• "ภูมิธรรม" เร่งเครื่อง! สั่งโยกย้าย ข้าราชการมหาดไทย ไม่รอ ก.ย. ลั่นฟัน ม.157 ถ้าพบ "เกียร์ว่าง"
    https://www.thai-tai.tv/news/20279/
    .
    #ภูมิธรรม #กระทรวงมหาดไทย #โยกย้ายข้าราชการ #บริหารราชการ #เกียร์ว่าง #มาตรา157 #ข่าวการเมือง
    "ภูมิธรรม" เร่งเครื่อง! สั่งโยกย้าย ข้าราชการมหาดไทย ไม่รอ ก.ย. ลั่นฟัน ม.157 ถ้าพบ "เกียร์ว่าง" https://www.thai-tai.tv/news/20279/ . #ภูมิธรรม #กระทรวงมหาดไทย #โยกย้ายข้าราชการ #บริหารราชการ #เกียร์ว่าง #มาตรา157 #ข่าวการเมือง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • กินรวบกุมอำนาจ หน่วยงานความมั่นคง : [NEWS UPDATE]

    นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรมว.มหาดไทย ในฐานะรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ลงนามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี มอบอำนาจให้รองนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี โดยนายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี กำกับการบริหารราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้ 1.กระทรวงกลาโหม 2.กระทรวงการต่างประเทศ 3.กระทรวงมหาดไทย 4.กระทรวงยุติธรรม 5.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 6.สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ 7.สำนักข่าวกรองแห่งชาติ 8.สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 9.สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และ 10.ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

    -ถอยวาระร้อน

    -สอบพยานฟอกเงิน สว.เพิ่ม

    -เตือนภัย 33 จังหวัด

    -ไม่ต้องพึ่งศาลโลก
    กินรวบกุมอำนาจ หน่วยงานความมั่นคง : [NEWS UPDATE] นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรมว.มหาดไทย ในฐานะรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ลงนามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี มอบอำนาจให้รองนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี โดยนายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี กำกับการบริหารราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้ 1.กระทรวงกลาโหม 2.กระทรวงการต่างประเทศ 3.กระทรวงมหาดไทย 4.กระทรวงยุติธรรม 5.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 6.สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ 7.สำนักข่าวกรองแห่งชาติ 8.สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 9.สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และ 10.ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ -ถอยวาระร้อน -สอบพยานฟอกเงิน สว.เพิ่ม -เตือนภัย 33 จังหวัด -ไม่ต้องพึ่งศาลโลก
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 465 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • หน้าที่หลักของนายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ซึ่งเป็นหัวหน้ารัฐบาล ตามระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (เช่น ไทย อังกฤษ ญี่ปุ่น) มีดังนี้:

    1. **เป็นหัวหน้ารัฐบาล:**
    * เป็นผู้บัญชาการสูงสุดในการบริหารราชการแผ่นดิน
    * กำหนดนโยบายของคณะรัฐมนตรี (Cabinet) และรับผิดชอบต่อการดำเนินนโยบายนั้น
    * คุมทิศทางและประสานงานการทำงานของกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ

    2. **คัดเลือกและจัดตั้งคณะรัฐมนตรี:**
    * เป็นผู้เสนอชื่อบุคคลเพื่อพระมหากษัตริย์ (ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ) หรือประมุขแห่งรัฐ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี
    * มีอำนาจปรับเปลี่ยน (reshuffle) คณะรัฐมนตรี โดยการแต่งตั้งหรือถอดถอนรัฐมนตรี

    3. **เป็นผู้นำในรัฐสภา:**
    * แถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา
    * ตอบคำถามและชี้แจงนโยบายในการอภิปรายทั่วไปในรัฐสภา (เช่น การอภิปรายไม่ไว้วางใจ)
    * เสนอร่างกฎหมายสำคัญของรัฐบาลต่อรัฐสภา

    4. **เป็นโฆษกหลักของรัฐบาล:**
    * ชี้แจงนโยบายและสถานการณ์สำคัญของประเทศต่อสาธารณชน
    * เป็นตัวแทนของรัฐบาลในการแถลงข่าวหรือสื่อสารในประเด็นเร่งด่วนหรือสำคัญระดับชาติ

    5. **เป็นผู้แทนประเทศในเวทีระหว่างประเทศ:**
    * เป็นตัวแทนสูงสุดของรัฐบาลในการเยือนต่างประเทศและต้อนรับผู้นำต่างประเทศ
    * เข้าร่วมการประชุมสุดยอดระหว่างประเทศ (เช่น การประชุมอาเซียน สหประชาชาติ G20)

    6. **เป็นประธานในการประชุมคณะรัฐมนตรี:**
    * เรียกประชุมและเป็นประธานในการประชุมคณะรัฐมนตรี
    * นำเสนอวาระการประชุมและชี้ขาดในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีความเห็นไม่ตรงกัน

    7. **รับผิดชอบต่อความมั่นคงของชาติ:**
    * เป็นประธานในคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง (เช่น คณะกรรมการนโยบายต่างประเทศ คณะกรรมการความมั่นคงแห่งชาติ - ในบางประเทศ)
    * เป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพในยามสงบ (ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ) หรือประสานงานกับฝ่ายทหาร (ในประเทศที่ประมุขแห่งรัฐเป็นผู้บัญชาการสูงสุด เช่น ไทย)

    8. **การใช้อำนาจตามกฎหมาย:**
    * ลงนามในพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และเอกสารราชการสำคัญต่างๆ ร่วมกับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ
    * ใช้อำนาจอื่นๆ ตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายกำหนด

    9. **การแก้ไขวิกฤต:**
    * เป็นผู้มีบทบาทสำคัญและเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจและแก้ไขวิกฤตการณ์ต่างๆ ของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นวิกฤตเศรษฐกิจ สังคม การเมือง หรือภัยธรรมชาติ

    10. **การรับผิดชอบทางการเมือง:**
    * ต้องรับผิดชอบทางการเมืองต่อรัฐสภาและประชาชน หากรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดหรือนโยบายล้มเหลว นายกรัฐมนตรีมักจะเป็นผู้ที่ต้องลาออกหรือถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจก่อนใคร

    **หมายเหตุ:**
    * รายละเอียดหน้าที่และอำนาจอาจแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ขึ้นอยู่กับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและประเพณีทางการเมืองของประเทศนั้นๆ
    * ในประเทศไทย หน้าที่และอำนาจของนายกรัฐมนตรีกำหนดไว้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2560) โดยเฉพาะในมาตรา 171, 172, 173 และหมวด 6 ว่าด้วยคณะรัฐมนตรี
    * นายกรัฐมนตรีต้องดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในประเทศไทย

    สรุปได้ว่า นายกรัฐมนตรีมีบทบาทสำคัญที่สุดในฝ่ายบริหาร ในการกำหนดทิศทางประเทศ นำการบริหารราชการแผ่นดิน และเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจเรื่องสำคัญต่างๆ ของชาติ
    หน้าที่หลักของนายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ซึ่งเป็นหัวหน้ารัฐบาล ตามระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (เช่น ไทย อังกฤษ ญี่ปุ่น) มีดังนี้: 1. **เป็นหัวหน้ารัฐบาล:** * เป็นผู้บัญชาการสูงสุดในการบริหารราชการแผ่นดิน * กำหนดนโยบายของคณะรัฐมนตรี (Cabinet) และรับผิดชอบต่อการดำเนินนโยบายนั้น * คุมทิศทางและประสานงานการทำงานของกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ 2. **คัดเลือกและจัดตั้งคณะรัฐมนตรี:** * เป็นผู้เสนอชื่อบุคคลเพื่อพระมหากษัตริย์ (ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ) หรือประมุขแห่งรัฐ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี * มีอำนาจปรับเปลี่ยน (reshuffle) คณะรัฐมนตรี โดยการแต่งตั้งหรือถอดถอนรัฐมนตรี 3. **เป็นผู้นำในรัฐสภา:** * แถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา * ตอบคำถามและชี้แจงนโยบายในการอภิปรายทั่วไปในรัฐสภา (เช่น การอภิปรายไม่ไว้วางใจ) * เสนอร่างกฎหมายสำคัญของรัฐบาลต่อรัฐสภา 4. **เป็นโฆษกหลักของรัฐบาล:** * ชี้แจงนโยบายและสถานการณ์สำคัญของประเทศต่อสาธารณชน * เป็นตัวแทนของรัฐบาลในการแถลงข่าวหรือสื่อสารในประเด็นเร่งด่วนหรือสำคัญระดับชาติ 5. **เป็นผู้แทนประเทศในเวทีระหว่างประเทศ:** * เป็นตัวแทนสูงสุดของรัฐบาลในการเยือนต่างประเทศและต้อนรับผู้นำต่างประเทศ * เข้าร่วมการประชุมสุดยอดระหว่างประเทศ (เช่น การประชุมอาเซียน สหประชาชาติ G20) 6. **เป็นประธานในการประชุมคณะรัฐมนตรี:** * เรียกประชุมและเป็นประธานในการประชุมคณะรัฐมนตรี * นำเสนอวาระการประชุมและชี้ขาดในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีความเห็นไม่ตรงกัน 7. **รับผิดชอบต่อความมั่นคงของชาติ:** * เป็นประธานในคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง (เช่น คณะกรรมการนโยบายต่างประเทศ คณะกรรมการความมั่นคงแห่งชาติ - ในบางประเทศ) * เป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพในยามสงบ (ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ) หรือประสานงานกับฝ่ายทหาร (ในประเทศที่ประมุขแห่งรัฐเป็นผู้บัญชาการสูงสุด เช่น ไทย) 8. **การใช้อำนาจตามกฎหมาย:** * ลงนามในพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และเอกสารราชการสำคัญต่างๆ ร่วมกับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ * ใช้อำนาจอื่นๆ ตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายกำหนด 9. **การแก้ไขวิกฤต:** * เป็นผู้มีบทบาทสำคัญและเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจและแก้ไขวิกฤตการณ์ต่างๆ ของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นวิกฤตเศรษฐกิจ สังคม การเมือง หรือภัยธรรมชาติ 10. **การรับผิดชอบทางการเมือง:** * ต้องรับผิดชอบทางการเมืองต่อรัฐสภาและประชาชน หากรัฐบาลบริหารงานผิดพลาดหรือนโยบายล้มเหลว นายกรัฐมนตรีมักจะเป็นผู้ที่ต้องลาออกหรือถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจก่อนใคร **หมายเหตุ:** * รายละเอียดหน้าที่และอำนาจอาจแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ขึ้นอยู่กับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและประเพณีทางการเมืองของประเทศนั้นๆ * ในประเทศไทย หน้าที่และอำนาจของนายกรัฐมนตรีกำหนดไว้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2560) โดยเฉพาะในมาตรา 171, 172, 173 และหมวด 6 ว่าด้วยคณะรัฐมนตรี * นายกรัฐมนตรีต้องดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในประเทศไทย สรุปได้ว่า นายกรัฐมนตรีมีบทบาทสำคัญที่สุดในฝ่ายบริหาร ในการกำหนดทิศทางประเทศ นำการบริหารราชการแผ่นดิน และเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจเรื่องสำคัญต่างๆ ของชาติ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 283 มุมมอง 0 รีวิว
  • รวมพลังแผ่นดินยึดอำนาจโดยมวลมหาพลังชนคนแผ่นดินไทยเลย,วิจัยสัก10-20ปีว่ารูปแบบบริหารจัดการโดยภาคประชาชนเป็นผู้นำประเทศจะเป็นแบบใด,ดีกว่านักการเมืองบริหารราชการหรือภาคประชาชนบริหารราชการไทยดีกว่า,อนาคตกฎหมายอะไรที่ออกมาแล้วที่ผ่านๆมาจากกฎกระทรวงทบวงกรมเขียนออกเองแล้วเหี้ยๆมากมายสามารถฉีกทิ้งได้เลยด้วยทีมเฉพาะพิเศษของภาคประชาชนมาดูเรื่องนี้โดยเฉพาะ,เช่นกฎหมายที่ดินมากมายที่นายทุนทั้งในและต่างประเทศใช้กฎหมายบัดสบนั้นย่ำยีอธิปไตยในที่ดินชาติไทยมานานยึดครองแทนประชาชนคนไทยไปเป็นอันมากโดยอาศัยกฎหมายนั้นๆเขียนเอื้ออำนวยสร้างให้พวกมันจะจัดการใหม่ทั้งหมด เมื่อภาคประชาชนยึดอำนาจได้แล้ว สิ้นสุดสถาบันนักการเมือง มาเป็นสถาบันของประชาชนเลยปกครองเอง เขียนกฎหมายที่ดำรงไว้เพื่อประชาชนจริงมิใช่เพื่อคนต่างชาติต่างประเทศเพื่อนายทุนซึ่งส่วนใหญ่คืออีลิทdeep stateต้องการปกครองประชาชนคนไทยผ่านลักษณะภาคการเมืองและภาคกิจการบริษัทการยึดกิจการผูกขาดต่างๆภายในประเทศ ชาวไทยเรากำหนดราคาสินค้าที่เหมาะสมไม่ได้เลย,เช่นสินค้าทุกๆชนิดต้องขึ้นลงตามราคาทองคำเพราะทองคำยังอ้างอิงใช้เป็นหลักค้ำประกันการพิมพ์พันธบัตรได้หรือค้ำประกันตังดิจิดัลของรัฐบาลตนก็ว่า,สามารถควบคุมอัตราเงินเฟ้อทันทีได้,ตลอดเงินเดือนค่าแรงงานคนไทยต้องอ้างอิงราคาทองคำเรียลไทม์ด้วยเช่นกันเพื่อสามารถชนะค่าครองชีพให้ทันความเป็นจริง,ราคาสินค้า100บาทต่อชิ้น,เงินเดือนยัง9,000บาทต่อเดือนมันใข่เหรอ,จาก100บาทเคยซื้อของได้5-6ชิ้นหรือมากกว่า,หรือ15,000บาทต่อเดือนก็ตาม,แต่สถานะค่าดำรงชีพจริงและการใช้จ่ายไทบ้านประชาชนปกติธรรมดายังหาตังหารายได้ได้น้อยกว่าที่เป็นจริง,หรือสูงกว่ารายได้,หรือค่าใช้จ่ายต่างๆทั่วชุมชนส่งคมรอบๆตนแพงสูงขึ้นนั้นเอง,การปกครองหากแก้ต้นเหตุได้จะจบสิ้นทันที,ทุกๆอย่างหากควบคุมที่ต้นเหตุได้จริง คนไทยเราจะใช้ชีวิตไม่ลำบากมาถึงทุกๆวันนี้เพราะสถาบันภาคนักการเมืองเสื่อมสถานะแล้วขาดคุณสมบัติให้บริหารชาติปกครองประเทศอีกต่อไปโดยสิ้นเชิง,อบต.ต้องยุบทั่วประเทศสิ้นเปลืองงบประมาณแผ่นดิน,เรามีข้าราชการมากเกินไปและเป็นระบบอุปถัมภ์เสียมาก,พี่น้องวงศ์ตระกูลทั้งสิ้นเสียมากต่างฝาดต่างให้คะแนนผ่านสอบกัน,หายุติธรรมลำบาก,เป็นไปด้วยการทุจริตใต้โต๊ะโดยมากโดยผู้หลักผู้ใหญ่ภายในองค์กรคัดเลือกนี้เอง,เงินกว่า60-70%ของงบประเทศจะเป็นไปเพื่อค่าสาระพัดต่างๆที่เสียไปแก่คนในระบบราชการนี้,เงินเดือนไม่พอ มีสวัสดิการ ค่าเบี้ยเลี้ยงเบี้ยประชุมสัมมนาอีกไม่รวมโบนัสค่าตำแหน่งค่าน้ำมันรถค่าบ้านค่าไฟเบิกหลวงทางอ้อมได้หมดนอกจากทางตรงแค่ตังเงินเดือน,ส่วนประชาชนกินแกลบเสียค่าปรับค่าธรรมเนียมค่าบำรุงคนของข้าราชการรัฐตรึมภาษีสาระพัดค่าใบอนุญาตจิปาถะ ,พื้นๆไปดูโรงเรียนเลย เก็บค่านั้นนี้กับผู้ปกครองเด็กๆสาระพัด ค่ากิจกรรมต่างๆอีก เรี่ยไรสร้างสาระพัดสิ่งในโรงเรียนอีก,เคสสถานศึกษาดูง่ายที่สุด.
    ..คือประเทศไทยต้องเปลี่ยนแปลงต้องพลิกประเทศจริงๆ,มีบ่อน้ำมันเต็มประเทศบ่อทองคำมากล้นเป็นสายทางแร่ แต่จากการปกครองผ่านมาหลายทศวรรษพิสูจน์แล้วว่าเหี้ยหมด,ตกประเมินก็ได้,ขาดคุณสมบัติก็ด้วย,ล้มเหลวทางการปกครองยิ่งชัด,ดูได้ชัดเจนจากสถาบันภาคการเมืองบริหารปกครองระบบราชการไม่ดี ปล่อยบ่อน้ำมันให้ตกไปแก่เอกชนต่างชาติและเอกชนภายในประเทศที่ถูกครอบงำจากคนไม่ดีไปตกแก่พวกนี้เกือบ100% รัฐบาลเองโดยสถาบันภาคนักการเมืองต้องบริหารอย่างซื่อสัตย์สุจริตใจต่อประชาชนต่อประเทศต่ออธิปไตยตนเองเพราะแน่นอนบ่อน้ำมันนั้นหากเขาได้ไปจะเสียสิทธิ์ทางอธิปไตยพื้นที่สัมปทานไปทันทีคือแปลงที่ดินนั้นเขาได้สิทธิเหนือกฎหมายอธิปไตยชาติไทยทันที,สะดวกต่อกิจกรรมใดๆเอกชนนั้นทันที,กว่าเสียอธิปไตยพรมแดนเขมรอีกที่เป็นเรื่องในตอนนี้,สัมปทานไปกว่า21ครั้งแล้ว เสียพื้นที่บริหารจัดการทางที่ดินไปกี่ล้านไร่แล้วทั่วประเทศ,ชาวบ้านขุดเจอน้ำมันบนที่ดินตนเองปกติสมควรเป็นของส่วนรวมแต่เหี้ยเอกชนนั้นๆมันมายึดครองทันที เช่นแปลงสัมปทานที่มันได้กินพื้นที่อุดร สกล หนองคาย หากชาวบ้านขุดบ่อบาดาลแล้วเจอน้ำมัน พวกมันมายึดไปขุดแทนที่ทันที,นี้คือกฎหมายและสัมปทานขายอธิปไตยความมั่นคงทางพลังงานและอธิปไตยเหนือที่ดินประชาชนชาวไทยเราทันที,ต้องฉีกทิ้งกฎหมายนี้ทั้งหมดทันทีเช่นกัน ,นี้คือหน้าที่ภาคประชาชนคนไทยต้องจบในรุ่นยุคเราให้ได้,มันบัดสบพอแล้ว,อิหร่านมีบ่อน้ำมันมีโรงกลั่นน้ำมันน้อยกว่าไทยเสือกขายน้ำมันภายในประเทศอิหร่านแค่ลิตรละ1-2บาทได้,นั้นแสดงว่าวิถีปกครองเรามีปัญหาและคือตัวถ่วงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนคนไทยเราทั้งประเทศจริง,และตัวการใหญ่ที่ทำไมจึงตั้งใจปกครองให้ประชาชนโง่ไม่ให้รู้ความจริงตรงนีัและอัดสถานะเพิ่มบัตรคนจนให้มากๆคงความมั่นคงทางความยากจนความจนให้คนไทยมากๆ.
    ..เราต้องการเห็นภาคประชาชนชนะและยึดอำนาจรัฐบาลจริงจังได้เสียที,ไล่ออกรัฐบาลสมคบคิดต่อศัตรูภัยอธิปไตยชาติไทยตนเองภัยคุกคามแผ่นดินไทยตนเองทันทีแล้วทำให้สุดซอยยึดอำนาจโดยภาคประชาชนเลยเคียงคู่ทหารไทยเราที่ยืนเคียงข้างประชาชนคนไทยตนเองเพราะทหารทุกๆคนก็ประชาชนคนไทยเรานี้ไปเป็นทหารในชื่อว่าทหารแทนชื่ิอว่าประชาชนคนไทยคนหนึ่งเท่านั้น,ประเทศไทยถึงเวลาเปลี่ยนแปลงกันอย่างจริงจังครั่งใหญ่แล้ว,เพราะนี้คือสงครามย่อยบทท้าทายเบื้องต้นแค่นั่น,รัฐบาลที่มาจากภาคประชาชนยึดอำนาจปกครองเองที่มิใช่ทหาร ประเทศทั่วโลกไหนจะเหี้ยประนามเรา,เราสมควรเลิกชุมนุมแล้วให้ทหารรับกรรมว่ายึดอำนาจรัฐประหารเถอะ,เรา..ประชาชนยึดอำนาจเองเลย ทำให้สุดซอยเลย,ไม่มีใครผิดกฎหมายในกระบวนการยึดอำนาจจริงคืนมาจากตัวแทนที่เลวชั่วใช้อำนาจเราไปทางที่ชั่วเลวนั่นเองจนสู่ภัยคุกคามที่ร้ายแรงถึงอธิปไตยชาติไทยตนเองจะปล่อยไว้ทำซากอะไรให้เนินนานขนาดนี้.

