• อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)
    สัทธรรมลำดับที่ : 692
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก)
    (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์
    ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ;
    เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ;
    ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ;
    การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว
    หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ;
    ดังนี้เป็นต้น.
    พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง,
    โดยพระบาลีว่า
    “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-
    )​
    --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน)
    http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน
    ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :-
    (การเกิด)​
    ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ;
    ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ;
    ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ;
    ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    (การดับ)
    ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ;
    ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง,
    มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้
    ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว
    ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ.
    ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า
    ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น
    ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก,
    แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง,
    แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ;
    มิฉะนั้นจะลำบาก).
    -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒.
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓

    --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย.
    บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย.
    วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย.
    ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย.
    นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี.
    --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ;
    เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย
    เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ
    ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ).
    ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก) สัทธรรมลำดับที่ : 692 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 เนื้อความทั้งหมด :- ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :- )​ --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :- (การเกิด)​ ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (การดับ) ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.- (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173. http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓ --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30. http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    -(มัชฌิมาปฏิปทาตามที่ทรงแสดงไว้ในสูตรนี้ เห็นได้ว่า ทรงแสดงส่วนสุดสองข้างไว้ด้วยอาฬ๎หปฏิปทา คือความตกไปในกาม และนิชฌามปฏิปทา คือ วัตรปฏิบัติของ อเจลกะซึ่งเรียกกันโดยทั่วๆ ไปว่า อัตตกิลมถานุโยค หรือตปัสสีวัตร ซึ่งมีรายละเอียดหาดูได้ในหนังสือ พุ. โอ. ที่หน้า ๕๖-๕๗. ในที่นี้จะเห็นได้ว่า โพธิปักขิยธรรมทั้งสามสิบเจ็ดข้อ นั่นแหละคือมัชฌิมาปฏิปทา ; หรือถึงกับจะกล่าวได้ว่า ข้อปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทั้งหมดในพระพุทธศาสนา ซึ่งรวมกันแล้วเรียกได้ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา หรือพรหมจรรย์ทั้งสิ้น, นั่นแหละคือ มัชฌิมาปฏิปทา). ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-) พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า : “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้. นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. รายละเอียดเกี่ยวกับสุดโต่งเป็นคู่ๆนี้ หาดูได้จากหนังสือ พุ. โอ. ตั้งแต่หน้า ๒๔๗ ถึงหน้า ๒๕๒. อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    0 Comments 0 Shares 164 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 302
    ชื่อบทธรรม :- อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=302
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอัสสาทะ (น่ารักน่ายินดี)
    ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน (อุปาทานิยธรรม) อยู่,
    ตัณหาย่อมเจริญอย่างทั่วถึง,
    เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน :
    #ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการ อย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนไฟกองใหญ่
    พึงลุกโพลงด้วยไม้สิบเล่มเกวียนบ้าง ยี่สิบเล่มเกวียนบ้าง
    สามสิบเล่มเกวียนบ้าง สี่สิบเล่มเกวียนบ้าง.
    บุรุษพึงเติมหญ้าแห้งบ้าง มูลโคแห้งบ้าง ไม้แห้งบ้าง ลงไปในกองไฟนั้น
    ตลอดเวลาที่ควรเติม อยู่เป็นระยะๆ.
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล ไฟกองใหญ่ซึ่งมีเครื่องหล่อเลี้ยงอย่างนั้น
    มีเชื้อเพลิงอย่างนั้น ก็จะพึงลุกโพลงตลอดกาลยาวนาน, ข้อนี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอัสสาทะ (น่ารักน่ายินดี)
    ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอยู่.
    ตัณหาย่อมเจริญอย่างทั่วถึง ฉันนั้นเหมือนกัน.
    เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน :
    ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/196-197.
    https://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๖-๑๙๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=302
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=302
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 302 ชื่อบทธรรม :- อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=302 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอัสสาทะ (น่ารักน่ายินดี) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน (อุปาทานิยธรรม) อยู่, ตัณหาย่อมเจริญอย่างทั่วถึง, เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : #ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการ อย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนไฟกองใหญ่ พึงลุกโพลงด้วยไม้สิบเล่มเกวียนบ้าง ยี่สิบเล่มเกวียนบ้าง สามสิบเล่มเกวียนบ้าง สี่สิบเล่มเกวียนบ้าง. บุรุษพึงเติมหญ้าแห้งบ้าง มูลโคแห้งบ้าง ไม้แห้งบ้าง ลงไปในกองไฟนั้น ตลอดเวลาที่ควรเติม อยู่เป็นระยะๆ. --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล ไฟกองใหญ่ซึ่งมีเครื่องหล่อเลี้ยงอย่างนั้น มีเชื้อเพลิงอย่างนั้น ก็จะพึงลุกโพลงตลอดกาลยาวนาน, ข้อนี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอัสสาทะ (น่ารักน่ายินดี) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอยู่. ตัณหาย่อมเจริญอย่างทั่วถึง ฉันนั้นเหมือนกัน. เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/196-197. https://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๖-๑๙๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=302 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=302 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา
    -อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอัสสาทะ (น่ารักน่ายินดี) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน (อุปาทานิยธรรม) อยู่, ตัณหาย่อมเจริญอย่างทั่วถึง, เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการ อย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนไฟกองใหญ่ พึงลุกโพลงด้วยไม้สิบเล่มเกวียนบ้าง ยี่สิบเล่มเกวียนบ้าง สามสิบเล่มเกวียนบ้าง สี่สิบเล่มเกวียนบ้าง. บุรุษพึงเติมหญ้าแห้งบ้าง มูลโคแห้งบ้าง ไม้แห้งบ้าง ลงไปในกองไฟนั้น ตลอดเวลาที่ควรเติม อยู่เป็นระยะๆ. ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล ไฟกองใหญ่ซึ่งมีเครื่องหล่อเลี้ยงอย่างนั้น มีเชื้อเพลิงอย่างนั้น ก็จะพึงลุกโพลงตลอดกาลยาวนาน, ข้อนี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอัสสาทะ (น่ารักน่ายินดี) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอยู่. ตัณหาย่อมเจริญอย่างทั่วถึง ฉันนั้นเหมือนกัน. เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึง มีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 221 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 296
    ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)​
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=296
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    (ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งนติ)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมคิด (เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู่,
    ย่อมดำริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู่,
    และย่อมมีใจฝังลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู่ ;
    สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ.
    เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ;
    เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว,
    เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ - ตัณหา) ย่อมมี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=นติ
    เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ มี, การมาการไป (อาคติคติ) ย่อมมี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=อาคติคติ
    เมื่อการมาการไป มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ + อุปะปาตะ) ย่อมมี ;
    เมื่อมีการเคลื่อนและการบังเกิด มี,
    ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมไม่คิดถึงสิ่งใด,
    ย่อมไม่ดำริถึงสิ่งใด,
    แต่เขายังมีใจปักลงไปในสิ่งใดอยู่ ;
    สิ่งนั้น ย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ.
    เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ;
    เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว,
    เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ - ตัณหา) ย่อมมี ;
    เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ มี, การมาการไป (อาคติคติ) ย่อมมี ;
    เมื่อการมาการไปมี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ+อุปะปาตะ) ย่อมมี ;
    เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิดมี,
    ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.-

    [๑๕๐]
    ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เมื่อภิกษุไม่จงใจ ไม่ดำริ และไม่ครุ่นคิดถึงสิ่งใด สิ่งนั้น
    ย่อมไม่เป็นอารัมณปัจจัยเพื่อความตั้งอยู่แห่งวิญญาณ
    เมื่อไม่มีอารัมณปัจจัย ความตั้งมั่นแห่งวิญญาณจึงไม่มี
    เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งมั่นแล้วไม่เจริญขึ้นแล้ว ตัณหาจึงไม่มี
    เมื่อไม่มีตัณหาคติในการเวียนมาจึงไม่มี
    เมื่อไม่มีคติในการเวียนมา จุติและอุปบัติจึงไม่มี
    เมื่อไม่มีจุติและอุปบัติ ชาติ ชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาสต่อไปจึงดับ
    ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/65/149
    http://etipitaka.com/read/thai/16/65/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๖๘๐/๑๔๙,๑๕๐
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=296
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=296
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 296 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)​ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=296 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งนติ) --ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมคิด (เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู่, ย่อมดำริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู่, และย่อมมีใจฝังลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู่ ; สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว, เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ - ตัณหา) ย่อมมี ; http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=นติ เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ มี, การมาการไป (อาคติคติ) ย่อมมี ; http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=อาคติคติ เมื่อการมาการไป มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ + อุปะปาตะ) ย่อมมี ; เมื่อมีการเคลื่อนและการบังเกิด มี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมไม่คิดถึงสิ่งใด, ย่อมไม่ดำริถึงสิ่งใด, แต่เขายังมีใจปักลงไปในสิ่งใดอยู่ ; สิ่งนั้น ย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว, เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ - ตัณหา) ย่อมมี ; เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ มี, การมาการไป (อาคติคติ) ย่อมมี ; เมื่อการมาการไปมี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ+อุปะปาตะ) ย่อมมี ; เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิดมี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.- [๑๕๐] ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เมื่อภิกษุไม่จงใจ ไม่ดำริ และไม่ครุ่นคิดถึงสิ่งใด สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารัมณปัจจัยเพื่อความตั้งอยู่แห่งวิญญาณ เมื่อไม่มีอารัมณปัจจัย ความตั้งมั่นแห่งวิญญาณจึงไม่มี เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งมั่นแล้วไม่เจริญขึ้นแล้ว ตัณหาจึงไม่มี เมื่อไม่มีตัณหาคติในการเวียนมาจึงไม่มี เมื่อไม่มีคติในการเวียนมา จุติและอุปบัติจึงไม่มี เมื่อไม่มีจุติและอุปบัติ ชาติ ชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาสต่อไปจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/65/149 http://etipitaka.com/read/thai/16/65/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๖๘๐/๑๔๙,๑๕๐ http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=296 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=296 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งนติ
    -อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งนติ) ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมคิด (เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู่, ย่อมดำริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู่, และย่อมมีใจฝังลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู่ ; สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว, เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ - ตัณหา) ย่อมมี ; เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ มี, การมาการไป (อาคติคติ) ย่อมมี ; เมื่อการมาการไป มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ + อุปะปาตะ) ย่อมมี ; เมื่อมีการเคลื่อนและการบังเกิด มี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมไม่คิดถึงสิ่งใด, ย่อมไม่ดำริถึงสิ่งใด, แต่เขายังมีใจปักลงไปในสิ่งใดอยู่ ; สิ่งนั้น ย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว, เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ - ตัณหา) ย่อมมี ; เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ มี, การมาการไป (อาคติคติ) ย่อมมี ; เมื่อการมาการไปมี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ+อุปะปาตะ) ย่อมมี ; เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิดมี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 Comments 0 Shares 228 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าอาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 295
    ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=295
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)-(ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ก้าวลงแห่งนามรูป)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมคิดถึง(เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู่,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=เจเตติ
    ย่อมดำริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู่,
    และย่อมมีใจปักลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู่ ;
    สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ.
    เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ;
    เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว,
    การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมมี ;
    เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ;
    เพราะมีสฬายตนะ เป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ;
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ;
    เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน :
    ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    [๑๔๘]
    --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เมื่อภิกษุไม่จงใจ ไม่ดำริ และไม่ครุ่นคิดถึงสิ่งใด
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=โน+เจเตติ
    สิ่งนั้นย่อมไม่เป็นอารัมณปัจจัยเพื่อความตั้งอยู่แห่งวิญญาณ
    เมื่อไม่มีอารัมณปัจจัย ความตั้งมั่นแห่งวิญญาณจึงไม่มี
    เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งมั่นแล้วไม่เจริญขึ้นแล้ว
    ความหยั่งลง แห่งนามรูปจึงไม่มี
    เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ
    เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ
    เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ
    เพราะเวทนาดับ ภพจึงดับ
    เพราะภพดับชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาสต่อไปจึงดับ
    ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/147.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๗,๑๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=295
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=295
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าอาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 295 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=295 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)-(ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ก้าวลงแห่งนามรูป) --ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมคิดถึง(เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู่, http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=เจเตติ ย่อมดำริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู่, และย่อมมีใจปักลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู่ ; สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว, การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมมี ; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะ เป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. [๑๔๘] --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เมื่อภิกษุไม่จงใจ ไม่ดำริ และไม่ครุ่นคิดถึงสิ่งใด http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=โน+เจเตติ สิ่งนั้นย่อมไม่เป็นอารัมณปัจจัยเพื่อความตั้งอยู่แห่งวิญญาณ เมื่อไม่มีอารัมณปัจจัย ความตั้งมั่นแห่งวิญญาณจึงไม่มี เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งมั่นแล้วไม่เจริญขึ้นแล้ว ความหยั่งลง แห่งนามรูปจึงไม่มี เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาสต่อไปจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/147. http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๗,๑๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=295 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=295 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    -อาการเกิดขึ้นแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยอารมณ์เป็นที่ก้าวลงแห่งนามรูป) ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมคิด (เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู่, ย่อมดำริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู่, และย่อมมีจิตปักลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู่ ; สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว, การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมมี ; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะ เป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุ ท. ! ถ้าบุคคลย่อมไม่คิดถึงสิ่งใด, ย่อมไม่ดำริถึงสิ่งใด, แต่เขายัง มีใจฝังลงไป (คือมีอนุสัย) ในสิ่งใดอยู่ ; สิ่งนั้น ย่อมเป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ. เมื่ออารมณ์ มีอยู่, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมมี ; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว, การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมมี ; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 Comments 0 Shares 242 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์เนื่องจากเหตุคือผัสสะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 288
    ชื่อบทธรรม : อาการเกิดแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=288
    เนื้อความทั้งหมด :
    --อาการเกิดแห่งความทุกข์
    --เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่งรูปทั้งหลายด้วย, จึงเกิดจักขุวิญญาณ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/111/?keywords=จกฺขุญฺจ+ปฏิจฺจ+รูเป+จกฺขุวิญฺญาณํ
    การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการ (จักษุ+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ #ผัสสะ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/111/?keywords=ผสฺโส
    เพราะมี ผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ;
    เพราะมี เวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ;
    เพราะมี ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    เพราะมี อุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    เพราะมี ภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    เพราะมี ชาติเป็นปัจจัย,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ
    ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/93/163.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๑/๑๖๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/111/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=288
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=288
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์เนื่องจากเหตุคือผัสสะ สัทธรรมลำดับที่ : 288 ชื่อบทธรรม : อาการเกิดแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=288 เนื้อความทั้งหมด : --อาการเกิดแห่งความทุกข์ --เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่งรูปทั้งหลายด้วย, จึงเกิดจักขุวิญญาณ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/111/?keywords=จกฺขุญฺจ+ปฏิจฺจ+รูเป+จกฺขุวิญฺญาณํ การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการ (จักษุ+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ #ผัสสะ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/111/?keywords=ผสฺโส เพราะมี ผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมี เวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมี ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมี อุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมี ภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมี ชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/93/163. http://etipitaka.com/read/thai/18/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๑/๑๖๓. http://etipitaka.com/read/pali/18/111/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=288 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=288 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ตามปกติเราได้ยินได้ฟังสั่งสอนกันมาว่า อวิชชาไม่มีปัจจัย ในที่นี้ได้ตรัสว่า มีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย ควรที่นักศึกษาจะได้พิจารณาดูให้เป็นอย่างดี ว่ามีนิวรณ์เป็นปัจจัยหรืออาหาร เพราะมีประโยคว่า “อิทปฺป จฺจยา อวิชฺชา” (ทสก. อํ. ๒๔/๑๒๐/๖๑ บรรทัดที่สาม นับขึ้น)]
    -[ตามปกติเราได้ยินได้ฟังสั่งสอนกันมาว่า อวิชชาไม่มีปัจจัย ในที่นี้ได้ตรัสว่า มีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย ควรที่นักศึกษาจะได้พิจารณาดูให้เป็นอย่างดี ว่ามีนิวรณ์เป็นปัจจัยหรืออาหาร เพราะมีประโยคว่า “อิทปฺป จฺจยา อวิชฺชา” (ทสก. อํ. ๒๔/๑๒๐/๖๑ บรรทัดที่สาม นับขึ้น)] อาการเกิดแห่งความทุกข์ เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่งรูปทั้งหลายด้วย, จึงเกิดจักขุวิญญาณ ; การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการ (จักษุ+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุ).
    0 Comments 0 Shares 209 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    สัทธรรมลำดับที่ : 225
    ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์)
    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า
    “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้
    : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต

    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า
    “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้
    : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ

    --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง
    ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า
    “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว,
    จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต สัทธรรมลำดับที่ : 225 ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50. http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    -ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต (ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;.... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 259 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    สัทธรรมลำดับที่ : 225
    ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์)
    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า
    “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้
    : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต

    --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า
    “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า
    “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้
    : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ

    --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง
    ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า
    “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว,
    จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต สัทธรรมลำดับที่ : 225 ชื่อบทธรรม :- ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต(ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้​ เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=สสฺสต --กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=อุจฺเฉทํ --กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; .... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” http://etipitaka.com/read/pali/16/25/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/18/50. http://etipitaka.com/read/thai/16/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๔/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/24/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=225 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=225 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต
    -ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต (ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) กัสสปะ ! เมื่อบุคคลมีความสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้น ว่า “ผู้นั้นกระทำผู้นั้นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์เป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเอง” ดังนี้ : นั้นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือว่าเที่ยง). กัสสปะ ! เมื่อบุคคลถูกเวทนากระทบให้มีความสำคัญมั่นหมายว่า “ผู้อื่นกระทำ ผู้อื่นเสวย (ผล)” ดังนี้เสียแล้ว เขามีวาทะ (คือลัทธิยืนยันอยู่) ว่า “ความทุกข์ เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นกระทำให้” ดังนี้ : นั่นย่อมแล่นไปสู่ (คลองแห่ง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือว่าขาดสูญ). กัสสะปะ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือ ตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ.... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;.... ฯลฯ.... ฯลฯ....ฯลฯ....เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 255 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 Comments 0 Shares 560 Views 0 Reviews