• ขอบคุณครับ
    นิพพานปัจจโยโหตุ
    ขอบคุณครับ นิพพานปัจจโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 25 Views 0 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยมรรคมีองค์แปดมีกระแสไหลไปสู่นิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 683
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคมีกระแสไหลไปสู่นิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=683
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคมีกระแสไหลไปสู่นิพพาน
    --ภิกษุ ท. ! มหานทีไร ๆ เหล่านี้ คือ
    แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา แม่น้ำอจิรวดี แม่น้ำสรภู แม่น้ำมหี ;
    แม่น้ำทั้งหมดนั้น ลาดไปทางปราจีนทิศ (ทิศตะวันออก)
    เอียงไปทางปราจีนทิศ เงื้อมไปทางปราจีนทิศ ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่
    ย่อมเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน
    ฉันนั้นเหมือนกัน.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ อย่างไรเล่า
    จึงเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ
    สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ....
    สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ ....
    สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ ....
    ชนิดที่
    อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสละลง.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ อย่างนี้แล
    จึงเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/49/?keywords=อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ+นิพฺพาน

    (คำว่า เจริญกระทำให้มากซึ่งองค์มรรค
    ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นดังที่กล่าวข้างบนนั้น
    ในบางสูตรตรัสว่า เจริญกระทำให้มากซึ่งองค์มรรค
    ชนิดที่
    มีการนำออกซึ่ง ราคะ - โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน
    ดังนี้ก็มี
    ---- ๑๙/๕๒/๒๐๕ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/52/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    ในบางสูตรตรัสว่า
    ชนิดที่
    มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่ไปในเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน
    ดังนี้ก็มี
    ---- ๑๙/๕๕/๒๒๐ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/55/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%90
    และในบางสูตรตรัสว่า
    ชนิดที่
    ลาดไปสู่นิพพาน เอียงไปสู่นิพพาน เงื้อมไปสู่นิพพาน
    ดังนี้ก็มี
    ---- ๑๙/๕๘/๒๓๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/58/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%96
    +--คำที่ว่า
    ลาด เอียง เงื้อม ไปทางทิศปราจีนนั้น
    ในบางสูตรทรงใช้คำว่า
    ลาด เอียง เงื้อม ไปสู่สมุทร
    ก็มี
    --- ๑๙/๕๐/๑๙๗
    http://etipitaka.com/read/pali/19/50/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%97
    --- ๑๙/๕๔/๒๑๒
    http://etipitaka.com/read/pali/19/54/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%92
    --- ๑๙/๕๗/๒๒๗
    http://etipitaka.com/read/pali/19/57/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
    --- ๑๙/๖๐/๒๔๓
    http://etipitaka.com/read/pali/19/60/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/49/189-190.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๙/๑๘๙-๑๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/49/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=683
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=683
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยมรรคมีองค์แปดมีกระแสไหลไปสู่นิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 683 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคมีกระแสไหลไปสู่นิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=683 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคมีกระแสไหลไปสู่นิพพาน --ภิกษุ ท. ! มหานทีไร ๆ เหล่านี้ คือ แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา แม่น้ำอจิรวดี แม่น้ำสรภู แม่น้ำมหี ; แม่น้ำทั้งหมดนั้น ลาดไปทางปราจีนทิศ (ทิศตะวันออก) เอียงไปทางปราจีนทิศ เงื้อมไปทางปราจีนทิศ ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ ย่อมเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ อย่างไรเล่า จึงเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ .... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ .... สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ .... ชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสละลง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ อย่างนี้แล จึงเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน.- http://etipitaka.com/read/pali/19/49/?keywords=อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ+นิพฺพาน (คำว่า เจริญกระทำให้มากซึ่งองค์มรรค ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นดังที่กล่าวข้างบนนั้น ในบางสูตรตรัสว่า เจริญกระทำให้มากซึ่งองค์มรรค ชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ - โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ดังนี้ก็มี ---- ๑๙/๕๒/๒๐๕ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/52/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 ในบางสูตรตรัสว่า ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่ไปในเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน ดังนี้ก็มี ---- ๑๙/๕๕/๒๒๐ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/55/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%90 และในบางสูตรตรัสว่า ชนิดที่ ลาดไปสู่นิพพาน เอียงไปสู่นิพพาน เงื้อมไปสู่นิพพาน ดังนี้ก็มี ---- ๑๙/๕๘/๒๓๖. http://etipitaka.com/read/pali/19/58/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%96 +--คำที่ว่า ลาด เอียง เงื้อม ไปทางทิศปราจีนนั้น ในบางสูตรทรงใช้คำว่า ลาด เอียง เงื้อม ไปสู่สมุทร ก็มี --- ๑๙/๕๐/๑๙๗ http://etipitaka.com/read/pali/19/50/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%97 --- ๑๙/๕๔/๒๑๒ http://etipitaka.com/read/pali/19/54/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%92 --- ๑๙/๕๗/๒๒๗ http://etipitaka.com/read/pali/19/57/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 --- ๑๙/๖๐/๒๔๓ http://etipitaka.com/read/pali/19/60/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/49/189-190. http://etipitaka.com/read/thai/19/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๙/๑๘๙-๑๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/49/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=683 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=683 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค มีกระแสไหลไปสู่นิพพาน
    -อัฏฐังคิกมรรค มีกระแสไหลไปสู่นิพพาน ภิกษุ ท. ! มหานทีไร ๆ เหล่านี้ คือ แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา แม่น้ำ อจิรวดี แม่น้ำสรภู แม่น้ำมหี ; แม่น้ำทั้งหมดนั้น ลาดไปทางปราจีนทิศ (ทิศตะวันออก) เอียงไปทางปราจีนทิศ เงื้อมไปทางปราจีนทิศ ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ ย่อมเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ อย่าง ไรเล่า จึงเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ .... สัมมา สังกัปปะ .... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ .... สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ ชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสละลง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์แปดอยู่ อย่างนี้แล จึงเป็นผู้มีความลาดไปทางนิพพาน เอียงไปทางนิพพาน เงื้อมไปทางนิพพาน.
    0 Comments 0 Shares 110 Views 0 Reviews
  • ..นายกฯพระราชทานคือทางออก.
    ..ยุควิกฤตินี้หรือนักการเมืองบัดสบในยุคนี้สุดเสื่อมเลวชั่วแล้วก็ว่า,
    ..นายกฯใหม่ที่มาจากอำนาจพระราชทานจึงสามารถกำหนดทิศทางของประเทศไทยได้ชัดเจนกว่า น่าเชื่อถือกว่า และเด็ดขาดไม่เกรงใจใครได้ด้วย ประชาชนต้องมาก่อนนั้นเอง
    ..เช่นกัน นายกฯใหม่เรา ในมุมมองการสร้างตลาดฟื้นฟูการเงินการตังการเศรษฐกิจการสัมมาชีวิตการสัมมาอาชีพใดๆต่างๆทั่วไทยจะช่วยทำให้การค้าการขายเราเติบโตแบบก้าวกระโดดได้ไม่ยากจากการสนับสนุนช่องทางตลาดช่องทางทำเงินหรือจัดหาตลาดกลางไร้เอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลางได้จริงด้วย,ตลอดจนอำนวยสะดวกระเบียนเงื่อนไขลดต้นทุนค่าขนส่ง เพิ่มกำไรแก่ทุกๆคนไทยในรากฐานสัมมาอาชีพต่างๆนั้นด้วย,พูดเสียยาวคือนายกฯใหม่ไทยจะเป็นเป็นก่อตั้งตลาดซื้อขายออนไลน์กลางระดับชาติไทยแก่คนไทยนั้นเองบนแพลตฟอร์มที่คนไทยสร้างเองเป็นแอปของคนไทยจริงๆ นอกจากshopeeของdeep stateสิงคโปร์หรือ lazada มีdeep stateตัวแม่ทั่วโลกให้นอมินีอย่างalibaba groupเป็นเจ้าของที่เหนียวแน่นบนแผ่นดินไทยเรา ,นายกฯเราสามารถสร้างแพลตฟอร์มเราเองได้แน่นอน กระแสเงินสดมากมายทั้งภายในเราเองคนไทยหันมาใช้แอปเราเอง ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันเอง ไม่มีการหักอะไร กินค่านั้นค่านี้สาระพัดอีก คนขายกำไร คนซื้อได้ของถูกมีคุณภาพจริงไม่ถูกเอาเปรียบทั้งจากคนขายและเจ้าของแอป,รัฐบาลอัดโปรโมตใดๆได้อีก กระตุ้นการซื้อขาย อัดบัตรสวัสดิการช่วยค่าครองชีพผ่านแพลตฟอร์มนี้ก็ได้ เสมือนร้านค้ากองทุนหมู่บ้านออนไลน์ทั่วไทย ร่วมกันเป็นเจ้าของแพลตฟอร์มร้านค้าร้านตลาดนี้ร่วมกันอีก จะซื้อจะขายได้ทุกๆที่ทุกเวลา มีทั้งตลาดออฟไลน์มีสถานที่จริง จุดรับสินค้าส่งสินค้าฮับประจำหมู่บ้านสายออฟไลน์และออนไลน์ก็ได้ เข้าไปซื้อจริงจับจริงที่ร้านกองทุนหมู่บ้านก็ได้ สบู่ยาสีฟันยันเรือรบที่ตลาดออนไลน์ได้อีก,ขายข้ามโลกทั่วโลกก็ได้อีก โดยมีรัฐบาลอำนวยงานสร้างให้ตรวจสอบจับกุมจริงในคนไม่ซื่อตรงซื่อสัตย์เพราะล็อกอินคือบัตรประชาชนตัวเป็นจริงนั้นล่ะ,ตลาดออนไลน์นี้ระดับประเทศไทยทั่วโลกรู้จักชัดเจน ขายสาระพัดได้หมด ค่าห้องพักโรงแรม ตั๋วสาระพัดตั๋ว ตั๋วบอลตั๋วเครื่องบินขายได้หมด ทุกๆภาคอุตสาหกรรม ขายซื้อขายได้หมด GtG ,GtB ,BtB,BtC,CtCผู้บริโภคเจอกับผู้บริโภคทางตรงค้าขายได้หมดบนแพลตฟอร์มของไทยเรา,ค้ำประกันโดยรัฐบาลไทยเราด้วย,นี้เราต้องสร้างหน่วยทัพทำตังจริงแบบนี้,ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี กลยุทธ นายกฯสั่งตรงทีมเฉพาะกิจพิเศษควบคุมอำนวยการได้หมด,บริหารจัดการได้หมด ลดภาวะประชาชนไม่ต้องปวดหัวอะไร ค้าขายเต็มที่สร้างรายได้สัมมาอาชีพอย่างสุจริตเต็มกำลังสติปัญญาความสามารถใครมัน,และสามารถให้โอกาสคนทั่วโลกมาร่วมใช้บริการได้ฟรีๆค้าขายเสรีร่วมกันได้อีกเมื่อเราสามารถขนาดงานดาต้าควอนตัมพร้อมรับการไหลผ่านข้อมูลมหาศาลจากทั่วทุกมุมโลกได้แล้ว,รายได้ของแพลตฟอร์มนายกฯใหม่ของคนไทยเราริเริ่มปฐมบทงานสร้าง ตังสะพัดกว่า50ล้านล้านเหรียญทั่วโลกจากปกติอาจอยู่ที่25-30ล้านล้านเหรียญทั่วโลกในทุกๆแพลตฟอร์มค้าขายออนไลน์รวมกันก็ว่า,คนไทยเราไม่ธรรมดา แพลตฟอร์มเรามันคือโลกเสมือนจริงที่เป็นบ้านใหญ่ของคนไทยและประเทศอื่นๆที่เข้ามาโลกออนไลน์อาจติดความรู้สึกว่าบ้านตนเองคือจีนคืออเมริกาคือคนอาหรับคือคนฝรั่งคือคนผิวสี คือใดๆ แต่เมื่อเข้ามาใช้บนแพลตฟอร์มคนไทย เสมือนว่าคุณทั้งหมดคือคนไทย อยู่ประเทศไทย บ้านนี้คือบ้านคุณ บ้านนี้คือเป็นของคุณด้วยคือคุณเป็นคนไทยเช่นกันนั้นเอง,การต้อนรับมาบ้านกลับบ้านบนโลกเสมือนจริงนี้คือบ้านเราร่วมกันกันทุกๆคน ไร้การแบ่งแยกเชิงสัญลักษณ์ใดๆอีกต่อไป,มันมิใช่นัยยะแค่ตลาดออนไลน์การค้าขายแต่คือจิตวิญญาณคุณค่าความเป็นชาวโลกเราได้มีพื้นที่พอยึดเหนี่ยวนั่งพักจิตพักใจพักกายนั้นเอง มีตัวตนจริงเป็นโลกเสมือนที่คนไทยเราสร้างขึ้นและจะเป็นอารยะธรรมดีงามบนโลกเสมือนจริงอีกแห่งด้วยเช่นกันแม้ไม่ใช่โลกแห่งความจริงก็ตาม รอยยิ้ม ความอิ่มอกอิ่มใจจะเหมือนว่าได้มาเยือนประเทศไทยอยู่ที่ประเทศไทยเราจริงนั้นเอง,เราไม่ได้ขายแค่วัตถุสิ่งของ แต่เราเสมอความสุขด้วยจิตวิญญาณไปด้วย,เบิกบานจิตใจยกจิตยกใจผ่านเน็ตเวิคส์นั้นเองทั่วโลก,เพราะอนาคตมาแน่นอนแว่นเรียลไทม์,และวาล์ปจริงไปโลกเสมือนนั้น ตลอดซื้อสินค้าเสร็จบนโลกเสมือน ออกมาสแกนรอรับสินค้าที่วาล์ปมาได้เลยนั้นล่ะที่จุดบริการรอรับสินค้า ขนส่งเดินรถอาจไม่มีอีกต่อไป,ท่องเที่ยวผ่านแว่นเรียล,ไปได้ทั่วจักรวาลบนโลกเสมือนจริงที่สร้างเสมือนจักรวาลที่ต้องการไปนั่นๆ,ซื้อสินค้าเสร็จจ่ายตัง กลับมาบ้าน รอรับสินค้าทันทีผ่านเครื่องพิมพ์สินค้าวาล์ปเรียลไทม์ก็ว่า,นี้จึงวิถีการบุกเบิกโคตรๆของผู้นำใหม่ประจำประเทศไทยเราจริงๆ,กากๆกระจอกอย่าเสนอตัวออกมาแดกชาติโกงกินบ้านเมืองอีกเลย,ยุคอนาคตตังติดตามเรียลไทม์การผ่านมือใครได้หมดล่ะควอนตัมบันทึกทุกกิจกรรมธุรกรรมการเงินย้อนหลังโคตรๆลบไม่ได้ด้วย,มีหนาวมีอักเสบมีดับอนาถแน่นอนในอนาคตเร็วๆนี้,กอบโกยโกงกินหมูๆหมาๆง่ายๆแบบๆเดิมๆตกยุคแน่นอน,โลกเรากำลังอัพเรเวลคัดกรองคนด้วย,จักรวาลจัดสรรนั่นล่ะ ธรรมะจักรวาลธรรมดาที่ไหน.
    ..นายกฯพระราชทานคือหนทางออกทางเดียวในจังหวะเวลานี้,ยุคใหม่ไม่ธรรมดานะ,และเรามีเวลาเหลือแค่ก่อนพ.ศ.5,000นะ นี้ก็2568แล้ว,มนุษยสมบัติเราสมควรจบที่โลกุตระสมบัติเป็นเบื้องต้น อรหันต์เป็นเบื้องกลาง นิพพานคือที่สุดก็ว่า,ผู้นำผู้ปกครองไทยเราอย่าขัดขวางอย่าเป็นมหามารมหาปีศาจมหาอสูรโคตรเลวโคตรชั่วอีกเลย อย่างน้อยคนไทยโดยมากเป็นผู้มากบุญบารมีพร้อมเลื่อนขั้นสาระพัดมากมายแน่แห่งจิตวิญญาณใครมัน,ท่านทั้งหลายอย่าแสวงหามหานรกโดยกระทำชั่วเลวแก่ผู้มากบุญบารมีประจำประเทศไทยคือประชาชนชาวไทยเลย,โสดาบันเต็มแผ่นดินนะนั้น กรรมใหญ่หลวงนักไปขัดขวางคนไทยตนเองในนามผีบ้าบ้าตำแหน่งอำนาจชื่อสมมุติว่าผู้นำผู้ปกครองประเทศไทยนี้,คนไทยทั้งหลายแค่มาเสวยเศษกรรมตนนิดหน่อยๆแค่นั้นล่ะ,ประเทศไทยนี้จึงมีสิทธิ์ศักดิ์เป็นอันมากเพราะมาปกป้องเจ้านายตนเองด้วยก็ว่าก็มีที่มาเสวยกรรม บ้างก็ลงมาเล่นเพลินๆสาระพัพมุกมาเกิดบนอาณาเขตราชอาณาจักรมหาพุทธภูมินี้.
    ..ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์โคตรๆ เงินทองมากมายเต็มแผ่นดิน,วิกฤติเศรษฐกิจนี้แก้ไม่ยาก แก้ได้มากมาย นี้ก็อีกบริบทหนึ่ง,หรือไปยึดทรัพยากรมีค่ามากมายคืนมาทั้งหมดก็ได้ เอาบ่อน้ำมันคืนมาทุกๆสัมปทานก่อน จากต่างชาติจากเอกชนใดๆทั้งหมด ยึดคืนก่อนก็ได้ มาทำเองเลย ต้นทุนทุกๆมิติของไทยเราจะลดลงทันที,ขายน้ำมันก็ขายนอกประเทศในราคาตลาดโลกก็ได้แต่ขายในไทยถูกๆลิตรละ1-2บาทแบบอิหร่านก็สบายมาก,เศรษฐกิจไทยจะฟื้นฟูทันที บวกอัดเศรษฐกิจพอเพียงสมถะเราไปด้วย,เพียงพอพอเพียงไม่ละโมภโลภมาก ความยัางยืนรอบด้านหลากหลายมิติจะเต็มประเทศไทยเราและขยายไปทั่วโลก,โลกจะมีต่างดาวดีๆมากมายมาเยือนโลกเราและปกป้องคุ้มครองภัยศัตรูช่วยเราได้สบายๆด้วยบนจักรวาลเรานี้.
    ..ให้มันจบที่รุ่นเรา.

    https://www.tiktok.com/@amp.sarun/video/7476739522403798279

    ..นายกฯพระราชทานคือทางออก. ..ยุควิกฤตินี้หรือนักการเมืองบัดสบในยุคนี้สุดเสื่อมเลวชั่วแล้วก็ว่า, ..นายกฯใหม่ที่มาจากอำนาจพระราชทานจึงสามารถกำหนดทิศทางของประเทศไทยได้ชัดเจนกว่า น่าเชื่อถือกว่า และเด็ดขาดไม่เกรงใจใครได้ด้วย ประชาชนต้องมาก่อนนั้นเอง ..เช่นกัน นายกฯใหม่เรา ในมุมมองการสร้างตลาดฟื้นฟูการเงินการตังการเศรษฐกิจการสัมมาชีวิตการสัมมาอาชีพใดๆต่างๆทั่วไทยจะช่วยทำให้การค้าการขายเราเติบโตแบบก้าวกระโดดได้ไม่ยากจากการสนับสนุนช่องทางตลาดช่องทางทำเงินหรือจัดหาตลาดกลางไร้เอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลางได้จริงด้วย,ตลอดจนอำนวยสะดวกระเบียนเงื่อนไขลดต้นทุนค่าขนส่ง เพิ่มกำไรแก่ทุกๆคนไทยในรากฐานสัมมาอาชีพต่างๆนั้นด้วย,พูดเสียยาวคือนายกฯใหม่ไทยจะเป็นเป็นก่อตั้งตลาดซื้อขายออนไลน์กลางระดับชาติไทยแก่คนไทยนั้นเองบนแพลตฟอร์มที่คนไทยสร้างเองเป็นแอปของคนไทยจริงๆ นอกจากshopeeของdeep stateสิงคโปร์หรือ lazada มีdeep stateตัวแม่ทั่วโลกให้นอมินีอย่างalibaba groupเป็นเจ้าของที่เหนียวแน่นบนแผ่นดินไทยเรา ,นายกฯเราสามารถสร้างแพลตฟอร์มเราเองได้แน่นอน กระแสเงินสดมากมายทั้งภายในเราเองคนไทยหันมาใช้แอปเราเอง ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันเอง ไม่มีการหักอะไร กินค่านั้นค่านี้สาระพัดอีก คนขายกำไร คนซื้อได้ของถูกมีคุณภาพจริงไม่ถูกเอาเปรียบทั้งจากคนขายและเจ้าของแอป,รัฐบาลอัดโปรโมตใดๆได้อีก กระตุ้นการซื้อขาย อัดบัตรสวัสดิการช่วยค่าครองชีพผ่านแพลตฟอร์มนี้ก็ได้ เสมือนร้านค้ากองทุนหมู่บ้านออนไลน์ทั่วไทย ร่วมกันเป็นเจ้าของแพลตฟอร์มร้านค้าร้านตลาดนี้ร่วมกันอีก จะซื้อจะขายได้ทุกๆที่ทุกเวลา มีทั้งตลาดออฟไลน์มีสถานที่จริง จุดรับสินค้าส่งสินค้าฮับประจำหมู่บ้านสายออฟไลน์และออนไลน์ก็ได้ เข้าไปซื้อจริงจับจริงที่ร้านกองทุนหมู่บ้านก็ได้ สบู่ยาสีฟันยันเรือรบที่ตลาดออนไลน์ได้อีก,ขายข้ามโลกทั่วโลกก็ได้อีก โดยมีรัฐบาลอำนวยงานสร้างให้ตรวจสอบจับกุมจริงในคนไม่ซื่อตรงซื่อสัตย์เพราะล็อกอินคือบัตรประชาชนตัวเป็นจริงนั้นล่ะ,ตลาดออนไลน์นี้ระดับประเทศไทยทั่วโลกรู้จักชัดเจน ขายสาระพัดได้หมด ค่าห้องพักโรงแรม ตั๋วสาระพัดตั๋ว ตั๋วบอลตั๋วเครื่องบินขายได้หมด ทุกๆภาคอุตสาหกรรม ขายซื้อขายได้หมด GtG ,GtB ,BtB,BtC,CtCผู้บริโภคเจอกับผู้บริโภคทางตรงค้าขายได้หมดบนแพลตฟอร์มของไทยเรา,ค้ำประกันโดยรัฐบาลไทยเราด้วย,นี้เราต้องสร้างหน่วยทัพทำตังจริงแบบนี้,ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี กลยุทธ นายกฯสั่งตรงทีมเฉพาะกิจพิเศษควบคุมอำนวยการได้หมด,บริหารจัดการได้หมด ลดภาวะประชาชนไม่ต้องปวดหัวอะไร ค้าขายเต็มที่สร้างรายได้สัมมาอาชีพอย่างสุจริตเต็มกำลังสติปัญญาความสามารถใครมัน,และสามารถให้โอกาสคนทั่วโลกมาร่วมใช้บริการได้ฟรีๆค้าขายเสรีร่วมกันได้อีกเมื่อเราสามารถขนาดงานดาต้าควอนตัมพร้อมรับการไหลผ่านข้อมูลมหาศาลจากทั่วทุกมุมโลกได้แล้ว,รายได้ของแพลตฟอร์มนายกฯใหม่ของคนไทยเราริเริ่มปฐมบทงานสร้าง ตังสะพัดกว่า50ล้านล้านเหรียญทั่วโลกจากปกติอาจอยู่ที่25-30ล้านล้านเหรียญทั่วโลกในทุกๆแพลตฟอร์มค้าขายออนไลน์รวมกันก็ว่า,คนไทยเราไม่ธรรมดา แพลตฟอร์มเรามันคือโลกเสมือนจริงที่เป็นบ้านใหญ่ของคนไทยและประเทศอื่นๆที่เข้ามาโลกออนไลน์อาจติดความรู้สึกว่าบ้านตนเองคือจีนคืออเมริกาคือคนอาหรับคือคนฝรั่งคือคนผิวสี คือใดๆ แต่เมื่อเข้ามาใช้บนแพลตฟอร์มคนไทย เสมือนว่าคุณทั้งหมดคือคนไทย อยู่ประเทศไทย บ้านนี้คือบ้านคุณ บ้านนี้คือเป็นของคุณด้วยคือคุณเป็นคนไทยเช่นกันนั้นเอง,การต้อนรับมาบ้านกลับบ้านบนโลกเสมือนจริงนี้คือบ้านเราร่วมกันกันทุกๆคน ไร้การแบ่งแยกเชิงสัญลักษณ์ใดๆอีกต่อไป,มันมิใช่นัยยะแค่ตลาดออนไลน์การค้าขายแต่คือจิตวิญญาณคุณค่าความเป็นชาวโลกเราได้มีพื้นที่พอยึดเหนี่ยวนั่งพักจิตพักใจพักกายนั้นเอง มีตัวตนจริงเป็นโลกเสมือนที่คนไทยเราสร้างขึ้นและจะเป็นอารยะธรรมดีงามบนโลกเสมือนจริงอีกแห่งด้วยเช่นกันแม้ไม่ใช่โลกแห่งความจริงก็ตาม รอยยิ้ม ความอิ่มอกอิ่มใจจะเหมือนว่าได้มาเยือนประเทศไทยอยู่ที่ประเทศไทยเราจริงนั้นเอง,เราไม่ได้ขายแค่วัตถุสิ่งของ แต่เราเสมอความสุขด้วยจิตวิญญาณไปด้วย,เบิกบานจิตใจยกจิตยกใจผ่านเน็ตเวิคส์นั้นเองทั่วโลก,เพราะอนาคตมาแน่นอนแว่นเรียลไทม์,และวาล์ปจริงไปโลกเสมือนนั้น ตลอดซื้อสินค้าเสร็จบนโลกเสมือน ออกมาสแกนรอรับสินค้าที่วาล์ปมาได้เลยนั้นล่ะที่จุดบริการรอรับสินค้า ขนส่งเดินรถอาจไม่มีอีกต่อไป,ท่องเที่ยวผ่านแว่นเรียล,ไปได้ทั่วจักรวาลบนโลกเสมือนจริงที่สร้างเสมือนจักรวาลที่ต้องการไปนั่นๆ,ซื้อสินค้าเสร็จจ่ายตัง กลับมาบ้าน รอรับสินค้าทันทีผ่านเครื่องพิมพ์สินค้าวาล์ปเรียลไทม์ก็ว่า,นี้จึงวิถีการบุกเบิกโคตรๆของผู้นำใหม่ประจำประเทศไทยเราจริงๆ,กากๆกระจอกอย่าเสนอตัวออกมาแดกชาติโกงกินบ้านเมืองอีกเลย,ยุคอนาคตตังติดตามเรียลไทม์การผ่านมือใครได้หมดล่ะควอนตัมบันทึกทุกกิจกรรมธุรกรรมการเงินย้อนหลังโคตรๆลบไม่ได้ด้วย,มีหนาวมีอักเสบมีดับอนาถแน่นอนในอนาคตเร็วๆนี้,กอบโกยโกงกินหมูๆหมาๆง่ายๆแบบๆเดิมๆตกยุคแน่นอน,โลกเรากำลังอัพเรเวลคัดกรองคนด้วย,จักรวาลจัดสรรนั่นล่ะ ธรรมะจักรวาลธรรมดาที่ไหน. ..นายกฯพระราชทานคือหนทางออกทางเดียวในจังหวะเวลานี้,ยุคใหม่ไม่ธรรมดานะ,และเรามีเวลาเหลือแค่ก่อนพ.ศ.5,000นะ นี้ก็2568แล้ว,มนุษยสมบัติเราสมควรจบที่โลกุตระสมบัติเป็นเบื้องต้น อรหันต์เป็นเบื้องกลาง นิพพานคือที่สุดก็ว่า,ผู้นำผู้ปกครองไทยเราอย่าขัดขวางอย่าเป็นมหามารมหาปีศาจมหาอสูรโคตรเลวโคตรชั่วอีกเลย อย่างน้อยคนไทยโดยมากเป็นผู้มากบุญบารมีพร้อมเลื่อนขั้นสาระพัดมากมายแน่แห่งจิตวิญญาณใครมัน,ท่านทั้งหลายอย่าแสวงหามหานรกโดยกระทำชั่วเลวแก่ผู้มากบุญบารมีประจำประเทศไทยคือประชาชนชาวไทยเลย,โสดาบันเต็มแผ่นดินนะนั้น กรรมใหญ่หลวงนักไปขัดขวางคนไทยตนเองในนามผีบ้าบ้าตำแหน่งอำนาจชื่อสมมุติว่าผู้นำผู้ปกครองประเทศไทยนี้,คนไทยทั้งหลายแค่มาเสวยเศษกรรมตนนิดหน่อยๆแค่นั้นล่ะ,ประเทศไทยนี้จึงมีสิทธิ์ศักดิ์เป็นอันมากเพราะมาปกป้องเจ้านายตนเองด้วยก็ว่าก็มีที่มาเสวยกรรม บ้างก็ลงมาเล่นเพลินๆสาระพัพมุกมาเกิดบนอาณาเขตราชอาณาจักรมหาพุทธภูมินี้. ..ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์โคตรๆ เงินทองมากมายเต็มแผ่นดิน,วิกฤติเศรษฐกิจนี้แก้ไม่ยาก แก้ได้มากมาย นี้ก็อีกบริบทหนึ่ง,หรือไปยึดทรัพยากรมีค่ามากมายคืนมาทั้งหมดก็ได้ เอาบ่อน้ำมันคืนมาทุกๆสัมปทานก่อน จากต่างชาติจากเอกชนใดๆทั้งหมด ยึดคืนก่อนก็ได้ มาทำเองเลย ต้นทุนทุกๆมิติของไทยเราจะลดลงทันที,ขายน้ำมันก็ขายนอกประเทศในราคาตลาดโลกก็ได้แต่ขายในไทยถูกๆลิตรละ1-2บาทแบบอิหร่านก็สบายมาก,เศรษฐกิจไทยจะฟื้นฟูทันที บวกอัดเศรษฐกิจพอเพียงสมถะเราไปด้วย,เพียงพอพอเพียงไม่ละโมภโลภมาก ความยัางยืนรอบด้านหลากหลายมิติจะเต็มประเทศไทยเราและขยายไปทั่วโลก,โลกจะมีต่างดาวดีๆมากมายมาเยือนโลกเราและปกป้องคุ้มครองภัยศัตรูช่วยเราได้สบายๆด้วยบนจักรวาลเรานี้. ..ให้มันจบที่รุ่นเรา. https://www.tiktok.com/@amp.sarun/video/7476739522403798279
    @amp.sarun

    ขายของออนไลน์ อย่าทำที่เดียวแพลทฟอร์มเดียว ทำทุกที่ ดีทุกทาง กการตลาดการเตลิดก#การตลาดวันละคลิปสสอนการตลาดออนไลน์สสร้างตัวตนบนโลกออนไลน์สสร้างตัวตนบนtiktokคครูแอ๊มการตลาดการเตลิดttiktokสายความรู้คครูลูกแอ๊มสสร้างแบรนด์bbrandingแแบรนด์ดิ้งกการตลาดออนไลน์กกลยุทธ์การตลาดสสร้างแบรนด์กการตลาดคอนเทนต์ธธุรกิจออนไลน์ดดิจิตอลมาร์เก็ตติ้งddigitalmarketingก#การตลาดTikTokT#TikTokMarketing

    ♬ เสียงต้นฉบับ - การตลาดการเตลิด - การตลาดการเตลิด
    0 Comments 0 Shares 181 Views 0 Reviews
  • ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ ๔ ประการแห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ
    คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้

    อานิสงส์ ๔ ประการเป็นไฉน

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ…เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น
    เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติ หลงลืม
    เมื่อกระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่ง บทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏแก่เธอ
    ผู้มีความสุขในภพนั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่สัตว์นั้นย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นอานิสงส์ประการที่ ๑ แห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ
    แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิอันบุคคลพึงหวังได้ ฯ

    สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์พระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2024/06/13/%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b9%84%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b8%9b%e0%b8%b4%e0%b8%8e%e0%b8%81-%e0%b8%95%e0%b8%ad%e0%b8%99-%e0%b8%ad%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b9%8c/
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ ๔ ประการแห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้ อานิสงส์ ๔ ประการเป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ…เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติ หลงลืม เมื่อกระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่ง บทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏแก่เธอ ผู้มีความสุขในภพนั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่สัตว์นั้นย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นอานิสงส์ประการที่ ๑ แห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิอันบุคคลพึงหวังได้ ฯ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์พระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/2024/06/13/%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b9%84%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b8%9b%e0%b8%b4%e0%b8%8e%e0%b8%81-%e0%b8%95%e0%b8%ad%e0%b8%99-%e0%b8%ad%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b9%8c/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    thenirvanalive.com พระไตรปิฎก ตอน อานิสงส์ ๔ ประการแห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ
    thenirvanalive.com พระไตรปิฎก ตอน อานิสงส์ ๔ ประการแห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ
    0 Comments 1 Shares 67 Views 0 Reviews
  • มีความชั่วมา
    ถ้าพาคบหา
    ตอแยนำพา
    หาดีไม่มี

    เพียรชำระชั่ว
    พัวพันความดี
    เป็นสุขชีวี
    มีทุกข์ดับไป

    ศีลธรรมอาศัย
    ให้สติได้
    ระวังกายใจ
    ให้รู้ความจริง

    มีอนิจจัง
    ทุกขังไม่นิ่ง
    ความจริงพึ่งพิง
    ยิ่งรู้ชำนาญ

    ชำนาญเข้าออก
    ฟอกกรรมการงาน
    มีกรรมรากฐาน
    งานจิตงานกาย

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    มีความชั่วมา ถ้าพาคบหา ตอแยนำพา หาดีไม่มี เพียรชำระชั่ว พัวพันความดี เป็นสุขชีวี มีทุกข์ดับไป ศีลธรรมอาศัย ให้สติได้ ระวังกายใจ ให้รู้ความจริง มีอนิจจัง ทุกขังไม่นิ่ง ความจริงพึ่งพิง ยิ่งรู้ชำนาญ ชำนาญเข้าออก ฟอกกรรมการงาน มีกรรมรากฐาน งานจิตงานกาย ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 37 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 680
    ชื่อบทธรรม :- สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ

    ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+อนริยา
    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย
    กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค
    (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)”
    ดังนี้.
    --จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ?
    ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ”
    ดังนี้.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน
    เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ
    ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด
    ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ
    ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม
    ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ
    +--จุนทะ !
    คนบางคน ในกรณีนี้
    เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในโลกนี้
    ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในกรณีนี้
    กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในกรณีนี้
    อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ :
    นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔.

    ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/144/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+สมฺมา
    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)”
    ดังนี้ ;
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่.
    ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ
    แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด
    เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ
    เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว.
    สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
    +--จุนทะ ! สี่อย่างคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท.
    จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    +--ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้
    จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน
    นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร
    มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    +--ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย
    บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน
    จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สี่.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล
    เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด
    ....ฯลฯ....
    เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว.
    --จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่
    คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้”
    ดังนี้.
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว.
    ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ;
    จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้.
    #ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/145/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+ผลานิ

    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ”
    เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า
    “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้
    หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง.
    สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ
    ๑--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน
    มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า
    : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๒--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง #เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
    : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๓--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง #เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๔--ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง $เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    #เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่
    : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่.
    อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง
    เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/102-104/114-116
    http://etipitaka.com/read/thai/11/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๑๔๓-๑๔๕/๑๑๔-๑๑๖
    http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=680
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ สัทธรรมลำดับที่ : 680 ชื่อบทธรรม :- สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680 เนื้อความทั้งหมด :- --สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+อนริยา --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)” ดังนี้. --จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ? ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ” ดังนี้. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ +--จุนทะ ! คนบางคน ในกรณีนี้ เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในโลกนี้ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔. ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/144/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+สมฺมา --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)” ดังนี้ ; พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่. ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? +--จุนทะ ! สี่อย่างคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท. จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : +--ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : +--ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สี่. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ....ฯลฯ.... เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. --จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่ คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้. พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว. ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ; จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้. #ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/145/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+ผลานิ --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ” เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ ๑--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๒--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง #เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๓--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง #เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๔--ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง $เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ #เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่. อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/102-104/114-116 http://etipitaka.com/read/thai/11/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๑๔๓-๑๔๕/๑๑๔-๑๑๖ http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=680 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    -(ความชุ่มอยู่ในกามสุข เรียกว่ากามสุขัลลิกะ, การประกอบตนอยู่ในกามสุขัลลิกะ เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ; จัดเป็นอันตะฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นข้าศึกแก่มัชฌิมาปฏิปทา) . สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)” ดังนี้. จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ? ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ” ดังนี้. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ คนบางคน ในกรณีนี้ เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในโลกนี้ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔. ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)” ดังนี้ ; พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่. ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? จุนทะ ! สี่อย่างคือ ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท. จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ....ฯลฯ.... เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่ คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้. พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว. ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ; จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้. ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ” เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่. อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 144 Views 0 Reviews
  • #อดีตชาติหลวงพ่อฤาษี 13 ชาติ..

    #ที่เกิดตั้งแต่สมัยโยนกนคร #จนถึงรัตนโกสินทร์

    ลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็นปึกแผ่น และเพื่อช่วยเหลือคนไทย และช่วยให้พระพุทธศาสนามีอายุครบ 5000 ปี

    #วาระที่ 1 เกิดเป็นพระเจ้ามังราย รัชกาลที่ 2 แห่งโยนกนคร เป็นลูกชายพระเจ้าอชุตราช ในชาตินั้นท่านเป็นผู้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าที่ดอยตุง โดยการนำมาของพระมหากัสสปะพร้อมด้วยพระอรหันต์ 500 องค์

    #วาระที่ 2 เกิดสมัยโยนก เป็นเณรน้อยอายุ 7 ปีทรงฌานสมาบัติ แต่ได้ถูกขอมดำกระทำย่ำยี เวลานั้นขอมดำมายึดเมืองโยนกนครได้แล้ว แล้วทำการกดขี่ข่มเหงรังแกคนไทย
    เณรจึงเข้าฌานสมาบัติ ตั้งจิตอธิษฐานว่า เกิดคราวหน้าขอให้ได้เกิดมาเป็นคนไทย และได้ช่วยคนไทยทุกแง่ทุกมุม
    มิไม่ใช่เฉพาะการรบ การเศรษฐกิจ การปกครอง แม้แต่การรบทุกอย่างให้ครบถ้วน ให้คนไทยพ้นจากความเป็นทาส "พอตั้งจิตอธิษฐานก็ไม่ถอนจากฌานสมาบัติ ก็นั่งทรงฌานอย่างนั้นจนตาย แล้วไปเกิดเป็นพรหม ชั้นที่ 11

    #การเกิดครั้งที่3 หลังจากตายจากเณรน้อย ไปเป็นพรหมชั้นที่11ได้เพียง1ปีเศษ ก็ลงมาเกิดเป็น "พระเจ้าพรหม มหาราช" เป็นโอรสของพระเจ้าพังคราช รัชกาลที่ 37 ในสมัยโยนกนคร มีพี่ชายชื่อทุกภิขะ( บริเวณพระธาตุจอมกิตติ ดอยตุง เป็นเขตเมืองโยนกนคร) เกิดพร้อมสหชาติที่เป็นพรหม เทวดา ลงมาเกิดพร้อมกัน 250 คน ทั้ง 250 คน เกิดเป็นผู้ชายทั้งหมด พรหมอีกองค์นึงเกิดเป็นช้างประกายแก้ว ช้างคู่บารมีพระเจ้าพรหม ลงมาเกิดเพื่อกู้ชาติให้พ้นความเป็นทาสจากขอมดำ และทำสำเร็จด้วย ทุกวันนี้วันอาสาฬหบูชาที่วัดท่าซุงก็มีการแห่ชัยชนะพระเจ้าพรหมทุกๆปี

    #การเกิดในวาระที่4 หลังจากที่ตายจากการเป็นพระเจ้าพรหมสมัยโยนก แล้วเข้าฌาณตาย กลับไปเป็นพรหม เวลาผ่านไปอีก 800 ปีลงมาเกิดเป็นพระร่วงโรจนฤทธิ์ ตอนเด็กมีนามว่าอรุณกุมาร เป็นผู้ที่มีฤทธิ์มาก มีวิชาอาคม มีวาจาสิทธิ์ สามารถเสกขอมให้เป็นหินได้ และขยายอาณาเขตของประเทศไทย (ตอนนั้นยังไม่เป็นเทศไทย )กว้างใหญ่ไพศาล ยึดมอญ พม่าขอมไว้ได้หมด อาณาจักรยาวเหยียด เวลานั้นคือก่อนเมืองสุโขทัย 700 ปีเศษ ก่อนหน้าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 700ประมาณปีเศษ

    #วาระที่5 เกิดเป็น"พ่อขุนศรีเมืองมาน"( เป็นพ่อของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ แห่งอณาจักรสุโขทัย) ตายจากพระร่วงโรจนฤทธิ์ก็เข้าฌานตาย กลับไปเป็นพรหมเช่นเดิม กลับมาเกิดวาระที่5 เป็นพ่อขุนศรีเมืองมาน มีสหชาติเกิดมาด้วยคือ พ่อขุนน้าวนําถมลงมาช่วยกู้ชาติไทยจากขอมดำ ขยายอาณาเขตประเทศไทยไปถึงสิงคโปร์ มีภรรยาชื่อพรรณวดีศรีโสภาศ เป็นเมียเอก และมีเมียราษฏร์อีก 29 คน พอเมียเอกตาย ก็บวชไม่สึกอีกเลย เข้าฌานตายแล้วไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม

    #วาระที่6 "ขุนหลวงพระงั่ว" รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาคนไทยเกิดแบ่งเป็น 2 พวก จึงต้องลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็น1เดียว ลงมาเกิดในราชวงศ์อู่ทอง เป็น"ขุนหลวงพระงั่ว" มาปลุกจิตสำนึกคนไทยให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ จึงนิมนต์พระสงฆ์มาร่าง"ไตรภูมิพระร่วง
    ไตรภูมิพระร่วง พระร่วงไม่ได้ทำ
    ท่านเป็นเพียงแต่ศาสนูปถัมภ์
    ไตรภูมิพระร่วง เป็นการร่วมมือกันระหว่างสุโขทัยและกรุงศรี
    และยังได้ร่วมกันสร้างพระพุทธชินราชพระพุทธชินสีห์ และพระศรีศากยมุนีขึ้นมาเป็นมิ่งขวัญของเมืองไทย เป็นการแสดงสัญลักษณ์ว่าประเทศไทยจะทรงตัวได้ด้วยเหตุ 3 อย่างด้วยกัน
    คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
    พระพุทธชินราช หมายถึง พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินสีห์ หมายถึง พระศาสนา พระศากยมุนี หมายถึง ชาติ
    การสร้างครั้งนี้ก็เป็นหน้าที่ของท้าวโกสีย์สักกะเทวราชให้พระวิษณุกรรมมาช่วย ขุนหลวงพระงั่วได้มารวมสุโขทัยกับอยุธยาเป็นประเทศเดียวกัน

    #เกิดวาระที่7 ต่อมาลงมาเกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงศรีฯ ครั้งนี้เป็นลูกชาวบ้าน แต่เป็นลูกมหาเศรษฐี มีแม่ชื่อปิ่นทอง พ่อชื่อกองแก้ว ท่านเองเป็นลูกชายชื่ออำไพ ลงมาช่วยคน ให้เงินให้ทอง ให้ที่ทำกิน ช่วยการเกษตร ช่วยทุกสิ่งทุกอย่าง ให้การศึกษา จนคนไทยเป็นปึกแผ่นแน่นหนาพอ ประชาชนมีความสุข และท่านก็ตายไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม

    #วาระที่ 8 เกิดมาในตระกูลของแม่ทัพสมเด็จพระพันวสา คือสมเด็จพระอินทราธิราช มีนามว่า "ขุนไกร" (#ขุนแผน) เป็นอันว่าชาตินี้ขุนแผนต้องรวบรวมไทยอาศัยที่มีวิชาการมาก เป็นนักรบเก่ง
    ล่องหนหายตัวได้ สะเดาะกลอนได้
    ทำหุ่นพยนต์ได้ ทำอะไรได้แปลกๆ
    การยกทัพไปก็ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก
    ก็สามารถจะสู้ข้าศึกได้

    #วาระที่ 9 เกิดมาเป็นลูกกษัตริย์ มีนามว่าพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อพระบรมไตรโลกนาสวรรนคตก็ไปเป็นพรหมตามเดิมไม่ช้าไม่นานก็ต้องเสด็จลงมาเกิดอีก

    #วาระที่10 เกิดสมัยพระนารายณ์ ท่านลงมาเกิดเป็น"ขุนเหล็ก"
    หรือพระยาโกษาเหล็ก เกิดควบคู่กับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช รุ่นราวคราวเดียวกัน เป็นเพื่อนเล่นกัน ขุนเหล็กมีน้องชายชื่อว่าขุนปาน หรือพระยาโกษาปาน ทั้งสองพระองค์ เป็นที่ไว้วางใจของสมเด็จพระนารายณ์มาก
    #บั้นปลายชีวิตลากิจราชการไปจำศีลเจริญภาวนาวิปัสสนาญาณ ให้ทาน ตายจากเจ้าพระยาโกษาเหล็ก ก็เข้าฌานกลับไปเป็นพรหมตามเดิม
    (#ท่านไม่ได้ตายตามประวัติศาสตร์เขียนไว้หรอกนะ)

    #วาระที่11 ลงมาเกิดมาเป็นขุนดาบคู่ใจของพระเจ้าตากสินมหาราช คือพระยาศรีสิทธิสงคราม อยู่ในกองทัพหลวงประจำองค์พระเจ้าตากสินมหาราชสมัยกรุงธนบุรี ก่อนกรุงศรีจะแตก เป็นกำนันจัน ชื่อว่า #จันหนวดเขี้ยว เป็นที่รักของประชาชน ต่อมาค่ายบางระจันแตก
    #นายจันหนวดเขี้ยวไม่ได้ตายไปตามประวัติศาสตร์ที่เขียน
    นายจันหนวดเขี้ยวจึงมารวมกำลังกับพระเจ้าตากสินกู้ชาติ ต่อมาพระเจ้าตากสินจึงเปลี่ยนชื่อให้จากกำนันจัน มาเป็นพระยาศรีสิทธิสงคราม ประจำกองทัพหลวง (ด้วง- นายจันหนวดเขี้ยว- พระยาศรีสิทธิสงคราม -เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก-และ #สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

    #วาระที่12 มาเกิดเป็น รัชกาลที่ 5 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์

    #วาระที่13 ชาติสุดท้ายเกิดมาเป็น
    หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง

    หนังสือเรื่องจริงอิงนิทานพิเศษ
    พระราชพรหมยานเถระ (หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง)​
    คัดลอกแบ่งปันเป็นธรรมทานโดย
    จิตหนึ่งประภัสสร สุดยอดคือพระนิพพาน
    ⚜️ #อดีตชาติหลวงพ่อฤาษี 13 ชาติ..⚜️ 🔱#ที่เกิดตั้งแต่สมัยโยนกนคร #จนถึงรัตนโกสินทร์🔱 ลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็นปึกแผ่น และเพื่อช่วยเหลือคนไทย และช่วยให้พระพุทธศาสนามีอายุครบ 5000 ปี ✴️ #วาระที่ 1 เกิดเป็นพระเจ้ามังราย รัชกาลที่ 2 แห่งโยนกนคร เป็นลูกชายพระเจ้าอชุตราช ในชาตินั้นท่านเป็นผู้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าที่ดอยตุง โดยการนำมาของพระมหากัสสปะพร้อมด้วยพระอรหันต์ 500 องค์ ✴️ #วาระที่ 2 เกิดสมัยโยนก เป็นเณรน้อยอายุ 7 ปีทรงฌานสมาบัติ แต่ได้ถูกขอมดำกระทำย่ำยี เวลานั้นขอมดำมายึดเมืองโยนกนครได้แล้ว แล้วทำการกดขี่ข่มเหงรังแกคนไทย เณรจึงเข้าฌานสมาบัติ ตั้งจิตอธิษฐานว่า เกิดคราวหน้าขอให้ได้เกิดมาเป็นคนไทย และได้ช่วยคนไทยทุกแง่ทุกมุม มิไม่ใช่เฉพาะการรบ การเศรษฐกิจ การปกครอง แม้แต่การรบทุกอย่างให้ครบถ้วน ให้คนไทยพ้นจากความเป็นทาส "พอตั้งจิตอธิษฐานก็ไม่ถอนจากฌานสมาบัติ ก็นั่งทรงฌานอย่างนั้นจนตาย แล้วไปเกิดเป็นพรหม ชั้นที่ 11 ✴️ #การเกิดครั้งที่3 หลังจากตายจากเณรน้อย ไปเป็นพรหมชั้นที่11ได้เพียง1ปีเศษ ก็ลงมาเกิดเป็น "พระเจ้าพรหม มหาราช" เป็นโอรสของพระเจ้าพังคราช รัชกาลที่ 37 ในสมัยโยนกนคร มีพี่ชายชื่อทุกภิขะ( บริเวณพระธาตุจอมกิตติ ดอยตุง เป็นเขตเมืองโยนกนคร) เกิดพร้อมสหชาติที่เป็นพรหม เทวดา ลงมาเกิดพร้อมกัน 250 คน ทั้ง 250 คน เกิดเป็นผู้ชายทั้งหมด พรหมอีกองค์นึงเกิดเป็นช้างประกายแก้ว ช้างคู่บารมีพระเจ้าพรหม ลงมาเกิดเพื่อกู้ชาติให้พ้นความเป็นทาสจากขอมดำ และทำสำเร็จด้วย ทุกวันนี้วันอาสาฬหบูชาที่วัดท่าซุงก็มีการแห่ชัยชนะพระเจ้าพรหมทุกๆปี ✴️ #การเกิดในวาระที่4 หลังจากที่ตายจากการเป็นพระเจ้าพรหมสมัยโยนก แล้วเข้าฌาณตาย กลับไปเป็นพรหม เวลาผ่านไปอีก 800 ปีลงมาเกิดเป็นพระร่วงโรจนฤทธิ์ ตอนเด็กมีนามว่าอรุณกุมาร เป็นผู้ที่มีฤทธิ์มาก มีวิชาอาคม มีวาจาสิทธิ์ สามารถเสกขอมให้เป็นหินได้ และขยายอาณาเขตของประเทศไทย (ตอนนั้นยังไม่เป็นเทศไทย )กว้างใหญ่ไพศาล ยึดมอญ พม่าขอมไว้ได้หมด อาณาจักรยาวเหยียด เวลานั้นคือก่อนเมืองสุโขทัย 700 ปีเศษ ก่อนหน้าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 700ประมาณปีเศษ ✴️ #วาระที่5 เกิดเป็น"พ่อขุนศรีเมืองมาน"( เป็นพ่อของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ แห่งอณาจักรสุโขทัย) ตายจากพระร่วงโรจนฤทธิ์ก็เข้าฌานตาย กลับไปเป็นพรหมเช่นเดิม กลับมาเกิดวาระที่5 เป็นพ่อขุนศรีเมืองมาน มีสหชาติเกิดมาด้วยคือ พ่อขุนน้าวนําถมลงมาช่วยกู้ชาติไทยจากขอมดำ ขยายอาณาเขตประเทศไทยไปถึงสิงคโปร์ มีภรรยาชื่อพรรณวดีศรีโสภาศ เป็นเมียเอก และมีเมียราษฏร์อีก 29 คน พอเมียเอกตาย ก็บวชไม่สึกอีกเลย เข้าฌานตายแล้วไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม ✴️ #วาระที่6 "ขุนหลวงพระงั่ว" รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาคนไทยเกิดแบ่งเป็น 2 พวก จึงต้องลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็น1เดียว ลงมาเกิดในราชวงศ์อู่ทอง เป็น"ขุนหลวงพระงั่ว" มาปลุกจิตสำนึกคนไทยให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ จึงนิมนต์พระสงฆ์มาร่าง"ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิพระร่วง พระร่วงไม่ได้ทำ ท่านเป็นเพียงแต่ศาสนูปถัมภ์ ไตรภูมิพระร่วง เป็นการร่วมมือกันระหว่างสุโขทัยและกรุงศรี และยังได้ร่วมกันสร้างพระพุทธชินราชพระพุทธชินสีห์ และพระศรีศากยมุนีขึ้นมาเป็นมิ่งขวัญของเมืองไทย เป็นการแสดงสัญลักษณ์ว่าประเทศไทยจะทรงตัวได้ด้วยเหตุ 3 อย่างด้วยกัน คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินราช หมายถึง พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินสีห์ หมายถึง พระศาสนา พระศากยมุนี หมายถึง ชาติ การสร้างครั้งนี้ก็เป็นหน้าที่ของท้าวโกสีย์สักกะเทวราชให้พระวิษณุกรรมมาช่วย ขุนหลวงพระงั่วได้มารวมสุโขทัยกับอยุธยาเป็นประเทศเดียวกัน ✴️ #เกิดวาระที่7 ต่อมาลงมาเกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงศรีฯ ครั้งนี้เป็นลูกชาวบ้าน แต่เป็นลูกมหาเศรษฐี มีแม่ชื่อปิ่นทอง พ่อชื่อกองแก้ว ท่านเองเป็นลูกชายชื่ออำไพ ลงมาช่วยคน ให้เงินให้ทอง ให้ที่ทำกิน ช่วยการเกษตร ช่วยทุกสิ่งทุกอย่าง ให้การศึกษา จนคนไทยเป็นปึกแผ่นแน่นหนาพอ ประชาชนมีความสุข และท่านก็ตายไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม ✴️ #วาระที่ 8 เกิดมาในตระกูลของแม่ทัพสมเด็จพระพันวสา คือสมเด็จพระอินทราธิราช มีนามว่า "ขุนไกร" (#ขุนแผน) เป็นอันว่าชาตินี้ขุนแผนต้องรวบรวมไทยอาศัยที่มีวิชาการมาก เป็นนักรบเก่ง ล่องหนหายตัวได้ สะเดาะกลอนได้ ทำหุ่นพยนต์ได้ ทำอะไรได้แปลกๆ การยกทัพไปก็ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก ก็สามารถจะสู้ข้าศึกได้ ✴️ #วาระที่ 9 เกิดมาเป็นลูกกษัตริย์ มีนามว่าพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อพระบรมไตรโลกนาสวรรนคตก็ไปเป็นพรหมตามเดิมไม่ช้าไม่นานก็ต้องเสด็จลงมาเกิดอีก ✴️ #วาระที่10 เกิดสมัยพระนารายณ์ ท่านลงมาเกิดเป็น"ขุนเหล็ก" หรือพระยาโกษาเหล็ก เกิดควบคู่กับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช รุ่นราวคราวเดียวกัน เป็นเพื่อนเล่นกัน ขุนเหล็กมีน้องชายชื่อว่าขุนปาน หรือพระยาโกษาปาน ทั้งสองพระองค์ เป็นที่ไว้วางใจของสมเด็จพระนารายณ์มาก #บั้นปลายชีวิตลากิจราชการไปจำศีลเจริญภาวนาวิปัสสนาญาณ ให้ทาน ตายจากเจ้าพระยาโกษาเหล็ก ก็เข้าฌานกลับไปเป็นพรหมตามเดิม (#ท่านไม่ได้ตายตามประวัติศาสตร์เขียนไว้หรอกนะ) ✴️ #วาระที่11 ลงมาเกิดมาเป็นขุนดาบคู่ใจของพระเจ้าตากสินมหาราช คือพระยาศรีสิทธิสงคราม อยู่ในกองทัพหลวงประจำองค์พระเจ้าตากสินมหาราชสมัยกรุงธนบุรี ก่อนกรุงศรีจะแตก เป็นกำนันจัน ชื่อว่า #จันหนวดเขี้ยว เป็นที่รักของประชาชน ต่อมาค่ายบางระจันแตก ✴️ #นายจันหนวดเขี้ยวไม่ได้ตายไปตามประวัติศาสตร์ที่เขียน นายจันหนวดเขี้ยวจึงมารวมกำลังกับพระเจ้าตากสินกู้ชาติ ต่อมาพระเจ้าตากสินจึงเปลี่ยนชื่อให้จากกำนันจัน มาเป็นพระยาศรีสิทธิสงคราม ประจำกองทัพหลวง (ด้วง- นายจันหนวดเขี้ยว- พระยาศรีสิทธิสงคราม -เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก-และ #สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ✴️ #วาระที่12 มาเกิดเป็น รัชกาลที่ 5 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ✴️ #วาระที่13 ชาติสุดท้ายเกิดมาเป็น หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง 🖋️📚หนังสือเรื่องจริงอิงนิทานพิเศษ ⚜️พระราชพรหมยานเถระ (หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง)​⚜️ 🖋️📚คัดลอกแบ่งปันเป็นธรรมทานโดย 🧘จิตหนึ่งประภัสสร สุดยอดคือพระนิพพาน
    0 Comments 0 Shares 203 Views 0 Reviews
  • พุทธโอวาท ตอนอเนญชสัปปายสูตร

    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่นิคมชื่อกัมมาสธรรม ของชาวกุรุในแคว้นกุรุสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว
    พระมีพระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กามไม่เที่ยง เป็นของว่าง
    เปล่า เลือนหายไปเป็นธรรมดา ลักษณะของกามดังนี้ ได้ทำความล่อลวงเป็นที่บ่นถึงของคน
    พาล กามทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า และกามสัญญาทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า
    ทั้ง ๒ อย่างนี้ เป็นบ่วงแห่งมาร เป็นแดนแห่ง มาร เป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นที่หากินของมาร
    ในกามนี้ ย่อมมีอกุศลลามกเหล่านี้เกิดที่ใจคือ อภิชฌาบ้าง พยาบาทบ้าง สารัมภะบ้าง เป็นไป
    กามนั่นเอง ย่อม เกิดเพื่อเป็นอันตรายแก่อริยสาวกผู้ตามศึกษาอยู่ในธรรมวินัยนี้

    สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์พระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2024/09/05/%e0%b8%9e%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b9%82%e0%b8%ad%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%97-%e0%b8%ad%e0%b9%80%e0%b8%99%e0%b8%8d%e0%b8%8a%e0%b8%aa%e0%b8%9b%e0%b8%9b%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b8%aa%e0%b8%95%e0%b8%a3/
    พุทธโอวาท ตอนอเนญชสัปปายสูตร สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่นิคมชื่อกัมมาสธรรม ของชาวกุรุในแคว้นกุรุสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว พระมีพระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กามไม่เที่ยง เป็นของว่าง เปล่า เลือนหายไปเป็นธรรมดา ลักษณะของกามดังนี้ ได้ทำความล่อลวงเป็นที่บ่นถึงของคน พาล กามทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า และกามสัญญาทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า ทั้ง ๒ อย่างนี้ เป็นบ่วงแห่งมาร เป็นแดนแห่ง มาร เป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นที่หากินของมาร ในกามนี้ ย่อมมีอกุศลลามกเหล่านี้เกิดที่ใจคือ อภิชฌาบ้าง พยาบาทบ้าง สารัมภะบ้าง เป็นไป กามนั่นเอง ย่อม เกิดเพื่อเป็นอันตรายแก่อริยสาวกผู้ตามศึกษาอยู่ในธรรมวินัยนี้ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์พระนิพพาน  https://www.thenirvanalive.com/2024/09/05/%e0%b8%9e%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b9%82%e0%b8%ad%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%97-%e0%b8%ad%e0%b9%80%e0%b8%99%e0%b8%8d%e0%b8%8a%e0%b8%aa%e0%b8%9b%e0%b8%9b%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b8%aa%e0%b8%95%e0%b8%a3/
    0 Comments 1 Shares 58 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา.
    สัทธรรมลำดับที่ : 677
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    [ตอนอุทเทส]
    --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ
    ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค
    อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
    --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ
    การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน),
    ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู
    ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น.
    ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข,
    ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน.
    ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ;
    ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้.
    นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ
    (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก).
    [ตอนนิทเทส]
    --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง
    เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส
    ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค)
    อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก
    อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า
    “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน
    เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
    และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์”
    ดังนี้,
    คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว.
    --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า
    “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน”
    ดังนี้
    --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง
    อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ....
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ;
    ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์
    ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ
    ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา
    เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) .

    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94

    --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.)
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ
    อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ),
    นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม),
    มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​.
    --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า
    “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้
    เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย :
    +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว
    เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ
    ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา
    ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์...
    ....ฯลฯ....
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ :
    +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.-

    (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้
    แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค
    ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน.
    ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา
    จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา. สัทธรรมลำดับที่ : 677 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้ --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.) --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​. --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์... ....ฯลฯ.... +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ; ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ; ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.- (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้ แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน. ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597. http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗. http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    -อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และการกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใด. อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลี ติก.อํ.) ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์......ฯลฯ.... (รายละเอียดต่อไปจากนี้ มีอีกมาก ดูจากข้อความในหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ ที่หัวข้อว่า “ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค” ที่หน้า ๕๖-๕๘ จนถึงคำว่า ....... เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการลงสู่แม่น้ำเวลาเย็นเป็นครั้งที่สามบ้าง, เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการทำ (กิเลสในกายให้เหือดแห้ง ด้วยวิธีต่างๆ เช่นนี้ ด้วยอาการนี้อยู่). ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.
    0 Comments 0 Shares 175 Views 0 Reviews
  • จะมาพูดคุยประเด็น การรับเงินและทอง

    ของพระภิกษุสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา ตามพระธรรมวินัย ที่พระศาสดา ทรงบัญญัติไว้ 

    มีเรื่องเล่ามาเล่าให้ฟัง ดังต่อไปนี้ โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่

    ณ พระเวฬุวัน ครั้งนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรเป็นกุลุปกะของสกุลหนึ่ง รับภัตตาหารอยู่เป็นประจำ ของเคี้ยวของฉันอันใดที่เกิดขึ้นในสกุลนั้น.

    เขาย่อมแบ่งส่วนไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เย็นวันหนึ่งในสกุลนั้นมีเนื้อเกิดขึ้น เขาจึง

    แบ่งส่วนเนื้อนั้นไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เด็กของสกุลนั้นตื่นขึ้นในเวลาเช้ามืด ร้อง

    อ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า. บุรุษสามีจึงสั่งภรรยาว่า จงให้ส่วนของพระแก่เด็ก เราจักซื้อของอื่นถวายท่าน. ครั้นแล้วเวลาเช้าท่านอุปนันทศากยบุตร

    สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    จะมาพูดคุยประเด็น การรับเงินและทอง ของพระภิกษุสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา ตามพระธรรมวินัย ที่พระศาสดา ทรงบัญญัติไว้  มีเรื่องเล่ามาเล่าให้ฟัง ดังต่อไปนี้ โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเวฬุวัน ครั้งนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรเป็นกุลุปกะของสกุลหนึ่ง รับภัตตาหารอยู่เป็นประจำ ของเคี้ยวของฉันอันใดที่เกิดขึ้นในสกุลนั้น. เขาย่อมแบ่งส่วนไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เย็นวันหนึ่งในสกุลนั้นมีเนื้อเกิดขึ้น เขาจึง แบ่งส่วนเนื้อนั้นไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เด็กของสกุลนั้นตื่นขึ้นในเวลาเช้ามืด ร้อง อ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า. บุรุษสามีจึงสั่งภรรยาว่า จงให้ส่วนของพระแก่เด็ก เราจักซื้อของอื่นถวายท่าน. ครั้นแล้วเวลาเช้าท่านอุปนันทศากยบุตร สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    ไขข้อสงสัย พระภิกษุสงฆ์ รับ “เงินทอง” ได้หรือไม่ตามพระไตรปิฎก - thenirvanalive.com
    การรับเงินและทองเอง แต่ทว่าจงอย่ายินดีในเงินและทองนั้นว่าเป็นทรัพย์สินของเราโดยเฉพาะ พึงทำใจของเราให้มีความรู้สึกอยู่เสมอว่าเวลานี้
    0 Comments 0 Shares 61 Views 0 Reviews
  • ท่านชอบพุทธศาสนา ในเหลี่ยมไหน

    ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า "ศาสนา" เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น

    พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า "อะไร" อะไร" เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา

    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค" ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย

    พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ

    เรื่อง "กฐิน" ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ " คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง

    สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน .com
    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%8a%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%9e%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%99%e0%b8%b2-%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a5%e0%b8%b5/
    ท่านชอบพุทธศาสนา ในเหลี่ยมไหน ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า "ศาสนา" เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า "อะไร" อะไร" เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค" ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ เรื่อง "กฐิน" ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ " คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน .com https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%8a%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%9e%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%99%e0%b8%b2-%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a5%e0%b8%b5/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน
    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน
    0 Comments 0 Shares 103 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 676
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง
    ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ
    ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค
    อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ
    ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค

    #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    สองอย่างนี้แล.

    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง
    ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ
    สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง),
    สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง)
    สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง),
    สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง)
    สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 676 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง), สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง), สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    -หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และการประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง) สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง) สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง). ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร-
    0 Comments 0 Shares 214 Views 0 Reviews
  • ที่อโคจร
    ร้อนด้วยกิเลส
    ทุกข์ภัยอาเพศ
    เหตุมีเลวร้าย

    ที่ใดมีธรรม
    นำโคจรได้
    โอภาปราศรัย
    ให้เหตุดีงาม

    ความจริงเป็นธรรม
    กำหนดรู้ตาม
    ชำระเลวทราม
    งามถึงจิตใจ

    ทิฐิมานะ
    ลดละนิ่งได้
    จิตไม่หวั่นไหว
    ได้ปัญญาธรรม

    รู้ธรรมความจริง
    ยิ่งรู้ดื่มด่ำ
    ยิ่งเจริญธรรม
    บำรุงถึงจิต

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ้งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    ที่อโคจร ร้อนด้วยกิเลส ทุกข์ภัยอาเพศ เหตุมีเลวร้าย ที่ใดมีธรรม นำโคจรได้ โอภาปราศรัย ให้เหตุดีงาม ความจริงเป็นธรรม กำหนดรู้ตาม ชำระเลวทราม งามถึงจิตใจ ทิฐิมานะ ลดละนิ่งได้ จิตไม่หวั่นไหว ได้ปัญญาธรรม รู้ธรรมความจริง ยิ่งรู้ดื่มด่ำ ยิ่งเจริญธรรม บำรุงถึงจิต ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ้งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 81 Views 0 Reviews
  • บทบาทหน้าที่
    มีอำนาจธรรม
    ความจริงดื่มด่ำ
    ทำให้ร่มเย็น

    มีอนิจจัง
    ทุกขังรู้เห็น
    ดับเหตุให้เป็น
    ร่มเย็นเป็นธรรม

    หากไม่รู้ทุกข์
    ปลุกเหตุกรรมซ้ำ
    ยิ่งยึดรำกำ
    ซ้ำทุกข์ทวี

    ชีวีหาบหาม
    ตามเหตุผลมี
    ทำดีได้ดี
    มีชั่วได้ชั่ว

    ทางธรรมสว่าง
    ทางโลกหมองมัว
    ทางดีทางชั่ว
    พัวพันเลือกเอา

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    บทบาทหน้าที่ มีอำนาจธรรม ความจริงดื่มด่ำ ทำให้ร่มเย็น มีอนิจจัง ทุกขังรู้เห็น ดับเหตุให้เป็น ร่มเย็นเป็นธรรม หากไม่รู้ทุกข์ ปลุกเหตุกรรมซ้ำ ยิ่งยึดรำกำ ซ้ำทุกข์ทวี ชีวีหาบหาม ตามเหตุผลมี ทำดีได้ดี มีชั่วได้ชั่ว ทางธรรมสว่าง ทางโลกหมองมัว ทางดีทางชั่ว พัวพันเลือกเอา ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 82 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อริยมรรครวมอยู่ในฐานแห่ง พรหมจรรย์และกัลยาณวัตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 1038
    ชื่อบทธรรม :- อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา(#โพธิปักขิยธรรม ๓๗)
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใดที่เราแสดงแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง;
    ธรรมเหล่านั้น พวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก
    โดยอาการที่พรหมจรรย์ (คือศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน.
    https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    ข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน
    เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก.
    เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท.! ธรรมเหล่าไหนเล่า ที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง
    ซึ่งพวกเธอควรเรียนเอาให้ดี
    เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย?
    ธรรมเหล่านั้น คือ (โพธิปักขิยธรรม ๓๗)
    +--สติปัฏฐานสี่(๔) สัมมัปปธานสี่(๔) อิทธิบาทสี่(๔)= (๑๒)
    +--อินทรีย์ห้า(๕) พละห้า(๕)= (๑๐)
    +--โพชฌงค์เจ็ด(๗) อริยมรรคมีองค์แปด(๘)=(๑๕)
    https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ
    ธรรมที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง
    อันพวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก
    โดยอาการที่ พรหมจรรย์ (ศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน;
    https://etipitaka.com/read/pali/10/141/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    และข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน
    เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล
    เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย.

    ---ไทย มหา. ที. 10/99/107.
    https://etipitaka.com/read/pali/10/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97
    ---บาลี​ มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗.
    https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97

    (อัฏฐังคิกมรรคในฐานกัลยาณวัตรที่ทรงฝากไว้)​
    --อานนท์ ! ก็ กัลยาณวัตรอันเราตั้งไว้ในกาลนี้ นี้
    เป็นไปเพื่อความ เบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับ เพื่อความสงบระงับ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --อานนท์ ! กัลยาณวัตรนี้ เป็นอย่างไรเล่า ?
    นี้คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค, กล่าวคือ
    https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าวกะเธอ
    โดยประการ ที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้
    https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=กลฺยาณํ+วตฺตํ
    : เธอทั้งหลาย อย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.
    --อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด ;
    บุรุษนั้นชื่อว่าบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย.
    --อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าว (ย้ำ) กะเธอ
    โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้
    : เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/324/463.
    https://etipitaka.com/read/thai/13/324/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.
    https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1038
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อริยมรรครวมอยู่ในฐานแห่ง พรหมจรรย์และกัลยาณวัตร สัทธรรมลำดับที่ : 1038 ชื่อบทธรรม :- อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา(#โพธิปักขิยธรรม ๓๗) --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใดที่เราแสดงแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง; ธรรมเหล่านั้น พวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่พรหมจรรย์ (คือศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน. https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=พฺรหฺมจริยํ ข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก. เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. --ภิกษุ ท.! ธรรมเหล่าไหนเล่า ที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ซึ่งพวกเธอควรเรียนเอาให้ดี เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย? ธรรมเหล่านั้น คือ (โพธิปักขิยธรรม ๓๗) +--สติปัฏฐานสี่(๔) สัมมัปปธานสี่(๔) อิทธิบาทสี่(๔)= (๑๒) +--อินทรีย์ห้า(๕) พละห้า(๕)= (๑๐) +--โพชฌงค์เจ็ด(๗) อริยมรรคมีองค์แปด(๘)=(๑๕) https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ ธรรมที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง อันพวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่ พรหมจรรย์ (ศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน; https://etipitaka.com/read/pali/10/141/?keywords=พฺรหฺมจริยํ และข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. ---ไทย มหา. ที. 10/99/107. https://etipitaka.com/read/pali/10/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97 ---บาลี​ มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗. https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97 (อัฏฐังคิกมรรคในฐานกัลยาณวัตรที่ทรงฝากไว้)​ --อานนท์ ! ก็ กัลยาณวัตรอันเราตั้งไว้ในกาลนี้ นี้ เป็นไปเพื่อความ เบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับ เพื่อความสงบระงับ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. --อานนท์ ! กัลยาณวัตรนี้ เป็นอย่างไรเล่า ? นี้คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค, กล่าวคือ https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าวกะเธอ โดยประการ ที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=กลฺยาณํ+วตฺตํ : เธอทั้งหลาย อย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย. --อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด ; บุรุษนั้นชื่อว่าบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย. --อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าว (ย้ำ) กะเธอ โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ : เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/324/463. https://etipitaka.com/read/thai/13/324/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓. https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1038 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา--(โพธิปักขิยธรรม ๓๗)
    -(ตรัสว่า ทรงแสดงธรรมโดย ๓ ลักษณะ คือย่อ พิสดาร ทั้งย่อและพิสดาร แล้วก็ทรงแสดงลักษณะแห่งการปฏิบัติไว้ ๓ ลักษณะ คือทำให้ไม่มีอหังการมมังการ ในกายนี้; ไม่มีอหังการมมังการ ในนิมิตภายนอกทั้งปวง; และการเข้าอยู่ในเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติที่ ไม่มีอหังการมมังการ. นี่พอจะเห็นได้ว่า โดยย่อก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในกายนี้, โดยพิสดารก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในนิมิตภายนอกทั่วไป, ที่ทั้งโดยย่อและพิสดารก็คือเข้าอยู่ในวิมุตติที่ไม่มีอหังการมมังการ. รวมความว่า จะโดยย่อหรือโดยพิสดารหรือทั้งโดยย่อ และพิสดาร ก็มุ่งไปสู่ความไม่มีแห่งอหังการมมังการด้วยกันทั้งนั้น. นี่พอที่จะถือเป็นหลักได้ว่า ข้อปฏิบัติอย่างไรและเท่าไร ระดับไหน ก็ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายอหังการมมังการมานานุสัย (ความสำคัญว่าตัวกู – ของกู) ด้วยกันทั้งนั้น. ในที่นี้ถือว่า อัฏฐังคิกมรรค จะในระดับไหน ก็ตาม ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายเสียซึ่งอหังการมมังการเป็นหลักสำคัญ จึงนำข้อความนี้มาใส่ไว้ ในหมวดนี้). อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา (โพธิปักขิยธรรม ๓๗) ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใดที่เราแสดงแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง; ธรรมเหล่านั้น พวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่พรหมจรรย์ (คือศาสนา) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน. ข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์ โลก. เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. ภิกษุ ท.! ธรรมเหล่าไหนเล่า ที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ซึ่งพวกเธอควรเรียนเอาให้ดี . . . . ฯลฯ . . . . เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย? ธรรมเหล่านั้น คือ สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ อินทรีย์ห้า พละห้า โพชฌงค์เจ็ด อริยมรรคมีองค์แปด. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ ธรรมที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง อันพวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่ พรหมจรรย์ (ศาสนา) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน; และข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. – มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗. อัฏฐังคิกมรรคในฐานกัลยาณวัตรที่ทรงฝากไว้ อานนท์ ! ก็ กัลยาณวัตรอันเราตั้งไว้ในกาลนี้ นี้ เป็นไปเพื่อความ เบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับ เพื่อความสงบระงับ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. อานนท์ ! กัลยาณวัตรนี้ เป็นอย่างไรเล่า ? นี้คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ่ อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าวกะเธอ โดยประการ ที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ : เธอทั้งหลาย อย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย. อานนท์ ! ความขากสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด ; บุรุษนั้นชื่อว่าบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย. อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าว (ย้ำ) กะเธอ โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ : เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.
    0 Comments 0 Shares 189 Views 0 Reviews
  • กิเลสกรรมชั่ว
    กลัวธรรมความจริง
    กลัวถูกทอดทิ้ง
    ยิ่งพาวุ่นวาย

    ภาษากิเลส
    ก่อเหตุมากมาย
    เดือดร้อนดั่งไฟ
    พิษภัยกระจาย

    ศีลธรรมกรรมดี
    มีหากลัวไม่
    ความจริงยิ่งได้
    ให้คุณมากมาย

    ไม่กลัวธรรมจริง
    ยิ่งดีอาศัย
    ดับทุกข์พิษภัย
    ให้สว่างใจ

    ใจดีสว่าง
    ทางธรรมอาศัย
    พอเพียงพอใจ
    ไร้ทุกข์แผ้วพาน

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    กิเลสกรรมชั่ว กลัวธรรมความจริง กลัวถูกทอดทิ้ง ยิ่งพาวุ่นวาย ภาษากิเลส ก่อเหตุมากมาย เดือดร้อนดั่งไฟ พิษภัยกระจาย ศีลธรรมกรรมดี มีหากลัวไม่ ความจริงยิ่งได้ ให้คุณมากมาย ไม่กลัวธรรมจริง ยิ่งดีอาศัย ดับทุกข์พิษภัย ให้สว่างใจ ใจดีสว่าง ทางธรรมอาศัย พอเพียงพอใจ ไร้ทุกข์แผ้วพาน ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 111 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1036
    ชื่อบทธรรม :- อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์
    --อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ไม่ดิ่ง ไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพาน.
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติอันเป็น หนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ นี่เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    แปดประการ คืออะไรเล่า ? คือ
    ความเห็นที่ถูกต้อง ความดำริที่ถูกต้อง
    การพูดจาที่ถูกต้อง การทำการงานที่ถูกต้อง การดำรงชีพที่ถูกต้อง
    ความพากเพียรที่ถูกต้อง ความรำลึกที่ถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ #ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง (มชฺฌิมา ปฏิปทา)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติ ทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความ สงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง
    เพื่อ ความตรัสรู้พร้อม เพื่อ #นิพพาน.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1036
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง สัทธรรมลำดับที่ : 1036 ชื่อบทธรรม :- อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์ --อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ไม่ดิ่ง ไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพาน. --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็น หนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค แปดประการ คืออะไรเล่า ? คือ ความเห็นที่ถูกต้อง ความดำริที่ถูกต้อง การพูดจาที่ถูกต้อง การทำการงานที่ถูกต้อง การดำรงชีพที่ถูกต้อง ความพากเพียรที่ถูกต้อง ความรำลึกที่ถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง. --ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ #ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง (มชฺฌิมา ปฏิปทา)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติ ทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความ สงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อ ความตรัสรู้พร้อม เพื่อ #นิพพาน.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1036 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์
    -หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์ อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่ง ไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพาน. ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็น หนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. แปดประการ คืออะไรเล่า ? คือความเห็นที่ถูกต้อง ความดำริที่ถูกต้อง การพูดจาที่ถูกต้อง การทำการงานที่ถูกต้อง การดำรงชีพที่ถูกต้อง ความพากเพียรที่ถูกต้อง ความรำลึกที่ถูกต้อง ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง. ภิกษุ ท. ! นี้แล คือข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติ ทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความ สงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อ ความตรัสรู้พร้อม เพื่อ นิพพาน.
    0 Comments 0 Shares 185 Views 0 Reviews
  • 🙏🏻✨️ #คำอธิษฐาน (นำไปใช้นะคะ)

    #สำหรับ​คำอธิษฐาน​นะโยมนะ​
    บางคนใช้คำอธิ​ษฐาน​นานเหลือเกิน​
    อธ​ิษฐานไม่ต้องมาก​ ใช้เพียงย่อ ๆ​
    จะทำบุญ​ที่ไหนก็ตาม​
    หรือบูชาพระแล้วก็ตาม​ อธิฐาน​ว่าอย่างงี้

    ผลบุญ​ใดที่ข้าพเจ้าทำแล้วในวันนี้
    ขอผลบุญ​นี้​จงเป็นปัจจัย​
    ให้ข้าพเจ้า​เข้าถึง​พระนิพพาน​ในชาติ​นี้​
    ถ้ายังไม่ถึงพระนิพพาน​เพียงใด​

    ️ขอคำว่า​ "ไม่​มี"
    จงอย่าปรากฏ​แก่ข้าพเจ้า​
    ตั้งแต่บัดนี้​เป็นต้นไปจนกว่าจะเข้านิพพาน

    เพียง​เท่านี้บรรดา​ญาติ​โยมพุทธ​บริษัท​
    ตามแบบฉบับ​ของ #พระอนุรุทธะ
    ท่านอธิฐาน​อย่างนี้​
    ความไม่มีจึงไม่ปรากฏ​กับท่าน
    .
    การจะอุทิศ​ส่วนกุศล​ให้แก่ใคร​
    ให้นึกในใจว่า ..
    .
    ผลบุญ​ใดที่ฉันทำแล้วในวันนี้​
    จะพึงมีประโยชน์​แก่ฉันเพียงใด​
    ขอท่านผู้นั้น จงมาโมทนารับผล
    เช่นเดียวกับฉัน​ ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป​
    .
    🚩หรือ​ ผลบุญ​ใดที่ฉันบำเพ็ญ​มาแล้ว
    ตั้งแต่​ต้นจนกระทั้งปัจจุบัน​
    จะมีประโยชน์​และความสุขกับฉันเพียงใด​
    ขอเธอจงโมทนารับผลเช่นเดียวกับ​ฉัน​
    ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป
    .
    อุทิศ​ให้คนตาย​
    ท่านบอกให้ใช้ภาษา​ไทยชัด ๆ สั้น ๆ​
    อย่ายาวไม่ต้อง "อิมินา"
    ถ้ายาวไม่ทัน​
    ดีไม่ดีพวกลากคอไปอีก

    พระธรรม​คำสอน​หลวงพ่อ​พระราช​พรหมยาน​
    หนังสือ​ พ่อสอนลูก​ หน้าที่ ๓๐๑-๓๐๒
    🙏🏻✨️ #คำอธิษฐาน (นำไปใช้นะคะ) #สำหรับ​คำอธิษฐาน​นะโยมนะ​ บางคนใช้คำอธิ​ษฐาน​นานเหลือเกิน​ อธ​ิษฐานไม่ต้องมาก​ ใช้เพียงย่อ ๆ​ จะทำบุญ​ที่ไหนก็ตาม​ หรือบูชาพระแล้วก็ตาม​ อธิฐาน​ว่าอย่างงี้ 🚩ผลบุญ​ใดที่ข้าพเจ้าทำแล้วในวันนี้ ขอผลบุญ​นี้​จงเป็นปัจจัย​ ให้ข้าพเจ้า​เข้าถึง​พระนิพพาน​ในชาติ​นี้​ ถ้ายังไม่ถึงพระนิพพาน​เพียงใด​ 🚩️ขอคำว่า​ "ไม่​มี" จงอย่าปรากฏ​แก่ข้าพเจ้า​ ตั้งแต่บัดนี้​เป็นต้นไปจนกว่าจะเข้านิพพาน เพียง​เท่านี้บรรดา​ญาติ​โยมพุทธ​บริษัท​ ตามแบบฉบับ​ของ #พระอนุรุทธะ​ ท่านอธิฐาน​อย่างนี้​ ความไม่มีจึงไม่ปรากฏ​กับท่าน . การจะอุทิศ​ส่วนกุศล​ให้แก่ใคร​ ให้นึกในใจว่า .. . 🚩ผลบุญ​ใดที่ฉันทำแล้วในวันนี้​ จะพึงมีประโยชน์​แก่ฉันเพียงใด​ ขอท่านผู้นั้น จงมาโมทนารับผล เช่นเดียวกับฉัน​ ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป​ . 🚩หรือ​ ผลบุญ​ใดที่ฉันบำเพ็ญ​มาแล้ว ตั้งแต่​ต้นจนกระทั้งปัจจุบัน​ จะมีประโยชน์​และความสุขกับฉันเพียงใด​ ขอเธอจงโมทนารับผลเช่นเดียวกับ​ฉัน​ ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป . อุทิศ​ให้คนตาย​ ท่านบอกให้ใช้ภาษา​ไทยชัด ๆ สั้น ๆ​ อย่ายาวไม่ต้อง "อิมินา" ถ้ายาวไม่ทัน​ ดีไม่ดีพวกลากคอไปอีก พระธรรม​คำสอน​หลวงพ่อ​พระราช​พรหมยาน​ หนังสือ​ พ่อสอนลูก​ หน้าที่ ๓๐๑-๓๐๒
    0 Comments 0 Shares 131 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด
    สัทธรรมลำดับที่ : 666
    ชื่อบทธรรม :- วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=666
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด
    --เมฆิยะ ! ธรรมทั้งหลาย ๕ ประการ เป็นไปเพื่อความสุกรอบ (ปริปาก) ของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการคือ :-
    ๑. เมฆิยะ ! ในกรณีนี้ ภิกษุเป็นผู้มีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนดี
    : เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อหนึ่ง เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ.
    ๒. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก, คือภิกษุเป็นผู้มีศีล สำรวมแล้วด้วยการสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณน้อย สมาทานอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย :
    +--เมฆิยะ ! นี้ เป็นธรรมข้อที่สอง เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ.
    ๓. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก, คือ ภิกษุเป็นผู้ได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งธรรมกถาอันเป็นเครื่องขัดเกลากิเลสอย่างยิ่ง เป็นที่สบาย แก่การเปิดโล่งแห่งจิต คือ
    อัปปิจฉกถา (ให้ปรารถนาน้อย)
    สันตุฏฐิกถา (ให้สันโดษ)
    ปวิเวกกถา (ให้สงัด)
    อสังสัคคกถา (ให้ไม่คลุกคลีด้วยหมู่)
    วิริยารัมภกถา (ให้ปรารภเพียร)
    สีลกถา (ให้มีศีล)
    สมาธิกถา (ให้มีสมาธิ)
    ปัญญากถา (ให้มีปัญญา)
    วิมุตติกถา (ให้เกิดวิมุตติ)
    วิมุตติญาณทัสสนกถา (ให้เกิดวิมุตติญาณทัสสนะ) :
    +--เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่สาม เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ.
    ๔. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก คือภิกษุเป็นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม
    เป็นผู้มีกำลังมีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย :
    +--เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่สี่ เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ.
    ๕. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก คือภิกษุ เป็นผู้ มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ :
    +--เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่ห้า เป็นไปเพื่อความสุกรอบแห่งเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ.

    --เมฆิยะ ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีมิตรดี สหายดี เพื่อนดี,
    ต่อไปนี้เป็นสิ่งที่เธอพึงหวังได้ คือ
    จักเป็นผู้มีศีล ฯลฯ,
    จักได้โดยง่ายซึ่งธรรมกถา ฯลฯ,
    จักเป็นผู้ปรารภความเพียร ฯลฯ,
    จักเป็นผู้มีปัญญา ฯลฯ.
    +--เมฆิยะ ! ภิกษุนั้น ตั้งอยู่ในธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล้ว

    พึงเจริญธรรมสี่ประการให้ยิ่งขึ้นไป คือ :-
    ๑--เจริญ อสุภะ เพื่อ ละราคะ.
    ๒--เจริญ เมตตา เพื่อ ละพยาบาท.
    ๓--เจริญ อานาปานสติ เพื่อ ตัดเสียซึ่งวิตก.
    ๔--เจริญ อนิจจสัญญา เพื่อ ถอนอัส๎มิมานะ ;
    กล่าวคือ
    เมื่อเจริญอนิจจสัญญา อนัตตาสัญญาย่อมมั่นคง.
    ผู้มีอนัตตสัญญา ย่อมถึงซึ่งการถอนอัส๎มิมานะ คือ #นิพพานในทิฏฐธรรม
    นั่นเทียว.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/371/?keywords=ทิฏฺเฐว+ธมฺเม+นิพฺพานนฺติ
    (--ธรรมะ ๕ ประการแห่งสูตรนี้เรียกในสูตรนี้ว่า “#เครื่องบ่มวิมุตติ”
    ในสูตรอื่น (นวก. อํ. ๒๓/๓๖๔/๒๐๕)
    http://etipitaka.com/read/pali/23/364/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    เรียกว่า “#ที่ตั้งอาศัยแห่งการเจริญสัมโพธิปักขิยธรรม” ก็มี
    )

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/288/207.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/288/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๓๖๙/๒๐๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/366/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=666
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=666
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46
    ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด สัทธรรมลำดับที่ : 666 ชื่อบทธรรม :- วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=666 เนื้อความทั้งหมด :- --วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด --เมฆิยะ ! ธรรมทั้งหลาย ๕ ประการ เป็นไปเพื่อความสุกรอบ (ปริปาก) ของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการคือ :- ๑. เมฆิยะ ! ในกรณีนี้ ภิกษุเป็นผู้มีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนดี : เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อหนึ่ง เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๒. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก, คือภิกษุเป็นผู้มีศีล สำรวมแล้วด้วยการสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณน้อย สมาทานอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย : +--เมฆิยะ ! นี้ เป็นธรรมข้อที่สอง เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๓. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก, คือ ภิกษุเป็นผู้ได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งธรรมกถาอันเป็นเครื่องขัดเกลากิเลสอย่างยิ่ง เป็นที่สบาย แก่การเปิดโล่งแห่งจิต คือ อัปปิจฉกถา (ให้ปรารถนาน้อย) สันตุฏฐิกถา (ให้สันโดษ) ปวิเวกกถา (ให้สงัด) อสังสัคคกถา (ให้ไม่คลุกคลีด้วยหมู่) วิริยารัมภกถา (ให้ปรารภเพียร) สีลกถา (ให้มีศีล) สมาธิกถา (ให้มีสมาธิ) ปัญญากถา (ให้มีปัญญา) วิมุตติกถา (ให้เกิดวิมุตติ) วิมุตติญาณทัสสนกถา (ให้เกิดวิมุตติญาณทัสสนะ) : +--เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่สาม เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๔. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก คือภิกษุเป็นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม เป็นผู้มีกำลังมีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย : +--เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่สี่ เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๕. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก คือภิกษุ เป็นผู้ มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ : +--เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่ห้า เป็นไปเพื่อความสุกรอบแห่งเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. --เมฆิยะ ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีมิตรดี สหายดี เพื่อนดี, ต่อไปนี้เป็นสิ่งที่เธอพึงหวังได้ คือ จักเป็นผู้มีศีล ฯลฯ, จักได้โดยง่ายซึ่งธรรมกถา ฯลฯ, จักเป็นผู้ปรารภความเพียร ฯลฯ, จักเป็นผู้มีปัญญา ฯลฯ. +--เมฆิยะ ! ภิกษุนั้น ตั้งอยู่ในธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล้ว พึงเจริญธรรมสี่ประการให้ยิ่งขึ้นไป คือ :- ๑--เจริญ อสุภะ เพื่อ ละราคะ. ๒--เจริญ เมตตา เพื่อ ละพยาบาท. ๓--เจริญ อานาปานสติ เพื่อ ตัดเสียซึ่งวิตก. ๔--เจริญ อนิจจสัญญา เพื่อ ถอนอัส๎มิมานะ ; กล่าวคือ เมื่อเจริญอนิจจสัญญา อนัตตาสัญญาย่อมมั่นคง. ผู้มีอนัตตสัญญา ย่อมถึงซึ่งการถอนอัส๎มิมานะ คือ #นิพพานในทิฏฐธรรม นั่นเทียว.- http://etipitaka.com/read/pali/23/371/?keywords=ทิฏฺเฐว+ธมฺเม+นิพฺพานนฺติ (--ธรรมะ ๕ ประการแห่งสูตรนี้เรียกในสูตรนี้ว่า “#เครื่องบ่มวิมุตติ” ในสูตรอื่น (นวก. อํ. ๒๓/๓๖๔/๒๐๕) http://etipitaka.com/read/pali/23/364/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 เรียกว่า “#ที่ตั้งอาศัยแห่งการเจริญสัมโพธิปักขิยธรรม” ก็มี ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/288/207. http://etipitaka.com/read/thai/23/288/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๓๖๙/๒๐๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/366/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=666 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=666 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46 ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด
    -วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด เมฆิยะ ! ธรรมทั้งหลาย ๕ ประการ เป็นไปเพื่อความสุกรอบ (ปริปาก) ของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการคือ : ๑. เมฆิยะ ! ในกรณีนี้ ภิกษุเป็นผู้มีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนดี : เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อหนึ่ง เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๒. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก, คือภิกษุเป็นผู้มีศีล สำรวมแล้วด้วยการสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณน้อย สมาทานอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย : เมฆิยะ ! นี้ เป็นธรรมข้อที่สอง เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๓. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก, คือ ภิกษุเป็นผู้ได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งธรรมกถาอันเป็นเครื่องขัดเกลากิเลสอย่างยิ่ง เป็นที่สบาย แก่การเปิดโล่งแห่งจิต คืออัปปิจฉกถา (ให้ปรารถนาน้อย) สันตุฏฐิกถา (ให้สันโดษ) ปวิเวกกถา (ให้สงัด) อสังสัคคกถา (ให้ไม่คลุกคลีด้วยหมู่) วิริยารัมภกถา (ให้ปรารภเพียร) สีลกถา (ให้มีศีล) สมาธิกถา (ให้มีสมาธิ) ปัญญากถา (ให้มีปัญญา) วิมุตติกถา (ให้เกิดวิมุตติ) วิมุตติญาณทัสสนกถา (ให้เกิดวิมุตติญาณทัสสนะ) : เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่สาม เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๔. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก คือภิกษุเป็นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย : เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่สี่ เป็นไปเพื่อความสุกรอบของเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. ๕. เมฆิยะ ! ข้ออื่นยังมีอีก คือภิกษุ เป็นผู้ มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ : เมฆิยะ ! นี้เป็นธรรมข้อที่ห้า เป็นไปเพื่อความสุกรอบแห่งเจโตวิมุตติที่ยังไม่สุกรอบ. เมฆิยะ ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีมิตรดี สหายดี เพื่อนดี, ต่อไปนี้เป็นสิ่งที่เธอพึงหวังได้ คือจักเป็นผู้มีศีล ฯลฯ, จักได้โดยง่ายซึ่งธรรมกถา ฯลฯ, จักเป็นผู้ปรารภความเพียร ฯลฯ, จักเป็นผู้มีปัญญา ฯลฯ. เมฆิยะ ! ภิกษุนั้น ตั้งอยู่ในธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล้ว พึงเจริญธรรมสี่ประการให้ยิ่งขึ้นไป คือ : เจริญ อสุภะ เพื่อ ละราคะ. เจริญ เมตตา เพื่อ ละพยาบาท. เจริญ อานาปานสติ เพื่อ ตัดเสียซึ่งวิตก. เจริญ อนิจจสัญญา เพื่อ ถอนอัส๎มิมานะ ; กล่าวคือ เมื่อเจริญอนิจจสัญญา อนัตตาสัญญาย่อมมั่นคง. ผู้มีอนัตตสัญญา ย่อมถึงซึ่งการถอนอัส๎มิมานะ คือ นิพพานในทิฏฐธรรม นั่นเทียว.
    0 Comments 0 Shares 215 Views 0 Reviews
  • เกิดมารอดอยู่
    รู้คุณอาศัย
    ความดีขวนขวาย
    ให้กรรมอาศัย

    มีธรรมความจริง
    ยิ่งพาขวนขวาย
    ครรลองมุ่งหมาย
    ไร้ทุกข์โทษภัย

    จิตธรรมสูงส่ง
    ทรงคุณมากมาย
    ผุดผ่องเมื่อไร
    ได้สุขแท้จริง

    ยามนี้ยังอยู่
    รู้ธรรมพึ่งพิง
    ให้พร้อมทุกสิ่ง
    ทิ้งเป็นทิ้งตาย

    ทางธรรมประเสริฐ
    เกิดมาขวนขวาย
    ยิ่งทำยิ่งได้
    ให้สว่างจริง

    ขอให้พบธรรมความดี ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    เกิดมารอดอยู่ รู้คุณอาศัย ความดีขวนขวาย ให้กรรมอาศัย มีธรรมความจริง ยิ่งพาขวนขวาย ครรลองมุ่งหมาย ไร้ทุกข์โทษภัย จิตธรรมสูงส่ง ทรงคุณมากมาย ผุดผ่องเมื่อไร ได้สุขแท้จริง ยามนี้ยังอยู่ รู้ธรรมพึ่งพิง ให้พร้อมทุกสิ่ง ทิ้งเป็นทิ้งตาย ทางธรรมประเสริฐ เกิดมาขวนขวาย ยิ่งทำยิ่งได้ ให้สว่างจริง ขอให้พบธรรมความดี ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 76 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 665
    ชื่อบทธรรม :- ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ไม่มีการระคนด้วยหมู่เป็นที่มายินดี
    ไม่ยินดีในการระคนด้วยหมู่
    ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในการระคนด้วยหมู่
    ไม่มีคณะเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในคณะ
    ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในคณะแล้ว
    #จักเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวก (ความสงัดถึงที่สุด)
    http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=เอโก+ปวิเวเก
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--เมื่อเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวกอยู่
    จักถือเอาซึ่ง ๑.นิมิตสำหรับจิตได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--เมื่อถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้อยู่
    จักทำ ๒.สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิได้บริบูรณ์แล้ว
    จักทำ ๓.สัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--ครั้นทำสัมมาสมาธิได้บริบูรณ์แล้ว
    จัก ๔.ละสังโยชน์ทั้งหลายได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--ครั้นละสังโยชน์ทั้งหลายได้แล้ว
    จักทำให้ ๕.#แจ้งซึ่งนิพพานได้
    http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=นิพฺพาน
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/375/339.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/375/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๒๗๒/๓๓๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=665
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46
    ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 665 ชื่อบทธรรม :- ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ไม่มีการระคนด้วยหมู่เป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่มีคณะเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในคณะ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในคณะแล้ว #จักเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวก (ความสงัดถึงที่สุด) http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=เอโก+ปวิเวเก ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--เมื่อเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวกอยู่ จักถือเอาซึ่ง ๑.นิมิตสำหรับจิตได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--เมื่อถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้อยู่ จักทำ ๒.สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิได้บริบูรณ์แล้ว จักทำ ๓.สัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--ครั้นทำสัมมาสมาธิได้บริบูรณ์แล้ว จัก ๔.ละสังโยชน์ทั้งหลายได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--ครั้นละสังโยชน์ทั้งหลายได้แล้ว จักทำให้ ๕.#แจ้งซึ่งนิพพานได้ http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=นิพฺพาน ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/375/339. http://etipitaka.com/read/thai/22/375/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๒๗๒/๓๓๙. http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=665 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46 ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ข้อความที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ดูหนังสือปฏิจจ. โอ. ที่หน้า ๖๐๕-๖๑๑ โดยหัวข้อว่า “ปฏิจจสมุปบาทแห่งปปัจสัญญา ฯ).
    -(ข้อความที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ดูหนังสือปฏิจจ. โอ. ที่หน้า ๖๐๕-๖๑๑ โดยหัวข้อว่า “ปฏิจจสมุปบาทแห่งปปัจสัญญา ฯ). ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ไม่มีการระคนด้วยหมู่เป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่มีคณะเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในคณะ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในคณะแล้ว จักเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวก (ความสงัดถึงที่สุด) ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวกอยู่ จักถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้อยู่ จักทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; ครั้นทำสัมมาทิฏฐิได้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; ครั้นทำสัมมาสมาธิได้บริบูรณ์แล้ว จักละสังโยชน์ทั้งหลายได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; ครั้นละสังโยชน์ทั้งหลายได้แล้ว จักทำให้แจ้งซึ่งนิพพานได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 141 Views 0 Reviews
  • ประเทศมั่นคง
    ทรงคุณศีลธรรม
    สร้างกุศลกรรม
    ทำให้เจริญ

    นิติรัฐมี
    ดีพาก้าวเดิน
    คุมไม่ห่างเหิน
    เชิญมาอาศัย

    กฎหมายธำรง
    ทรงธรรมมุ่งหมาย
    หยุดความจัญไร
    ให้ร้ายดับไป

    พลังกายใจ
    ให้ดีเอาไว้
    งานการขวนขวาย
    ให้จบด้วยดี

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    ประเทศมั่นคง ทรงคุณศีลธรรม สร้างกุศลกรรม ทำให้เจริญ นิติรัฐมี ดีพาก้าวเดิน คุมไม่ห่างเหิน เชิญมาอาศัย กฎหมายธำรง ทรงธรรมมุ่งหมาย หยุดความจัญไร ให้ร้ายดับไป พลังกายใจ ให้ดีเอาไว้ งานการขวนขวาย ให้จบด้วยดี ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 69 Views 0 Reviews
  • เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง

    ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด

    หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ
    พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้  

    มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข
    AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม

    การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม
    AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา  

    สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ
    การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้  

    AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน
    แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)  

    การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก
    AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ  

    หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI
    ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI  

    นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด  

    พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม

    มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม
    แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม

    ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา
    คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง  

    เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม
    ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต  

    ความยึดมั่นถือมั่นและมายา
    แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้  

    ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม
    มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา  

    นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"  

    สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน

    จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:  

    1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว  

    2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง  

    3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น  

    4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา  

    #ลุงเขียนหลานอ่าน
    เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด ☸️☸️ หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้   🤖 มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา   👓 สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้   🙆‍♂️ AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)   🧪 การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ   ☸️ หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI   นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด   พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม ‼️ มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม 👿 ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง   🛣️ เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต   🍷 ความยึดมั่นถือมั่นและมายา แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้   🤥 ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา   นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"   สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:   1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว   2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง   3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น   4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา   #ลุงเขียนหลานอ่าน
    0 Comments 0 Shares 451 Views 0 Reviews
  • เช้านี้แม่ครัว2เข้ามากราบที่บ่า
    บอกลูกว่าไม่เป็นไร ทุกสิ่งล้วนเป็นปกติ การพบของแต่ละรูปอาจต่างกันตามวิถี แต่เท่านั้นแดนนิพพาน นิพพานปัจจโยโหตุ
    เช้านี้แม่ครัว2เข้ามากราบที่บ่า บอกลูกว่าไม่เป็นไร ทุกสิ่งล้วนเป็นปกติ การพบของแต่ละรูปอาจต่างกันตามวิถี แต่เท่านั้นแดนนิพพาน นิพพานปัจจโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 40 Views 0 Reviews
  • ใดๆล้วน3ลักสิ้น
    นิพพานปัจจโยโหตุ
    ใดๆล้วน3ลักสิ้น นิพพานปัจจโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 41 Views 0 0 Reviews
More Results