    https://youtu.be/MGtFbJDl1lc?si=EXDyGbqUgRSqHBov
    รวมพลังแผ่นดินยึดอำนาจโดยมวลมหาพลังชนคนแผ่นดินไทยเลย,วิจัยสัก10-20ปีว่ารูปแบบบริหารจัดการโดยภาคประชาชนเป็นผู้นำประเทศจะเป็นแบบใด,ดีกว่านักการเมืองบริหารราชการหรือภาคประชาชนบริหารราชการไทยดีกว่า,อนาคตกฎหมายอะไรที่ออกมาแล้วที่ผ่านๆมาจากกฎกระทรวงทบวงกรมเขียนออกเองแล้วเหี้ยๆมากมายสามารถฉีกทิ้งได้เลยด้วยทีมเฉพาะพิเศษของภาคประชาชนมาดูเรื่องนี้โดยเฉพาะ,เช่นกฎหมายที่ดินมากมายที่นายทุนทั้งในและต่างประเทศใช้กฎหมายบัดสบนั้นย่ำยีอธิปไตยในที่ดินชาติไทยมานานยึดครองแทนประชาชนคนไทยไปเป็นอันมากโดยอาศัยกฎหมายนั้นๆเขียนเอื้ออำนวยสร้างให้พวกมันจะจัดการใหม่ทั้งหมด เมื่อภาคประชาชนยึดอำนาจได้แล้ว สิ้นสุดสถาบันนักการเมือง มาเป็นสถาบันของประชาชนเลยปกครองเอง เขียนกฎหมายที่ดำรงไว้เพื่อประชาชนจริงมิใช่เพื่อคนต่างชาติต่างประเทศเพื่อนายทุนซึ่งส่วนใหญ่คืออีลิทdeep stateต้องการปกครองประชาชนคนไทยผ่านลักษณะภาคการเมืองและภาคกิจการบริษัทการยึดกิจการผูกขาดต่างๆภายในประเทศ ชาวไทยเรากำหนดราคาสินค้าที่เหมาะสมไม่ได้เลย,เช่นสินค้าทุกๆชนิดต้องขึ้นลงตามราคาทองคำเพราะทองคำยังอ้างอิงใช้เป็นหลักค้ำประกันการพิมพ์พันธบัตรได้หรือค้ำประกันตังดิจิดัลของรัฐบาลตนก็ว่า,สามารถควบคุมอัตราเงินเฟ้อทันทีได้,ตลอดเงินเดือนค่าแรงงานคนไทยต้องอ้างอิงราคาทองคำเรียลไทม์ด้วยเช่นกันเพื่อสามารถชนะค่าครองชีพให้ทันความเป็นจริง,ราคาสินค้า100บาทต่อชิ้น,เงินเดือนยัง9,000บาทต่อเดือนมันใข่เหรอ,จาก100บาทเคยซื้อของได้5-6ชิ้นหรือมากกว่า,หรือ15,000บาทต่อเดือนก็ตาม,แต่สถานะค่าดำรงชีพจริงและการใช้จ่ายไทบ้านประชาชนปกติธรรมดายังหาตังหารายได้ได้น้อยกว่าที่เป็นจริง,หรือสูงกว่ารายได้,หรือค่าใช้จ่ายต่างๆทั่วชุมชนส่งคมรอบๆตนแพงสูงขึ้นนั้นเอง,การปกครองหากแก้ต้นเหตุได้จะจบสิ้นทันที,ทุกๆอย่างหากควบคุมที่ต้นเหตุได้จริง คนไทยเราจะใช้ชีวิตไม่ลำบากมาถึงทุกๆวันนี้เพราะสถาบันภาคนักการเมืองเสื่อมสถานะแล้วขาดคุณสมบัติให้บริหารชาติปกครองประเทศอีกต่อไปโดยสิ้นเชิง,อบต.ต้องยุบทั่วประเทศสิ้นเปลืองงบประมาณแผ่นดิน,เรามีข้าราชการมากเกินไปและเป็นระบบอุปถัมภ์เสียมาก,พี่น้องวงศ์ตระกูลทั้งสิ้นเสียมากต่างฝาดต่างให้คะแนนผ่านสอบกัน,หายุติธรรมลำบาก,เป็นไปด้วยการทุจริตใต้โต๊ะโดยมากโดยผู้หลักผู้ใหญ่ภายในองค์กรคัดเลือกนี้เอง,เงินกว่า60-70%ของงบประเทศจะเป็นไปเพื่อค่าสาระพัดต่างๆที่เสียไปแก่คนในระบบราชการนี้,เงินเดือนไม่พอ มีสวัสดิการ ค่าเบี้ยเลี้ยงเบี้ยประชุมสัมมนาอีกไม่รวมโบนัสค่าตำแหน่งค่าน้ำมันรถค่าบ้านค่าไฟเบิกหลวงทางอ้อมได้หมดนอกจากทางตรงแค่ตังเงินเดือน,ส่วนประชาชนกินแกลบเสียค่าปรับค่าธรรมเนียมค่าบำรุงคนของข้าราชการรัฐตรึมภาษีสาระพัดค่าใบอนุญาตจิปาถะ ,พื้นๆไปดูโรงเรียนเลย เก็บค่านั้นนี้กับผู้ปกครองเด็กๆสาระพัด ค่ากิจกรรมต่างๆอีก เรี่ยไรสร้างสาระพัดสิ่งในโรงเรียนอีก,เคสสถานศึกษาดูง่ายที่สุด. ..คือประเทศไทยต้องเปลี่ยนแปลงต้องพลิกประเทศจริงๆ,มีบ่อน้ำมันเต็มประเทศบ่อทองคำมากล้นเป็นสายทางแร่ แต่จากการปกครองผ่านมาหลายทศวรรษพิสูจน์แล้วว่าเหี้ยหมด,ตกประเมินก็ได้,ขาดคุณสมบัติก็ด้วย,ล้มเหลวทางการปกครองยิ่งชัด,ดูได้ชัดเจนจากสถาบันภาคการเมืองบริหารปกครองระบบราชการไม่ดี ปล่อยบ่อน้ำมันให้ตกไปแก่เอกชนต่างชาติและเอกชนภายในประเทศที่ถูกครอบงำจากคนไม่ดีไปตกแก่พวกนี้เกือบ100% รัฐบาลเองโดยสถาบันภาคนักการเมืองต้องบริหารอย่างซื่อสัตย์สุจริตใจต่อประชาชนต่อประเทศต่ออธิปไตยตนเองเพราะแน่นอนบ่อน้ำมันนั้นหากเขาได้ไปจะเสียสิทธิ์ทางอธิปไตยพื้นที่สัมปทานไปทันทีคือแปลงที่ดินนั้นเขาได้สิทธิเหนือกฎหมายอธิปไตยชาติไทยทันที,สะดวกต่อกิจกรรมใดๆเอกชนนั้นทันที,กว่าเสียอธิปไตยพรมแดนเขมรอีกที่เป็นเรื่องในตอนนี้,สัมปทานไปกว่า21ครั้งแล้ว เสียพื้นที่บริหารจัดการทางที่ดินไปกี่ล้านไร่แล้วทั่วประเทศ,ชาวบ้านขุดเจอน้ำมันบนที่ดินตนเองปกติสมควรเป็นของส่วนรวมแต่เหี้ยเอกชนนั้นๆมันมายึดครองทันที เช่นแปลงสัมปทานที่มันได้กินพื้นที่อุดร สกล หนองคาย หากชาวบ้านขุดบ่อบาดาลแล้วเจอน้ำมัน พวกมันมายึดไปขุดแทนที่ทันที,นี้คือกฎหมายและสัมปทานขายอธิปไตยความมั่นคงทางพลังงานและอธิปไตยเหนือที่ดินประชาชนชาวไทยเราทันที,ต้องฉีกทิ้งกฎหมายนี้ทั้งหมดทันทีเช่นกัน ,นี้คือหน้าที่ภาคประชาชนคนไทยต้องจบในรุ่นยุคเราให้ได้,มันบัดสบพอแล้ว,อิหร่านมีบ่อน้ำมันมีโรงกลั่นน้ำมันน้อยกว่าไทยเสือกขายน้ำมันภายในประเทศอิหร่านแค่ลิตรละ1-2บาทได้,นั้นแสดงว่าวิถีปกครองเรามีปัญหาและคือตัวถ่วงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนคนไทยเราทั้งประเทศจริง,และตัวการใหญ่ที่ทำไมจึงตั้งใจปกครองให้ประชาชนโง่ไม่ให้รู้ความจริงตรงนีัและอัดสถานะเพิ่มบัตรคนจนให้มากๆคงความมั่นคงทางความยากจนความจนให้คนไทยมากๆ. ..เราต้องการเห็นภาคประชาชนชนะและยึดอำนาจรัฐบาลจริงจังได้เสียที,ไล่ออกรัฐบาลสมคบคิดต่อศัตรูภัยอธิปไตยชาติไทยตนเองภัยคุกคามแผ่นดินไทยตนเองทันทีแล้วทำให้สุดซอยยึดอำนาจโดยภาคประชาชนเลยเคียงคู่ทหารไทยเราที่ยืนเคียงข้างประชาชนคนไทยตนเองเพราะทหารทุกๆคนก็ประชาชนคนไทยเรานี้ไปเป็นทหารในชื่อว่าทหารแทนชื่ิอว่าประชาชนคนไทยคนหนึ่งเท่านั้น,ประเทศไทยถึงเวลาเปลี่ยนแปลงกันอย่างจริงจังครั่งใหญ่แล้ว,เพราะนี้คือสงครามย่อยบทท้าทายเบื้องต้นแค่นั่น,รัฐบาลที่มาจากภาคประชาชนยึดอำนาจปกครองเองที่มิใช่ทหาร ประเทศทั่วโลกไหนจะเหี้ยประนามเรา,เราสมควรเลิกชุมนุมแล้วให้ทหารรับกรรมว่ายึดอำนาจรัฐประหารเถอะ,เรา..ประชาชนยึดอำนาจเองเลย ทำให้สุดซอยเลย,ไม่มีใครผิดกฎหมายในกระบวนการยึดอำนาจจริงคืนมาจากตัวแทนที่เลวชั่วใช้อำนาจเราไปทางที่ชั่วเลวนั่นเองจนสู่ภัยคุกคามที่ร้ายแรงถึงอธิปไตยชาติไทยตนเองจะปล่อยไว้ทำซากอะไรให้เนินนานขนาดนี้. https://youtu.be/MGtFbJDl1lc?si=EXDyGbqUgRSqHBov
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 349 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ดอนเมืองโทลล์เวย์”แจ้งตลาดฯ ยื่นอนุญาโตตุลาการฟ้องกรมทางหลวง ชดเชย ผลกระทบโควิดช่วงปี 63-65 เป็นเงิน 2.3 พันล้านบาท “สุริยะ”ยันต้องดำเนินการภายใต้ผลประโยชน์ของรัฐมากที่สุด

    รายงานข่าวแจ้งว่า เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำกัด (มหาชน) (DMT) หรือดอนเมืองโทลล์เวย์ ได้แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ลงนามโดยนายศักดิ์ดา พรรณไวย กรรมการผู้จัดการบริษัทฯ เรื่องการยื่นคำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อใช้สิทธิและปฏิบัติตามสัญญาสัมปทานทางหลวงในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 ถนนวิภาวดีรังสิต ตอนดินแดง – ดอนเมือง (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) (‘สัญญาสัมปทาน”) ระหว่างกรมทางหลวงกับบริษัทฯ เพื่อให้กรมทางหลวง แก้ไขผลเสียต่อฐานะทางการของบริษัทฯ โดยยื่นคำเสนอข้อพิพาทวันที่ 27 พฤษภาคม 2568

    โดยระบุว่า บริษัทฯ เป็นผู้รับสัมปทานทางหลวงในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 (ถนนวิภาวดีรังสิต) จากกรมทางหลวง รวม 2 ตอน ได้แก่ สัมปทานทางหลวงตอนดินแดง – ดอนเมือง และสัมปทาน ทางหลวงตอนดอนเมือง – อนุสรณ์สถาน โดยระหว่างอายุสัญญาสัมปทานในปี 2563 ถึงปี 2565 ปรากฎการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร อันเป็นเหตุสุดวิสัยตามสัญญาสัมปทาน ส่งผลให้ปริมาณการจราจรที่ใช้ทางหลวงสัมปทานทางหลวงเดิมและทางหลวงสัมปทานตอนต่อขยายทางด้านทิศเหนือลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของสัญญาสัมปทานโดยแจ้งเหตุสุดวิสัยให้กรมทางหลวงทราบ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/business/detail/9680000050355

