• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    สัทธรรมลำดับที่ : 239
    ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ?
    สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?”
    --โลก ถูกตัณหาชักนำไป,
    --โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก
    สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183.
    http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก สัทธรรมลำดับที่ : 239 ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 เนื้อความทั้งหมด :- --เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” --โลก ถูกตัณหาชักนำไป, --โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183. http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    -(ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. - ๑๗/๑๙๒/๒๗๖). เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” โลก ถูกตัณหาชักนำไป, โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ ตัณหา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 238
    ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย
    ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก
    ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา)​
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา
    #ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ;
    ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.-

    (ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต
    --- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96
    ).

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่ สัทธรรมลำดับที่ : 238 ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 เนื้อความทั้งหมด :- --สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา)​ http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา #ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.- (ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต --- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖ http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96 ). #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286. http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    -สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า สักกายสมุทัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสักกายนิโรธความจางคลายดับไปไม่เหลือซึ่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 625
    ชื่อบทธรรม :- สักกายนิโรธ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สักกายนิโรธ
    --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความจางคลายดับไปไม่เหลือ ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปล่อย
    ความทำไม่ให้มีที่อาศัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นเอง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายนิโรโธ

    (ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้
    ตรัสเรียกว่า #ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธ.
    ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗)
    ตรัสเรียกว่า #สักกายนิโรธันตะ ก็มี
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายนิโรธนฺโต
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97
    ).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/151/289.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘​๗-๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=625
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสักกายนิโรธความจางคลายดับไปไม่เหลือซึ่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 625 ชื่อบทธรรม :- สักกายนิโรธ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625 เนื้อความทั้งหมด :- --สักกายนิโรธ --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความจางคลายดับไปไม่เหลือ ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปล่อย ความทำไม่ให้มีที่อาศัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นเอง. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธ.- http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายนิโรโธ (ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้ ตรัสเรียกว่า #ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธ. ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗) ตรัสเรียกว่า #สักกายนิโรธันตะ ก็มี http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายนิโรธนฺโต http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97 ). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/151/289. http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘​๗-๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=625 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น (มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘) ได้ตรัสไว้ว่า ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี).
    -(เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น (มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘) ได้ตรัสไว้ว่า ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี). สักกายนิโรธ ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความจางคลายดับไปไม่เหลือ ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปล่อย ความทำไม่ให้มีที่อาศัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นเอง. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สักกายนิโรธ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษานิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 237
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณาการแห่งตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด
    #เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    --- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91

    http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    --- ขนฺธ. สํ. ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%95

    +--#ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล
    http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=ตณฺหา
    ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น.
    เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว
    ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น.
    ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว,
    ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ*--๑
    ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น.

    ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น,
    เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป.
    +--ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย
    มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่,
    ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น
    อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา.
    +--กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง.
    เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่.
    ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย #ด้วยปัญญา.
    +--โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์,
    สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี,
    สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา.
    +--หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง)
    ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง
    เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น.
    สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.-

    *--๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/41/34.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/41/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๖๐/๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=237
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษานิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 237 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณาการแห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด #เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา --- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑; http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา --- ขนฺธ. สํ. ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%95 +--#ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=ตณฺหา ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น. เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น. ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว, ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ*--๑ ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น. ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น, เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป. +--ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่, ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา. +--กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง. เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่. ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย #ด้วยปัญญา. +--โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์, สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี, สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา. +--หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง) ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น. สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.- *--๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/41/34. http://etipitaka.com/read/thai/25/41/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๖๐/๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=237 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ____________ นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา (มี ๔๑ เรื่อง) ลักษณาการแห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ. ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑; และ ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕. ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น. เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น. ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว, ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ๑ ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น. ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น, เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป. ๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย. ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่, ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา. กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง. เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่. ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย ด้วยปัญญา. โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์, สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี, สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา. หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง) ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น. สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 236
    ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด
    เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    ได้แก่
    ตัณหาในกาม
    ตัณหาในความมีความเป็น
    ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ;
    นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 236 ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 เนื้อความทั้งหมด :- --อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680. http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๓
    -นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ จบ ภาค ๑ ว่าด้วยทุกขอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์ จบ คำชี้ชวนวิงวอน ____________ ภิกษุ ท. ! โยคกรรม อันเธอพึงกระทำ เพื่อให้รู้ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับสนิทแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์.” เทสิตํ โว มยา นิพฺพานํ เทสิโต นิพฺพานคามิมคฺโค นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอทั้งหลาย. กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี นี่แหละ วาจาเครื่องพร่ำสอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. (มหาวาร.สํ. - สฬา.สํ.) ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐ คือเหตุให้เกิดทุกข์ ภาค ๒ มีเรื่อง :- นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา ๔๑ เรื่อง นิทเทศ ๕ ว่าด้วยที่เกิดและการเกิดแห่งตัณหา ๕ เรื่อง นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์ ๓๑ เรื่อง นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฎฐิที่เกี่ยวกับตัณหา ๘ เรื่อง นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย ๑๕ เรื่อง อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ (มี ๓ นิทเทศ) __________ อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 992
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ
    การแสวงหากาม (กาเมสนา)
    การแสวงหาภพ (ภเวสนา)
    การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.
    อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ
    สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ...
    สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ .....
    สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ .....
    ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.

    [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้
    ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้
    ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี.
    +--สำหรับคำว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น
    ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ
    เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน
    หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน
    ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี.
    +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้
    หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส
    เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ.
    +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา)
    ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น
    สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน
    ได้แก่ : -
    +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา)
    ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ
    สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน
    คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.
    ]-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด สัทธรรมลำดับที่ : 992 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ..... ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. +--สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : - +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี. ]- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354. http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    -(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็นสัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบ หรือ มิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. -๒๑/๓๐๓/๒๐๖. ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี -๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, และ ทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี - ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบ หรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.) อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึงพรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือกาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วยกาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.]-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 63 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 624
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ;
    เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ;
    ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย.
    --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ.
    +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ;
    นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป.
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาติ,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน
    ).
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.-

    (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้
    ในสูตรอื่น
    [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘
    http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​
    ได้ตรัสไว้ว่า
    +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า
    สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ
    ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ สัทธรรมลำดับที่ : 624 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน ). --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.- (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘ http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​ ได้ตรัสไว้ว่า +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี ). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458. http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    -อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ ภิกษุ ท. ! .... ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 68 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะของความดับแห่งทุกข์(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 621
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า
    บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย,
    ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย,
    และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=อนุเสติ
    ในกาลใด ;
    ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย.
    เมื่ออารมณ์ ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ;
    เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว.
    เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ=ตัณหา) ย่อมไม่มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=นติ
    เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ ไม่มี, การมาการไป(อาคติคติ)ย่อมไม่มี;
    เมื่อการมาการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ อุปปาตะ) ย่อมไม่มี ;
    เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิด ไม่มี,
    ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้,
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/65/150.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/65/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๘๐/๑๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=621
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะของความดับแห่งทุกข์(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 621 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=อนุเสติ ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย. เมื่ออารมณ์ ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ=ตัณหา) ย่อมไม่มี ; http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=นติ เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ ไม่มี, การมาการไป(อาคติคติ)ย่อมไม่มี; เมื่อการมาการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ อุปปาตะ) ย่อมไม่มี ; เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิด ไม่มี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/65/150. http://etipitaka.com/read/thai/16/65/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๘๐/๑๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=621 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย. เมื่ออารมณ์ ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ=ตัณหา) ย่อมไม่มี ; เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ ไม่มี, การมาการไป(อาคติคติ)ย่อมไม่มี; เมื่อการมาการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ+อุปปาตะ) ย่อมไม่มี ; เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิด ไม่มี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 620
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคล
    ย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย,
    ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย,
    และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=อนุเสติ

    ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย
    เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ;
    เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว.
    การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี.
    เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/148.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=620
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    ฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 620 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคล ย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=อนุเสติ ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/148. http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=620 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 115 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 619
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    --ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการ
    (สฬายตนะ)​นั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ผสฺสายตนานํ
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/12/37.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/12/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๗/๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=619
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 619 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ --ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการ (สฬายตนะ)​นั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ผสฺสายตนานํ เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/12/37. http://etipitaka.com/read/thai/16/12/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๗/๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=619 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการนั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 119 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 222
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์
    เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
    รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก
    แห่งรูป ตามเป็นจริง
    ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข
    แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).-

    --คาถาท้ายพระสูตร--
    รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น
    อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด
    รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก
    สมมติว่าเป็นสุข
    ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น
    เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์
    ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ
    (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข
    การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย
    ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข
    เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้
    ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ
    เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ
    เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา
    ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้
    อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ
    ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ
    เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน
    บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 222 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).- --คาถาท้ายพระสูตร-- รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก สมมติว่าเป็นสุข ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์ ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์ บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์ พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้ ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้ อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน ฯ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216. http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    -ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ย่อม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุขแม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 191 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 985
    ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์
    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้
    และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ
    เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ
    และไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา
    และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ
    #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ สัทธรรมลำดับที่ : 985 ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 เนื้อความทั้งหมด :- --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ --ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​ http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59. http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความแตกต่างระหว่าง
    -ความแตกต่างระหว่าง คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนเขลาไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 617
    ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 617 ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402. http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    -เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี. ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 616
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:-
    )​
    เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ;
    การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ;
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;.
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).

    --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่.
    พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว
    ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :-
    --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ?
    --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ;
    เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ;
    เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้.
    --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 616 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:- )​ เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ). --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :- --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164. http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า :-) เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประจวบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น). โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า : ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? .... ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 180 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 216
    ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์,
    และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์”
    ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง
    ความเกิด เป็นทุกข์,
    ความแก่ เป็นทุกข์,
    ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์,
    ความตาย เป็นทุกข์,
    ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์,
    ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ;
    กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่,
    ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่,
    ที่คลายช้า มีอยู่,
    และที่คลายเร็ว มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้
    ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว
    ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ;
    หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า
    “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น
    ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 216 ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 เนื้อความทั้งหมด :- ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒
    -นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์ จบ นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ (มี ๑๘ เรื่อง) หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ความเป็นต่างกันของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ผลของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 231 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้นยิ่งใหญ่และครอบคลุม เป็นจุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ประโยชน์หลักๆ ได้แก่:

    - การหลุดพ้นจากทุกข์: นี่คือประโยชน์ที่สำคัญที่สุด นิพพานคือการดับทุกข์ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นทุกข์ทางกาย ทุกข์ทางใจ หรือทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิด ความทุกข์ทั้งหลายที่เกิดจากกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่นจะหมดสิ้นไป
    - ความสงบสุขที่แท้จริง: ผู้บรรลุนิพพานจะได้รับความสงบสุขอย่างแท้จริง เป็นความสงบที่ไม่ใช่เพียงแค่ความสงบชั่วคราว แต่เป็นความสงบที่ยั่งยืน ปราศจากความกังวล ความกลัว และความไม่แน่นอน
    - ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ: การบรรลุนิพพานหมายถึงการหลุดพ้นจากวงจรแห่งการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป เป็นการสิ้นสุดของการทนทุกข์ทรมานจากการเกิดใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
    - ความรู้แจ้งในธรรมชาติของความจริง: ผู้บรรลุนิพพานจะเข้าใจธรรมชาติของความจริงอย่างลึกซึ้ง เข้าใจไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) อย่างถ่องแท้ และสามารถมองโลกได้อย่างถูกต้อง ปราศจากอคติ และความยึดมั่นถือมั่น
    - ความอิสระอย่างแท้จริง: ไม่ถูกผูกมัดด้วยกิเลส ตัณหา หรือความยึดติดใดๆ เป็นอิสระอย่างแท้จริง ทั้งทางกาย และทางใจ
    - ความสุขนิรันดร์: ความสุขที่ได้จากการบรรลุนิพพานเป็นความสุขที่ยั่งยืน ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นความสุขที่แท้จริง ที่เหนือกว่าความสุขใดๆ ในโลก

    โดยสรุป ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้น เป็นประโยชน์ที่สูงสุด เป็นเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ ที่ผู้ปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาต่างแสวงหา เพื่อให้หลุดพ้นจากทุกข์ และบรรลุสภาวะแห่งความสุข ความสงบ และความอิสระอย่างแท้จริง
    ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้นยิ่งใหญ่และครอบคลุม เป็นจุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ประโยชน์หลักๆ ได้แก่: - การหลุดพ้นจากทุกข์: นี่คือประโยชน์ที่สำคัญที่สุด นิพพานคือการดับทุกข์ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นทุกข์ทางกาย ทุกข์ทางใจ หรือทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิด ความทุกข์ทั้งหลายที่เกิดจากกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่นจะหมดสิ้นไป - ความสงบสุขที่แท้จริง: ผู้บรรลุนิพพานจะได้รับความสงบสุขอย่างแท้จริง เป็นความสงบที่ไม่ใช่เพียงแค่ความสงบชั่วคราว แต่เป็นความสงบที่ยั่งยืน ปราศจากความกังวล ความกลัว และความไม่แน่นอน - ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ: การบรรลุนิพพานหมายถึงการหลุดพ้นจากวงจรแห่งการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป เป็นการสิ้นสุดของการทนทุกข์ทรมานจากการเกิดใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า - ความรู้แจ้งในธรรมชาติของความจริง: ผู้บรรลุนิพพานจะเข้าใจธรรมชาติของความจริงอย่างลึกซึ้ง เข้าใจไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) อย่างถ่องแท้ และสามารถมองโลกได้อย่างถูกต้อง ปราศจากอคติ และความยึดมั่นถือมั่น - ความอิสระอย่างแท้จริง: ไม่ถูกผูกมัดด้วยกิเลส ตัณหา หรือความยึดติดใดๆ เป็นอิสระอย่างแท้จริง ทั้งทางกาย และทางใจ - ความสุขนิรันดร์: ความสุขที่ได้จากการบรรลุนิพพานเป็นความสุขที่ยั่งยืน ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นความสุขที่แท้จริง ที่เหนือกว่าความสุขใดๆ ในโลก โดยสรุป ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้น เป็นประโยชน์ที่สูงสุด เป็นเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ ที่ผู้ปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาต่างแสวงหา เพื่อให้หลุดพ้นจากทุกข์ และบรรลุสภาวะแห่งความสุข ความสงบ และความอิสระอย่างแท้จริง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 157 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 615
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
    “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ
    เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 615 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252. http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น).
    -(ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น). อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 614
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกปริยายหนึ่ง)
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ
    ตัณหาย่อมดับ.
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.-

    (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน”
    ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92
    เท่านั้น).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 614 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกปริยายหนึ่ง) --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.- (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92 เท่านั้น). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198. http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร].
    -[ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร]. อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่ง ชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 613
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน
    เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 613 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222. http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง วิญญาณย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 611
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    --ภิกษุ ท. !
    เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ;
    เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/5/18.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๕/๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=611
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ สัทธรรมลำดับที่ : 611 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ --ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/5/18. http://etipitaka.com/read/thai/16/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๕/๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=611 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    -อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 171 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล​
    สัทธรรมลำดับที่ : 977
    ชื่อบทธรรม : -ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล
    ...
    --ดูก่อนจุนที ! ศีลทั้งหลายมีประมาณเท่าไร,
    ผู้รู้กล่าวกันว่า #อริยกันตศีล (ศีลอันประเสริญเป็นอริยะ)
    เลิศกว่าศีลเหล่านั้น;
    http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=สีลานิ+อริยกนฺตานิ
    กล่าวคือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทแก่ตัว
    วิญญูชนสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหาทิฏฐิลูบคลำ #เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ.
    --จุนที ! บุคคลเหล่าใด ทำให้บริบูรณ์ในอริยกันตศีล,
    บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่ากระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ;
    ก็วิบากอันเลิศ ย่อมมีแก่ผู้กระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ

    แล.-
    อคฺคโต เว ปสนฺนานํ อคฺคํ ธมฺมํ วิชานตํ
    อคฺเค พุทฺเธ ปสนฺนานํ ทกฺขิเณยฺเย อนุตฺตเร
    อคฺเค ธมฺเม ปสนฺนานํ วิราคูปสเม สุเข
    อคฺเค สงฺเฆ ปสนฺนานํ ปุญฺญกฺเขตฺเต อนุตฺตเร
    อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ
    อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ
    อคฺคสฺส ทาตา เมธาวี อคฺคธมฺมสมาหิโต
    เทวภูโต มนุสฺโส วา อคฺคปฺปตฺโต ปโมทตีติ ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=อคฺคธมฺมสมาหิโต
    บุญอันเลิศ คือ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุขและกำลัง
    ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมที่เลิศ
    เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศคือ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ
    ผู้เป็นทักขิเณยบุคคลชั้นเยี่ยม เลื่อมใสในพระธรรมที่เลิศ
    อันปราศจากราคะ เป็นที่เข้าไปสงบ เป็นสุข เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศ
    เป็นนาบุญชั้นเยี่ยม ให้ทานในสิ่งที่เลิศ
    ปราชญ์ผู้ถือมั่นธรรมที่เลิศ
    ให้สิ่งที่เลิศ เป็นเทวดาหรือมนุษย์
    ย่อมถึงสถานที่เลิศ บันเทิงใจอยู่

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/32/32.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/32/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๘/๓๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=977
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล​ สัทธรรมลำดับที่ : 977 ชื่อบทธรรม : -ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล ... --ดูก่อนจุนที ! ศีลทั้งหลายมีประมาณเท่าไร, ผู้รู้กล่าวกันว่า #อริยกันตศีล (ศีลอันประเสริญเป็นอริยะ) เลิศกว่าศีลเหล่านั้น; http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=สีลานิ+อริยกนฺตานิ กล่าวคือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทแก่ตัว วิญญูชนสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหาทิฏฐิลูบคลำ #เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ. --จุนที ! บุคคลเหล่าใด ทำให้บริบูรณ์ในอริยกันตศีล, บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่ากระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ; ก็วิบากอันเลิศ ย่อมมีแก่ผู้กระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ แล.- อคฺคโต เว ปสนฺนานํ อคฺคํ ธมฺมํ วิชานตํ อคฺเค พุทฺเธ ปสนฺนานํ ทกฺขิเณยฺเย อนุตฺตเร อคฺเค ธมฺเม ปสนฺนานํ วิราคูปสเม สุเข อคฺเค สงฺเฆ ปสนฺนานํ ปุญฺญกฺเขตฺเต อนุตฺตเร อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ อคฺคสฺส ทาตา เมธาวี อคฺคธมฺมสมาหิโต เทวภูโต มนุสฺโส วา อคฺคปฺปตฺโต ปโมทตีติ ฯ http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=อคฺคธมฺมสมาหิโต บุญอันเลิศ คือ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุขและกำลัง ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมที่เลิศ เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศคือ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ ผู้เป็นทักขิเณยบุคคลชั้นเยี่ยม เลื่อมใสในพระธรรมที่เลิศ อันปราศจากราคะ เป็นที่เข้าไปสงบ เป็นสุข เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศ เป็นนาบุญชั้นเยี่ยม ให้ทานในสิ่งที่เลิศ ปราชญ์ผู้ถือมั่นธรรมที่เลิศ ให้สิ่งที่เลิศ เป็นเทวดาหรือมนุษย์ ย่อมถึงสถานที่เลิศ บันเทิงใจอยู่ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/32/32. http://etipitaka.com/read/thai/22/32/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๘/๓๒. http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=977 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล
    -ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล ดูก่อนจุนที ! ศีลทั้งหลายมีประมาณเท่าไร, ผู้รู้กล่าวกันว่า อริยกันตศีล (ศีลเป็นที่ชอบใจของพระอริยเจ้า) เลิศกว่าศีลเหล่านั้น; กล่าวคือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทแก่ตัว วิญญูชนสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหาทิฏฐิลูบคลำ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ. จุนที ! บุคคลเหล่าใด ทำให้บริบูรณ์ในอริยกันตศีล, บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่ากระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ; ก็วิบากอันเลิศ ย่อมมีแก่ผู้กระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 262 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    สัทธรรมลำดับที่ : 609
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    ...
    --ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ
    เกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีตัณหาเป็นต้นเหตุมีตัณหาเป็นเหตุเกิด
    มีตัณหาเป็นกำเนิด มีตัณหาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย
    ตัณหานี้เล่ามีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิดมีอะไรเป็นกำเนิด
    มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ตัณหามีเวทนาเป็นต้นเหตุ มีเวทนาเป็นเหตุเกิด
    มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิน
    --ภิกษุทั้งหลายเวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    เวทนามีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด
    มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ผัสสะมีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด
    มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สฬายตนะมีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด
    มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    นามรูปมีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด
    มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    วิญญาณมีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด
    มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    #สังขารมีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด
    มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=อวิชฺชา
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลใด
    อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ;
    ในกาลนั้น ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ;
    (ทั้งนี้)
    เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา.
    เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ;
    เมื่อไม่สะดุ้ง, #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม.ม.12/134/158.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม.ม.๑๒/๑๓๔/๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=609
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด สัทธรรมลำดับที่ : 609 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด ... --ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีตัณหาเป็นต้นเหตุมีตัณหาเป็นเหตุเกิด มีตัณหาเป็นกำเนิด มีตัณหาเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย ตัณหานี้เล่ามีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิดมีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? ตัณหามีเวทนาเป็นต้นเหตุ มีเวทนาเป็นเหตุเกิด มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิน --ภิกษุทั้งหลายเวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? เวทนามีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด? ผัสสะมีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สฬายตนะมีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? นามรูปมีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? วิญญาณมีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? #สังขารมีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=อวิชฺชา ... --ภิกษุ ท. ! ในกาลใด อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ; ในกาลนั้น ภิกษุนั้น ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ; (ทั้งนี้) เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา. เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ; เมื่อไม่สะดุ้ง, #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=ปรินิพฺพายติ เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม.ม.12/134/158. http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม.ม.๑๒/๑๓๔/๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=609 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    -อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด ภิกษุ ท. ! ในกาลใด อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ; ในกาลนั้น ภิกษุนั้นย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ; (ทั้งนี้) เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา. เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ; เมื่อไม่สะดุ้ง, ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว. เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 206 มุมมอง 0 รีวิว
  • รู้จริงธรรมครอง
    ส่องสัตว์สันดาน
    บุญบาปการงาน
    ผ่านมาผ่านไป

    มีกรรมวิบาก
    ลากพามุ่งหมาย
    ก่อคุณโทษไว้
    ได้ผลกรรมตาม

    กรรมเหตุปัจจัย
    ได้ทุกข์หาบหาม
    ดับเหตุติดตาม
    ความจริงธรรมครอง

    กิเลสตัณหา
    พาคึกคะนอง
    สติบกพร่อง
    หมองจิตติดบ่วง

    เจริญศีลธรรม
    กรรมดีเข้าควง
    รู้จริงหมดห่วง
    หาติดบ่วงไม่

    ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์ในนอก

    นิพานนะปัจจะโยโหตุ
    รู้จริงธรรมครอง ส่องสัตว์สันดาน บุญบาปการงาน ผ่านมาผ่านไป มีกรรมวิบาก ลากพามุ่งหมาย ก่อคุณโทษไว้ ได้ผลกรรมตาม กรรมเหตุปัจจัย ได้ทุกข์หาบหาม ดับเหตุติดตาม ความจริงธรรมครอง กิเลสตัณหา พาคึกคะนอง สติบกพร่อง หมองจิตติดบ่วง เจริญศีลธรรม กรรมดีเข้าควง รู้จริงหมดห่วง หาติดบ่วงไม่ ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์ในนอก นิพานนะปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 110 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 608
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ;
    การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ)
    ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา
    นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะความดับแห่งชาติ,
    ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ.
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ #ความดับแห่งทุกข์.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ
    อายตนะภายใน(หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส และ ใจ) ที่เหลือ อีก ๕ อย่าง
    http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม
    ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้
    ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/155.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=608
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 608 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้คือ #ความดับแห่งทุกข์. http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม (ในกรณีที่เกี่ยวกับ อายตนะภายใน(หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส และ ใจ) ที่เหลือ อีก ๕ อย่าง http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้ ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/155. http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=608 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้คือความดับแห่งทุกข์. (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลือ อีก ๕ อย่าง ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 186 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 607
    ชื่อบทธรรม :-อาการดับแห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งโลก
    --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งโลก เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ;
    การประจวบพร้อม (แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ)
    ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;

    เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ.
    ความดับไม่เหลือแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการ อย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ​ #ความดับแห่งโลก.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/109/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ
    -
    (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ อย่าง
    ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/90/157.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/90/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๘/๑๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=607
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 607 ชื่อบทธรรม :-อาการดับแห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งโลก --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งโลก เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม (แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการ อย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้คือ​ #ความดับแห่งโลก.- http://etipitaka.com/read/pali/18/109/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ - (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ อย่าง ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/90/157. http://etipitaka.com/read/thai/18/90/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๘/๑๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=607 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๑๑ ว่าด้วย ผู้ดับตัณหา--จบ--นิทเทศ ๑๒ ว่าด้วยอาการดับแห่งตัณหา
    -นิทเทศ ๑๑ ว่าด้วย ผู้ดับตัณหา จบ นิทเทศ ๑๒ ว่าด้วยอาการดับแห่งตัณหา มี ๖๑ เรื่อง) อาการดับแห่งโลก ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งโลก เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม (แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการ อย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้คือความดับแห่งโลก. (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ อย่าง ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 161 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts