารและศิลปิน ทันทีที่ผู้บริหารทราบถึงเนื้อหาดังกล่าว จึงได้ดําเนินการลบออกทันที" ในแถลงการณ์ระบุว่า บริษัทฯ มีหลักการและระเบียบที่จะไม่นําเสนอ เนื้อหาและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเมือง ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมถึงการพาดพิงถึงเจ้าหน้าที่หรือตุลาการในกระบวนการยุติธรรม และอยู่ในระหว่างการพิจารณาบทลงโทษต่อพนักงานที่รับผิดชอบในการผลิตและเผยแพร่เนื้อหาดังกล่าว อนึ่ง กรณีแสดงความคิดเห็นในลักษณะของการวิจารณ์คำสั่งหรือคำวินิจฉัยคดีที่มิได้กระทำโดยสุจริต โดยใช้ถ้อยคำที่มีความหมายหยาบคาย เสียดสี หรืออาฆาตมาดร้าย เป็นความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 38 และมาตรา 39 และอาจเป็นความผิดฐานดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 198 ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1-7 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000-140,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ กรณีที่เกิดขึ้น เป็นบทเรียนสำหรับคนทำการตลาด ผ่านบัญชีสื่อโซเชียลอย่างเป็นทางการ ถ้าต้องการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม สิ่งหนึ่งที่คนทำคอนเทนต์ต้องระมัดระวังโดยสามัญสำนึกก็คือ ชาติพันธุ์ ศาสนา การเมือง และสถานะทางเพศ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่จะส่งผลกระทบต่อแบรนด์ ยกเว้นถ้ามั่นใจในจุดยืนของตัวเองและฐานลูกค้าแล้ว #Newskit #WarnerMusicThailand #ศาลรัฐธรรมนูญ
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 830 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทรงพระเจริญ
    ที่ Time Square New York
    ขึ้นพระบรมฉายาลักษณ์ “ในหลวง” รัชกาลที่ 10
    LONG LIVE THE KING
    เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ
    28 กรกฎาคม 2567

    ขอบคุณและขอแชร์ภาพในโลกโซเชียลX

    #Thaitimes
    ทรงพระเจริญ ที่ Time Square New York ขึ้นพระบรมฉายาลักษณ์ “ในหลวง” รัชกาลที่ 10 LONG LIVE THE KING เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ขอบคุณและขอแชร์ภาพในโลกโซเชียลX #Thaitimes
    Love
    Like
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 513 มุมมอง 0 รีวิว