    #MGROnline #ดอนเมืองโทลล์เวย์ #ทางยกระดับดอนเมือง
    “ดอนเมืองโทลล์เวย์”แจ้งตลาดฯ ยื่นอนุญาโตตุลาการฟ้องกรมทางหลวง ชดเชย ผลกระทบโควิดช่วงปี 63-65 เป็นเงิน 2.3 พันล้านบาท “สุริยะ”ยันต้องดำเนินการภายใต้ผลประโยชน์ของรัฐมากที่สุด • รายงานข่าวแจ้งว่า เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำกัด (มหาชน) (DMT) หรือดอนเมืองโทลล์เวย์ ได้แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ลงนามโดยนายศักดิ์ดา พรรณไวย กรรมการผู้จัดการบริษัทฯ เรื่องการยื่นคำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อใช้สิทธิและปฏิบัติตามสัญญาสัมปทานทางหลวงในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 ถนนวิภาวดีรังสิต ตอนดินแดง – ดอนเมือง (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) (‘สัญญาสัมปทาน”) ระหว่างกรมทางหลวงกับบริษัทฯ เพื่อให้กรมทางหลวง แก้ไขผลเสียต่อฐานะทางการของบริษัทฯ โดยยื่นคำเสนอข้อพิพาทวันที่ 27 พฤษภาคม 2568 • โดยระบุว่า บริษัทฯ เป็นผู้รับสัมปทานทางหลวงในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 (ถนนวิภาวดีรังสิต) จากกรมทางหลวง รวม 2 ตอน ได้แก่ สัมปทานทางหลวงตอนดินแดง – ดอนเมือง และสัมปทาน ทางหลวงตอนดอนเมือง – อนุสรณ์สถาน โดยระหว่างอายุสัญญาสัมปทานในปี 2563 ถึงปี 2565 ปรากฎการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร อันเป็นเหตุสุดวิสัยตามสัญญาสัมปทาน ส่งผลให้ปริมาณการจราจรที่ใช้ทางหลวงสัมปทานทางหลวงเดิมและทางหลวงสัมปทานตอนต่อขยายทางด้านทิศเหนือลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของสัญญาสัมปทานโดยแจ้งเหตุสุดวิสัยให้กรมทางหลวงทราบ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/business/detail/9680000050355 • #MGROnline #ดอนเมืองโทลล์เวย์ #ทางยกระดับดอนเมือง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 372 มุมมอง 0 รีวิว
  • 14 พฤษภาคม 2568 -อดีตรัฐมนตรีคลัง ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล วิเคราะห์เรื่องสำคัญในประเด็น“ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token“[เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2568 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติวิธีการกู้เงินโดยการออกโทเคนดิจิทัลของรัฐบาล (Government Token: G-Token) ตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548อนุมัติให้กระทรวงการคลังออกโทเคนดิจิทัลโดยวงเงินกู้ตามกรอบการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณด้วยวิธีการเสนอขายให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อโดยตรงผ่านผู้ที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ได้แก่ ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ ซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำและการออกโทเคนดิจิทัล นายทะเบียน หรือผู้รับฝากโทเคนดิจิทัล เป็นต้นให้กระทรวงการคลังกำหนดหลักเกณฑ์การชำระระดอกเบี้ยและการใช้เงินตามโทเคนดิจิทัล โดยให้กระทรวงการคลังหรือนิติบุคคลอื่นใดที่กระทรวงการคลังมอบหมาย โอนเงินให้แก่ผู้ถือโทเคน ดิจิทัลหรือผู้รับตามที่นายทะเบียนกำหนด ให้การโอนโทเคนดิจิทัลดำเนินการตามวิธีการที่ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นใดที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้โอนได้เปิดบัญชีเก็บรักษาโทเคนดิจิทัลของตนไว้โดยให้มีผลสมบูรณ์เมื่อผู้โอนนั้นได้บันทึกการรับโอนโทเคนดิจิทัลเข้าไปในบัญชีของผู้รับโอนแล้ว เพื่อนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการพัฒนากลไกการบริหารหนี้สาธารณะให้มีประสิทธิภาพและภาครัฐสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่หลากหลายมากขึ้น ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการออมของภาคประชาชน อันสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการวางรากฐานเศรษฐกิจดิจิทัล พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลที่มีคุณภาพ มั่นคง ปลอดภัย ครอบคลุมเพียงพอ และเข้าถึงได้ทั้งในด้านพื้นที่และราคา เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สำนักงบประมาณ และธนาคารแห่งประเทศไทยเห็นชอบ/ไม่ขัดข้อง สำนักงาน ก.ล.ต. เห็นว่า หาก กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ ซึ่งไม่เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แล้ว ก็สามารถดำเนินการภายใต้พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 โดย G-Token มีการกำหนดสิทธิให้ผู้ถือมีสิทธิได้รับชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ กค. กำหนด จึงมีลักษณะเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือ กิจการใด ๆ หรือกำหนดสิทธิในการได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการหรือสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง และเข้าข่ายเป็นโทเคนดิจิทัล ตามมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561]**ถามว่า ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token?+เรื่อง การนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลการนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลให้สำเร็จนั้น มีเรื่องที่ต้องดำเนินการด้านโครงสร้างพื้นฐานก่อนหลายอย่าง (ดูรูป) กล่าวคือ (1) ต้องช่วยให้ประชากรเข้าถึงระบบอินเทอร์เนตอย่างกว้างขวาง (2) ต้องให้ความรู้ทั้งในระบบโรงเรียนและในกลุ่มประชาคม (3) ต้องพัฒนาธุรกิจการเงินแบบดิจิทัลให้กว้างขวางมากขึ้น (4) ต้องกระตุ้นคนรุ่นหนุ่มสาวให้ลองทำธุรกิจขนาดย่อมด้านดิจิทัลให้มากขึ้น และ (5) รัฐต้องให้บริการทางออนไลน์มากขึ้นรวมทั้งใช้บล็อกเชนในการบริหารราชการให้โปร่งใส หน้าที่ของฝ่ายรัฐบาล คือพัฒนาให้เกิดโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ รวมไปถึงความแน่นอนด้านกฎหมายที่จะตีความกรณีเกิดข้อพิพาทเกี่ยวข้องกับโทเคน และการนำโทเคนไปใช้เป็นหลักประกันส่วนการดำเนินการให้โทเคนเกิดขึ้นในหลักทรัพย์ต่างๆ (tokenization) อย่างหลากหลาย เพื่อนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น จะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานครบถ้วนเสียก่อน ทั้ง stable coin สกุลบาท ทั้ง smart contract ทั้งระบบเคลียริ่งที่ปลอดภัย โดยภายหลังจากมีโครงสร้างพื้นฐานแน่นหนาแล้ว ก็จะเป็นหน้าที่ของเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ สำหรับรัฐบาลเองไม่ควรมีหน้าที่ไปออกโทเคนของตนเอง ดังเห็นได้ว่าปัจจุบันนี้ยังไม่มีประเทศใดที่ระบบการเงินล้ำหน้า ที่รัฐบาลเป็นผู้ออกโทเคนของตนเองในการกู้หนี้สาธารณะ+เรื่อง การทำให้ผู้ลงทุนรายย่อยซื้อพันธบัตรได้สะดวกวิธีการในการเปิดให้ผู้ลงทุนรายย่อยเข้ามาลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลนั้นมีอยู่แล้วในปัจจุบัน ด้วยกลไกผ่านกองทุนรวมที่ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ดังนั้น กระทรวงการคลังจึงต้องชี้แจงให้ชัดเจนก่อนว่า G-Token จะเพิ่มความสะดวกอย่างใดแก่ผู้ลงทุน โดยเฉพาะในเรื่องการขายคืน ซึ่งราคาในกองทุนรวมจะเป็นไปตามกติกาโดยมี ก.ล.ต. กำกับดูแล แต่กรณี G-Token ผู้ลงทุนจะต้องไปขายในตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งราคาอาจจะผันผวนไปแต่ละชั่วโมงตามแรงเก็งกำไรได้แทนที่จะเป็นการชักจูงให้ผู้ลงทุนรายย่อย ลงทุนเพื่อออมเงินอย่างปลอดภัย ระวังจะกลับกลายเป็นเวทีเก็งกำไร ระวังจะกลายเป็นกาสิโนโทเคนดิจิทัล+เรื่อง ฝ่าฝืนพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ถึงแม้มาตรา 10 วรรคหนึ่งเปิดช่อง ให้กู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นวิธีการอื่นใดก็ได้ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ข้อความก่อนหน้าซึ่งบัญญัติว่า “การกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้หรือวิธีการอื่นใดก็ได้” นั้น คำว่า “วิธีการอื่นใด” น่าจะอยู่ในความหมายเดียวกับสัญญาหรือตราสารหนี้ ดังที่รายงานคณะรัฐมนตรีไว้ว่า “ปัจจุบัน การกู้เงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือหุ้นกู้”การที่ กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ เพื่อไม่เป็นให้เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นั้น ผมเห็นว่าขัดกับเจตนารมย์ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ทั้งนี้ โทเคนดิจิทัลซึ่งตามนิยามในมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 กำหนดเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการได้มาซึ่งสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง นั้น คำว่า token แปลว่า สัญลักษณ์ ดังเช่น non-fungible token (NFT) หมายถึงสัญลักษณ์ที่ไม่สามารถแทนกันได้ ตัวอย่างที่ใช้กรณีงานศิลปะ ดังนั้น G-Token จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนสัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง ตัว G-Token เองจึงไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลังผมจึงเห็นว่า ในเมื่อเป็นเพียงสัญลักษณ์แทน แต่ไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง จึงไม่เข้าข่ายนิยามใดในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และจะนำไปสู่ปัญหาข้อพิพาททางกฎหมายเกิดขึ้นได้ในภายหลัง+เรื่อง การปฏิบัติตามกฏหมายเงินตรายังมีจำเป็นจะต้องมีเงื่อนไขบังคับ เพื่อไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่น เพราะจะเข้าข่ายเป็นเงินตราอย่างหนึ่งซึ่งจะต้องขออนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนกระทรวงการคลังต้องชี้แจงก่อนว่า จะมีมาตรการป้องกันไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่นได้อย่างไร+เรื่อง การประหยัดค่าใช้จ่ายนายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง กล่าวว่าการออก G-Token จะช่วยลดต้นทุนการดำเนินการ จากเดิมที่ออกพันธบัตรมีค่าธรรมเนียมดำเนินการจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) 0.03% ของกรอบวงเงินจำหน่ายนั้น กระทรวงการคลังจะต้องแจกแจงก่อนว่า G-Token จะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายจริงเท่าไหร่ ทั้งด้านกระทรวงการคลัง ซึ่งต้องรวมไปถึงค่าใช้จ่ายทำหน้าที่เป็นนายทะเบียน ว่าต่ำกว่า ธปท. อย่างไร และทั้งด้านประชาชนผู้ลงทุนที่จะซื้อและขายคืน จะสูงหรือต่ำกว่ากลไกกองทุนรวมอย่างใดทั้งนี้ ต้องไม่ลืมว่าเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายแก่ ธปท. นั้นไม่รั่วไหลไปไหน เพราะ ธปท. เป็นองค์กรของรัฐ **กล่าวโดยสรุป ระบบการขายพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ของรัฐบาลที่มีอยู่แล้วขณะนี้โดยผ่านกลไก ธปท. นั้น ใช้งานได้ดีไม่เคยมีปัญหา ดังนั้น การที่กระทรวงการคลังจะเพิ่มแนวการกู้หนี้สาธารณะโดยใช้โทเคนดิจิทัลนั้น จะต้องชั่งน้ำหนักแสดงแก่ประชาชนก่อนว่า ผลได้คุ้มกับผลเสียหรือไม่ส่วนความหวังที่จะนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น ควรนำเสนอต่อประชาชนก่อนว่า รัฐบาลมีแผนการพัฒนาองค์รวมด้านนี้เป็นอย่างไร ไม่ใช่เดินหน้าเพียงเสี้ยวเดียวในเรื่องของการจัดทำโทเคนของรัฐบาล ซึ่งจนถึงบัดนี้ก็ยังไม่มีรัฐบาลอื่นใดในโลกที่ดำเนินการวันที่ 14 พฤษภาคม 2568นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รองหัวหน้าพรรคฝ่ายเศรษฐกิจ พรรคพลังประชารัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    14 พฤษภาคม 2568 -อดีตรัฐมนตรีคลัง ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล วิเคราะห์เรื่องสำคัญในประเด็น“ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token“[เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2568 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติวิธีการกู้เงินโดยการออกโทเคนดิจิทัลของรัฐบาล (Government Token: G-Token) ตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548อนุมัติให้กระทรวงการคลังออกโทเคนดิจิทัลโดยวงเงินกู้ตามกรอบการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณด้วยวิธีการเสนอขายให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อโดยตรงผ่านผู้ที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ได้แก่ ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ ซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำและการออกโทเคนดิจิทัล นายทะเบียน หรือผู้รับฝากโทเคนดิจิทัล เป็นต้นให้กระทรวงการคลังกำหนดหลักเกณฑ์การชำระระดอกเบี้ยและการใช้เงินตามโทเคนดิจิทัล โดยให้กระทรวงการคลังหรือนิติบุคคลอื่นใดที่กระทรวงการคลังมอบหมาย โอนเงินให้แก่ผู้ถือโทเคน ดิจิทัลหรือผู้รับตามที่นายทะเบียนกำหนด ให้การโอนโทเคนดิจิทัลดำเนินการตามวิธีการที่ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นใดที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้โอนได้เปิดบัญชีเก็บรักษาโทเคนดิจิทัลของตนไว้โดยให้มีผลสมบูรณ์เมื่อผู้โอนนั้นได้บันทึกการรับโอนโทเคนดิจิทัลเข้าไปในบัญชีของผู้รับโอนแล้ว เพื่อนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการพัฒนากลไกการบริหารหนี้สาธารณะให้มีประสิทธิภาพและภาครัฐสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่หลากหลายมากขึ้น ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการออมของภาคประชาชน อันสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการวางรากฐานเศรษฐกิจดิจิทัล พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลที่มีคุณภาพ มั่นคง ปลอดภัย ครอบคลุมเพียงพอ และเข้าถึงได้ทั้งในด้านพื้นที่และราคา เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สำนักงบประมาณ และธนาคารแห่งประเทศไทยเห็นชอบ/ไม่ขัดข้อง สำนักงาน ก.ล.ต. เห็นว่า หาก กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ ซึ่งไม่เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แล้ว ก็สามารถดำเนินการภายใต้พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 โดย G-Token มีการกำหนดสิทธิให้ผู้ถือมีสิทธิได้รับชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ กค. กำหนด จึงมีลักษณะเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือ กิจการใด ๆ หรือกำหนดสิทธิในการได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการหรือสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง และเข้าข่ายเป็นโทเคนดิจิทัล ตามมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561]**ถามว่า ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token?+เรื่อง การนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลการนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลให้สำเร็จนั้น มีเรื่องที่ต้องดำเนินการด้านโครงสร้างพื้นฐานก่อนหลายอย่าง (ดูรูป) กล่าวคือ (1) ต้องช่วยให้ประชากรเข้าถึงระบบอินเทอร์เนตอย่างกว้างขวาง (2) ต้องให้ความรู้ทั้งในระบบโรงเรียนและในกลุ่มประชาคม (3) ต้องพัฒนาธุรกิจการเงินแบบดิจิทัลให้กว้างขวางมากขึ้น (4) ต้องกระตุ้นคนรุ่นหนุ่มสาวให้ลองทำธุรกิจขนาดย่อมด้านดิจิทัลให้มากขึ้น และ (5) รัฐต้องให้บริการทางออนไลน์มากขึ้นรวมทั้งใช้บล็อกเชนในการบริหารราชการให้โปร่งใส หน้าที่ของฝ่ายรัฐบาล คือพัฒนาให้เกิดโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ รวมไปถึงความแน่นอนด้านกฎหมายที่จะตีความกรณีเกิดข้อพิพาทเกี่ยวข้องกับโทเคน และการนำโทเคนไปใช้เป็นหลักประกันส่วนการดำเนินการให้โทเคนเกิดขึ้นในหลักทรัพย์ต่างๆ (tokenization) อย่างหลากหลาย เพื่อนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น จะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานครบถ้วนเสียก่อน ทั้ง stable coin สกุลบาท ทั้ง smart contract ทั้งระบบเคลียริ่งที่ปลอดภัย โดยภายหลังจากมีโครงสร้างพื้นฐานแน่นหนาแล้ว ก็จะเป็นหน้าที่ของเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ สำหรับรัฐบาลเองไม่ควรมีหน้าที่ไปออกโทเคนของตนเอง ดังเห็นได้ว่าปัจจุบันนี้ยังไม่มีประเทศใดที่ระบบการเงินล้ำหน้า ที่รัฐบาลเป็นผู้ออกโทเคนของตนเองในการกู้หนี้สาธารณะ+เรื่อง การทำให้ผู้ลงทุนรายย่อยซื้อพันธบัตรได้สะดวกวิธีการในการเปิดให้ผู้ลงทุนรายย่อยเข้ามาลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลนั้นมีอยู่แล้วในปัจจุบัน ด้วยกลไกผ่านกองทุนรวมที่ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ดังนั้น กระทรวงการคลังจึงต้องชี้แจงให้ชัดเจนก่อนว่า G-Token จะเพิ่มความสะดวกอย่างใดแก่ผู้ลงทุน โดยเฉพาะในเรื่องการขายคืน ซึ่งราคาในกองทุนรวมจะเป็นไปตามกติกาโดยมี ก.ล.ต. กำกับดูแล แต่กรณี G-Token ผู้ลงทุนจะต้องไปขายในตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งราคาอาจจะผันผวนไปแต่ละชั่วโมงตามแรงเก็งกำไรได้แทนที่จะเป็นการชักจูงให้ผู้ลงทุนรายย่อย ลงทุนเพื่อออมเงินอย่างปลอดภัย ระวังจะกลับกลายเป็นเวทีเก็งกำไร ระวังจะกลายเป็นกาสิโนโทเคนดิจิทัล+เรื่อง ฝ่าฝืนพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ถึงแม้มาตรา 10 วรรคหนึ่งเปิดช่อง ให้กู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นวิธีการอื่นใดก็ได้ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ข้อความก่อนหน้าซึ่งบัญญัติว่า “การกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้หรือวิธีการอื่นใดก็ได้” นั้น คำว่า “วิธีการอื่นใด” น่าจะอยู่ในความหมายเดียวกับสัญญาหรือตราสารหนี้ ดังที่รายงานคณะรัฐมนตรีไว้ว่า “ปัจจุบัน การกู้เงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือหุ้นกู้”การที่ กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ เพื่อไม่เป็นให้เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นั้น ผมเห็นว่าขัดกับเจตนารมย์ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ทั้งนี้ โทเคนดิจิทัลซึ่งตามนิยามในมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 กำหนดเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการได้มาซึ่งสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง นั้น คำว่า token แปลว่า สัญลักษณ์ ดังเช่น non-fungible token (NFT) หมายถึงสัญลักษณ์ที่ไม่สามารถแทนกันได้ ตัวอย่างที่ใช้กรณีงานศิลปะ ดังนั้น G-Token จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนสัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง ตัว G-Token เองจึงไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลังผมจึงเห็นว่า ในเมื่อเป็นเพียงสัญลักษณ์แทน แต่ไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง จึงไม่เข้าข่ายนิยามใดในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และจะนำไปสู่ปัญหาข้อพิพาททางกฎหมายเกิดขึ้นได้ในภายหลัง+เรื่อง การปฏิบัติตามกฏหมายเงินตรายังมีจำเป็นจะต้องมีเงื่อนไขบังคับ เพื่อไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่น เพราะจะเข้าข่ายเป็นเงินตราอย่างหนึ่งซึ่งจะต้องขออนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนกระทรวงการคลังต้องชี้แจงก่อนว่า จะมีมาตรการป้องกันไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่นได้อย่างไร+เรื่อง การประหยัดค่าใช้จ่ายนายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง กล่าวว่าการออก G-Token จะช่วยลดต้นทุนการดำเนินการ จากเดิมที่ออกพันธบัตรมีค่าธรรมเนียมดำเนินการจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) 0.03% ของกรอบวงเงินจำหน่ายนั้น กระทรวงการคลังจะต้องแจกแจงก่อนว่า G-Token จะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายจริงเท่าไหร่ ทั้งด้านกระทรวงการคลัง ซึ่งต้องรวมไปถึงค่าใช้จ่ายทำหน้าที่เป็นนายทะเบียน ว่าต่ำกว่า ธปท. อย่างไร และทั้งด้านประชาชนผู้ลงทุนที่จะซื้อและขายคืน จะสูงหรือต่ำกว่ากลไกกองทุนรวมอย่างใดทั้งนี้ ต้องไม่ลืมว่าเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายแก่ ธปท. นั้นไม่รั่วไหลไปไหน เพราะ ธปท. เป็นองค์กรของรัฐ **กล่าวโดยสรุป ระบบการขายพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ของรัฐบาลที่มีอยู่แล้วขณะนี้โดยผ่านกลไก ธปท. นั้น ใช้งานได้ดีไม่เคยมีปัญหา ดังนั้น การที่กระทรวงการคลังจะเพิ่มแนวการกู้หนี้สาธารณะโดยใช้โทเคนดิจิทัลนั้น จะต้องชั่งน้ำหนักแสดงแก่ประชาชนก่อนว่า ผลได้คุ้มกับผลเสียหรือไม่ส่วนความหวังที่จะนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น ควรนำเสนอต่อประชาชนก่อนว่า รัฐบาลมีแผนการพัฒนาองค์รวมด้านนี้เป็นอย่างไร ไม่ใช่เดินหน้าเพียงเสี้ยวเดียวในเรื่องของการจัดทำโทเคนของรัฐบาล ซึ่งจนถึงบัดนี้ก็ยังไม่มีรัฐบาลอื่นใดในโลกที่ดำเนินการวันที่ 14 พฤษภาคม 2568นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รองหัวหน้าพรรคฝ่ายเศรษฐกิจ พรรคพลังประชารัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 706 มุมมอง 0 รีวิว
  • บทความทัศนะจากเพจเฟซบุ๊ก'อ้ายจง‘ ได้เขียนไว้อย่างน่าสนใจว่า ทำไมการแต่งตั้ง "ที่ปรึกษาชาวจีน" โดยผู้ว่าฯ จึงเป็นเรื่องที่ (ทุกคนควร) จับตามอง?.ในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ข่าวการแต่งตั้งนักธุรกิจชาวจีนให้เป็น "ที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี" กลายเป็นประเด็นร้อนที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง หลายคนตั้งคำถามว่า "โปร่งใสหรือไม่?" "จำเป็นแค่ไหน?" และ "ไม่มีคนไทยที่เหมาะสมกว่าหรือ?" .แม้คำสั่งแต่งตั้งจะระบุว่า เพื่อ "ให้คำปรึกษาและเสนอแนะแนวทางในประเด็นที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการบริหารราชการ" แต่ต้องยอมรับนะครับว่า ค่อนข้างจะคลุมเครือ เพราะไม่แน่ชัดถึง "ประเด็นอะไร?" "เหตุผลเพิ่มเติมคืออะไร" ดังนั้นกลับยิ่งสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ โดยเฉพาะเมื่อที่ปรึกษาคนดังกล่าวเป็น "ชาวต่างชาติ" และ "ชาวจีน" ในบริบทที่มีความอ่อนไหวหลายมิติ.หากวิเคราะห์ตามเนื้อผ้าและบริบทที่เป็นไปได้ จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC (Eastern Economic Corridor) ซึ่งเป็นพื้นที่สำคัญที่ประเทศไทยต้องการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ .โดยเฉพาะจีนที่มีบทบาทในนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งในภูมิภาคนี้ การแต่งตั้งที่ปรึกษาชาวจีนอาจสะท้อนถึงความพยายามของผู้ว่าฯ ในการเชื่อมโยงกับกลุ่มทุนจีนเพื่อสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจโดยตรง .ถ้ามองในมุมนี้ก็พอจะเข้าใจได้ว่าเป็นเรื่องของกลยุทธ์ในการพัฒนาจังหวัด แต่ประเด็นที่หลายคนคาใจอยู่ที่ความไม่ชัดเจนของข้อมูล โดยเฉพาะถ้อยคำในคำสั่งที่ระบุว่า "ให้คำปรึกษาในประเด็นต่างๆ" โดยไม่ระบุชัดว่า "ประเด็นใด" ทำให้เกิดความคลุมเครือและสร้างข้อกังขาต่อสาธารณะ.อีกเรื่องที่สำคัญมาก คือข้อกฎหมายและข้อจำกัดในการจ้างชาวต่างชาติให้ทำงานในประเทศไทย ซึ่งตามกฎหมายแรงงานแล้ว ชาวต่างชาติต้องมีใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ที่ถูกต้องและระบุขอบเขตงานชัดเจน โดยเฉพาะหากเกี่ยวข้องกับงานที่จัดอยู่ในกลุ่มอาชีพสงวน เช่น การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย การทำงานราชการ หรืออื่นๆ ที่มีผลต่อความมั่นคง หากการแต่งตั้งนี้ไม่ได้ดำเนินการให้สอดคล้องกับข้อกฎหมาย อาจกลายเป็นช่องโหว่สำคัญที่นำไปสู่ความเสียหายในระดับระบบราชการ.ต้องย้ำด้วยว่า คนต่างชาติที่เข้ามาทำงานหรือใช้ชีวิตในไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมายก็มีจำนวนมาก โดยเฉพาะชาวจีนที่ลงทุน สร้างงาน สร้างรายได้ และมีบทบาทสำคัญในภาคเศรษฐกิจไทย แต่ในขณะเดียวกัน หากรัฐยังปล่อยให้บางกลุ่มที่เข้ามาแบบผิดกฎหมายสามารถแทรกตัวหรือมีบทบาทในหน่วยงานราชการได้โดยไม่ตรวจสอบ ก็จะกลายเป็นภัยเงียบที่กระทบทั้งระบบ และยังส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของชาวต่างชาติกลุ่มที่ตั้งใจทำงานอย่างสุจริตด้วย.ที่ผ่านมาประเทศไทยมีประวัติของกรณีชาวจีนที่เข้ามาทำกิจกรรมแปลกๆ ที่ผิดกฎหมายหรือก้ำกึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการรีวิวการจ้างตำรวจไทยนำขบวนรถหรู การอบรมอาสาตำรวจให้ชาวจีน หรือแม้กระทั่งการใช้วีซ่าผิดประเภทเพื่ออยู่อาศัยหรือทำธุรกิจ หากปล่อยให้กรณีเหล่านี้เกิดขึ้นโดยไม่มีมาตรการควบคุมที่จริงจัง จะทำให้เกิดภาพลักษณ์ว่า "มีเงิน ก็ทำอะไรก็ได้ในไทย" ซึ่งเป็นสิ่งที่อันตรายต่อความน่าเชื่อถือของประเทศ.เพราะฉะนั้น ความโปร่งใสจึงไม่ใช่แค่คำสวยหรู แต่เป็นหลักประกันพื้นฐานของความไว้วางใจในระบบสาธารณะ .การแต่งตั้งที่ปรึกษาชาวต่างชาติในระดับจังหวัดอาจเป็นสิ่งที่ทำได้ #แต่ต้องอธิบายให้สาธารณชนเข้าใจ ตรวจสอบได้ และเป็นตัวอย่างของกระบวนการที่ยึดหลักความโปร่งใสอย่างแท้จริง เพราะหากเราไม่สามารถทำให้ประชาชนเชื่อมั่นในระบบได้ ทุกกลยุทธ์การดึงดูดนักลงทุน หรือการพัฒนาใดๆ ก็จะไร้ผลในระยะยาว.และในอีกแง่มุมหนึ่ง หากมีเหตุผลที่ต้องแต่งตั้งชาวต่างชาติหรือชาวจีนเป็นที่ปรึกษาจริง ๆ เพื่อช่วยวางกลยุทธ์ด้านการลงทุนหรือเศรษฐกิจ ก็ย่อมเป็นสิทธิ์ของผู้ว่าฯ ที่จะใช้ดุลยพินิจ .แต่จะยิ่งดีและเกิดประโยชน์มากขึ้น หากมี "ที่ปรึกษาชาวไทย" ทำงานควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้เกิดการถ่วงดุล สื่อสารเชิงวัฒนธรรม และสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างภาคไทยกับต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ทิ้งรากฐานของสังคมไทยเอง.สุดท้าย ความโปร่งใสต้องเกิดในทุกระดับของสังคมไทย ตั้งแต่บนลงล่าง ไม่ใช่แค่ในนโยบายส่วนกลาง แต่ต้องสะท้อนออกมาให้เห็นจริงในทุกการตัดสินใจของทุกจังหวัด ทุกตำแหน่ง และทุกคำสั่ง เพราะนั่นคือรากฐานของความเชื่อมั่นและความยั่งยืนด้วยความเคารพ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2568 รายงานข่าวจากเพจCH7HD News ถามหาความเหมาะสม! หลังเอกสารหลุดคำสั่งผู้ว่าฯปราจีนบุรี แต่งตั้ง "ชายชาวจีน" เป็นที่ปรึกษา ทำหน้าที่แนะแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญเป็นประโยชน์ต่อการบริการขับเคลื่อนงานของจังหวัด โดย เอกสารสำคัญที่เผยแพร่แพร่ในโซเชียลตั้งแต่ค่ำวานที่ผ่านมา(29 เม.ย.68) เป็นคำสั่ง 2 ฉบับ ลงนาม โดยนายวีระพันธ์ ดีอ่อน ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี ลงนามเมื่อวันที่ 21 เม.ย.68 คือ คำสั่งจังหวัดปราจีนบุรี ที่ 1327/2568 ลงนามเมื่อวันที่ 21 เม.ย.68 แต่งตั้งที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี 5 คน เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาจังหวัด 5ปี (พ.ศ.2566-2570) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยยิ่งขึ้น โดยลำดับที่1-4 เป็นคนไทย ส่วน ลำดับที่ 5 เป็นคนจีน และ คำสั่งแจ้งบุคคลในลำดับที่ 5 เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี เพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานที่เหมาะสมในประเด็นต่างๆ ที่เห็นว่ามีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการบริหาร และการขับเคลื่อนงานของจังหวัดปราจีนบุรี หลังเป็นข่าว ปรากฏว่า ล่าสุดวันที่ 30 เมษายน เวลา 7.00 น. ผู้ว่าฯปราจีนบุรีได้ออกคำสั่งยกเลิกแต่งตั้ง"ชาวจีน"เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าฯแล้ว หลังจากเพจเรื่องเล่าเช้านี้ รายงานว่า คำชี้แจงจากผู้ว่าปราจีนบุรี.นายวีระพันธ์ ดีอ่อน ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี โฟนอินชี้แจงกรณีกระแสวิพากษ์วิจารณ์แต่งตั้งชาวจีนเป็นที่ปรึกษาว่า บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งทางหอการค้าจังหวัดเสนอมา ตรวจสอบแล้วไม่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัย เลยแต่งตั้งเพื่อให้เกียรติมาช่วยงานจังหวัด ไม่ได้สนิทเป็นการส่วนตัว .พร้อมยอมรับว่าที่ผ่านมาคนจีนมาลงทุนในจังหวัดเยอะ รวมถึงชาวต่างชาติด้วย นำรายได้มาสู่ประเทศปีหนึ่งกว่า 3 แสนล้านบาท ส่วนหน้าที่ของผู้ได้รับการแต่งตั้งนั้นจะคอยจะคอยช่วยประสานงานในส่วนนักลงทุน หรือที่มาจากทางประเทศบ้านเขาในเรื่องการสื่อสาร มิติการค้าและมิติอื่นๆ ตามความประสงค์ของหอการค้าจังหวัด พร้อมขออภัย ในความไม่เหมาะสมและเป็นที่น่าเป็นห่วงจึงได้ยกเลิกคำสั่งการแต่งตั้งไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
    บทความทัศนะจากเพจเฟซบุ๊ก'อ้ายจง‘ ได้เขียนไว้อย่างน่าสนใจว่า ทำไมการแต่งตั้ง "ที่ปรึกษาชาวจีน" โดยผู้ว่าฯ จึงเป็นเรื่องที่ (ทุกคนควร) จับตามอง?.ในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ข่าวการแต่งตั้งนักธุรกิจชาวจีนให้เป็น "ที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี" กลายเป็นประเด็นร้อนที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง หลายคนตั้งคำถามว่า "โปร่งใสหรือไม่?" "จำเป็นแค่ไหน?" และ "ไม่มีคนไทยที่เหมาะสมกว่าหรือ?" .แม้คำสั่งแต่งตั้งจะระบุว่า เพื่อ "ให้คำปรึกษาและเสนอแนะแนวทางในประเด็นที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการบริหารราชการ" แต่ต้องยอมรับนะครับว่า ค่อนข้างจะคลุมเครือ เพราะไม่แน่ชัดถึง "ประเด็นอะไร?" "เหตุผลเพิ่มเติมคืออะไร" ดังนั้นกลับยิ่งสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ โดยเฉพาะเมื่อที่ปรึกษาคนดังกล่าวเป็น "ชาวต่างชาติ" และ "ชาวจีน" ในบริบทที่มีความอ่อนไหวหลายมิติ.หากวิเคราะห์ตามเนื้อผ้าและบริบทที่เป็นไปได้ จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC (Eastern Economic Corridor) ซึ่งเป็นพื้นที่สำคัญที่ประเทศไทยต้องการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ .โดยเฉพาะจีนที่มีบทบาทในนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งในภูมิภาคนี้ การแต่งตั้งที่ปรึกษาชาวจีนอาจสะท้อนถึงความพยายามของผู้ว่าฯ ในการเชื่อมโยงกับกลุ่มทุนจีนเพื่อสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจโดยตรง .ถ้ามองในมุมนี้ก็พอจะเข้าใจได้ว่าเป็นเรื่องของกลยุทธ์ในการพัฒนาจังหวัด แต่ประเด็นที่หลายคนคาใจอยู่ที่ความไม่ชัดเจนของข้อมูล โดยเฉพาะถ้อยคำในคำสั่งที่ระบุว่า "ให้คำปรึกษาในประเด็นต่างๆ" โดยไม่ระบุชัดว่า "ประเด็นใด" ทำให้เกิดความคลุมเครือและสร้างข้อกังขาต่อสาธารณะ.อีกเรื่องที่สำคัญมาก คือข้อกฎหมายและข้อจำกัดในการจ้างชาวต่างชาติให้ทำงานในประเทศไทย ซึ่งตามกฎหมายแรงงานแล้ว ชาวต่างชาติต้องมีใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ที่ถูกต้องและระบุขอบเขตงานชัดเจน โดยเฉพาะหากเกี่ยวข้องกับงานที่จัดอยู่ในกลุ่มอาชีพสงวน เช่น การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย การทำงานราชการ หรืออื่นๆ ที่มีผลต่อความมั่นคง หากการแต่งตั้งนี้ไม่ได้ดำเนินการให้สอดคล้องกับข้อกฎหมาย อาจกลายเป็นช่องโหว่สำคัญที่นำไปสู่ความเสียหายในระดับระบบราชการ.ต้องย้ำด้วยว่า คนต่างชาติที่เข้ามาทำงานหรือใช้ชีวิตในไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมายก็มีจำนวนมาก โดยเฉพาะชาวจีนที่ลงทุน สร้างงาน สร้างรายได้ และมีบทบาทสำคัญในภาคเศรษฐกิจไทย แต่ในขณะเดียวกัน หากรัฐยังปล่อยให้บางกลุ่มที่เข้ามาแบบผิดกฎหมายสามารถแทรกตัวหรือมีบทบาทในหน่วยงานราชการได้โดยไม่ตรวจสอบ ก็จะกลายเป็นภัยเงียบที่กระทบทั้งระบบ และยังส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของชาวต่างชาติกลุ่มที่ตั้งใจทำงานอย่างสุจริตด้วย.ที่ผ่านมาประเทศไทยมีประวัติของกรณีชาวจีนที่เข้ามาทำกิจกรรมแปลกๆ ที่ผิดกฎหมายหรือก้ำกึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการรีวิวการจ้างตำรวจไทยนำขบวนรถหรู การอบรมอาสาตำรวจให้ชาวจีน หรือแม้กระทั่งการใช้วีซ่าผิดประเภทเพื่ออยู่อาศัยหรือทำธุรกิจ หากปล่อยให้กรณีเหล่านี้เกิดขึ้นโดยไม่มีมาตรการควบคุมที่จริงจัง จะทำให้เกิดภาพลักษณ์ว่า "มีเงิน ก็ทำอะไรก็ได้ในไทย" ซึ่งเป็นสิ่งที่อันตรายต่อความน่าเชื่อถือของประเทศ.เพราะฉะนั้น ความโปร่งใสจึงไม่ใช่แค่คำสวยหรู แต่เป็นหลักประกันพื้นฐานของความไว้วางใจในระบบสาธารณะ .การแต่งตั้งที่ปรึกษาชาวต่างชาติในระดับจังหวัดอาจเป็นสิ่งที่ทำได้ #แต่ต้องอธิบายให้สาธารณชนเข้าใจ ตรวจสอบได้ และเป็นตัวอย่างของกระบวนการที่ยึดหลักความโปร่งใสอย่างแท้จริง เพราะหากเราไม่สามารถทำให้ประชาชนเชื่อมั่นในระบบได้ ทุกกลยุทธ์การดึงดูดนักลงทุน หรือการพัฒนาใดๆ ก็จะไร้ผลในระยะยาว.และในอีกแง่มุมหนึ่ง หากมีเหตุผลที่ต้องแต่งตั้งชาวต่างชาติหรือชาวจีนเป็นที่ปรึกษาจริง ๆ เพื่อช่วยวางกลยุทธ์ด้านการลงทุนหรือเศรษฐกิจ ก็ย่อมเป็นสิทธิ์ของผู้ว่าฯ ที่จะใช้ดุลยพินิจ .แต่จะยิ่งดีและเกิดประโยชน์มากขึ้น หากมี "ที่ปรึกษาชาวไทย" ทำงานควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้เกิดการถ่วงดุล สื่อสารเชิงวัฒนธรรม และสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างภาคไทยกับต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ทิ้งรากฐานของสังคมไทยเอง.สุดท้าย ความโปร่งใสต้องเกิดในทุกระดับของสังคมไทย ตั้งแต่บนลงล่าง ไม่ใช่แค่ในนโยบายส่วนกลาง แต่ต้องสะท้อนออกมาให้เห็นจริงในทุกการตัดสินใจของทุกจังหวัด ทุกตำแหน่ง และทุกคำสั่ง เพราะนั่นคือรากฐานของความเชื่อมั่นและความยั่งยืนด้วยความเคารพ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2568 รายงานข่าวจากเพจCH7HD News ถามหาความเหมาะสม! หลังเอกสารหลุดคำสั่งผู้ว่าฯปราจีนบุรี แต่งตั้ง "ชายชาวจีน" เป็นที่ปรึกษา ทำหน้าที่แนะแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญเป็นประโยชน์ต่อการบริการขับเคลื่อนงานของจังหวัด โดย เอกสารสำคัญที่เผยแพร่แพร่ในโซเชียลตั้งแต่ค่ำวานที่ผ่านมา(29 เม.ย.68) เป็นคำสั่ง 2 ฉบับ ลงนาม โดยนายวีระพันธ์ ดีอ่อน ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี ลงนามเมื่อวันที่ 21 เม.ย.68 คือ คำสั่งจังหวัดปราจีนบุรี ที่ 1327/2568 ลงนามเมื่อวันที่ 21 เม.ย.68 แต่งตั้งที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี 5 คน เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาจังหวัด 5ปี (พ.ศ.2566-2570) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยยิ่งขึ้น โดยลำดับที่1-4 เป็นคนไทย ส่วน ลำดับที่ 5 เป็นคนจีน และ คำสั่งแจ้งบุคคลในลำดับที่ 5 เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี เพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานที่เหมาะสมในประเด็นต่างๆ ที่เห็นว่ามีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการบริหาร และการขับเคลื่อนงานของจังหวัดปราจีนบุรี หลังเป็นข่าว ปรากฏว่า ล่าสุดวันที่ 30 เมษายน เวลา 7.00 น. ผู้ว่าฯปราจีนบุรีได้ออกคำสั่งยกเลิกแต่งตั้ง"ชาวจีน"เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าฯแล้ว หลังจากเพจเรื่องเล่าเช้านี้ รายงานว่า คำชี้แจงจากผู้ว่าปราจีนบุรี.นายวีระพันธ์ ดีอ่อน ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี โฟนอินชี้แจงกรณีกระแสวิพากษ์วิจารณ์แต่งตั้งชาวจีนเป็นที่ปรึกษาว่า บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งทางหอการค้าจังหวัดเสนอมา ตรวจสอบแล้วไม่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัย เลยแต่งตั้งเพื่อให้เกียรติมาช่วยงานจังหวัด ไม่ได้สนิทเป็นการส่วนตัว .พร้อมยอมรับว่าที่ผ่านมาคนจีนมาลงทุนในจังหวัดเยอะ รวมถึงชาวต่างชาติด้วย นำรายได้มาสู่ประเทศปีหนึ่งกว่า 3 แสนล้านบาท ส่วนหน้าที่ของผู้ได้รับการแต่งตั้งนั้นจะคอยจะคอยช่วยประสานงานในส่วนนักลงทุน หรือที่มาจากทางประเทศบ้านเขาในเรื่องการสื่อสาร มิติการค้าและมิติอื่นๆ ตามความประสงค์ของหอการค้าจังหวัด พร้อมขออภัย ในความไม่เหมาะสมและเป็นที่น่าเป็นห่วงจึงได้ยกเลิกคำสั่งการแต่งตั้งไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 685 มุมมอง 0 รีวิว
  • รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1030 มุมมอง 0 รีวิว
  • กรมที่ดิน โต้ทันควันยืนยัน "แพทองธาร" ไม่ได้แทรกแซงเพิกถอนที่ดินธรณีสงฆ์ ปมถือหุ้นสนามกอล์ฟอัลไพน์ ป้องดำเนินการถูกต้องตามกฎหมายและไม่มีการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ

    วันนี้ (24 มี.ค. 68) หลังจาก พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ (พปชร.) อภิปรายไม่วางไว้ใจ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี โดยหนึ่งในประเด็นที่ พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ อภิปรายไม่ไว้วางใจ เป็นประเด็น นายกฯ ขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 160 (4) และ (5) ไม่ซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ ทำนิติกรรมอำพราง ยื่นบัญชีทรัพย์สินเป็นเท็จเพื่อเลี่ยงภาษี อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ยังไม่นับการถือหุ้นอัลไพน์กอล์ฟ ทั้งที่รู้ว่าเป็นที่ดินธรณีสงฆ์ ไม่ควรแสวงประโยชน์ในทางที่ผิด นอกจากนั้น ปล่อยปละให้บุคคลในครอบครัวมากระทำให้เกิดผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่

    ล่าสุด กรมที่ดิน ได้โพสต์ชี้แจงผ่านเฟซบุ๊กว่า กระทรวงมหาดไทย โดยกรมที่ดิน ในฐานะหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชี้แจง! นายกฯ ไม่ได้แทรกแซงเกี่ยวกับการเพิกถอนที่ดินธรณีสงฆ์ตามที่มีการอภิปรายในประเด็นเกี่ยวกับการถือหุ้นของนายกรัฐมนตรีในบริษัท อัลไพน์ฯ ซึ่งถูกกล่าวอ้างว่าเป็นการขาดความสุจริตเป็นที่ประจักษ์ เนื่องจากมีการถือครองที่ดินที่เป็นที่ธรณีสงฆ์นั้น กรมที่ดินขอชี้แจงข้อเท็จจริงเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง ดังนี้

    “การถือหุ้นในบริษัท อัลไพน์ฯ นายกรัฐมนตรีได้รับโอนหุ้นของบริษัท อัลไพน์ฯ มาจากผู้ถือหุ้นเดิมก่อนเข้ารับตำแหน่ง โดยการโอนดังกล่าวเป็นไปตามกระบวนการทางกฎหมายและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารราชการแผ่นดินแต่อย่างใดซึ่งสถานะทางกฎหมายของที่ดิน ณ ขณะนั้นเมื่อมีการรับโอนหุ้นดังกล่าว สถานะของที่ดินที่เป็นประเด็นยังไม่ถูกเพิกถอน และยังอยู่ในกระบวนการพิจารณาทางกฎหมาย การเพิกถอนที่ดินให้กลับเป็นที่ธรณีสงฆ์หลังจากนายกรัฐมนตรีเข้ารับตำแหน่ง มิได้มีการสั่งการหรือกระทำการใด ๆ ที่เป็นการแทรกแซงหรือชะลอการเพิกถอนที่ดินดังกล่าว ตรงกันข้าม กระบวนการเพิกถอนที่ดินให้กลับเป็นที่ธรณีสงฆ์ได้ดำเนินการอย่างรวดเร็วภายใต้การดำรงตำแหน่งของนายกรัฐมนตรี แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายและไม่มีการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ”

    #MGROnline #กรมที่ดิน
    กรมที่ดิน โต้ทันควันยืนยัน "แพทองธาร" ไม่ได้แทรกแซงเพิกถอนที่ดินธรณีสงฆ์ ปมถือหุ้นสนามกอล์ฟอัลไพน์ ป้องดำเนินการถูกต้องตามกฎหมายและไม่มีการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ • วันนี้ (24 มี.ค. 68) หลังจาก พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ (พปชร.) อภิปรายไม่วางไว้ใจ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี โดยหนึ่งในประเด็นที่ พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ อภิปรายไม่ไว้วางใจ เป็นประเด็น นายกฯ ขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 160 (4) และ (5) ไม่ซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ ทำนิติกรรมอำพราง ยื่นบัญชีทรัพย์สินเป็นเท็จเพื่อเลี่ยงภาษี อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ยังไม่นับการถือหุ้นอัลไพน์กอล์ฟ ทั้งที่รู้ว่าเป็นที่ดินธรณีสงฆ์ ไม่ควรแสวงประโยชน์ในทางที่ผิด นอกจากนั้น ปล่อยปละให้บุคคลในครอบครัวมากระทำให้เกิดผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ • ล่าสุด กรมที่ดิน ได้โพสต์ชี้แจงผ่านเฟซบุ๊กว่า กระทรวงมหาดไทย โดยกรมที่ดิน ในฐานะหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชี้แจง! นายกฯ ไม่ได้แทรกแซงเกี่ยวกับการเพิกถอนที่ดินธรณีสงฆ์ตามที่มีการอภิปรายในประเด็นเกี่ยวกับการถือหุ้นของนายกรัฐมนตรีในบริษัท อัลไพน์ฯ ซึ่งถูกกล่าวอ้างว่าเป็นการขาดความสุจริตเป็นที่ประจักษ์ เนื่องจากมีการถือครองที่ดินที่เป็นที่ธรณีสงฆ์นั้น กรมที่ดินขอชี้แจงข้อเท็จจริงเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง ดังนี้ • “การถือหุ้นในบริษัท อัลไพน์ฯ นายกรัฐมนตรีได้รับโอนหุ้นของบริษัท อัลไพน์ฯ มาจากผู้ถือหุ้นเดิมก่อนเข้ารับตำแหน่ง โดยการโอนดังกล่าวเป็นไปตามกระบวนการทางกฎหมายและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารราชการแผ่นดินแต่อย่างใดซึ่งสถานะทางกฎหมายของที่ดิน ณ ขณะนั้นเมื่อมีการรับโอนหุ้นดังกล่าว สถานะของที่ดินที่เป็นประเด็นยังไม่ถูกเพิกถอน และยังอยู่ในกระบวนการพิจารณาทางกฎหมาย การเพิกถอนที่ดินให้กลับเป็นที่ธรณีสงฆ์หลังจากนายกรัฐมนตรีเข้ารับตำแหน่ง มิได้มีการสั่งการหรือกระทำการใด ๆ ที่เป็นการแทรกแซงหรือชะลอการเพิกถอนที่ดินดังกล่าว ตรงกันข้าม กระบวนการเพิกถอนที่ดินให้กลับเป็นที่ธรณีสงฆ์ได้ดำเนินการอย่างรวดเร็วภายใต้การดำรงตำแหน่งของนายกรัฐมนตรี แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายและไม่มีการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ” • #MGROnline #กรมที่ดิน
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 856 มุมมอง 0 รีวิว
  • พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ ขึ้นอภิปรายไม่ไว้วางใจ เป็นครั้งแรก โดยใช้เวลา 10 นาที โดยอภิปรายน.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้มีพฤติการณ์อันไม่อาจไว้วางใจให้บริหารราชการแผ่นดินในฐานะนายกรัฐมนตรีได้ต่อไป โดยประเด็นแรก ชี้ให้เห็นความล้มเหลวในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ส่งผลให้ประชาชนเดือดร้อน ปัญหาปากท้องไม่ได้รับการแก้ไขตามที่รัฐบาลเคยให้คำมั่น หนี้ครัวเรือนพุ่งสูงถึง 104% การตัดงบประมาณนับแสนล้านบาทที่ควรอัดฉีดเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ แต่กลับนำไปแจกเงินหมื่น เรื่อง MOU 44 ที่พาประเทศชาติสู่ความเสี่ยงต่อการสูญเสียดินแดน การผลักดันเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ มีช่องให้เกิดทุจริตเชิงนโยบาย เอื้อประโยชน์ส่วนตน ปล่อยให้บุคคลในครอบครัวเป็นผู้มีอิทธิพลเหนือพรรค เป็นการครอบงำ ขณะที่นายกรัฐมนตรี ลุกขึ้นชี้แจง ระบุว่า สิ่งที่สมาชิกอาวุโสพูดไม่เป็นความจริง


    พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ ขึ้นอภิปรายไม่ไว้วางใจ เป็นครั้งแรก โดยใช้เวลา 10 นาที โดยอภิปรายน.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้มีพฤติการณ์อันไม่อาจไว้วางใจให้บริหารราชการแผ่นดินในฐานะนายกรัฐมนตรีได้ต่อไป โดยประเด็นแรก ชี้ให้เห็นความล้มเหลวในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ส่งผลให้ประชาชนเดือดร้อน ปัญหาปากท้องไม่ได้รับการแก้ไขตามที่รัฐบาลเคยให้คำมั่น หนี้ครัวเรือนพุ่งสูงถึง 104% การตัดงบประมาณนับแสนล้านบาทที่ควรอัดฉีดเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ แต่กลับนำไปแจกเงินหมื่น เรื่อง MOU 44 ที่พาประเทศชาติสู่ความเสี่ยงต่อการสูญเสียดินแดน การผลักดันเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ มีช่องให้เกิดทุจริตเชิงนโยบาย เอื้อประโยชน์ส่วนตน ปล่อยให้บุคคลในครอบครัวเป็นผู้มีอิทธิพลเหนือพรรค เป็นการครอบงำ ขณะที่นายกรัฐมนตรี ลุกขึ้นชี้แจง ระบุว่า สิ่งที่สมาชิกอาวุโสพูดไม่เป็นความจริง
    Like
    Haha
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1242 มุมมอง 41 0 รีวิว
  • ทรัมป์จอมแสบ! ใส่รูปลายเซ็นต์ที่เกิดจากการเซ็นต์อัตโนมัติ แทนที่รูปของไบเดน

    ก่อนหน้านี้ เพิ่งมีการเปิดเผยว่าไบเดนใช้ 'ลายเซ็นอัตโนมัติ' เพื่อลงนามในเอกสารของฝ่ายบริหาร "ทุกฉบับ" เท่าที่หน่วยงานกำกับดูแลสามารถค้นหาและวิเคราะห์ได้ ทำให้เกิดคำถามตามมาเกี่ยวกับความถูกต้องตามกฎหมายของคำสั่งของเขา รวมถึงปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางปัญญา (Cognitive Health) ของเขาในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ

    ไม่เพียงเท่านั้น ยังมีการตั้งคำถามมากมายว่า แท้จริงแล้วใครเป็นผู้รับผิดชอบนโยบายของสหรัฐฯ ในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี

    แอนดรูว์ เบลีย์ อัยการสูงสุดของรัฐมิสซูรีต้องการให้กระทรวงยุติธรรมสอบสวนอย่างเป็นทางการ ถึงการใช้ลายเซ็นอัตโนมัติของไบเดน ว่ามีใครได้ประโยชน์จากการบริหารราชการของไบเดน และอาจหมายรวมถึงการ ผลักดันนโยบายสุดโต่งโดยที่ไบเดนอาจไม่รู้และอาจไม่ได้เห็นชอบหรือไม่ ซึ่งอาจถือเป็นการโมฆะทางกฎหมาย ตามมุมมองของเบลีย์
    ทรัมป์จอมแสบ! ใส่รูปลายเซ็นต์ที่เกิดจากการเซ็นต์อัตโนมัติ แทนที่รูปของไบเดน ก่อนหน้านี้ เพิ่งมีการเปิดเผยว่าไบเดนใช้ 'ลายเซ็นอัตโนมัติ' เพื่อลงนามในเอกสารของฝ่ายบริหาร "ทุกฉบับ" เท่าที่หน่วยงานกำกับดูแลสามารถค้นหาและวิเคราะห์ได้ ทำให้เกิดคำถามตามมาเกี่ยวกับความถูกต้องตามกฎหมายของคำสั่งของเขา รวมถึงปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางปัญญา (Cognitive Health) ของเขาในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ ไม่เพียงเท่านั้น ยังมีการตั้งคำถามมากมายว่า แท้จริงแล้วใครเป็นผู้รับผิดชอบนโยบายของสหรัฐฯ ในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี แอนดรูว์ เบลีย์ อัยการสูงสุดของรัฐมิสซูรีต้องการให้กระทรวงยุติธรรมสอบสวนอย่างเป็นทางการ ถึงการใช้ลายเซ็นอัตโนมัติของไบเดน ว่ามีใครได้ประโยชน์จากการบริหารราชการของไบเดน และอาจหมายรวมถึงการ ผลักดันนโยบายสุดโต่งโดยที่ไบเดนอาจไม่รู้และอาจไม่ได้เห็นชอบหรือไม่ ซึ่งอาจถือเป็นการโมฆะทางกฎหมาย ตามมุมมองของเบลีย์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 496 มุมมอง 0 รีวิว
  • ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศ โปรดเกล้าฯ พระราชทานยศทหาร พลเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เป็น พลเรือเอกหญิง และพลอากาศเอกหญิงวันที่ 7 มีนาคม 2568 เว็บไซต์ ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศ ว่าด้วยเรื่อง พระราชทานพระยศทหาร โดยเนื้อความในประกาศระบุว่าพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระยศทหารอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกอบมาตรา 4 และมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 และมาตรา 15 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560 มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551 มาตรา 5 และมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติยศทหาร พุทธศักราช 2479จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระยศทหาร พลเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เป็น พลเรือเอกหญิง และพลอากาศเอกหญิงทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 6 มีนาคม พุทธศักราช 2568 เป็นปีที่ 10 ในรัชกาลปัจจุบัน
    ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศ โปรดเกล้าฯ พระราชทานยศทหาร พลเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เป็น พลเรือเอกหญิง และพลอากาศเอกหญิงวันที่ 7 มีนาคม 2568 เว็บไซต์ ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศ ว่าด้วยเรื่อง พระราชทานพระยศทหาร โดยเนื้อความในประกาศระบุว่าพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระยศทหารอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกอบมาตรา 4 และมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 และมาตรา 15 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560 มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551 มาตรา 5 และมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติยศทหาร พุทธศักราช 2479จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระยศทหาร พลเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เป็น พลเรือเอกหญิง และพลอากาศเอกหญิงทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 6 มีนาคม พุทธศักราช 2568 เป็นปีที่ 10 ในรัชกาลปัจจุบัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 484 มุมมอง 0 รีวิว
  • กาญจนบุรี - ด่วน! อธิบดีกรมอุทยานฯ ลงนามคำสั่งย้าย 4 เจ้าหน้าที่ สบอ.3 บ้านโป่ง เผยเพื่อความเหมาะสมและประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้ (11 ก.พ.) นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ลงนามในคำสั่ง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เรื่อง ให้ข้าราชการไปปฏิบัติราชการ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เพื่อความเหมาะสมและประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ ด้วยการอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ.2545 จำนวน 4 ราย ให้มีผลตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/local/detail/9680000013771

    #MGROnline #กรมอุทยานแห่งชาติ
    กาญจนบุรี - ด่วน! อธิบดีกรมอุทยานฯ ลงนามคำสั่งย้าย 4 เจ้าหน้าที่ สบอ.3 บ้านโป่ง เผยเพื่อความเหมาะสมและประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ • ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้ (11 ก.พ.) นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ลงนามในคำสั่ง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เรื่อง ให้ข้าราชการไปปฏิบัติราชการ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เพื่อความเหมาะสมและประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ ด้วยการอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ.2545 จำนวน 4 ราย ให้มีผลตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/local/detail/9680000013771 • #MGROnline #กรมอุทยานแห่งชาติ
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 520 มุมมอง 0 รีวิว
  • พบ "วิษณุ เครืองาม" อดีตรองนายกฯ เป็นประธานกฤษฎีกาคณะพิเศษ พิจารณา กม.เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ขณะที่ "บวรศักดิ์ อุวรรณโณ" อดีต ปธ.กมธ.ยกร่างรัฐธรรมนูญ นั่งเป็นกรรมการด้วย คาดเสร็จเร็วกว่า 50 วัน
    .
    วันนี้ (29 ม.ค.) รายงานข่าวแจ้งว่า ภายหลังคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. ... หรือ กฎหมายเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ พร้อมทั้งส่งให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปรับถ้อยคำให้สอดคล้องกับข้อกฎหมายและคำแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 13 ม.ค. ที่ผ่านมา ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะพิเศษขึ้นมา 1 ชุด เพื่อพิจารณาเรื่องนี้โดยเฉพาะ โดยมีนายวิษณุ เครืองาม อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 2 (เกี่ยวกับบริหารราชการแผ่นดิน) เป็นประธาน และมีนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ อดีตประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ในฐานะประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 13 (เกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐ) เป็นกรรมการด้วย
    .
    ขณะที่รัฐบาลได้ส่ง นายศึกษิษฏ์ ศรีจอมขวัญ และนายฉัตริน จันทร์หอม รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง เป็นตัวแทนเข้าไปร่วมประชุมคอยชี้แจงหลักการและแนวคิดของรัฐบาล โดยคณะกรรมการฯ ได้ประชุมกันไปแล้วหลายครั้ง รวมทั้งมีการเรียกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งกระทรวงการคลัง คือ นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมช.คลัง และกระทรวงการมหาดไทย เข้าไปชี้แจงแล้ว ล่าสุดมีรายงานว่า จากการเร่งเดินหน้าเรื่องดังกล่าว อาจทำให้การพิจารณาร่างกฎหมายเสร็จเร็วกว่ากรอบ 50 วัน ที่จะครบในช่วงต้นเดือน มี.ค. 2568
    .
    ขณะที่เมื่อวานนี้ (28 ม.ค.) นายปกรณ์​ นิลประพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กล่าวว่า การหารือของคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะพิเศษ ในตอนนี้เรียกประชุม 3-4 ครั้งแล้ว ส่วนใหญ่เรียกกระทรวงการคลัง​ กระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาหารือแล้ว ซึ่งการหารือไม่ได้มีอะไร ส่วนใหญ่เป็นไปตามที่กระทรวงมหาดไทยได้ให้ข้อสังเกตไว้​ อย่างเรื่องการรักษาการร่วม และการทำงานร่วมกันอย่างบูรณาการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งไม่ได้มีประเด็นอะไร
    .
    ส่วนที่นายจุลพันธ์​ อมรวิวัฒน์ รมช.การคลัง​ ระบุกฎหมายจะไม่มีการตราเรื่องสัดส่วนกาสิโน 10% ลงไปในนั้น นายปกรณ์ กล่าวว่า ยังไม่ถึงขนาดนั้น ส่วนที่กฤษฎีกามองว่าควรจะมีการบัญญัติสัดส่วนของกาสิโนลงไปในกฎหมายเลยหรือไม่ เนื่องจากหากไม่มีการเขียนลงไปอย่างชัดเจน จะเป็นช่องว่างทางกฎหมาย นายปกรณ์เห็นว่า ประเด็นดังกล่าวเป็นเพียงแค่​นายจุลพันธ์มาชี้แจงและเล่าให้ฟัง แต่ยังไม่ได้ข้อยุติขนาดนั้น
    .
    ด้านนายจุล​พันธ์ปฏิเสธจะชี้แจงรายละเอียด ระบุเพียงว่า​ ไม่มีอะไร การพูดคุยคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะพิเศษราบรื่นดี ยืนยันว่าร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวไม่ใช่ร่างกาสิโน โดยได้ชี้แจงตามข้อเท็จจริง และเป็นไปในแนวทางนโยบายแห่งรัฐ โดยสรุปว่านโยบายนี้คือองค์ประกอบของธุรกิจหลายรูปแบบ โดยรัฐบาลสามารถกำหนดได้ ซึ่งกาสิโนเป็นเพียงส่วนหนึ่ง สำหรับสัดส่วนกาสิโนไม่ได้มีการเขียนในกฎหมายตั้งแต่ต้น แต่อยู่ที่เจตจำนงของผู้กำหนดนโยบายในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งเปิดกว้างเอาไว้ แต่หากต้องกำหนด เช่น ไม่เกิน 10% ก็สามารถดำเนินการได้​ ไม่ได้ส่งผลกระทบแต่อย่างใด​ เพราะเชื่อว่าสุดท้ายแล้วจะสามารถบริหารจัดการได้
    .
    ส่วนการไม่กำหนดสัดส่วนกาสิโนเข้าไปในกฎหมาย จะไม่เป็นช่องโหว่ทางกฎหมายนั้น นายจุล​พันธ์ยืนยันว่า นโยบายนี้ไม่ใช่เรื่องกาสิโนรายละเอียดของสถานที่ก็จะยังไม่เขียนในรายละเอียดของร่างกฎหมายดังกล่าว เนื่องจากเป็นอำนาจของคณะกรรมการนโยบาย (ซูเปอร์บอร์ด) สถานบันเทิงครบวงจรในอนาคต เพราะไม่รู้ว่าในอนาคตใครจะมาเป็นผู้บริหาร ซึ่งตามหลักโมเดลธุรกิจไม่เกิน 10% เพราะมาตรฐานทั่วโลกไม่เกิน 5% เช่น สิงคโปร์ มีสัดส่วนกาสิโน 3% ฉะนั้นอย่าจินตนาการเลยสิ่งที่มันไม่เป็นจริงและข้อเท็จจริง​ พร้อมยืนยันว่าไม่กังวล ที่ขณะนี้สังคมกำลังจับตา เพราะทำตามหน้าที่และขั้นตอน
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000009147
    ..............
    Sondhi X
    พบ "วิษณุ เครืองาม" อดีตรองนายกฯ เป็นประธานกฤษฎีกาคณะพิเศษ พิจารณา กม.เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ขณะที่ "บวรศักดิ์ อุวรรณโณ" อดีต ปธ.กมธ.ยกร่างรัฐธรรมนูญ นั่งเป็นกรรมการด้วย คาดเสร็จเร็วกว่า 50 วัน . วันนี้ (29 ม.ค.) รายงานข่าวแจ้งว่า ภายหลังคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. ... หรือ กฎหมายเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ พร้อมทั้งส่งให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปรับถ้อยคำให้สอดคล้องกับข้อกฎหมายและคำแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 13 ม.ค. ที่ผ่านมา ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะพิเศษขึ้นมา 1 ชุด เพื่อพิจารณาเรื่องนี้โดยเฉพาะ โดยมีนายวิษณุ เครืองาม อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 2 (เกี่ยวกับบริหารราชการแผ่นดิน) เป็นประธาน และมีนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ อดีตประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ในฐานะประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 13 (เกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐ) เป็นกรรมการด้วย . ขณะที่รัฐบาลได้ส่ง นายศึกษิษฏ์ ศรีจอมขวัญ และนายฉัตริน จันทร์หอม รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง เป็นตัวแทนเข้าไปร่วมประชุมคอยชี้แจงหลักการและแนวคิดของรัฐบาล โดยคณะกรรมการฯ ได้ประชุมกันไปแล้วหลายครั้ง รวมทั้งมีการเรียกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งกระทรวงการคลัง คือ นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมช.คลัง และกระทรวงการมหาดไทย เข้าไปชี้แจงแล้ว ล่าสุดมีรายงานว่า จากการเร่งเดินหน้าเรื่องดังกล่าว อาจทำให้การพิจารณาร่างกฎหมายเสร็จเร็วกว่ากรอบ 50 วัน ที่จะครบในช่วงต้นเดือน มี.ค. 2568 . ขณะที่เมื่อวานนี้ (28 ม.ค.) นายปกรณ์​ นิลประพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กล่าวว่า การหารือของคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะพิเศษ ในตอนนี้เรียกประชุม 3-4 ครั้งแล้ว ส่วนใหญ่เรียกกระทรวงการคลัง​ กระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาหารือแล้ว ซึ่งการหารือไม่ได้มีอะไร ส่วนใหญ่เป็นไปตามที่กระทรวงมหาดไทยได้ให้ข้อสังเกตไว้​ อย่างเรื่องการรักษาการร่วม และการทำงานร่วมกันอย่างบูรณาการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งไม่ได้มีประเด็นอะไร . ส่วนที่นายจุลพันธ์​ อมรวิวัฒน์ รมช.การคลัง​ ระบุกฎหมายจะไม่มีการตราเรื่องสัดส่วนกาสิโน 10% ลงไปในนั้น นายปกรณ์ กล่าวว่า ยังไม่ถึงขนาดนั้น ส่วนที่กฤษฎีกามองว่าควรจะมีการบัญญัติสัดส่วนของกาสิโนลงไปในกฎหมายเลยหรือไม่ เนื่องจากหากไม่มีการเขียนลงไปอย่างชัดเจน จะเป็นช่องว่างทางกฎหมาย นายปกรณ์เห็นว่า ประเด็นดังกล่าวเป็นเพียงแค่​นายจุลพันธ์มาชี้แจงและเล่าให้ฟัง แต่ยังไม่ได้ข้อยุติขนาดนั้น . ด้านนายจุล​พันธ์ปฏิเสธจะชี้แจงรายละเอียด ระบุเพียงว่า​ ไม่มีอะไร การพูดคุยคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะพิเศษราบรื่นดี ยืนยันว่าร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวไม่ใช่ร่างกาสิโน โดยได้ชี้แจงตามข้อเท็จจริง และเป็นไปในแนวทางนโยบายแห่งรัฐ โดยสรุปว่านโยบายนี้คือองค์ประกอบของธุรกิจหลายรูปแบบ โดยรัฐบาลสามารถกำหนดได้ ซึ่งกาสิโนเป็นเพียงส่วนหนึ่ง สำหรับสัดส่วนกาสิโนไม่ได้มีการเขียนในกฎหมายตั้งแต่ต้น แต่อยู่ที่เจตจำนงของผู้กำหนดนโยบายในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งเปิดกว้างเอาไว้ แต่หากต้องกำหนด เช่น ไม่เกิน 10% ก็สามารถดำเนินการได้​ ไม่ได้ส่งผลกระทบแต่อย่างใด​ เพราะเชื่อว่าสุดท้ายแล้วจะสามารถบริหารจัดการได้ . ส่วนการไม่กำหนดสัดส่วนกาสิโนเข้าไปในกฎหมาย จะไม่เป็นช่องโหว่ทางกฎหมายนั้น นายจุล​พันธ์ยืนยันว่า นโยบายนี้ไม่ใช่เรื่องกาสิโนรายละเอียดของสถานที่ก็จะยังไม่เขียนในรายละเอียดของร่างกฎหมายดังกล่าว เนื่องจากเป็นอำนาจของคณะกรรมการนโยบาย (ซูเปอร์บอร์ด) สถานบันเทิงครบวงจรในอนาคต เพราะไม่รู้ว่าในอนาคตใครจะมาเป็นผู้บริหาร ซึ่งตามหลักโมเดลธุรกิจไม่เกิน 10% เพราะมาตรฐานทั่วโลกไม่เกิน 5% เช่น สิงคโปร์ มีสัดส่วนกาสิโน 3% ฉะนั้นอย่าจินตนาการเลยสิ่งที่มันไม่เป็นจริงและข้อเท็จจริง​ พร้อมยืนยันว่าไม่กังวล ที่ขณะนี้สังคมกำลังจับตา เพราะทำตามหน้าที่และขั้นตอน . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000009147 .............. Sondhi X
    Like
    Wow
    Sad
    11
    5 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2760 มุมมอง 0 รีวิว
  • วลีจีน วิญญาณผู้กล้าหวนคืนมาตุภูมิ

    สวัสดีค่ะ Storyฯ เคยเขียนหลายบทความถึง ‘วลีเด็ด’ จากบทกวีจีนโบราณและวรรณกรรมจีนโบราณที่ถูกนำมาใช้ในหลายซีรีส์และนวนิยายจีน แต่จริงๆ แล้วก็มี ‘วลีเด็ด’ จากยุคปัจจุบันที่เคยถูกยกไปใช้ในซีรีส์หรือนิยายจีนโบราณด้วยเหมือนกัน

    วันนี้เรามาคุยกันถึงตัวอย่างหนึ่งจากซีรีส์ <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> เพื่อนเพจที่ได้ดูอาจพอจำได้ว่าในระหว่างการเดินทางของคณะฑูตแคว้นอู๋ไปยังแคว้นอันเพื่อช่วยกษัตริย์แคว้นอู๋นั้น พวกเขาพบซากศพและป้ายห้อยคอประจำตัวของเหล่าทหารจากหน่วยหกวิถีที่พลีชีพก่อนหน้านี้ในศึกที่แคว้นอู๋พ่ายแพ้ และได้จัดพิธีเผาศพให้กับพวกเขา (รูปประกอบ1) ในฉากนี้ หลี่อ๋องเซ่นสุราและกล่าวออกมาประโยคหนึ่งว่า “ดวงวิญญาณจงกลับมา อย่าได้โศกเศร้าไปชั่วนิรันดร์” (หมายเหตุ คำแปลตามซับไทย)

    ประโยคดังกล่าว ต้นฉบับภาษาจีนคือ ‘魂兮归来 维莫永伤 (หุนซีกุยหลาย เหวยม่อหย่งซัง)’ เป็นประโยคที่มาจากสุทรพจน์เมื่อปี 2021 เพื่อสดุดีทหารอาสาสมัครจีน โดยวรรคแรกถูกยกมาจากบทประพันธ์โบราณ

    ‘ดวงวิญญาณจงกลับมา’ วรรคนี้มาจากบทประพันธ์ที่มีชื่อว่า ‘เรียกดวงวิญญาณ’ (招魂 /จาวหุน) บ้างว่าเป็นผลงานของชวีหยวน ขุนนางและกวีแคว้นฉู่ในสมัยจ้านกั๋วหรือยุครณรัฐที่เพื่อนเพจอาจเคยได้ยินชื่อจากตำนานบ๊ะจ่าง บ้างว่าเป็นผลงานของซ่งอวี้ ขุนนางจากแคว้นฉู่เช่นกัน

    บทประพันธ์ ‘เรียกดวงวิญญาณ’ เป็นบทประพันธ์ที่ยาวมาก ลักษณะคล้ายเล่านิทาน ใจความของบทประพันธ์เป็นการเรียกและหว่านล้อมดวงวิญญาณให้กลับมาบ้าน อย่าได้ไปหยุดรั้งอยู่ในดินแดน ณ ทิศต่างๆ โดยบรรยายถึงภยันตรายและความยากลำบากในดินแดนนั้นๆ ที่อาจทำให้ดวงวิญญาณอาจดับสูญได้ และกล่าวถึงความคิดถึงของคนที่บ้านที่รอคอยให้ดวงวิญญาณนั้นหวนคืนมา ซึ่งสะท้อนถึงธรรมเนียมโบราณที่ต้องทำพิธีเรียกดวงวิญญาณของผู้ที่ตายในต่างแดนให้กลับบ้าน

    ว่ากันว่าบทประพันธ์ ‘เรียกดวงวิญญาณ’ นี้มีที่มาจากเรื่องราวของกษัตริย์ฉู่หวยหวางที่เสียท่าให้กับกุศโลบายของแคว้นฉิน ถูกจับเป็นตัวประกันหลังพ่ายศึกและพลีชีพที่นั่น ต่อมาสามปีให้หลังเมื่อสองแคว้นสงบศึกกันแล้วจึงมีการจัดพิธีศพให้แต่กษัตริย์ฉู่หวยหวาง และแม้ว่ากษัตริย์ฉู่หวยหวางจะถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าบริหารราชการแผ่นดินผิดพลาด แต่ในช่วงที่ถูกจับเป็นตัวประกันนั้นได้แสดงถึงความกล้าหาญยอมหักไม่ยอมงอ บทกวีนี้จึงถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นการรำลึกถึงจิตวิญญาณอันหาญกล้าของผู้ที่พลีชีพในต่างแดนเพื่อแผ่นดินเกิด

    และวลี ‘ดวงวิญญาณจงกลับมา’ ได้ถูกนำมาใช้ในสุนทรพจน์สดุดีทหารจีนในงานพิธีฝังศพทหารอาสาสมัครจีนชุดที่ 8 จำนวน 109 นายที่พลีชีพในสงครามเกาหลีเมื่อกว่า 70 ปีที่แล้วและเพิ่งได้รับการส่งคืนจากเกาหลีใต้ในเดือนกันยายน 2021 มันเป็นสุนทรพจน์ของนายซุนส้าวเฉิงในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงการทหารผ่านศึก (Ministry of Veteran Affairs) ในสมัยนั้น โดยประโยคเต็ม ‘ดวงวิญญาณจงกลับมา อย่าได้โศกเศร้าไปชั่วนิรันดร์’ นี้คือประโยคจบของสุนทรพจน์ (รูปประกอบ2)

    บทสุนทรพจน์ดังกล่าวยาวและใช้ทักษะภาษาชั้นสูงถ้อยคำงดงาม ใจความโดยสรุปคือยกย่องเหล่าทหารอาสาสมัครที่ออกไปร่วบรบเพื่อเสถียรภาพของสาธารณรัฐจีนที่เพิ่งถูกก่อตั้งขึ้นใหม่ สดุดีความกล้าหาญของพวกเขาที่ต้องเผชิญหน้าคู่ต่อสู้ที่มีอาวุธสงครามที่ร้ายกาจ สุดท้ายพลีชีพอยู่ต่างแดนไม่มีโอกาสได้กลับบ้านเกิดจวบจนวันนี้ ขอให้เหล่าดวงวิญญาณกลับมาสู่อ้อมกอดอันอบอุ่นของประชาชนที่รักเขาและยังไม่ลืมความเสียสละของพวกเขา ได้กลับมาเห็นความเจริญเข้มแข็งของประเทศที่เขาพลีกายปกปักษ์รักษา ขอเหล่าวิญญาณผู้กล้าจงกลับคืนสู่มาตุภูมิ กลับมาสู่ความสงบ ไม่ต้องเจ็บช้ำหรือโศกเศร้าอีกต่อไป

    สุนทรพจน์นี้ได้รับการยกย่องด้วยภาษาที่งดงามและความหมายลึกซึ้งกินใจ ไม่เพียงสดุดีความกล้าหาญ แต่ยังกระตุ้นอารมณ์รักและเคารพในผู้ฟังอีกด้วย และประโยคนี้เป็นคำพูดในยุคจีนปัจจุบันที่สะท้อนวัฒนธรรมที่สั่งสมผ่านกาลเวลาจากวลีจีนโบราณ กลายมาเป็นอีกประโยคหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์จีน

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://www.sohu.com/a/584621129_114988
    http://www.81.cn/tp_207717/10086482.html
    https://mgronline.com/china/detail/9670000114488
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    http://m.shangshiwen.com/71990.html
    https://www.gushiwen.cn/mingju_991.aspx
    https://baike.baidu.com/item/招魂/8176058
    http://www.81.cn/tp_207717/10086482.html

    #ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก #เรียกดวงวิญญาณ #ชวีหยวน #ทหารอาสาสมัครจีน #สาระจีน
    วลีจีน วิญญาณผู้กล้าหวนคืนมาตุภูมิ สวัสดีค่ะ Storyฯ เคยเขียนหลายบทความถึง ‘วลีเด็ด’ จากบทกวีจีนโบราณและวรรณกรรมจีนโบราณที่ถูกนำมาใช้ในหลายซีรีส์และนวนิยายจีน แต่จริงๆ แล้วก็มี ‘วลีเด็ด’ จากยุคปัจจุบันที่เคยถูกยกไปใช้ในซีรีส์หรือนิยายจีนโบราณด้วยเหมือนกัน วันนี้เรามาคุยกันถึงตัวอย่างหนึ่งจากซีรีส์ <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> เพื่อนเพจที่ได้ดูอาจพอจำได้ว่าในระหว่างการเดินทางของคณะฑูตแคว้นอู๋ไปยังแคว้นอันเพื่อช่วยกษัตริย์แคว้นอู๋นั้น พวกเขาพบซากศพและป้ายห้อยคอประจำตัวของเหล่าทหารจากหน่วยหกวิถีที่พลีชีพก่อนหน้านี้ในศึกที่แคว้นอู๋พ่ายแพ้ และได้จัดพิธีเผาศพให้กับพวกเขา (รูปประกอบ1) ในฉากนี้ หลี่อ๋องเซ่นสุราและกล่าวออกมาประโยคหนึ่งว่า “ดวงวิญญาณจงกลับมา อย่าได้โศกเศร้าไปชั่วนิรันดร์” (หมายเหตุ คำแปลตามซับไทย) ประโยคดังกล่าว ต้นฉบับภาษาจีนคือ ‘魂兮归来 维莫永伤 (หุนซีกุยหลาย เหวยม่อหย่งซัง)’ เป็นประโยคที่มาจากสุทรพจน์เมื่อปี 2021 เพื่อสดุดีทหารอาสาสมัครจีน โดยวรรคแรกถูกยกมาจากบทประพันธ์โบราณ ‘ดวงวิญญาณจงกลับมา’ วรรคนี้มาจากบทประพันธ์ที่มีชื่อว่า ‘เรียกดวงวิญญาณ’ (招魂 /จาวหุน) บ้างว่าเป็นผลงานของชวีหยวน ขุนนางและกวีแคว้นฉู่ในสมัยจ้านกั๋วหรือยุครณรัฐที่เพื่อนเพจอาจเคยได้ยินชื่อจากตำนานบ๊ะจ่าง บ้างว่าเป็นผลงานของซ่งอวี้ ขุนนางจากแคว้นฉู่เช่นกัน บทประพันธ์ ‘เรียกดวงวิญญาณ’ เป็นบทประพันธ์ที่ยาวมาก ลักษณะคล้ายเล่านิทาน ใจความของบทประพันธ์เป็นการเรียกและหว่านล้อมดวงวิญญาณให้กลับมาบ้าน อย่าได้ไปหยุดรั้งอยู่ในดินแดน ณ ทิศต่างๆ โดยบรรยายถึงภยันตรายและความยากลำบากในดินแดนนั้นๆ ที่อาจทำให้ดวงวิญญาณอาจดับสูญได้ และกล่าวถึงความคิดถึงของคนที่บ้านที่รอคอยให้ดวงวิญญาณนั้นหวนคืนมา ซึ่งสะท้อนถึงธรรมเนียมโบราณที่ต้องทำพิธีเรียกดวงวิญญาณของผู้ที่ตายในต่างแดนให้กลับบ้าน ว่ากันว่าบทประพันธ์ ‘เรียกดวงวิญญาณ’ นี้มีที่มาจากเรื่องราวของกษัตริย์ฉู่หวยหวางที่เสียท่าให้กับกุศโลบายของแคว้นฉิน ถูกจับเป็นตัวประกันหลังพ่ายศึกและพลีชีพที่นั่น ต่อมาสามปีให้หลังเมื่อสองแคว้นสงบศึกกันแล้วจึงมีการจัดพิธีศพให้แต่กษัตริย์ฉู่หวยหวาง และแม้ว่ากษัตริย์ฉู่หวยหวางจะถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าบริหารราชการแผ่นดินผิดพลาด แต่ในช่วงที่ถูกจับเป็นตัวประกันนั้นได้แสดงถึงความกล้าหาญยอมหักไม่ยอมงอ บทกวีนี้จึงถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นการรำลึกถึงจิตวิญญาณอันหาญกล้าของผู้ที่พลีชีพในต่างแดนเพื่อแผ่นดินเกิด และวลี ‘ดวงวิญญาณจงกลับมา’ ได้ถูกนำมาใช้ในสุนทรพจน์สดุดีทหารจีนในงานพิธีฝังศพทหารอาสาสมัครจีนชุดที่ 8 จำนวน 109 นายที่พลีชีพในสงครามเกาหลีเมื่อกว่า 70 ปีที่แล้วและเพิ่งได้รับการส่งคืนจากเกาหลีใต้ในเดือนกันยายน 2021 มันเป็นสุนทรพจน์ของนายซุนส้าวเฉิงในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงการทหารผ่านศึก (Ministry of Veteran Affairs) ในสมัยนั้น โดยประโยคเต็ม ‘ดวงวิญญาณจงกลับมา อย่าได้โศกเศร้าไปชั่วนิรันดร์’ นี้คือประโยคจบของสุนทรพจน์ (รูปประกอบ2) บทสุนทรพจน์ดังกล่าวยาวและใช้ทักษะภาษาชั้นสูงถ้อยคำงดงาม ใจความโดยสรุปคือยกย่องเหล่าทหารอาสาสมัครที่ออกไปร่วบรบเพื่อเสถียรภาพของสาธารณรัฐจีนที่เพิ่งถูกก่อตั้งขึ้นใหม่ สดุดีความกล้าหาญของพวกเขาที่ต้องเผชิญหน้าคู่ต่อสู้ที่มีอาวุธสงครามที่ร้ายกาจ สุดท้ายพลีชีพอยู่ต่างแดนไม่มีโอกาสได้กลับบ้านเกิดจวบจนวันนี้ ขอให้เหล่าดวงวิญญาณกลับมาสู่อ้อมกอดอันอบอุ่นของประชาชนที่รักเขาและยังไม่ลืมความเสียสละของพวกเขา ได้กลับมาเห็นความเจริญเข้มแข็งของประเทศที่เขาพลีกายปกปักษ์รักษา ขอเหล่าวิญญาณผู้กล้าจงกลับคืนสู่มาตุภูมิ กลับมาสู่ความสงบ ไม่ต้องเจ็บช้ำหรือโศกเศร้าอีกต่อไป สุนทรพจน์นี้ได้รับการยกย่องด้วยภาษาที่งดงามและความหมายลึกซึ้งกินใจ ไม่เพียงสดุดีความกล้าหาญ แต่ยังกระตุ้นอารมณ์รักและเคารพในผู้ฟังอีกด้วย และประโยคนี้เป็นคำพูดในยุคจีนปัจจุบันที่สะท้อนวัฒนธรรมที่สั่งสมผ่านกาลเวลาจากวลีจีนโบราณ กลายมาเป็นอีกประโยคหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์จีน (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.sohu.com/a/584621129_114988 http://www.81.cn/tp_207717/10086482.html https://mgronline.com/china/detail/9670000114488 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: http://m.shangshiwen.com/71990.html https://www.gushiwen.cn/mingju_991.aspx https://baike.baidu.com/item/招魂/8176058 http://www.81.cn/tp_207717/10086482.html #ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก #เรียกดวงวิญญาณ #ชวีหยวน #ทหารอาสาสมัครจีน #สาระจีน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1397 มุมมอง 0 รีวิว
  • นักการเมืองที่ร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่คนนี้เหมือนจะลอกจากระบบอังกฤษแต่เว้นไม่พูดเรื่อง “ตำแหน่งจอมทัพ” เพราะ “พระมหากษัตริย์อังกฤษทรงเป็น “จอมทัพ” มีอำนาจเยี่ยงจอมทัพจริงๆ แต่ในขนบธรรมเนียมกองทัพอังกฤษในระบอบประชาธิปไตย (ซึ่งมีวิวัฒนาการตั้งแต่ ค.ศ.๑๒๑๕ (พ.ศ.๑๗๕๘) พระมหากษัตริย์ทรงมอบอำนาจการจัดการกองทัพให้รัฐบาลแล้วและระบบอังกฤษ “ไม่มี” การนำเรื่องการบริหารหรือการแต่งตั้งนายทหารเข้าครม.พิจารณาการบริหารราชการกองทัพ “เพราะตามพรบ.กลาโหมอังกฤษ มี “Defence Council”ซึ่งประกอบด้วย “Defence Board” มี นักการเมือง ๕ คน ทหาร ๖ คนและสำนักงานพระราชวัง ๓ คนเพราะพระมหากษัตริย์ทรงเป็นจอมทัพ สำหรับ รมว.กห.เป็นตัวแทนของ ครม.อยู่แล้ว ซึ่ง Defence Board ในระบบอังกฤษกำกับดูแลการบริหารและการปฏิบัติการ Operations ของกองทัพ จึงไม่จำเป็นต้องนำเสนอ ครม.เพราะ Defence Council นั้นทำในในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ครม.อังกฤษกำกับดูแลกองทัพ ในเรื่อง การใช้กำลังทหารทำสงคราม งบประมาณกลาโหม การพิจารณาการพัฒนากองทัพเพื่อการสงคราม การเตรียมกำลังสำรองและกฎหมายให้ภาคเอกชนช่วยทำสงคราม เท่านั้นไม่เกี่ยวกับการแต่งตั้ง “ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารขนาดใหญ่ “หน่วยที่เล็กที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพัน หน่วยที่ใหญ่ที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพล (หมายถึงหน่วยที่รบพุ่งในสมรภูมิ” และสูงกว่านั้น Defence Board เป็นองค์กรพิจารณาแต่งตั้งสำหรับกองทัพสหรัฐฯ นายทหารระดับนายพลนั้น “รัฐสภาเป็นองค์กรแต่งตั้งนายพลตามวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของกองทัพสหรัฐฯ เพราะ “นักการเมืองสร้างกองทัพ” (นักการเมืองลงขันสร้างกองทัพขึ้นสู้กับกองทัพอังกฤษสมัยทำสงครามปลดแอกจากอังกฤษ)แต่นักการเมืองไทยและพรรคการเมืองนี้มีเจตนาอย่างชัดเจนที่จะควบคุมกองทัพ นั่นเป็นแนวคิดที่ผิดมากๆ เพราะเป็นอคติต่อกองทัพ ซึ่งจะก่อให้เกิดการแตกแยกในกองทัพ ทหารจะเสียขวัญกำลังใจ (อันตรายมากๆ)เพราะเนื้อหาในร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่นี้มีการออกคุณสมบัติของนายทหารชั้นนายพล เสมือนว่า “นายพลระดับผู้บริหารเหล่าทัพ” เคยมีประวัติชั่วร้ายโกงกิน (คุณสมบัติเหล่าที่ร่าง พรบ.กห.ใหม่กำหนดไว้ก็เป็นพฤติกรรมของนักการเมืองบางคนทั้งสิ้น “โดยเฉพาะนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนักการเมืองที่ถูกศาลตัดสินว่าทำผิดกฎหมายจริงจนเป็นที่ประจักษ์ หรือรูปแบบต่างๆ ของนักการเมืองที่ถูกตัดสินติดคุกแต่อยู่ในคุกไม่นานตามที่เป็นข่าวอยู่นี้ เป็นต้นแบบของนักการเมืองไทยหรือ?”การกำหนดคุณสมบัตินายทหารชั้นนายพลนั้นเป็นการดูถูก “นายทหารแห่งกองทัพไทย” เพราะ “กว่าจะเป็นนายพลนั้นก็ผ่านการกลั่นกรองมาตามลำดับชั้นอย่างเข้มงวดอยู่แล้ว”นักการเมืองพรรคเพื่อไทยคนนี้คิดจะทำลายกองทัพ การรัฐประหารเกิดจากนักการเมืองก่อเรื่องทั้งสิ้นรัฐประหาร ๒๒ พฤษภาคม ๕๗ จะไม่เกิด ไม่มี คสช.หากรัฐบาลชั่วคราวระบอบทักษิณ “ลาออก” พล.อ.ประยุทธ์ ไม่มีเงื่อนไขที่จะรัฐประหาร: Vachara Riddhagni
    นักการเมืองที่ร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่คนนี้เหมือนจะลอกจากระบบอังกฤษแต่เว้นไม่พูดเรื่อง “ตำแหน่งจอมทัพ” เพราะ “พระมหากษัตริย์อังกฤษทรงเป็น “จอมทัพ” มีอำนาจเยี่ยงจอมทัพจริงๆ แต่ในขนบธรรมเนียมกองทัพอังกฤษในระบอบประชาธิปไตย (ซึ่งมีวิวัฒนาการตั้งแต่ ค.ศ.๑๒๑๕ (พ.ศ.๑๗๕๘) พระมหากษัตริย์ทรงมอบอำนาจการจัดการกองทัพให้รัฐบาลแล้วและระบบอังกฤษ “ไม่มี” การนำเรื่องการบริหารหรือการแต่งตั้งนายทหารเข้าครม.พิจารณาการบริหารราชการกองทัพ “เพราะตามพรบ.กลาโหมอังกฤษ มี “Defence Council”ซึ่งประกอบด้วย “Defence Board” มี นักการเมือง ๕ คน ทหาร ๖ คนและสำนักงานพระราชวัง ๓ คนเพราะพระมหากษัตริย์ทรงเป็นจอมทัพ สำหรับ รมว.กห.เป็นตัวแทนของ ครม.อยู่แล้ว ซึ่ง Defence Board ในระบบอังกฤษกำกับดูแลการบริหารและการปฏิบัติการ Operations ของกองทัพ จึงไม่จำเป็นต้องนำเสนอ ครม.เพราะ Defence Council นั้นทำในในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ครม.อังกฤษกำกับดูแลกองทัพ ในเรื่อง การใช้กำลังทหารทำสงคราม งบประมาณกลาโหม การพิจารณาการพัฒนากองทัพเพื่อการสงคราม การเตรียมกำลังสำรองและกฎหมายให้ภาคเอกชนช่วยทำสงคราม เท่านั้นไม่เกี่ยวกับการแต่งตั้ง “ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารขนาดใหญ่ “หน่วยที่เล็กที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพัน หน่วยที่ใหญ่ที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพล (หมายถึงหน่วยที่รบพุ่งในสมรภูมิ” และสูงกว่านั้น Defence Board เป็นองค์กรพิจารณาแต่งตั้งสำหรับกองทัพสหรัฐฯ นายทหารระดับนายพลนั้น “รัฐสภาเป็นองค์กรแต่งตั้งนายพลตามวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของกองทัพสหรัฐฯ เพราะ “นักการเมืองสร้างกองทัพ” (นักการเมืองลงขันสร้างกองทัพขึ้นสู้กับกองทัพอังกฤษสมัยทำสงครามปลดแอกจากอังกฤษ)แต่นักการเมืองไทยและพรรคการเมืองนี้มีเจตนาอย่างชัดเจนที่จะควบคุมกองทัพ นั่นเป็นแนวคิดที่ผิดมากๆ เพราะเป็นอคติต่อกองทัพ ซึ่งจะก่อให้เกิดการแตกแยกในกองทัพ ทหารจะเสียขวัญกำลังใจ (อันตรายมากๆ)เพราะเนื้อหาในร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่นี้มีการออกคุณสมบัติของนายทหารชั้นนายพล เสมือนว่า “นายพลระดับผู้บริหารเหล่าทัพ” เคยมีประวัติชั่วร้ายโกงกิน (คุณสมบัติเหล่าที่ร่าง พรบ.กห.ใหม่กำหนดไว้ก็เป็นพฤติกรรมของนักการเมืองบางคนทั้งสิ้น “โดยเฉพาะนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนักการเมืองที่ถูกศาลตัดสินว่าทำผิดกฎหมายจริงจนเป็นที่ประจักษ์ หรือรูปแบบต่างๆ ของนักการเมืองที่ถูกตัดสินติดคุกแต่อยู่ในคุกไม่นานตามที่เป็นข่าวอยู่นี้ เป็นต้นแบบของนักการเมืองไทยหรือ?”การกำหนดคุณสมบัตินายทหารชั้นนายพลนั้นเป็นการดูถูก “นายทหารแห่งกองทัพไทย” เพราะ “กว่าจะเป็นนายพลนั้นก็ผ่านการกลั่นกรองมาตามลำดับชั้นอย่างเข้มงวดอยู่แล้ว”นักการเมืองพรรคเพื่อไทยคนนี้คิดจะทำลายกองทัพ การรัฐประหารเกิดจากนักการเมืองก่อเรื่องทั้งสิ้นรัฐประหาร ๒๒ พฤษภาคม ๕๗ จะไม่เกิด ไม่มี คสช.หากรัฐบาลชั่วคราวระบอบทักษิณ “ลาออก” พล.อ.ประยุทธ์ ไม่มีเงื่อนไขที่จะรัฐประหาร: Vachara Riddhagni
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 667 มุมมอง 0 รีวิว
  • "สว.หมอเกศ" โผล่มหาดไทย ร่วมคณะ กมธ.บริหารราชการแผนดินฯ เจอ "อนุทิน" เรียกมาตอบสื่อปม "วุฒิปลอม" เจ้าตัวยันไม่กังวล บอกเก็บตัวเงียบรอ กกต.พิจารณาให้เสร็จสิ้นก่อน ให้รอดูพยานหลักฐาน

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000109693

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    "สว.หมอเกศ" โผล่มหาดไทย ร่วมคณะ กมธ.บริหารราชการแผนดินฯ เจอ "อนุทิน" เรียกมาตอบสื่อปม "วุฒิปลอม" เจ้าตัวยันไม่กังวล บอกเก็บตัวเงียบรอ กกต.พิจารณาให้เสร็จสิ้นก่อน ให้รอดูพยานหลักฐาน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000109693 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Sad
    Wow
    15
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2011 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลแพ่งยกฟ้อง "ม.ร.ว.ปรียนันทนา"ฟ้อง"ณัฐพล-สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน" เขียนวิทยานิพนธ์-ทำหนังสือ พาดพิงบรรพบุรุษ เรียก 50 ล้าน ชี้ไม่มีอำนาจฟ้อง

    13 พฤศจิกายน 2567- เมื่อเวลา 09.00 น.วันนี้ ที่ศาลแพ่ง ถ.รัชดาภิเษก นัดอ่านคำพิพากษาคดีหมายเลขดำที่ พ1135/2564 ที่ ม.ร.ว.ปรียนันทนา รังสิต เป็นโจทก์ฟ้อง ผศ.ดร.ณัฐพล ใจจริง ผู้เขียนวิทยานิพนธ์และหนังสือ เป็นจำเลยที่ 1 รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู มี้ด อดีตอาจารย์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เป็นจำเลยที่ 2 นายชัยธวัช ตุลาธน บรรณาธิการหนังสือขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ เป็นจำเลยที่ 3 น.ส.อัญชลี มณีโรจน์ บรรณาธิการหนังสือ ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี เป็นจำเลยที่ 4 ห้างหุ้นส่วนจำกัดสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ผู้จัดพิมพ์หนังสือทั้ง 2 เล่ม เป็นจำเลยที่ 5 นายธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการบริหารสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน เป็นจำเลยที่ 6 ในข้อหา “ละเมิดไขข่าวด้วยข้อความฝ่าฝืนความจริง” และเรียกค่าเสียหายจำนวน 50 ล้านบาท

    กรณีจำเลยเกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์ การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2491-2500), หนังสือขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อและ ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี

    ต่อมาเมื่อเดือน มิถุนายน 2566 โจทก์ได้ถอนฟ้อง รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู มี้ด

    ศาลแพ่ง พิเคราะห์ประเด็นข้อพิพาทที่ต้องวินิจฉัยประการแรกมีว่า โจทก์มีอำนาจฟ้องหรือไม่ เห็นว่า คดีนี้โจทก์ฟ้องให้จำเลยทั้งหกร่วมกันรับผิดฐานละเมิดโดยอ้างว่าร่วมกันกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ ทางทำมาหาได้ และทางเจริญของโจทก์ การกระทำจะเป็นการละเมิดและจำเลยทั้งหกต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์ ต่อเมื่อข้อความที่กล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายฝ่าฝืนความจริงและโจทก์ได้รับความเสียหายจากข้อความดังกล่าว ซึ่งหมายถึงเป็นความเสียหายแก่โจทก์ผู้ฟ้องโดยเฉพาะ มิใช่ความเสียหายแก่ผู้อื่นผู้ใด แต่ตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์กล่าวว่าเมื่อปี 2552 จนถึงปัจจุบัน จำเลยทั้งหกร่วมกันบิดเบือนข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์โดยนำข้อความอันเป็นเท็จจัดทำเอกสารไขข่าวแพร่หลายสู่สาธารณะเพื่อมุ่งประสงค์กล่าวหาให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์โดยทำเป็นกระบวนการเพื่อใช้ในการปลุกระดมให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง เริ่มจากจำเลยที่ 1 โดยความเห็นชอบและร่วมมือของจำเลยที่ 2 ปั้นแต่งความเท็จขึ้นใส่ความสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ขณะที่ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการว่าทรงประพฤติตนไม่สมต่อตำแหน่งหน้าที่ ทั้งการใช้พระราชอำนาจสนับสนุนรับรองการรัฐประหารปี 2490 และการเข้าแทรกแซงการปกครองในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.เพื่อปูทางการเมืองที่ราบรื่นให้แก่สถาบันกษัตริย์ โดยเจตนาเพื่อให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์ ด้วยการทำวิทยานิพนธ์ด้วยข้อความอันเป็นเท็จ และโจทก์ได้บรรยายฟ้องระบุถึงข้อความอันเป็นเท็จในวิทยานิพนธ์ หน้า 63 วรรคแรก และหน้า 105 วรรคแรก และบรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 นำข้อความอันเป็นเท็จในวิทยานิพนธ์ไปพูดในการเสวนาที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2553 กล่าวหากรมขุนชัยนาทนเรนทรว่าก้าวก่ายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยการเข้าไปนั่งเป็นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี อันเป็นความเท็จ และเมื่อปี 2556 จำเลยที่ 1 เขียนหนังสือ ขอฝันใฝ่ในผันอันเหลือเชื่อ : ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ.2475-2500) เนื้อหาโจมตีให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ต่อเนื่องจนถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ด้วยความเท็จ และโจทก์บรรยายฟ้องถึงข้อความอันเป็นเท็จ เนื้อหาหน้า 120 -121 และหน้า 124-125 และเมื่อปี 2563 จำเลยที่ 1 เขียนหนังสือ ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี กล่าวหาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร และมีข้อความโจมตีสถาบันพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร หลายแห่ง และโจทก์บรรยายฟ้องข้อความอันเป็นเท็จที่หน้า 60,63,66,73,77และข้อความเท็จใต้ภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร หน้า 69 และโจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 แต่งความเท็จใส่ร้ายกล่าวหาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร และสถาบันพระมหากษัตริย์ในหนังสือต่างประเทศที่จำหน่ายทั่วโลก ชื่อ “Saying the Unsayable Monarchy and Democracy in Thailand” ใส่ร้ายสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรว่ามีส่วนร่วมในการรัฐประหาร ปี 2490 แทรกแซงการเมืองโดยการเข้าร่วมประชุมคณะรัฐมนตรี

    เมื่อข้อความอันเป็นเท็จตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์ มิได้กล่าวพาดพิงถึงโจทก์หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวของโจทก์และครอบครัว ทั้งเรื่องการรับรองรัฐประหาร ปี 2490 และการเข้าแทรกแซงการเมืองสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ก็ไม่ปรากฏว่ามีความเกี่ยวข้องกับโจทก์ อันจะทำให้ผู้ที่อ่านข้อความในวิทยานิพนธ์และในหนังสือที่จำเลยที่ 1 เขียนดังกล่าวเข้าใจผิดในตัวโจทก์ ซึ่งโจทก์ก็บรรยายฟ้องว่าการที่จำเลยที่ 1 เขียนข้อความเท็จในวิทยานิพนธ์และหนังสือดังกล่าว ทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิดว่าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นผู้ไม่นิยมการปกครองระบอบประชาธิปไตย ฝักใฝ่อำนาจทางการเมือง สนับสนุนการรัฐประหาร กระทำการก้าวก่ายการบริหารราชการของรัฐบาล ฟ้องของโจทก์จึงมิได้กล่าวอ้างว่าโจทก์ได้รับความเสียหายจากข้อความดังกล่าว ทั้งการบรรยายฟ้องของโจทก์ที่ระบุว่าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ได้รับความเสียหาย แต่เมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ได้สิ้นพระชนม์แล้วก่อนที่จะมีการกระทำอันเป็นละเมิดตามคำฟ้อง จึงเป็นฟ้องที่กล่าวอ้างว่ามีการกระทำละเมิดต่อหรือความเสียหายของผู้ที่ไม่มีสภาพบุคคลแล้ว แม้โจทก์เป็นหลานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรซึ่งสิ้นพระชนม์แล้วและข้อความกล่าวพาดพิงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

    แม้หากฟังได้ว่าข้อความดังกล่าวบิดเบือนไม่เป็นความจริงตามที่โจทก์บรรยายฟ้อง และทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิดในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ก็ไม่ได้เสียหายต่อโจทก์ทายาทชั้นหลานด้วย เพราะข้อความตามคำบรรยายฟ้องมิได้กล่าวหรือแสดงเรื่องราวที่ไม่ตรงต่อความจริงเกี่ยวกับโจทก์และครอบครัวและไม่ได้สื่อความหมายเกี่ยวกับโจทก์ ซึ่งโจทก์ก็เบิกความตอบทนายจำเลยที่ 1 ถามค้านว่าหนังสือขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี หนังสือขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ รวมถึงวิทยานิพนธ์ของจำเลยที่ 1 กล่าวถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ไม่ได้กล่าวถึงโจทก์และทายาทของโจทก์ ข้อเท็จจริงตามข้อความในวิทยานิพนธ์ดังกล่าวจะเป็นความจริงหรือไม่ โจทก์ไม่ทราบเนื่องจากขณะนั้นโจทก์ยังไม่เกิด ดังนั้น เมื่อข้อความที่จำเลยที่ 1 แสดงในวิทยานิพนธ์ ในหนังสือ และที่จำเลยที่ 1 นำไปพูดตามคำฟ้องไม่ได้สื่อความหมายถึงโจทก์ ย่อมไม่อาจทำให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเข้าใจผิดในตัวโจทก์ซึ่งเป็นทายาทชั้นหลานอันจะทำให้โจทก์เสียชื่อเสียงหรือเกียรติคุณ และทางทำมาหาได้หรือทางเจริญ

    ส่วนที่โจทก์เบิกความว่ามีการชุมนุมและอาฆาดมาดร้ายสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร โดยมีผู้นำสีแดงมาสาดใส่ที่พระอนุสาวรีย์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรซึ่งประดิษฐานอยู่ที่กระทรวงสาธารณสุขนั้น เหตุการณ์ตามภาพข่าวและสถานที่เกิดเหตุไม่ได้เกี่ยวข้องกับความเสียหายของโจทก์ ไม่ปรากฏว่าบุคคลผู้ก่อเหตุเป็นใครและการกระทำสืบเนื่องมาจากสาเหตุใด และที่โจทก์เบิกความว่ามีการชุมนุมของกลุ่มเยาวชนที่ถนนวิภาวดีรังสิตปลุกระดมให้มีการยกเลิกชื่อถนนซึ่งเป็นพระนามของพระเจ้าวงวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต ก็มิได้ระบุว่าเป็นการชุมนุมปลุกระดมสืบเนื่องจากข้อความในวิทยานิพนธ์หรือในหนังสือคดีนี้และไม่ได้เกี่ยวข้องกับความเสียหายของโจทก์โดยตรง

    ทั้งการฟ้องเรียกค่าเสียหายของโจทก์ โจทก์เบิกความตอบทนายจำเลยที่ 1 ถามค้านถึงมูลเหตุที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายเป็นเงิน 50,000,000 บาท เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ทรงทำคุณความดีและประโยชน์ให้ประเทศไทยเป็นจำนวนมากมายมหาศาล การฟ้องเรียกค่าเสียหายของโจทก์จึงมิได้มีความสัมพันธ์กับที่โจทก์ระบุในฟ้องว่าโจทก์ได้รับความเสียหาย ดังนั้น โจทก์จึงมิใช่ผู้ได้รับความเสียหายจากข้อความของจำเลยที่ 1 ตามคำฟ้องและไม่ได้ถูกโต้แย้งสิทธิ

    ส่วนที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงตามคำฟ้องทำให้ราชสกุลรังสิต รวมถึงโจทก์ผู้สืบราชสกุลและเป็นผู้แทนราชสกุลได้รับความเสียหายนั้น เห็นว่า ตามคำฟ้องของโจทก์มิได้ว่าระบุว่าโจทก์ฟ้องคดีนี้โดยได้รับมอบอำนาจจากบุคคลอื่นในราชสกุลรังสิตด้วย ทั้งราชสกุลรังสิตก็ไม่ปรากฏว่ามีสภาพบุคคลตามกฎหมายทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล เมื่อโจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายคดีนี้ในฐานะส่วนตัว มิได้เป็นการฟ้องโดยได้รับมอบอำนาจจากบุคคลอื่นด้วย โจทก์จึงมิอาจกล่าวอ้างความเสียหายของราชสกุลรังสิตซึ่งไม่มีสภาพบุคคล ส่วนที่โจทก์ฟ้องและเบิกความว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 ทำให้เกิดความเสื่อมศรัทธาต่อมูลนิธิวิภาวดีรังสิต ที่โจทก์เป็นประธานและมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ซึ่งโจทก์เป็นกรรมการ กระทบต่อการหารายได้โดยการรับบริจาคเงินจากสาธารณชนซึ่งรายได้นำไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสนั้น เมื่อมูลนิธิดังกล่าวมีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายต่างหากจากโจทก์ และโจทก์ฟ้องคดีนี้ในฐานะส่วนตัวไม่ได้ฟ้องโดยได้รับมอบอำนาจจากมูลนิธิ

    โจทก์จึงไม่อาจอ้างว่ามูลนิธิดังกล่าว ซึ่งมิได้เป็นคู่ความในคดีนี้ได้รับความเสียหายเพื่อให้มีการใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ เมื่อโจทก์ไม่ได้ถูกโต้แย้งสิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง เมื่อฟังว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องแล้ว ก็ไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นอื่นต่อไป พิพากษายกฟ้อง

    https://mgronline.com/crime/detail/9670000109449#google_vignette

    #Thaitimes
    ศาลแพ่งยกฟ้อง "ม.ร.ว.ปรียนันทนา"ฟ้อง"ณัฐพล-สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน" เขียนวิทยานิพนธ์-ทำหนังสือ พาดพิงบรรพบุรุษ เรียก 50 ล้าน ชี้ไม่มีอำนาจฟ้อง 13 พฤศจิกายน 2567- เมื่อเวลา 09.00 น.วันนี้ ที่ศาลแพ่ง ถ.รัชดาภิเษก นัดอ่านคำพิพากษาคดีหมายเลขดำที่ พ1135/2564 ที่ ม.ร.ว.ปรียนันทนา รังสิต เป็นโจทก์ฟ้อง ผศ.ดร.ณัฐพล ใจจริง ผู้เขียนวิทยานิพนธ์และหนังสือ เป็นจำเลยที่ 1 รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู มี้ด อดีตอาจารย์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เป็นจำเลยที่ 2 นายชัยธวัช ตุลาธน บรรณาธิการหนังสือขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ เป็นจำเลยที่ 3 น.ส.อัญชลี มณีโรจน์ บรรณาธิการหนังสือ ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี เป็นจำเลยที่ 4 ห้างหุ้นส่วนจำกัดสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ผู้จัดพิมพ์หนังสือทั้ง 2 เล่ม เป็นจำเลยที่ 5 นายธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการบริหารสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน เป็นจำเลยที่ 6 ในข้อหา “ละเมิดไขข่าวด้วยข้อความฝ่าฝืนความจริง” และเรียกค่าเสียหายจำนวน 50 ล้านบาท กรณีจำเลยเกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์ การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2491-2500), หนังสือขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อและ ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี ต่อมาเมื่อเดือน มิถุนายน 2566 โจทก์ได้ถอนฟ้อง รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู มี้ด ศาลแพ่ง พิเคราะห์ประเด็นข้อพิพาทที่ต้องวินิจฉัยประการแรกมีว่า โจทก์มีอำนาจฟ้องหรือไม่ เห็นว่า คดีนี้โจทก์ฟ้องให้จำเลยทั้งหกร่วมกันรับผิดฐานละเมิดโดยอ้างว่าร่วมกันกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ ทางทำมาหาได้ และทางเจริญของโจทก์ การกระทำจะเป็นการละเมิดและจำเลยทั้งหกต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์ ต่อเมื่อข้อความที่กล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายฝ่าฝืนความจริงและโจทก์ได้รับความเสียหายจากข้อความดังกล่าว ซึ่งหมายถึงเป็นความเสียหายแก่โจทก์ผู้ฟ้องโดยเฉพาะ มิใช่ความเสียหายแก่ผู้อื่นผู้ใด แต่ตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์กล่าวว่าเมื่อปี 2552 จนถึงปัจจุบัน จำเลยทั้งหกร่วมกันบิดเบือนข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์โดยนำข้อความอันเป็นเท็จจัดทำเอกสารไขข่าวแพร่หลายสู่สาธารณะเพื่อมุ่งประสงค์กล่าวหาให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์โดยทำเป็นกระบวนการเพื่อใช้ในการปลุกระดมให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง เริ่มจากจำเลยที่ 1 โดยความเห็นชอบและร่วมมือของจำเลยที่ 2 ปั้นแต่งความเท็จขึ้นใส่ความสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ขณะที่ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการว่าทรงประพฤติตนไม่สมต่อตำแหน่งหน้าที่ ทั้งการใช้พระราชอำนาจสนับสนุนรับรองการรัฐประหารปี 2490 และการเข้าแทรกแซงการปกครองในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.เพื่อปูทางการเมืองที่ราบรื่นให้แก่สถาบันกษัตริย์ โดยเจตนาเพื่อให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์ ด้วยการทำวิทยานิพนธ์ด้วยข้อความอันเป็นเท็จ และโจทก์ได้บรรยายฟ้องระบุถึงข้อความอันเป็นเท็จในวิทยานิพนธ์ หน้า 63 วรรคแรก และหน้า 105 วรรคแรก และบรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 นำข้อความอันเป็นเท็จในวิทยานิพนธ์ไปพูดในการเสวนาที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2553 กล่าวหากรมขุนชัยนาทนเรนทรว่าก้าวก่ายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยการเข้าไปนั่งเป็นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี อันเป็นความเท็จ และเมื่อปี 2556 จำเลยที่ 1 เขียนหนังสือ ขอฝันใฝ่ในผันอันเหลือเชื่อ : ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ.2475-2500) เนื้อหาโจมตีให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ต่อเนื่องจนถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ด้วยความเท็จ และโจทก์บรรยายฟ้องถึงข้อความอันเป็นเท็จ เนื้อหาหน้า 120 -121 และหน้า 124-125 และเมื่อปี 2563 จำเลยที่ 1 เขียนหนังสือ ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี กล่าวหาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร และมีข้อความโจมตีสถาบันพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร หลายแห่ง และโจทก์บรรยายฟ้องข้อความอันเป็นเท็จที่หน้า 60,63,66,73,77และข้อความเท็จใต้ภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร หน้า 69 และโจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยที่ 1 แต่งความเท็จใส่ร้ายกล่าวหาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร และสถาบันพระมหากษัตริย์ในหนังสือต่างประเทศที่จำหน่ายทั่วโลก ชื่อ “Saying the Unsayable Monarchy and Democracy in Thailand” ใส่ร้ายสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรว่ามีส่วนร่วมในการรัฐประหาร ปี 2490 แทรกแซงการเมืองโดยการเข้าร่วมประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อข้อความอันเป็นเท็จตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์ มิได้กล่าวพาดพิงถึงโจทก์หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวของโจทก์และครอบครัว ทั้งเรื่องการรับรองรัฐประหาร ปี 2490 และการเข้าแทรกแซงการเมืองสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ก็ไม่ปรากฏว่ามีความเกี่ยวข้องกับโจทก์ อันจะทำให้ผู้ที่อ่านข้อความในวิทยานิพนธ์และในหนังสือที่จำเลยที่ 1 เขียนดังกล่าวเข้าใจผิดในตัวโจทก์ ซึ่งโจทก์ก็บรรยายฟ้องว่าการที่จำเลยที่ 1 เขียนข้อความเท็จในวิทยานิพนธ์และหนังสือดังกล่าว ทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิดว่าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นผู้ไม่นิยมการปกครองระบอบประชาธิปไตย ฝักใฝ่อำนาจทางการเมือง สนับสนุนการรัฐประหาร กระทำการก้าวก่ายการบริหารราชการของรัฐบาล ฟ้องของโจทก์จึงมิได้กล่าวอ้างว่าโจทก์ได้รับความเสียหายจากข้อความดังกล่าว ทั้งการบรรยายฟ้องของโจทก์ที่ระบุว่าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ได้รับความเสียหาย แต่เมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ได้สิ้นพระชนม์แล้วก่อนที่จะมีการกระทำอันเป็นละเมิดตามคำฟ้อง จึงเป็นฟ้องที่กล่าวอ้างว่ามีการกระทำละเมิดต่อหรือความเสียหายของผู้ที่ไม่มีสภาพบุคคลแล้ว แม้โจทก์เป็นหลานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรซึ่งสิ้นพระชนม์แล้วและข้อความกล่าวพาดพิงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร แม้หากฟังได้ว่าข้อความดังกล่าวบิดเบือนไม่เป็นความจริงตามที่โจทก์บรรยายฟ้อง และทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิดในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ก็ไม่ได้เสียหายต่อโจทก์ทายาทชั้นหลานด้วย เพราะข้อความตามคำบรรยายฟ้องมิได้กล่าวหรือแสดงเรื่องราวที่ไม่ตรงต่อความจริงเกี่ยวกับโจทก์และครอบครัวและไม่ได้สื่อความหมายเกี่ยวกับโจทก์ ซึ่งโจทก์ก็เบิกความตอบทนายจำเลยที่ 1 ถามค้านว่าหนังสือขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี หนังสือขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ รวมถึงวิทยานิพนธ์ของจำเลยที่ 1 กล่าวถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ไม่ได้กล่าวถึงโจทก์และทายาทของโจทก์ ข้อเท็จจริงตามข้อความในวิทยานิพนธ์ดังกล่าวจะเป็นความจริงหรือไม่ โจทก์ไม่ทราบเนื่องจากขณะนั้นโจทก์ยังไม่เกิด ดังนั้น เมื่อข้อความที่จำเลยที่ 1 แสดงในวิทยานิพนธ์ ในหนังสือ และที่จำเลยที่ 1 นำไปพูดตามคำฟ้องไม่ได้สื่อความหมายถึงโจทก์ ย่อมไม่อาจทำให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเข้าใจผิดในตัวโจทก์ซึ่งเป็นทายาทชั้นหลานอันจะทำให้โจทก์เสียชื่อเสียงหรือเกียรติคุณ และทางทำมาหาได้หรือทางเจริญ ส่วนที่โจทก์เบิกความว่ามีการชุมนุมและอาฆาดมาดร้ายสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร โดยมีผู้นำสีแดงมาสาดใส่ที่พระอนุสาวรีย์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรซึ่งประดิษฐานอยู่ที่กระทรวงสาธารณสุขนั้น เหตุการณ์ตามภาพข่าวและสถานที่เกิดเหตุไม่ได้เกี่ยวข้องกับความเสียหายของโจทก์ ไม่ปรากฏว่าบุคคลผู้ก่อเหตุเป็นใครและการกระทำสืบเนื่องมาจากสาเหตุใด และที่โจทก์เบิกความว่ามีการชุมนุมของกลุ่มเยาวชนที่ถนนวิภาวดีรังสิตปลุกระดมให้มีการยกเลิกชื่อถนนซึ่งเป็นพระนามของพระเจ้าวงวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต ก็มิได้ระบุว่าเป็นการชุมนุมปลุกระดมสืบเนื่องจากข้อความในวิทยานิพนธ์หรือในหนังสือคดีนี้และไม่ได้เกี่ยวข้องกับความเสียหายของโจทก์โดยตรง ทั้งการฟ้องเรียกค่าเสียหายของโจทก์ โจทก์เบิกความตอบทนายจำเลยที่ 1 ถามค้านถึงมูลเหตุที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายเป็นเงิน 50,000,000 บาท เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ทรงทำคุณความดีและประโยชน์ให้ประเทศไทยเป็นจำนวนมากมายมหาศาล การฟ้องเรียกค่าเสียหายของโจทก์จึงมิได้มีความสัมพันธ์กับที่โจทก์ระบุในฟ้องว่าโจทก์ได้รับความเสียหาย ดังนั้น โจทก์จึงมิใช่ผู้ได้รับความเสียหายจากข้อความของจำเลยที่ 1 ตามคำฟ้องและไม่ได้ถูกโต้แย้งสิทธิ ส่วนที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงตามคำฟ้องทำให้ราชสกุลรังสิต รวมถึงโจทก์ผู้สืบราชสกุลและเป็นผู้แทนราชสกุลได้รับความเสียหายนั้น เห็นว่า ตามคำฟ้องของโจทก์มิได้ว่าระบุว่าโจทก์ฟ้องคดีนี้โดยได้รับมอบอำนาจจากบุคคลอื่นในราชสกุลรังสิตด้วย ทั้งราชสกุลรังสิตก็ไม่ปรากฏว่ามีสภาพบุคคลตามกฎหมายทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล เมื่อโจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายคดีนี้ในฐานะส่วนตัว มิได้เป็นการฟ้องโดยได้รับมอบอำนาจจากบุคคลอื่นด้วย โจทก์จึงมิอาจกล่าวอ้างความเสียหายของราชสกุลรังสิตซึ่งไม่มีสภาพบุคคล ส่วนที่โจทก์ฟ้องและเบิกความว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 ทำให้เกิดความเสื่อมศรัทธาต่อมูลนิธิวิภาวดีรังสิต ที่โจทก์เป็นประธานและมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ซึ่งโจทก์เป็นกรรมการ กระทบต่อการหารายได้โดยการรับบริจาคเงินจากสาธารณชนซึ่งรายได้นำไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสนั้น เมื่อมูลนิธิดังกล่าวมีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายต่างหากจากโจทก์ และโจทก์ฟ้องคดีนี้ในฐานะส่วนตัวไม่ได้ฟ้องโดยได้รับมอบอำนาจจากมูลนิธิ โจทก์จึงไม่อาจอ้างว่ามูลนิธิดังกล่าว ซึ่งมิได้เป็นคู่ความในคดีนี้ได้รับความเสียหายเพื่อให้มีการใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ เมื่อโจทก์ไม่ได้ถูกโต้แย้งสิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง เมื่อฟังว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องแล้ว ก็ไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นอื่นต่อไป พิพากษายกฟ้อง https://mgronline.com/crime/detail/9670000109449#google_vignette #Thaitimes
    MGRONLINE.COM
    ศาลแพ่งยกฟ้อง "ม.ร.ว.ปรียนันทนา" ฟ้อง"ณัฐพล-ฟ้าเดียวกัน" เขียนวิทยานิพนธ์-ทำหนังสือ พาดพิงบรรพบุรุษ ชี้โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
    ศาลแพ่งยกฟ้อง ม.ร.ว.ปรียนันทนาฟ้องณัฐพล-สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน เขียนวิทยานิพนธ์-ทำหนังสือ พาดพิงบรรพบุรุษ เรียก 50 ล้าน ชี้ไม่มีอำนาจฟ้อง
    Sad
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1818 มุมมอง 0 รีวิว
  • เบื้องหลังดีเอสไอ รับคดี The Icon ตำรวจถอยรอรับคำสั่ง
    .
    คดี The Icon มาถึงประเด็นสำคัญที่หลายฝ่ายต้องจับตา ภายหลังมีการส่งมอบให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ ดีเอสไอ มารับไม้ต่อในฐานะคดีพิเศษ โดยเรื่องนี้ลำดับขั้นตอนที่น่าสนใจ คือ เรื่องนี้เป็นกระบวนการและขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเมื่อความผิดใดความผิดหนึ่งเข้าลักษณะตาม พรบ.การสอบสวนคดีพิเศษพ.ศ. 2547 และเป็นความผิดที่มีลักษณะตามประกาศของคณะกรรมการคดีพิเศษ(กคพ.) ตำรวจจึงต้องถือปฏิบัติตามกฏหมายที่ต้องส่งสำนวนการสอบสวนพร้อมพยานหลักฐานต่างๆ ในความรับผิดชอบเบื้องต้น ให้กับ dsi ตามกำหนดเวลาเพื่อไปดำเนินการตามกฎหมายต่อไป
    .
    ที่สำคัญคดีนี้หลังจากที่ตำรวจได้รับแจ้งความร้องทุกข์กล่าวโทษ มาตั้งแต่วันที่ 10 ตุลาคม 2567 ได้มีการสอบสวนปากคำประชาชนที่เชื่อว่าตกเป็นผู้เสียหาย และรวบรวมพยานหลักฐานมาโดยตลอด ซึ่งก็เริ่มมีประชาชนเดินทางมาแจ้งความมากขึ้น จนปริมาณงานไม่สัมพันธ์กับจำนวนพนักงานสอบสวนของ บช.ก. ที่ต้องทำงานตั้งแต่ 9.00 - 02.00 ของวันรุ่งขึ้น จากปริมาณประชาชนที่มาแจ้งความและการรอคอยเพื่อให้ปากคำ ทำให้ประชาชนต้องรอเป็นเวลานาน บางรายรอจนข้ามวัน ด้วยเหตุนี้ พล.ต.อ. กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จึงสั่งให้มีการเปิดศูนย์รับแจ้งความขึ้นทั่วประเทศ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนที่เชื่อว่าเป็นผู้เสียหาย จนถึง ณ วันนี้ มีการสอบสวนผู้เสียหายไปกว่า 9,000 คน และมีมูลค่าที่เชื่อว่าเสียหายถึง 2,900 ล้านบาทเศษ
    .
    นับตั้งแต่วันที่มีการสอบสวนปากคำและดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายเป็นต้นมา เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดของ บช.ก. ได้มีการประชุม ,การวิเคราะห์ พิจารณาคำให้การ, การตรวจค้น , ออกหมายจับและดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ เพื่อรวบรวมและแสวงหาพยานหลักฐานเพิ่มเติมมาโดยตลอด ถือว่าได้ดำเนินการตามกระบวนการของกฎหมายอย่างเต็มที่ไปถึง 80% แล้ว ดังนั้นในการดำเนินการเบื้องต้น ตำรวจก็มีความมั่นใจว่า ได้ดำเนินการอย่างรอบคอบและรัดกุมมากพอสมควรที่จะส่งให้ดีเอสไอรับไปดำเนินการตามกฏหมาย
    .
    โดยเมื่อดีเอสไอรับคดีไปแล้วตำรวจก็อาจจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการสืบสวนสอบสวนได้ โดยดีเอสไออาจร้องขอให้ตำรวจหรือหน่วยงานใด เข้าช่วยเหลือ หรือปฏิบัติงานร่วมกันตามข้อบังคับของคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) ได้ ซึ่งตำรวจได้ยืนยันไปแล้วว่า มีความพร้อมและยินดีที่จะยังร่วมดำเนินการตามกระบวนการของกฎหมายกับดีเอสไอต่อไป
    .
    อย่างไรก็ตามเมื่อส่งสำนวนการสอบสวนในคดีดิไอคอนกรุ๊ป ไปให้ดีเอสไอแล้ว ในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวน ก็อาจใช้มาตรา 33 แห่ง พ.ร.บ.การสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 ที่บัญญัติว่า “ในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ รัฐมนตรีอาจเสนอให้นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีคำสั่งตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานอื่นมาปฏิบัติหน้าที่ในกรมสอบสวนคดีพิเศษเพื่อช่วยเหลือในการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษนั้นได้” ซึ่งถือเป็นวิธีการที่ หน่วยงานต่างๆ จะเข้าไปมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ ช่วยเหลือ เพื่อประโยชน์แห่งการสืบสวนสอบสวน ในคดีนี้ต่อไป
    .............
    Sondhi X
    เบื้องหลังดีเอสไอ รับคดี The Icon ตำรวจถอยรอรับคำสั่ง . คดี The Icon มาถึงประเด็นสำคัญที่หลายฝ่ายต้องจับตา ภายหลังมีการส่งมอบให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ ดีเอสไอ มารับไม้ต่อในฐานะคดีพิเศษ โดยเรื่องนี้ลำดับขั้นตอนที่น่าสนใจ คือ เรื่องนี้เป็นกระบวนการและขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเมื่อความผิดใดความผิดหนึ่งเข้าลักษณะตาม พรบ.การสอบสวนคดีพิเศษพ.ศ. 2547 และเป็นความผิดที่มีลักษณะตามประกาศของคณะกรรมการคดีพิเศษ(กคพ.) ตำรวจจึงต้องถือปฏิบัติตามกฏหมายที่ต้องส่งสำนวนการสอบสวนพร้อมพยานหลักฐานต่างๆ ในความรับผิดชอบเบื้องต้น ให้กับ dsi ตามกำหนดเวลาเพื่อไปดำเนินการตามกฎหมายต่อไป . ที่สำคัญคดีนี้หลังจากที่ตำรวจได้รับแจ้งความร้องทุกข์กล่าวโทษ มาตั้งแต่วันที่ 10 ตุลาคม 2567 ได้มีการสอบสวนปากคำประชาชนที่เชื่อว่าตกเป็นผู้เสียหาย และรวบรวมพยานหลักฐานมาโดยตลอด ซึ่งก็เริ่มมีประชาชนเดินทางมาแจ้งความมากขึ้น จนปริมาณงานไม่สัมพันธ์กับจำนวนพนักงานสอบสวนของ บช.ก. ที่ต้องทำงานตั้งแต่ 9.00 - 02.00 ของวันรุ่งขึ้น จากปริมาณประชาชนที่มาแจ้งความและการรอคอยเพื่อให้ปากคำ ทำให้ประชาชนต้องรอเป็นเวลานาน บางรายรอจนข้ามวัน ด้วยเหตุนี้ พล.ต.อ. กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จึงสั่งให้มีการเปิดศูนย์รับแจ้งความขึ้นทั่วประเทศ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนที่เชื่อว่าเป็นผู้เสียหาย จนถึง ณ วันนี้ มีการสอบสวนผู้เสียหายไปกว่า 9,000 คน และมีมูลค่าที่เชื่อว่าเสียหายถึง 2,900 ล้านบาทเศษ . นับตั้งแต่วันที่มีการสอบสวนปากคำและดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายเป็นต้นมา เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดของ บช.ก. ได้มีการประชุม ,การวิเคราะห์ พิจารณาคำให้การ, การตรวจค้น , ออกหมายจับและดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ เพื่อรวบรวมและแสวงหาพยานหลักฐานเพิ่มเติมมาโดยตลอด ถือว่าได้ดำเนินการตามกระบวนการของกฎหมายอย่างเต็มที่ไปถึง 80% แล้ว ดังนั้นในการดำเนินการเบื้องต้น ตำรวจก็มีความมั่นใจว่า ได้ดำเนินการอย่างรอบคอบและรัดกุมมากพอสมควรที่จะส่งให้ดีเอสไอรับไปดำเนินการตามกฏหมาย . โดยเมื่อดีเอสไอรับคดีไปแล้วตำรวจก็อาจจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการสืบสวนสอบสวนได้ โดยดีเอสไออาจร้องขอให้ตำรวจหรือหน่วยงานใด เข้าช่วยเหลือ หรือปฏิบัติงานร่วมกันตามข้อบังคับของคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) ได้ ซึ่งตำรวจได้ยืนยันไปแล้วว่า มีความพร้อมและยินดีที่จะยังร่วมดำเนินการตามกระบวนการของกฎหมายกับดีเอสไอต่อไป . อย่างไรก็ตามเมื่อส่งสำนวนการสอบสวนในคดีดิไอคอนกรุ๊ป ไปให้ดีเอสไอแล้ว ในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวน ก็อาจใช้มาตรา 33 แห่ง พ.ร.บ.การสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 ที่บัญญัติว่า “ในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ รัฐมนตรีอาจเสนอให้นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีคำสั่งตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานอื่นมาปฏิบัติหน้าที่ในกรมสอบสวนคดีพิเศษเพื่อช่วยเหลือในการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษนั้นได้” ซึ่งถือเป็นวิธีการที่ หน่วยงานต่างๆ จะเข้าไปมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ ช่วยเหลือ เพื่อประโยชน์แห่งการสืบสวนสอบสวน ในคดีนี้ต่อไป ............. Sondhi X
    Like
    Angry
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1301 มุมมอง 1 รีวิว
  • 23 ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

    ////////////////////

    23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยพระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ต่อประเทศไทยหลายด้าน และสิ่งที่โดดเด่นคือ การประกาศ เลิกทาส เป็นการหยุดวงจรการเป็นทาส เพราะเมื่อสมัยก่อนหากพ่อแม่เป็นทาส ลูกที่เกิดมาก็ต้องเป็นทาสต่อไปเรื่อยๆ ทางราชการจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคมของทุกปีเป็นหนึ่งในวันระลึกถึงความสำคัญของเหตุการณ์ในชาติ โดยเรียกว่า “วันปิยมหาราช”
    พระราชประวัติ
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2396 เป็นโอรสองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระนางเจ้าฟ้ารำเพยภมราภิรมย์ (สมเด็จพระเทพศิรินทรา พระบรมราชินี)เมื่อพระชนมายุได้ 9 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรลังกาศ ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ พระองค์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการตั้งแต่ยังเป็นเด็ก ศึกษาวิชาต่างๆ เช่น ชีววิทยา วิชาดาบ วิศวกรรมศาสตร์ ภาษาอังกฤษและมานุษยวิทยา และเดินทางไปต่างประเทศและศึกษายุโรป และวิทยาศาสตร์การทหาร ในช่วงครองราชย์ 42 ปี พระองค์ทรงริเริ่มขบวนการปฏิรูปการพัฒนาตนเองและความเจริญรุ่งเรือง ทำให้การเมืองและการทหารของไทยเป็นตะวันตก และบรรลุความมั่งคั่ง ความก้าวหน้า สันติภาพและความพึงพอใจของประเทศ นักวิชาการหลายคนเชื่อว่าการกระทำของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทำให้ประเทศไทยสามารถรักษาเอกราชไว้ได้

    ประราชกรณียกิจสำคัญ

    การเลิกทาส : ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสที่แท้จริงขึ้น เรียกว่า “พระราชบัญญัติทาส ร.ศ.124” (พ.ศ.2448) เลิกเรื่องลูกทาส ในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด เด็กที่เกิดจากทาส ไม่เป็นทาสอีกต่อไป การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา ส่วนผู้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว ให้นายเงินลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท จนกว่าจะหมด

    การปฏิรูประเบียบบริหารราชการ : ได้ทรงปรับปรุงหน้าที่ของกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่แต่เดิมให้เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยรวมกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมายเวลานั้นเข้าเป็นกระทรวง กระทรวงหนึ่ง ๆ ก็มีหน้าที่อย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างพอเหมาะสม

    การศึกษา : ทรงโปรดให้จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง แล้วมีหมายประกาศชักชวนพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการให้ส่งบุตรหลานเข้า เรียน โรงเรียนภาษาไทยนี้

    การคมนาคม ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนบำรุงเมือง ถนนที่ทรงสร้างใหม่ คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินนอก ถนนดินสอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เป็นต้น

    การสุขาภิบาล ได้ทรงตั้งกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อดูแลจัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแห่ง เช่น ศิริราชพยาบาล โรงพยาบาลบางรัก โรงพยาบาลโรคจิต และโรงเลี้ยงเด็ก

    การวรรณคดี ทรงเป็นนักประพันธ์ ซึ่งมีความชำนาญทั้งทางร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น ไกลบ้าน ลิลิตนิทราชาคริต เงาะป่า พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นต้น

    ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายฯ
    สำนักงาน นันท์นภัส วงศ์ใหญ่
    ขอน้อมรำลึกถึง
    พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าและเพื่อเทิดพระเกียรติแด่พระองค์ท่านที่ทรงมีคุณูปการต่อประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง
    23 ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 //////////////////// 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยพระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ต่อประเทศไทยหลายด้าน และสิ่งที่โดดเด่นคือ การประกาศ เลิกทาส เป็นการหยุดวงจรการเป็นทาส เพราะเมื่อสมัยก่อนหากพ่อแม่เป็นทาส ลูกที่เกิดมาก็ต้องเป็นทาสต่อไปเรื่อยๆ ทางราชการจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคมของทุกปีเป็นหนึ่งในวันระลึกถึงความสำคัญของเหตุการณ์ในชาติ โดยเรียกว่า “วันปิยมหาราช” พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2396 เป็นโอรสองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระนางเจ้าฟ้ารำเพยภมราภิรมย์ (สมเด็จพระเทพศิรินทรา พระบรมราชินี)เมื่อพระชนมายุได้ 9 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรลังกาศ ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ พระองค์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการตั้งแต่ยังเป็นเด็ก ศึกษาวิชาต่างๆ เช่น ชีววิทยา วิชาดาบ วิศวกรรมศาสตร์ ภาษาอังกฤษและมานุษยวิทยา และเดินทางไปต่างประเทศและศึกษายุโรป และวิทยาศาสตร์การทหาร ในช่วงครองราชย์ 42 ปี พระองค์ทรงริเริ่มขบวนการปฏิรูปการพัฒนาตนเองและความเจริญรุ่งเรือง ทำให้การเมืองและการทหารของไทยเป็นตะวันตก และบรรลุความมั่งคั่ง ความก้าวหน้า สันติภาพและความพึงพอใจของประเทศ นักวิชาการหลายคนเชื่อว่าการกระทำของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทำให้ประเทศไทยสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ ประราชกรณียกิจสำคัญ การเลิกทาส : ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสที่แท้จริงขึ้น เรียกว่า “พระราชบัญญัติทาส ร.ศ.124” (พ.ศ.2448) เลิกเรื่องลูกทาส ในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด เด็กที่เกิดจากทาส ไม่เป็นทาสอีกต่อไป การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา ส่วนผู้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว ให้นายเงินลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท จนกว่าจะหมด การปฏิรูประเบียบบริหารราชการ : ได้ทรงปรับปรุงหน้าที่ของกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่แต่เดิมให้เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยรวมกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมายเวลานั้นเข้าเป็นกระทรวง กระทรวงหนึ่ง ๆ ก็มีหน้าที่อย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างพอเหมาะสม การศึกษา : ทรงโปรดให้จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง แล้วมีหมายประกาศชักชวนพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการให้ส่งบุตรหลานเข้า เรียน โรงเรียนภาษาไทยนี้ การคมนาคม ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนบำรุงเมือง ถนนที่ทรงสร้างใหม่ คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินนอก ถนนดินสอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เป็นต้น การสุขาภิบาล ได้ทรงตั้งกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อดูแลจัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแห่ง เช่น ศิริราชพยาบาล โรงพยาบาลบางรัก โรงพยาบาลโรคจิต และโรงเลี้ยงเด็ก การวรรณคดี ทรงเป็นนักประพันธ์ ซึ่งมีความชำนาญทั้งทางร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น ไกลบ้าน ลิลิตนิทราชาคริต เงาะป่า พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นต้น ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายฯ สำนักงาน นันท์นภัส วงศ์ใหญ่ ขอน้อมรำลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าและเพื่อเทิดพระเกียรติแด่พระองค์ท่านที่ทรงมีคุณูปการต่อประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1176 มุมมอง 0 รีวิว
  • การประชุมมอบแนวทางการปฏิบัติงานของ กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 ในวันอังคารที่ 15 ตุลาคม 2567 เวลา 08.45 นาฬิกา ณ ห้องศรีพัชรินทร สโมสรร่วมเริงไชย ค่ายสุรนารี อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
    วันนี้ (15 ต.ค.67) เวลา 08.45 น. ที่ห้องศรีพัชรินทร สโมสรร่วมเริงไชย ค่ายสุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ในฐานะผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 เป็นประธานการประชุมมอบแนวทางการปฏิบัติงานของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูล ให้ข้อแสนอแนะในด้านต่างๆ นำไปสู่การ "ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ" ต่อการขับเคลื่อน การปฏิบัติงานแบบบูรณาการให้มีความประสานสอดคล้อง และสร้างความเข้าใจระหว่างหน่วยงาน อันจะทำให้ การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งเพื่อสร้างความรู้จักและความสัมพันธ์ที่ดีใน ระดับผู้บริหาร โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าหน่วยงานความมั่นคง ทหาร ตำรวจ และหัวหน้าส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมในการประชุม มีประเด็นที่สำคัญ อาทิ การแก้ไข ปัญหายาเสพติด การบริหารจัดการน้ำทั้งในสถานการณ์น้ำท่วมและน้ำแล้ง การพัฒนามวลชน เป็นต้น เพื่อให้ทุก หน่วยงานได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงาน ตั้งแต่เริ่มต้นปีงบประมาณ 2568 เพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนในการ แก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง ตรงตามนโยบายของรัฐบาล เอื้อต่อการบริหารราชการแผ่นดิน โดยปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ คือ การปฏิบัติงานอย่างบูรณาการร่วมกันของฝ่ายปกครอง พลเรือน ตำรวจ ทหาร รวมทั้งสร้าง การรับรู้แก่ประชาชน เพื่อให้ความร่วมมือ สนับสนุน และตระหนักในหน้าที่ที่ต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ให้ยั่งยืนสืบไป
    กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 เป็นหน่วยขึ้นตรงของ กองอำนวยการรักษาความ มั่นคงภายในราชอาณาจักร มีอำนาจหน้าที่ ภายใต้พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 มาตรา 7 ประกอบด้วย 1) การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินแนวโน้มของสถานการณ์ภัยคุกคาม ด้านความมั่นคง 2) เสนอแผนและแนวทางในการปฏิบัติงาน 3) อำนวยการ ประสานงาน และเสริมการปฏิบัติ ของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องและ 4) เสริมสร้างให้ประชาชนตระหนักในหน้าที่ที่ต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
    ทั้งนี้ ผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 ได้ขอความร่วมมือในการปฏิบัติงานในห้วงต่อไป อาทิ การป้องกันและแก้ปัญหาความมั่นคงภายในใช้กลไกของจังหวัด, ให้ประชาสัมพันธ์สายด่วน ความมั่นคง 1374 ในการรับเรื่องร้องเรียน, การขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาพระราชทาน, จังหวัดที่มีที่ตั้งติดแนวชายแดน ให้ประสานการปฏิบัติกับกองกำลังป้องกันชายแดน เพื่อประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน, ขอให้ฝ่าย ตำรวจและผู้รับผิดชอบด้านกฎหมาย สอบสวน ขยายผล เร่งรัดการดำเนินคดี มุ่งเน้นต่อกลุ่มขบวนการ และผู้มี อิทธิพล, ด้านการพัฒนาเสริมความมั่นคงในระดับพื้นที่ ขอให้ผ่านกลไกของคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ, การประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อต่างๆ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้อง
    ศูนย์ประชาสัมพันธ์กองทัพภาคที่ 2 โทร.0 4424 3985
    การประชุมมอบแนวทางการปฏิบัติงานของ กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 ในวันอังคารที่ 15 ตุลาคม 2567 เวลา 08.45 นาฬิกา ณ ห้องศรีพัชรินทร สโมสรร่วมเริงไชย ค่ายสุรนารี อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา วันนี้ (15 ต.ค.67) เวลา 08.45 น. ที่ห้องศรีพัชรินทร สโมสรร่วมเริงไชย ค่ายสุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ในฐานะผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 เป็นประธานการประชุมมอบแนวทางการปฏิบัติงานของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูล ให้ข้อแสนอแนะในด้านต่างๆ นำไปสู่การ "ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ" ต่อการขับเคลื่อน การปฏิบัติงานแบบบูรณาการให้มีความประสานสอดคล้อง และสร้างความเข้าใจระหว่างหน่วยงาน อันจะทำให้ การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งเพื่อสร้างความรู้จักและความสัมพันธ์ที่ดีใน ระดับผู้บริหาร โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าหน่วยงานความมั่นคง ทหาร ตำรวจ และหัวหน้าส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมในการประชุม มีประเด็นที่สำคัญ อาทิ การแก้ไข ปัญหายาเสพติด การบริหารจัดการน้ำทั้งในสถานการณ์น้ำท่วมและน้ำแล้ง การพัฒนามวลชน เป็นต้น เพื่อให้ทุก หน่วยงานได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงาน ตั้งแต่เริ่มต้นปีงบประมาณ 2568 เพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนในการ แก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง ตรงตามนโยบายของรัฐบาล เอื้อต่อการบริหารราชการแผ่นดิน โดยปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ คือ การปฏิบัติงานอย่างบูรณาการร่วมกันของฝ่ายปกครอง พลเรือน ตำรวจ ทหาร รวมทั้งสร้าง การรับรู้แก่ประชาชน เพื่อให้ความร่วมมือ สนับสนุน และตระหนักในหน้าที่ที่ต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ให้ยั่งยืนสืบไป กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 เป็นหน่วยขึ้นตรงของ กองอำนวยการรักษาความ มั่นคงภายในราชอาณาจักร มีอำนาจหน้าที่ ภายใต้พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 มาตรา 7 ประกอบด้วย 1) การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินแนวโน้มของสถานการณ์ภัยคุกคาม ด้านความมั่นคง 2) เสนอแผนและแนวทางในการปฏิบัติงาน 3) อำนวยการ ประสานงาน และเสริมการปฏิบัติ ของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องและ 4) เสริมสร้างให้ประชาชนตระหนักในหน้าที่ที่ต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ ผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 ได้ขอความร่วมมือในการปฏิบัติงานในห้วงต่อไป อาทิ การป้องกันและแก้ปัญหาความมั่นคงภายในใช้กลไกของจังหวัด, ให้ประชาสัมพันธ์สายด่วน ความมั่นคง 1374 ในการรับเรื่องร้องเรียน, การขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาพระราชทาน, จังหวัดที่มีที่ตั้งติดแนวชายแดน ให้ประสานการปฏิบัติกับกองกำลังป้องกันชายแดน เพื่อประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน, ขอให้ฝ่าย ตำรวจและผู้รับผิดชอบด้านกฎหมาย สอบสวน ขยายผล เร่งรัดการดำเนินคดี มุ่งเน้นต่อกลุ่มขบวนการ และผู้มี อิทธิพล, ด้านการพัฒนาเสริมความมั่นคงในระดับพื้นที่ ขอให้ผ่านกลไกของคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ, การประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อต่างๆ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้อง ศูนย์ประชาสัมพันธ์กองทัพภาคที่ 2 โทร.0 4424 3985
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 731 มุมมอง 0 รีวิว
  • น.ส.พ.ประชาไทนิวส์ออนไลน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 59 ประจำเดือนตุลาคม 2567 @ ประเทศไทยต้องมี “แผนป้องกันน้ำท่วมระยะยาว”ออกจากปากของนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และ นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี เป็น“วิสัยทัศน์”ที่ควรค่าต่อการ“ปรบมือ”และ“ติดตาม”... “เหนือเมฆ” แนะให้ดู “วิธีคิด-วิธีการ”ของผู้บริหาร “แชงกรีลาเชียงใหม่โมเดล” เป็นแรงกระชากใจ...กล้าคิด กล้าทำ @ ดราม่าไอแพดบบนเวที ACD summit กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ชุดความรู้สำหรับ “สร.1 ป้ายแดง” “เหนือเมฆ”ให้กำลังใจ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คำเมืองเปิ้นว่า “แมงแสนตี๋นต๋ายตกน้ำบ่อ”...ประมาณว่า ไม่เคยมีใครไม่เคยผิดพลาด ภาวะผู้นำเบอร์ 1 ของประเทศ บางฟิลต้อง “นิ่ง”ให้เป็น.. “เหนือเมฆ” ใคร่อยากรู้นัก ใครเป็นทีมที่ปรึกษา-ทีมPR อยากหยิกให้เนื้อเขียวเชียว...@ “นายกอุ๊งอิ๊ง”อ้อนออดขอกำลังใจจากผู้อาวุโส“สายม๊อบ” ที่เอะอะก็จะเป่านกหวีดชวนคนลงถนนตะพึ่ด “เพิ่งทำงานได้แค่เดือนเดียวเอง..” ลำพัง“นิติสงคราม”จากพี่ๆนักร้องมืออาชีพที่เคารพก็กองพะเนินเทินทึกจ่อคอหอย ขบวนการตามล้างตามเช็ดตระกูล “ชินวัตร” รายล้อมรอบตัว...งานนี้ คุณพ่อที่ชื่อทักษิณ ชินวัตร ต้องติวเข้ม “ลูกอุ๊งอิ๊ง” ทุกกระเบียดนิ้วปฏิกริยา...ปล่อย“สหายใหญ่” เป็นโค้ชคนเดียวน่าจะเอาไม่อยู่ @ ก็ชอบแล้วที่นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ลงนามคำสั่งแต่งตั้งที่ปรึกษาเพิ่มเติม 2 คน ธีระพงษ์ วงศ์ศิวะวิลาศ และ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ โปรเจ็คต์ปะจะฉะดะพะบู๊กับแรงเสียดทานทั้งสายบู๊สายบุ๋นนอกในสภา...คู่หูดูโอ้นี้น่าจะบรรเทาเบาแรงให้ “นายกอุ๊งอิ๊ง”มีเวลาทำงานเพิ่มมากขึ้น @ ยามนี้พรรคการเมืองไทยที่กระโดดโลดเต้นในหน้าสื่อรายวัน ดูเหมือนจะมีโดดเด่นเพียง “เพื่อไทย”กับ “ภูมิใจไทย” ขณะที่พรรคประชาชน พักหลังโดนกระแสสังคม “จับตา-จับตาย”หลายแอ๊คชั่นของส.ส.ในสังกัด ที่เหมือนบางท่านจะ“วุฒิภาวะบกพร่อง”กระบวนการ “คิด” และ “ประสบการณ์” แม้ว่ามวลหมู่คนเจนเนอเรชั่นเดียวกันในมุมมืดจะฟันธงล่วงหน้า “อย่างไรก็จะเลือก” แต่โอกาสที่พรรคประชาชนจะเทียบชั้นบริหารราชการแผ่นดินเบอร์ 1 ก็ยังคงมีขบวนการเตะตัดขา “ยุ่บ-ยั่บ”ต่อเนื่อ...แม้สนามหน้าจะแลนด์สไลด์ก็ตาม...เว้นแต่พรรคใหญ่สมัยหน้าจะกวักมือเทียบเชิญจัดตั้งรัฐบาลข้ามสปีชี่... @ “นักการเมือง”และ“สื่อ” คือ พลวัตรชี้นำสังคมไทย โดยมี “คุณภาพประชาชนไทย”เป็นฐานองคาพยพขับเคลื่อน ทั้งการ “ส่งต่อ”และ “การสังเคราะห์ข้อมูล” กระบวนการพยายามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เป็นตัวอย่างแอ็คชั่นทางการเมืองเพื่อ “ฟอกขาว”ตนตัวของบรรดานักการเมือง เมื่อ “สื่อ”ระดม“สารมวลชน” ให้ประชาชนคำนวณบวกลบคูณหาร อาการลุกลี้ลุกลนตามสำนวน “ถอยแบบสุดซอย”จึงเกิดขึ้น... และแน่นอนก็ต้องตอบคำถามประชาชนด้วยเพราะบางพรรคร่วมรัฐบาล “อุ๊งอิ๊ง 1” ชูธงเป็นนโยบายหาเสียง @ หากพลิกประเด็นในนโยบายหาเสียงแก้ไขรัฐธรรมนูญของพรรคการเมืองไทยแล้ว โดยพิจารณาจากทุกพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฏร จะเห็นว่าทุกพรรค ออกอาการอุจจาระหดผายลมหายกับคำว่า “รัฐประหาร” ทั้งต่อต้าน ทั้งห้ามนิรโทษกรรม ทั้งกำหนดบทลงโทษ พาลโพเลโพเกไปถึงองค์กรอิสระที่เสนอให้ต้องลดบทบาทอำนาจ ให้มีการคานอำนาจ...อาการของนักการเมืองที่เสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญ “เหนือเมฆ”มองมุมไหนก็ล้วนแต่เป็นนักการเมืองหรือพรรคการเมืองสาย “กินปูนร้อนท้อง”...@ วุฒิสภาสายสีน้ำเงิน...ก็เป็นผลลัพธ์เชิงประจักษ์ของพรรคการเมืองไทยที่พยายามอาศัยช่องว่างช่องโหว่ของนิยามการให้ได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตัวแทนประชาชนจากทุกสาขาอาชีพ และสุดท้ายภาพของ “วุฒิสภา”ที่ต้องทำงานร้อยรัดกับเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรก็เลยบังเกิดขึ้นในเกมแก้ไขรัฐธรรมนูญ... “เกียรติยศ”และ “ศักดิ์ศรี” กินไม่ได้แต่“เท่” มันมีจริงๆครับเสี่ย...! @ อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและมท.1 เลี่ยงที่จะตอบคำถามกรณี คำถามสื่อที่ว่า ครูใหญ่เนวิน ชิดชอบ บ้านใหญ่ภูมิใจไทย ดอดเข้าพบ ทักษิณ ชินวัตร บ้านใหญ่เพื่อไทย...จริงหรือไม่ ณ นาทีนี้ “เหนือเมฆ”ยังไม่ฟันธง แต่อาการ “เลี่ยง” และโบกมือ “บ๊ายบาย”สื่อ มันผิดวิสัยปกติของมท.1 “พี่หนู”...แต่ที่แน่ๆ ถ้าจริง มันคงไม่ใช่เรื่อง “ไร้สาระ”แน่นอน...@ เสียงอำนวยอวยพรก้องฟ้าบุรีรัมย์ของ เนวิน ชิดชอบ “ขอให้อนุทินเป็นนายกรัฐมนตรี”ยังดังก้องในพิธีปะกำช้างวันคล้ายวันเกิดครูใหญ่เนวิน ขณะผูกข้อไม้ข้อมือ พรนี้ทำเอา “อนุทิน ชาญวีรกูล” ออกอาการสะดุ้งโหยง ไมครูใหญ่ช่างกล้า...เอาเรื่องจริงมาพูดเล่น..นิ ! @ ส่งท้าย น.ส.พ.ประชาไทนิวส์ออนไลน์ ขอแสดงความยินดีกับ “บิ๊กต่าย” พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 15 แห่งอาณาจักรพิทักษ์สันติราษฎร์ไทย คดีความต่อเนื่องใดๆที่ใครๆต่างก็ลุ้นระทึกตั้งแต่ครั้ง “รักษาการ” มาถึง “ตัวจริง-เสียงจริง”ในวันนี้ “เหนือเมฆ” ไม่คาดหวังสิ่งใด นอกจาก “ภาพลักษณ์เชิงบวก”ของวงการตำรวจไทย...ที่สาละวันถอยหลังและสาละวันเตี้ยลงมานานหลายขวบปี...มีฝีมือแค่ไหน “เดินหน้าลงมือทำทันที” ครับท่าน...ตะเบ๊ะ !
    -เหนือเมฆ-

    น.ส.พ.ประชาไทนิวส์ออนไลน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 59 ประจำเดือนตุลาคม 2567 @ ประเทศไทยต้องมี “แผนป้องกันน้ำท่วมระยะยาว”ออกจากปากของนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และ นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี เป็น“วิสัยทัศน์”ที่ควรค่าต่อการ“ปรบมือ”และ“ติดตาม”... “เหนือเมฆ” แนะให้ดู “วิธีคิด-วิธีการ”ของผู้บริหาร “แชงกรีลาเชียงใหม่โมเดล” เป็นแรงกระชากใจ...กล้าคิด กล้าทำ @ ดราม่าไอแพดบบนเวที ACD summit กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ชุดความรู้สำหรับ “สร.1 ป้ายแดง” “เหนือเมฆ”ให้กำลังใจ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คำเมืองเปิ้นว่า “แมงแสนตี๋นต๋ายตกน้ำบ่อ”...ประมาณว่า ไม่เคยมีใครไม่เคยผิดพลาด ภาวะผู้นำเบอร์ 1 ของประเทศ บางฟิลต้อง “นิ่ง”ให้เป็น.. “เหนือเมฆ” ใคร่อยากรู้นัก ใครเป็นทีมที่ปรึกษา-ทีมPR อยากหยิกให้เนื้อเขียวเชียว...@ “นายกอุ๊งอิ๊ง”อ้อนออดขอกำลังใจจากผู้อาวุโส“สายม๊อบ” ที่เอะอะก็จะเป่านกหวีดชวนคนลงถนนตะพึ่ด “เพิ่งทำงานได้แค่เดือนเดียวเอง..” ลำพัง“นิติสงคราม”จากพี่ๆนักร้องมืออาชีพที่เคารพก็กองพะเนินเทินทึกจ่อคอหอย ขบวนการตามล้างตามเช็ดตระกูล “ชินวัตร” รายล้อมรอบตัว...งานนี้ คุณพ่อที่ชื่อทักษิณ ชินวัตร ต้องติวเข้ม “ลูกอุ๊งอิ๊ง” ทุกกระเบียดนิ้วปฏิกริยา...ปล่อย“สหายใหญ่” เป็นโค้ชคนเดียวน่าจะเอาไม่อยู่ @ ก็ชอบแล้วที่นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ลงนามคำสั่งแต่งตั้งที่ปรึกษาเพิ่มเติม 2 คน ธีระพงษ์ วงศ์ศิวะวิลาศ และ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ โปรเจ็คต์ปะจะฉะดะพะบู๊กับแรงเสียดทานทั้งสายบู๊สายบุ๋นนอกในสภา...คู่หูดูโอ้นี้น่าจะบรรเทาเบาแรงให้ “นายกอุ๊งอิ๊ง”มีเวลาทำงานเพิ่มมากขึ้น @ ยามนี้พรรคการเมืองไทยที่กระโดดโลดเต้นในหน้าสื่อรายวัน ดูเหมือนจะมีโดดเด่นเพียง “เพื่อไทย”กับ “ภูมิใจไทย” ขณะที่พรรคประชาชน พักหลังโดนกระแสสังคม “จับตา-จับตาย”หลายแอ๊คชั่นของส.ส.ในสังกัด ที่เหมือนบางท่านจะ“วุฒิภาวะบกพร่อง”กระบวนการ “คิด” และ “ประสบการณ์” แม้ว่ามวลหมู่คนเจนเนอเรชั่นเดียวกันในมุมมืดจะฟันธงล่วงหน้า “อย่างไรก็จะเลือก” แต่โอกาสที่พรรคประชาชนจะเทียบชั้นบริหารราชการแผ่นดินเบอร์ 1 ก็ยังคงมีขบวนการเตะตัดขา “ยุ่บ-ยั่บ”ต่อเนื่อ...แม้สนามหน้าจะแลนด์สไลด์ก็ตาม...เว้นแต่พรรคใหญ่สมัยหน้าจะกวักมือเทียบเชิญจัดตั้งรัฐบาลข้ามสปีชี่... @ “นักการเมือง”และ“สื่อ” คือ พลวัตรชี้นำสังคมไทย โดยมี “คุณภาพประชาชนไทย”เป็นฐานองคาพยพขับเคลื่อน ทั้งการ “ส่งต่อ”และ “การสังเคราะห์ข้อมูล” กระบวนการพยายามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เป็นตัวอย่างแอ็คชั่นทางการเมืองเพื่อ “ฟอกขาว”ตนตัวของบรรดานักการเมือง เมื่อ “สื่อ”ระดม“สารมวลชน” ให้ประชาชนคำนวณบวกลบคูณหาร อาการลุกลี้ลุกลนตามสำนวน “ถอยแบบสุดซอย”จึงเกิดขึ้น... และแน่นอนก็ต้องตอบคำถามประชาชนด้วยเพราะบางพรรคร่วมรัฐบาล “อุ๊งอิ๊ง 1” ชูธงเป็นนโยบายหาเสียง @ หากพลิกประเด็นในนโยบายหาเสียงแก้ไขรัฐธรรมนูญของพรรคการเมืองไทยแล้ว โดยพิจารณาจากทุกพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฏร จะเห็นว่าทุกพรรค ออกอาการอุจจาระหดผายลมหายกับคำว่า “รัฐประหาร” ทั้งต่อต้าน ทั้งห้ามนิรโทษกรรม ทั้งกำหนดบทลงโทษ พาลโพเลโพเกไปถึงองค์กรอิสระที่เสนอให้ต้องลดบทบาทอำนาจ ให้มีการคานอำนาจ...อาการของนักการเมืองที่เสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญ “เหนือเมฆ”มองมุมไหนก็ล้วนแต่เป็นนักการเมืองหรือพรรคการเมืองสาย “กินปูนร้อนท้อง”...@ วุฒิสภาสายสีน้ำเงิน...ก็เป็นผลลัพธ์เชิงประจักษ์ของพรรคการเมืองไทยที่พยายามอาศัยช่องว่างช่องโหว่ของนิยามการให้ได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตัวแทนประชาชนจากทุกสาขาอาชีพ และสุดท้ายภาพของ “วุฒิสภา”ที่ต้องทำงานร้อยรัดกับเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรก็เลยบังเกิดขึ้นในเกมแก้ไขรัฐธรรมนูญ... “เกียรติยศ”และ “ศักดิ์ศรี” กินไม่ได้แต่“เท่” มันมีจริงๆครับเสี่ย...! @ อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและมท.1 เลี่ยงที่จะตอบคำถามกรณี คำถามสื่อที่ว่า ครูใหญ่เนวิน ชิดชอบ บ้านใหญ่ภูมิใจไทย ดอดเข้าพบ ทักษิณ ชินวัตร บ้านใหญ่เพื่อไทย...จริงหรือไม่ ณ นาทีนี้ “เหนือเมฆ”ยังไม่ฟันธง แต่อาการ “เลี่ยง” และโบกมือ “บ๊ายบาย”สื่อ มันผิดวิสัยปกติของมท.1 “พี่หนู”...แต่ที่แน่ๆ ถ้าจริง มันคงไม่ใช่เรื่อง “ไร้สาระ”แน่นอน...@ เสียงอำนวยอวยพรก้องฟ้าบุรีรัมย์ของ เนวิน ชิดชอบ “ขอให้อนุทินเป็นนายกรัฐมนตรี”ยังดังก้องในพิธีปะกำช้างวันคล้ายวันเกิดครูใหญ่เนวิน ขณะผูกข้อไม้ข้อมือ พรนี้ทำเอา “อนุทิน ชาญวีรกูล” ออกอาการสะดุ้งโหยง ไมครูใหญ่ช่างกล้า...เอาเรื่องจริงมาพูดเล่น..นิ ! @ ส่งท้าย น.ส.พ.ประชาไทนิวส์ออนไลน์ ขอแสดงความยินดีกับ “บิ๊กต่าย” พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 15 แห่งอาณาจักรพิทักษ์สันติราษฎร์ไทย คดีความต่อเนื่องใดๆที่ใครๆต่างก็ลุ้นระทึกตั้งแต่ครั้ง “รักษาการ” มาถึง “ตัวจริง-เสียงจริง”ในวันนี้ “เหนือเมฆ” ไม่คาดหวังสิ่งใด นอกจาก “ภาพลักษณ์เชิงบวก”ของวงการตำรวจไทย...ที่สาละวันถอยหลังและสาละวันเตี้ยลงมานานหลายขวบปี...มีฝีมือแค่ไหน “เดินหน้าลงมือทำทันที” ครับท่าน...ตะเบ๊ะ ! -เหนือเมฆ-
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1266 มุมมอง 0 รีวิว
  • #thaitimesข่าวท่องเที่ยว
    25 กันยายน 2567
    ประกาศอุทยานแห่งชาติภูลังกา
    เปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา
    ตามประกาศอุทยานแห่งชาติภูลังกา ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2567 เรื่อง ปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา เป็นการชั่วคราว เนื่องจากมีฝนตกหนักปริมาณมาก ส่งผลให้ระดับน้ำในพื้นที่
    อุทยานแห่งชาติภูลังกาเพิ่มขึ้น เกิดน้ำเชี่ยว และดินสไลด์ในบางพื้นที่ อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อนักท่องเที่ยวได้ นั้น

    บัดนี้ สถานการณ์ได้คลี่คลายลงแล้ว อุทยานแห่งชาติภูลังกา จึงอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20
    แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบระเบียบกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและ พันธุ์พืช ว่าด้วยการเข้าไปในอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2563 และมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จึงประกาศเปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

    ทั้งนี้ นักท่องเที่ยวจะต้องอยู่ในพื้นที่ที่กำหนด และปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติอย่างเคร่งครัด ติดต่อสอบถามข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติภูลังกาได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0 4253 0766 และเพจเฟซบุ๊ค “อุทยานแห่งชาติภูลังกา จังหวัดนครพนม – Phulangka National Park Thailand”

    จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

    ประกาศ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2567
    ■เพจ
    》》
    https://www.facebook.com/share/4cSoGfwqu9ZeoLyn/?mibextid=qi2Omg
    ■■■■■
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #อุทยานแห่งชาติภูลังกา
    #thaitimesข่าวท่องเที่ยว 25 กันยายน 2567 📢 ประกาศอุทยานแห่งชาติภูลังกา 🟢 เปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา 🟢 ตามประกาศอุทยานแห่งชาติภูลังกา ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2567 เรื่อง ปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา เป็นการชั่วคราว เนื่องจากมีฝนตกหนักปริมาณมาก ส่งผลให้ระดับน้ำในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติภูลังกาเพิ่มขึ้น เกิดน้ำเชี่ยว และดินสไลด์ในบางพื้นที่ อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อนักท่องเที่ยวได้ นั้น บัดนี้ สถานการณ์ได้คลี่คลายลงแล้ว อุทยานแห่งชาติภูลังกา จึงอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบระเบียบกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและ พันธุ์พืช ว่าด้วยการเข้าไปในอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2563 และมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จึงประกาศเปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ นักท่องเที่ยวจะต้องอยู่ในพื้นที่ที่กำหนด และปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติอย่างเคร่งครัด ติดต่อสอบถามข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติภูลังกาได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0 4253 0766 และเพจเฟซบุ๊ค “อุทยานแห่งชาติภูลังกา จังหวัดนครพนม – Phulangka National Park Thailand” จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2567 ■เพจ 》》 https://www.facebook.com/share/4cSoGfwqu9ZeoLyn/?mibextid=qi2Omg ■■■■■ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #อุทยานแห่งชาติภูลังกา
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1695 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประกาศ ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2567
    ประกาศอุทยานแห่งชาติภูลังกา จ.นคพนม
    ปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา เป็นการชั่วคราว

    ด้วยสถานการณ์ในช่วงปัจจุบันมีฝนตกหนักปริมาณมาก ส่งผลให้ระดับน้ำในพื้นที่
    อุทยานแห่งชาติภูลังกาเพิ่มขึ้น เกิดน้ำเชี่ยว และดินสไลด์ในบางพื้นที่ อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อนักท่องเที่ยวได้

    อุทยานแห่งชาติภูลังกา พิจารณาแล้ว เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาศึกษาธรรมชาติและท่องเที่ยวในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูลังกา จึงอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20
    แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบระเบียบกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและ พันธุ์พืช ว่าด้วยการเข้าไปในอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2563 และมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จึงประกาศปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ภาวะปกติ

    ทั้งนี้ สามารถติดต่อราชการได้ตามปกติ และสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติภูลังกาได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0 4253 0766 และเพจเฟซบุ๊ค “อุทยานแห่งชาติภูลังกา จังหวัดนครพนม – Phulangka National Park Thailand”

    จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน
    ■■■■■■■■■■■
    #thaitimes #thaitimesข่าวด่วนท่องเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #ข่าวด่วน #อุทยานแห่งชาติภูลังกา #นครพนม
    ประกาศ ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2567 📢 ประกาศอุทยานแห่งชาติภูลังกา จ.นคพนม ❌ ปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา เป็นการชั่วคราว ❌ ด้วยสถานการณ์ในช่วงปัจจุบันมีฝนตกหนักปริมาณมาก ส่งผลให้ระดับน้ำในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติภูลังกาเพิ่มขึ้น เกิดน้ำเชี่ยว และดินสไลด์ในบางพื้นที่ อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อนักท่องเที่ยวได้ อุทยานแห่งชาติภูลังกา พิจารณาแล้ว เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาศึกษาธรรมชาติและท่องเที่ยวในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูลังกา จึงอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบระเบียบกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและ พันธุ์พืช ว่าด้วยการเข้าไปในอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2563 และมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จึงประกาศปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติและการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูลังกา ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ภาวะปกติ ทั้งนี้ สามารถติดต่อราชการได้ตามปกติ และสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติภูลังกาได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0 4253 0766 และเพจเฟซบุ๊ค “อุทยานแห่งชาติภูลังกา จังหวัดนครพนม – Phulangka National Park Thailand” จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ■■■■■■■■■■■ #thaitimes #thaitimesข่าวด่วนท่องเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #ข่าวด่วน #อุทยานแห่งชาติภูลังกา #นครพนม
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1803 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในหลวง-พระราชินี ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม

    วันนี้ 21 กันยายน 2567 เวลา 15.33 น.
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัส หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดย นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม พร้อมด้วยข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่และข้ราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรมประจําสํานักงานศาลยุติธรรม เฝ้า ฯ รับเสด็จ

    เมื่อเสด็จเข้าพลับพลาพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา พระพุทธยุติธรรมโลกนาถ ประทับพระราชอาสน์ทรงศีล พระราชทานพระบรมราชวโรกาส และพระวโรกาสให้ นายภพ เอครพานิช และนายเผ้าพันธ์ ชอบน้ําตาล รองเลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี

    จากนั้น นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา กราบบังคมทูลรายงาน พร้อมขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญเสด็จ ฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์และทรงเปิดอาคารที่ทําการ สํานักงานศาลยุติธรรม

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกจากพลับพลาพิธี ไปยังมณฑลพิธีวางศิลาฤกษ์ ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมแผ่นอิฐ ทอง นาก เงิน แผ่นศิลาฤกษ์ แล้วทรงวางลงในหลุม เสด็จ ฯ ไปยัง แท่นพิธีทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายอาคารที่ทําการสํานักงานศาลยุติธรรม

    ต่อมาพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม กราบบังคมทูลเบิกข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมและผู้มีอุปการคุณ จํานวน 120 ราย เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากนั้น นายไกรสร โสมจันทร์ ผู้พิพากษาศาลอุทธร์ประจําสํานักประธาน ศาลฎีกาเข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายแผ่นศิลาเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลงพระนามาภิไธย

    เสร็จแล้วทรงกราบที่หน้าเครื่องนมัสการ ทรงลาพระสงฆ์เสด็จออกจากพลับพลาพิธี เข้าห้องประทับรับรองอาคารที่ทำการสํานักงานศาลยุติธรรม ชั้น 12 ทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลง พระนามาภิไธยในสมุดที่ระลึก แล้วทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม

    ทั้งนี้ สํานักงานศาลยุติธรรมเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระ มีอํานาจหน้าที่ เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม โดยเมื่อศาลได้แยกออกจากกระทรวงยุติธรรมตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แล้ว พระราชบัญญติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีผลบังคับใช้ จึงได้ก่อตั้งสํานักงานศาลยุติธรรมและเริ่มปฏิบัติภารกิจนับตั้งแต่วันนที่ 20 ส.ค. 2543 เป็นต้นมา โดยภารกิจสําคัญรับผิดชอบงานด้านธุรการของศาลยุติธรรม รวมทั้งการส่งเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรมทั่วประเทศเป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เท่าเทียม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ

    แต่เดิมสํานักงานศาลยุติธรรมได้ใช้อาคาร ร่วมกับอาคารที่ทําการศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจุตจักร กรุงเทพมหานคร กระทั่งวันที่ 11 ม.ค. 2567 สํานักงานศาลยุติธรรมได้ย้ายที่ทําการมายังอาคารสร้างใหม่ ขนาดใหญ่พิเศษ สูง 26 ชั้น เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก มีหน่วยงานสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ จํานวน 20 สํานัก/กอง โดยอาคารที่สร้างใหม่มีความกว้างขวาง สง่างาม ผสมผสานองค์ประกอบภูมิสถาปัตยกรรม ที่ทันสมัยแสดงถึงการดํารงอยู่ขององค์กรตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน ทั้งนํารูปแบบของ “ดอกบัวไทย” ที่สื่อถึงความบริสุทธิ์ มาประยุกต์ใช้ในแกนของอาคารเพื่อแสดงออกถึง การคุ้มครองความบริสุทธิ์ ยุติธรรม อันเป็นภารกิจสําคัญของศาลยุติธรรม ขณะที่ด้านหน้าอาคารมีแนวเสาขนาดใหญ่ประดับเรียงกันเหมือน อาคารศาลทั่วไปอันเป็นรูปแบบการเชื่อมโยงกับอาคารศาลหลังอื่น ๆ ที่ล้อมรอบบริเวณข้างเคียงกัน และตรงจุดเชื่อมการสัญจรชั้นล่างกับชั้น 1 ยังได้ออกแบบผนังประดับป้ายชื่ออาคารซึ่งเป็นนลักษณะ อาคารในยุคสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพื้นที่ภายในอาคารชั้น 1 มีส่วนที่เป็นลานกว้างเพื่อรองรับผู้ที่มาติดต่อ ราชการและใช้สอยอาคาร ขณะที่ความทันสมัยในการออกแบบยังคํานึงถึงการประหยัดพลังงาน เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทานมีอายุการใช้งานยาวนาน สามารถหาทดแทนได้ในอนาคตด้วย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    ในหลวง-พระราชินี ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม วันนี้ 21 กันยายน 2567 เวลา 15.33 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัส หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ และทรงเปิดอาคารที่ทําการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดย นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม พร้อมด้วยข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่และข้ราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรมประจําสํานักงานศาลยุติธรรม เฝ้า ฯ รับเสด็จ เมื่อเสด็จเข้าพลับพลาพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา พระพุทธยุติธรรมโลกนาถ ประทับพระราชอาสน์ทรงศีล พระราชทานพระบรมราชวโรกาส และพระวโรกาสให้ นายภพ เอครพานิช และนายเผ้าพันธ์ ชอบน้ําตาล รองเลขาธิการสํานักงาน ศาลยุติธรรม เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น นางอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลฎีกา กราบบังคมทูลรายงาน พร้อมขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญเสด็จ ฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์และทรงเปิดอาคารที่ทําการ สํานักงานศาลยุติธรรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกจากพลับพลาพิธี ไปยังมณฑลพิธีวางศิลาฤกษ์ ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมแผ่นอิฐ ทอง นาก เงิน แผ่นศิลาฤกษ์ แล้วทรงวางลงในหลุม เสด็จ ฯ ไปยัง แท่นพิธีทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายอาคารที่ทําการสํานักงานศาลยุติธรรม ต่อมาพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายธานี สิงหนาท เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม กราบบังคมทูลเบิกข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมและผู้มีอุปการคุณ จํานวน 120 ราย เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากนั้น นายไกรสร โสมจันทร์ ผู้พิพากษาศาลอุทธร์ประจําสํานักประธาน ศาลฎีกาเข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายแผ่นศิลาเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลงพระนามาภิไธย เสร็จแล้วทรงกราบที่หน้าเครื่องนมัสการ ทรงลาพระสงฆ์เสด็จออกจากพลับพลาพิธี เข้าห้องประทับรับรองอาคารที่ทำการสํานักงานศาลยุติธรรม ชั้น 12 ทรงลงพระปรมาภิไธย และทรงลง พระนามาภิไธยในสมุดที่ระลึก แล้วทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ทั้งนี้ สํานักงานศาลยุติธรรมเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระ มีอํานาจหน้าที่ เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม โดยเมื่อศาลได้แยกออกจากกระทรวงยุติธรรมตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แล้ว พระราชบัญญติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีผลบังคับใช้ จึงได้ก่อตั้งสํานักงานศาลยุติธรรมและเริ่มปฏิบัติภารกิจนับตั้งแต่วันนที่ 20 ส.ค. 2543 เป็นต้นมา โดยภารกิจสําคัญรับผิดชอบงานด้านธุรการของศาลยุติธรรม รวมทั้งการส่งเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรมทั่วประเทศเป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เท่าเทียม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ แต่เดิมสํานักงานศาลยุติธรรมได้ใช้อาคาร ร่วมกับอาคารที่ทําการศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจุตจักร กรุงเทพมหานคร กระทั่งวันที่ 11 ม.ค. 2567 สํานักงานศาลยุติธรรมได้ย้ายที่ทําการมายังอาคารสร้างใหม่ ขนาดใหญ่พิเศษ สูง 26 ชั้น เลขที่ 55 ถนนรัชดาภิเษก มีหน่วยงานสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ จํานวน 20 สํานัก/กอง โดยอาคารที่สร้างใหม่มีความกว้างขวาง สง่างาม ผสมผสานองค์ประกอบภูมิสถาปัตยกรรม ที่ทันสมัยแสดงถึงการดํารงอยู่ขององค์กรตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน ทั้งนํารูปแบบของ “ดอกบัวไทย” ที่สื่อถึงความบริสุทธิ์ มาประยุกต์ใช้ในแกนของอาคารเพื่อแสดงออกถึง การคุ้มครองความบริสุทธิ์ ยุติธรรม อันเป็นภารกิจสําคัญของศาลยุติธรรม ขณะที่ด้านหน้าอาคารมีแนวเสาขนาดใหญ่ประดับเรียงกันเหมือน อาคารศาลทั่วไปอันเป็นรูปแบบการเชื่อมโยงกับอาคารศาลหลังอื่น ๆ ที่ล้อมรอบบริเวณข้างเคียงกัน และตรงจุดเชื่อมการสัญจรชั้นล่างกับชั้น 1 ยังได้ออกแบบผนังประดับป้ายชื่ออาคารซึ่งเป็นนลักษณะ อาคารในยุคสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพื้นที่ภายในอาคารชั้น 1 มีส่วนที่เป็นลานกว้างเพื่อรองรับผู้ที่มาติดต่อ ราชการและใช้สอยอาคาร ขณะที่ความทันสมัยในการออกแบบยังคํานึงถึงการประหยัดพลังงาน เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทานมีอายุการใช้งานยาวนาน สามารถหาทดแทนได้ในอนาคตด้วย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    Like
    10
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 831 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts