• ไทยเตรียมร้อง UN! เขมรวางทุ่นระเบิดใหม่ที่ช่องบก อุบลราชธานี

    สถานการณ์ภายหลังเกิดเหตุการณ์กำลังพลได้รับบาดเจ็บจากทุ่นระเบิด ระหว่างปฏิบัติลาดตระเวนในพื้นที่ชายแดนช่องบก จ.อุบลราชธานี วันนี้ (19 ก.ค. 2568) พลตรี วินธัย สุวารี โฆษกกองทัพบก ได้เปิดเผยว่า พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ได้ออกมาชี้แจงผลการตรวจสอบพื้นที่เกิดเหตุโดย นปท.3 ที่ระบุว่ามีวางทุ่นระเบิดใหม่ จำนวน 8 ทุ่น ในพื้นที่เขตแดนไทย ซึ่งขัดต่ออนุสัญญาออตตาวา ว่าด้วยการห้ามใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล  แม้ทางฝ่ายกัมพูชาจะไม่ยอมรับ แต่หน่วยจะรายงานข้อเท็จจริงถึงกองทัพบกและรัฐบาล เพื่อประท้วงผ่าน UN ต่อไป พร้อมเตรียมส่งทหารเข้าตรวจพื้นที่ และเก็บกู้ตลอดแนวชายแดน ควบคู่ไปกับใช้การมาตรการตอบโต้ทางทหารอย่างเหมาะสม


              พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์ ผู้บัญชาการทหารบก รู้สึกเสียใจอย่างยิ่งต่อเหตุที่เกิดขึ้น  ด้วยกำลังพลของกองทัพบกเปรียบเสมือนสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน โดยทันทีที่ทราบเรื่อง ได้สั่งการให้ต้นสังกัดติดตามการรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิด รวมถึงดูแลด้านสิทธิและสวัสดิการให้กำลังพลและครอบครัวอย่างเต็มที่  พร้อมยืนยันจะดูแลกำลังพลที่ได้รับบาดเจ็บและครอบครัวให้ดีที่สุด โดยกองทัพบกมีความห่วงใยในความรู้สึกของครอบครัว และบุคคลใกล้ชิดของกำลังพลเสมอมา


              โดย ผบ.ทบ. ยังระบุอีกว่า การลาดตระเวนของหน่วยทหารเป็นมาตรการเชิงรุกที่ได้ผลในการตรวจตราและรักษาพื้นที่แนวชายแดนไม่ให้ถูกรุกล้ำ แต่อาจต้องแลกมาด้วยความเสี่ยง ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกนายตระหนักดี และพร้อมทุ่มเทอย่างเต็มกำลังเพื่อภารกิจในการปกป้องอธิปไตยของประเทศ  และจากการตรวจที่เกิดเหตุตามที่ปรากฏความชัดเจนแล้วว่า ทุ่นระเบิดที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นทุ่นระเบิดที่มีการวางขึ้นใหม่ 


              ข้อมูลนี้ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สนับสนุนความชอบธรรมของฝ่ายไทยในการดำเนินมาตรการตอบโต้ต่อฝ่ายกัมพูชา ทั้งในด้านการทหารและด้านการต่างประเทศ 


             กองทัพบกขอยืนยันว่า จะปฏิบัติหน้าที่ในการปกป้องอธิปไตยและเกียรติภูมิของชาติ ด้วยความรอบคอบ และตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในสายตาสังคมโลก และไม่ตกเป็นเป้าของการบิดเบือนจากฝ่ายที่ไม่หวังดี 


              ที่สำคัญกองทัพบกตระหนักดีว่า ประชาชนของไทยและกัมพูชาไม่ใช่คู่ขัดแย้งกัน ความตึงเครียดที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชายแดน มิใช่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ จึงไม่ควรปล่อยให้สถานการณ์ถูกตีความผิด จนบานปลายไปสู่ความเกลียดชังระหว่างกัน


            ส่วนในเรื่องด่านฯ ผบ.ทบ. เน้นย้ำว่า ในปัจจุบันฝ่ายไทยไม่ได้มีการ “ปิดด่าน” แต่อย่างใด เป็นเพียงการเพิ่มความเข้มงวดในมาตรการคัดกรองบุคคล และการบริหารเวลาเข้า-ออกให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นเท่านั้น


             อย่างไรก็ดี ในช่วงเวลาที่สถานการณ์มีความละเอียดอ่อน การสื่อสารในสังคม โดยเฉพาะในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ อาจนำไปสู่ความเข้าใจผิด หรือสร้างความแตกแยกได้โดยไม่ตั้งใจ     


              ผบ.ทบ. ขอให้สังคมเชื่อมั่นในเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานว่า ทุกคนต่างทุ่มเท เสียสละ ทำหน้าที่ในด่านหน้าแทนพวกเราทุกคน ซึ่งกำลังใจจากสังคม อาจเป็นเหมือนของขวัญอันทรงคุณค่ายิ่ง  รวมถึงความสามัคคีกันของคนในชาติย่อมเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในยามนี้
    ไทยเตรียมร้อง UN! เขมรวางทุ่นระเบิดใหม่ที่ช่องบก อุบลราชธานี สถานการณ์ภายหลังเกิดเหตุการณ์กำลังพลได้รับบาดเจ็บจากทุ่นระเบิด ระหว่างปฏิบัติลาดตระเวนในพื้นที่ชายแดนช่องบก จ.อุบลราชธานี วันนี้ (19 ก.ค. 2568) พลตรี วินธัย สุวารี โฆษกกองทัพบก ได้เปิดเผยว่า พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ได้ออกมาชี้แจงผลการตรวจสอบพื้นที่เกิดเหตุโดย นปท.3 ที่ระบุว่ามีวางทุ่นระเบิดใหม่ จำนวน 8 ทุ่น ในพื้นที่เขตแดนไทย ซึ่งขัดต่ออนุสัญญาออตตาวา ว่าด้วยการห้ามใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล  แม้ทางฝ่ายกัมพูชาจะไม่ยอมรับ แต่หน่วยจะรายงานข้อเท็จจริงถึงกองทัพบกและรัฐบาล เพื่อประท้วงผ่าน UN ต่อไป พร้อมเตรียมส่งทหารเข้าตรวจพื้นที่ และเก็บกู้ตลอดแนวชายแดน ควบคู่ไปกับใช้การมาตรการตอบโต้ทางทหารอย่างเหมาะสม           พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์ ผู้บัญชาการทหารบก รู้สึกเสียใจอย่างยิ่งต่อเหตุที่เกิดขึ้น  ด้วยกำลังพลของกองทัพบกเปรียบเสมือนสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน โดยทันทีที่ทราบเรื่อง ได้สั่งการให้ต้นสังกัดติดตามการรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิด รวมถึงดูแลด้านสิทธิและสวัสดิการให้กำลังพลและครอบครัวอย่างเต็มที่  พร้อมยืนยันจะดูแลกำลังพลที่ได้รับบาดเจ็บและครอบครัวให้ดีที่สุด โดยกองทัพบกมีความห่วงใยในความรู้สึกของครอบครัว และบุคคลใกล้ชิดของกำลังพลเสมอมา           โดย ผบ.ทบ. ยังระบุอีกว่า การลาดตระเวนของหน่วยทหารเป็นมาตรการเชิงรุกที่ได้ผลในการตรวจตราและรักษาพื้นที่แนวชายแดนไม่ให้ถูกรุกล้ำ แต่อาจต้องแลกมาด้วยความเสี่ยง ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกนายตระหนักดี และพร้อมทุ่มเทอย่างเต็มกำลังเพื่อภารกิจในการปกป้องอธิปไตยของประเทศ  และจากการตรวจที่เกิดเหตุตามที่ปรากฏความชัดเจนแล้วว่า ทุ่นระเบิดที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นทุ่นระเบิดที่มีการวางขึ้นใหม่            ข้อมูลนี้ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สนับสนุนความชอบธรรมของฝ่ายไทยในการดำเนินมาตรการตอบโต้ต่อฝ่ายกัมพูชา ทั้งในด้านการทหารและด้านการต่างประเทศ           กองทัพบกขอยืนยันว่า จะปฏิบัติหน้าที่ในการปกป้องอธิปไตยและเกียรติภูมิของชาติ ด้วยความรอบคอบ และตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในสายตาสังคมโลก และไม่ตกเป็นเป้าของการบิดเบือนจากฝ่ายที่ไม่หวังดี            ที่สำคัญกองทัพบกตระหนักดีว่า ประชาชนของไทยและกัมพูชาไม่ใช่คู่ขัดแย้งกัน ความตึงเครียดที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชายแดน มิใช่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ จึงไม่ควรปล่อยให้สถานการณ์ถูกตีความผิด จนบานปลายไปสู่ความเกลียดชังระหว่างกัน         ส่วนในเรื่องด่านฯ ผบ.ทบ. เน้นย้ำว่า ในปัจจุบันฝ่ายไทยไม่ได้มีการ “ปิดด่าน” แต่อย่างใด เป็นเพียงการเพิ่มความเข้มงวดในมาตรการคัดกรองบุคคล และการบริหารเวลาเข้า-ออกให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นเท่านั้น          อย่างไรก็ดี ในช่วงเวลาที่สถานการณ์มีความละเอียดอ่อน การสื่อสารในสังคม โดยเฉพาะในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ อาจนำไปสู่ความเข้าใจผิด หรือสร้างความแตกแยกได้โดยไม่ตั้งใจ                ผบ.ทบ. ขอให้สังคมเชื่อมั่นในเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานว่า ทุกคนต่างทุ่มเท เสียสละ ทำหน้าที่ในด่านหน้าแทนพวกเราทุกคน ซึ่งกำลังใจจากสังคม อาจเป็นเหมือนของขวัญอันทรงคุณค่ายิ่ง  รวมถึงความสามัคคีกันของคนในชาติย่อมเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในยามนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • หากนายอภิสิทธิ์เชื่อว่า MOU43 MOU44 เป็นอันตราย
    ทำไมนายอภิสิทธิ์ไม่ยกเลิกมันเมื่อมีอำนาจเต็ม?

    หากนายอภิสิทธิ์เคยอภิปรายต้าน Annex I map
    ทำไมเมื่อเป็นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์จึงร่วมลงนามการประชุม JTSC ให้คณะกรรมการปักปันเขตแดนดำเนินการตามกรอบ TOR2003 ระบุให้ยึดแผนที่ 1 ต่อ 200,000 และ 1 ต่อ 250,000?

    หากนายอภิสิทธิ์ยึดหลักธรรมาภิบาล
    เหตุใดนายอภิสิทธิ์ไม่เปิด TOR2003 ให้สาธารณชนเข้าถึง?

    หากนายอภิสิทธิ์ต่อต้าน MOU ด้วยเหตุผลอธิปไตย
    ทำไมจึงไม่กล่าวถึง TOR2003 ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงกว่า?

    คำถามใหม่ เมื่ออดีตผู้นำอย่างอภิสิทธิพยายามปรากฎตัวออกมาชี้แนะแนวทาง ในช่วงเวลาที่ประชาชนเริ่มตั้งคำถามเรื่องอธิปไตยที่กำลังถูกเขมรลุกล้ำเขตแดน การปรากฏภาพของอดีตนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ออกมาให้คำแนะนำแก่รัฐบาลปัจจุบันเรื่องแนวทางจัดการปัญหาดินแดน

    คำถามที่คนไทยควรถามคือ นายอภิสิทธิ์มีคุณธรรมพอหรือไม่ที่จะเสนอแนะแนวทาง
    ทั้งที่ในอดีตตนเองเคยนิ่งเฉยต่อภัยที่กำลังจะเกิด?

    ทำไมนายอภิสิทธิ์ไม่ออกมายอมรับว่า การที่ไทยเข้าสู่กระบวนการ TI มีรากฐานจาก TOR ที่รัฐบาลของเขาเองเดินหน้าขับเคลื่อน?

    แนวทางที่เสนอวันนี้ เป็นไปเพื่อชาติหรือเพื่อฟื้นภาพลักษณ์ตนเองในยามที่ประชาชนเริ่มรู้ความจริง?

    หากหวังดีต่อชาติจริง ทำไมนายอภิสิทธิ์ไม่เป็นผู้นำในการรณรงค์ให้ถอนตัวจาก TOR 2003 เสียเอง?
    หากนายอภิสิทธิ์เชื่อว่า MOU43 MOU44 เป็นอันตราย ทำไมนายอภิสิทธิ์ไม่ยกเลิกมันเมื่อมีอำนาจเต็ม? หากนายอภิสิทธิ์เคยอภิปรายต้าน Annex I map ทำไมเมื่อเป็นรัฐบาลนายอภิสิทธิ์จึงร่วมลงนามการประชุม JTSC ให้คณะกรรมการปักปันเขตแดนดำเนินการตามกรอบ TOR2003 ระบุให้ยึดแผนที่ 1 ต่อ 200,000 และ 1 ต่อ 250,000? หากนายอภิสิทธิ์ยึดหลักธรรมาภิบาล เหตุใดนายอภิสิทธิ์ไม่เปิด TOR2003 ให้สาธารณชนเข้าถึง? หากนายอภิสิทธิ์ต่อต้าน MOU ด้วยเหตุผลอธิปไตย ทำไมจึงไม่กล่าวถึง TOR2003 ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงกว่า? คำถามใหม่ เมื่ออดีตผู้นำอย่างอภิสิทธิพยายามปรากฎตัวออกมาชี้แนะแนวทาง ในช่วงเวลาที่ประชาชนเริ่มตั้งคำถามเรื่องอธิปไตยที่กำลังถูกเขมรลุกล้ำเขตแดน การปรากฏภาพของอดีตนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ออกมาให้คำแนะนำแก่รัฐบาลปัจจุบันเรื่องแนวทางจัดการปัญหาดินแดน คำถามที่คนไทยควรถามคือ นายอภิสิทธิ์มีคุณธรรมพอหรือไม่ที่จะเสนอแนะแนวทาง ทั้งที่ในอดีตตนเองเคยนิ่งเฉยต่อภัยที่กำลังจะเกิด? ทำไมนายอภิสิทธิ์ไม่ออกมายอมรับว่า การที่ไทยเข้าสู่กระบวนการ TI มีรากฐานจาก TOR ที่รัฐบาลของเขาเองเดินหน้าขับเคลื่อน? แนวทางที่เสนอวันนี้ เป็นไปเพื่อชาติหรือเพื่อฟื้นภาพลักษณ์ตนเองในยามที่ประชาชนเริ่มรู้ความจริง? หากหวังดีต่อชาติจริง ทำไมนายอภิสิทธิ์ไม่เป็นผู้นำในการรณรงค์ให้ถอนตัวจาก TOR 2003 เสียเอง?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • โฆษก ทบ.โต้สื่อเขมร ยันไทยไม่ได้วางทุ่นระเบิดเองเพราะยึดสนธิสัญญาออตาวา และกองทัพไทยไม่เคยมีทุ่นระเบิดแบบ PMN2 ที่ผลิตในรัสเซีย ซัดทหารกัมพูชาชอบล้ำแดนไทย ลอบเข้ามาวางแล้วกลับออกไป ไม่ใครวางแล้วยืนเฝ้า

    จากกรณีที่สื่อมวลชนกัมพูชา รายงานข่าวเหตุการณ์ทหารไทยเหยียบกับระเบิดที่บริเวณชายแดนช่องบก บาดเจ็บ 3 นาย ว่า ว่าการวางทุ่นระเบิดเป็นฝีมือของฝ่ายไทย หากทางการไทยยืนยันว่าพื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตแดนของประเทศไทย ขณะที่โซเชียลเขมรเยาะเย้ยว่าทหารไทยวางไว้เองแล้วจำไม่ได้นั้น พลตรี วินธัย สุวารี โฆษกกองทัพบก ยืนยันว่า ประเทศไทยไม่ได้มีการวางระเบิดทุ่นระเบิด เพราะเรายึดสนธิสัญญาออสตาวา และไทยเราไม่มีทุ่นระเบิดแบบ PMN-2 ที่ผลิตในรัสเซีย อยู่ในกองทัพ และไม่เคยมีการจัดหาระเบิดชนิดนี้ให้กองทัพ

    พลตรี วินธัย กล่าวอีกว่า แต่ที่ผ่านมา ทหารกัมพูชาล้ำแดนไทย เข้ามาอยู่ในเขตปฏิบัติการของไทยบ่อยครั้งอยู่แล้ว และการวางกับระเบิดคือลอบเข้ามาวาง และกลับออกไป ไม่มีใครวาง แล้วมายืนเฝ้าหรอก

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000067772

    #Thaitimes #MGROnline #ทหารกัมพูชา
    โฆษก ทบ.โต้สื่อเขมร ยันไทยไม่ได้วางทุ่นระเบิดเองเพราะยึดสนธิสัญญาออตาวา และกองทัพไทยไม่เคยมีทุ่นระเบิดแบบ PMN2 ที่ผลิตในรัสเซีย ซัดทหารกัมพูชาชอบล้ำแดนไทย ลอบเข้ามาวางแล้วกลับออกไป ไม่ใครวางแล้วยืนเฝ้า • จากกรณีที่สื่อมวลชนกัมพูชา รายงานข่าวเหตุการณ์ทหารไทยเหยียบกับระเบิดที่บริเวณชายแดนช่องบก บาดเจ็บ 3 นาย ว่า ว่าการวางทุ่นระเบิดเป็นฝีมือของฝ่ายไทย หากทางการไทยยืนยันว่าพื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตแดนของประเทศไทย ขณะที่โซเชียลเขมรเยาะเย้ยว่าทหารไทยวางไว้เองแล้วจำไม่ได้นั้น พลตรี วินธัย สุวารี โฆษกกองทัพบก ยืนยันว่า ประเทศไทยไม่ได้มีการวางระเบิดทุ่นระเบิด เพราะเรายึดสนธิสัญญาออสตาวา และไทยเราไม่มีทุ่นระเบิดแบบ PMN-2 ที่ผลิตในรัสเซีย อยู่ในกองทัพ และไม่เคยมีการจัดหาระเบิดชนิดนี้ให้กองทัพ • พลตรี วินธัย กล่าวอีกว่า แต่ที่ผ่านมา ทหารกัมพูชาล้ำแดนไทย เข้ามาอยู่ในเขตปฏิบัติการของไทยบ่อยครั้งอยู่แล้ว และการวางกับระเบิดคือลอบเข้ามาวาง และกลับออกไป ไม่มีใครวาง แล้วมายืนเฝ้าหรอก • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000067772 • #Thaitimes #MGROnline #ทหารกัมพูชา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในเมื่อ 3 ปราสาท เป็นของไทย อยู่ในเขตแดนไทย ผมก็สงสัยอย่างที่ชาวบ้านสงสัย ว่าทำไมต้องให้ทหารเขมรมาร่วมดูแลกับทหารไทยที่ปราสาทตาเมือนธมด้วย ใครตอบได้บ้างครับ
    ในเมื่อ 3 ปราสาท เป็นของไทย อยู่ในเขตแดนไทย ผมก็สงสัยอย่างที่ชาวบ้านสงสัย ว่าทำไมต้องให้ทหารเขมรมาร่วมดูแลกับทหารไทยที่ปราสาทตาเมือนธมด้วย ใครตอบได้บ้างครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 50 มุมมอง 0 รีวิว
  • การปิดชายแดน อันมีต้นตอจากความขัดแย้งด้านเขตแดนระหว่างกัมพูชาและไทย ได้นำมาสู่การระงับค้าขายสินค้าจำนวนมากระหว่าง 2 ชาติ และล่าสุดสำนักข่าวคิริโพสต์ สื่อมวลชนเขมรภาคภาษาอังกฤษ รายงานว่าร้านอาหาร ร้านกาแฟและธุรกิจอื่นๆในกัมพูชา กำลังเผชิญกับวิกฤตอุปทานนม หลังจากสินค้าเริ่มขาดตลาด
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000066344

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    การปิดชายแดน อันมีต้นตอจากความขัดแย้งด้านเขตแดนระหว่างกัมพูชาและไทย ได้นำมาสู่การระงับค้าขายสินค้าจำนวนมากระหว่าง 2 ชาติ และล่าสุดสำนักข่าวคิริโพสต์ สื่อมวลชนเขมรภาคภาษาอังกฤษ รายงานว่าร้านอาหาร ร้านกาแฟและธุรกิจอื่นๆในกัมพูชา กำลังเผชิญกับวิกฤตอุปทานนม หลังจากสินค้าเริ่มขาดตลาด . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000066344 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Haha
    Like
    Love
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 755 มุมมอง 0 รีวิว
  • สัปดาห์นี้ยังคงพูดถึงนิยาย/ละครแนวเทพเซียน

    เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่าสัตว์เทพที่เราพบเจอในหลายนิยาย/ละครจีน ไม่ว่าจะเป็นจิ้งจอกเก้าหาง นกหงส์ฟ้าเฟิ่งหวง กิเลน ฯลฯ โดยส่วนใหญ่มีบันทึกไว้ในเอกสารทางประวัติศาสตร์? เอกสารที่ว่านี้คือ “ซานไห่จิง” หรือ <คัมภีร์ขุนเขาและท้องทะเล> ซึ่งเป็นหนังสือโบราณสมัยก่อนราชวงศ์ฉิน (ประมาณ 400 ปี ก่อนคริสตกาล) ที่บันทึกเรื่องราวของเทพนิยาย ปีศาจ สัตว์ประหลาด นิทานปรัมปรา และวัฒนธรรม ฯลฯ ในยุคโบราณของจีน หนังสือแบ่งออกเป็นสิบแปดตอนประกอบด้วยบทแห่งขุนเขาและบทแห่งทะเล (Storyฯ เห็นมีแปลเป็นไทยวางขาย เพื่อนเพจที่สนใจสามารถหาอ่านได้)

    วันนี้เรามาเริ่มคุยกันเบาๆ เกี่ยวกับคัมภีร์ซานไห่จิงด้วย ‘สมาชิก’ ของคัมภีร์ฯ ที่เพื่อนเพจอาจไม่คุ้นหน้า แต่ถ้าใครได้ดูละครเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ก็จะได้เห็นเจ้าสัตว์เทพหน้าตาประหลาดตามรูป (รูปซ้ายล่าง) มีชื่อเรียกว่า “คายหมิงโซ่ว” (开明兽) มันมีบทบาทที่สำคัญยิ่ง เพราะเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ในตำนานจีนที่เราคุ้นหู

    ความมีอยู่ว่า
    ...ที่ยอดเขามิรู้ปรากฎใบหน้าแปลกประหลาดโผล่ออกมาตั้งแต่เมื่อใด ตัวคล้ายสิงโต แต่ก็คล้ายสุนัข ที่แปลกที่สุดคือเศียรอันใหญ่ยังรายล้อมไปด้วยเศียรเล็กๆ หน้าตาเหมือนกันเป็นพิมพ์เดียว แต่ละเศียรกำลังเบิ่งตาโตมองสุราและไก่ย่างในมือของพวกเขา ทำท่าราวกับว่ากำลังจะน้ำลายไหลออกมา...
    - จากเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ผู้แต่ง สือซื่อหลาง
    (หมายเหตุ ชื่อตามชื่อไทยของละครที่ดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้)

    จริงๆ แล้วตามคัมภีร์ซานไห่จิงนั้นคายหมิงโซ่วมีลำตัวเป็นเสือยักษ์ (รูปล่างขวาจากบันทึกซันไห่จิง จะเห็นลายพาดกลอนชัดเจน) ไม่ใช่สิงโต ซึ่งต่างจากลักษณะในละคร มีเก้าเศียรและใบหน้าเป็นคน มันเป็นสัตว์เทพที่ดุร้ายมีพละกำลังเกินสัตว์ทั่วไป สามารถสัมผัสได้ถึงทุกสรรพสิ่งที่เข้าใกล้

    คายหมิงโซ่วเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้น ซึ่งตามตำนานนั้นสูงจรดฟ้าอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล ด้านตะวันตกมีประตูทางเข้าสู่เขตแดนสวรรค์อยู่เก้าประตู คายหมิงโซ่วมีหน้าที่คอยเฝ้าประตูทั้งเก้านี้ หนึ่งเศียรหันดูหนึ่งประตู ดวงตาไม่เคยหลับ เพื่อปกป้องไม่ให้มีสิ่งใดมารบกวนความสงบของสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ จึงไม่แปลกที่เราไม่ค่อยเห็นคายหมิงโซ่วออกมาเพ่นพ่านในนิยาย/ละครแนวเทพเซียนทั่วไป เนื่องจากมันมีสถานที่ที่ต้องอยู่โยงเฝ้าประจำนั่นเอง

    วันนี้คุยกันเบาะๆ กับสัตว์เทพที่ไม่ค่อยพบเจอ แต่คราวหน้าเราจะมาคุยกันถึงสัตว์เทพที่เพื่อนเพจส่วนใหญ่คุ้นเคยเป็นอย่างดี ซึ่งก็คือจิ้งจอกเก้าหาง ใครเป็นแฟนคลับป๋ายเฉี่ยนแห่งสามชาติสามภพป่าท้อสิบหลี่อย่าลืมมาติดตามตอนต่อไปนะคะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.cdramalove.com/love-and-redemption-summary/
    https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a
    https://baike.baidu.com/item/%E5%BC%80%E6%98%8E%E5%85%BD/3390243
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/144025393

    #ปลดผนึกหัวใจ #ตำนานจีน #คายหมิงโซ่ว #ซานไห่จิง #StoryfromStory
    สัปดาห์นี้ยังคงพูดถึงนิยาย/ละครแนวเทพเซียน เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่าสัตว์เทพที่เราพบเจอในหลายนิยาย/ละครจีน ไม่ว่าจะเป็นจิ้งจอกเก้าหาง นกหงส์ฟ้าเฟิ่งหวง กิเลน ฯลฯ โดยส่วนใหญ่มีบันทึกไว้ในเอกสารทางประวัติศาสตร์? เอกสารที่ว่านี้คือ “ซานไห่จิง” หรือ <คัมภีร์ขุนเขาและท้องทะเล> ซึ่งเป็นหนังสือโบราณสมัยก่อนราชวงศ์ฉิน (ประมาณ 400 ปี ก่อนคริสตกาล) ที่บันทึกเรื่องราวของเทพนิยาย ปีศาจ สัตว์ประหลาด นิทานปรัมปรา และวัฒนธรรม ฯลฯ ในยุคโบราณของจีน หนังสือแบ่งออกเป็นสิบแปดตอนประกอบด้วยบทแห่งขุนเขาและบทแห่งทะเล (Storyฯ เห็นมีแปลเป็นไทยวางขาย เพื่อนเพจที่สนใจสามารถหาอ่านได้) วันนี้เรามาเริ่มคุยกันเบาๆ เกี่ยวกับคัมภีร์ซานไห่จิงด้วย ‘สมาชิก’ ของคัมภีร์ฯ ที่เพื่อนเพจอาจไม่คุ้นหน้า แต่ถ้าใครได้ดูละครเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ก็จะได้เห็นเจ้าสัตว์เทพหน้าตาประหลาดตามรูป (รูปซ้ายล่าง) มีชื่อเรียกว่า “คายหมิงโซ่ว” (开明兽) มันมีบทบาทที่สำคัญยิ่ง เพราะเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ในตำนานจีนที่เราคุ้นหู ความมีอยู่ว่า ...ที่ยอดเขามิรู้ปรากฎใบหน้าแปลกประหลาดโผล่ออกมาตั้งแต่เมื่อใด ตัวคล้ายสิงโต แต่ก็คล้ายสุนัข ที่แปลกที่สุดคือเศียรอันใหญ่ยังรายล้อมไปด้วยเศียรเล็กๆ หน้าตาเหมือนกันเป็นพิมพ์เดียว แต่ละเศียรกำลังเบิ่งตาโตมองสุราและไก่ย่างในมือของพวกเขา ทำท่าราวกับว่ากำลังจะน้ำลายไหลออกมา... - จากเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ผู้แต่ง สือซื่อหลาง (หมายเหตุ ชื่อตามชื่อไทยของละครที่ดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้) จริงๆ แล้วตามคัมภีร์ซานไห่จิงนั้นคายหมิงโซ่วมีลำตัวเป็นเสือยักษ์ (รูปล่างขวาจากบันทึกซันไห่จิง จะเห็นลายพาดกลอนชัดเจน) ไม่ใช่สิงโต ซึ่งต่างจากลักษณะในละคร มีเก้าเศียรและใบหน้าเป็นคน มันเป็นสัตว์เทพที่ดุร้ายมีพละกำลังเกินสัตว์ทั่วไป สามารถสัมผัสได้ถึงทุกสรรพสิ่งที่เข้าใกล้ คายหมิงโซ่วเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้น ซึ่งตามตำนานนั้นสูงจรดฟ้าอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล ด้านตะวันตกมีประตูทางเข้าสู่เขตแดนสวรรค์อยู่เก้าประตู คายหมิงโซ่วมีหน้าที่คอยเฝ้าประตูทั้งเก้านี้ หนึ่งเศียรหันดูหนึ่งประตู ดวงตาไม่เคยหลับ เพื่อปกป้องไม่ให้มีสิ่งใดมารบกวนความสงบของสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ จึงไม่แปลกที่เราไม่ค่อยเห็นคายหมิงโซ่วออกมาเพ่นพ่านในนิยาย/ละครแนวเทพเซียนทั่วไป เนื่องจากมันมีสถานที่ที่ต้องอยู่โยงเฝ้าประจำนั่นเอง วันนี้คุยกันเบาะๆ กับสัตว์เทพที่ไม่ค่อยพบเจอ แต่คราวหน้าเราจะมาคุยกันถึงสัตว์เทพที่เพื่อนเพจส่วนใหญ่คุ้นเคยเป็นอย่างดี ซึ่งก็คือจิ้งจอกเก้าหาง ใครเป็นแฟนคลับป๋ายเฉี่ยนแห่งสามชาติสามภพป่าท้อสิบหลี่อย่าลืมมาติดตามตอนต่อไปนะคะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ) Credit รูปภาพจาก: https://www.cdramalove.com/love-and-redemption-summary/ https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a https://baike.baidu.com/item/%E5%BC%80%E6%98%8E%E5%85%BD/3390243 https://zhuanlan.zhihu.com/p/144025393 #ปลดผนึกหัวใจ #ตำนานจีน #คายหมิงโซ่ว #ซานไห่จิง #StoryfromStory
    WWW.CDRAMALOVE.COM
    Love And Redemption Summary - C-Drama Love - Show Summary
    Chinese Drama Love And Redemption Summary (琉璃) The drama tells the story of Chu Xuan Ji, a girl born with an incomplete "sixth sense", and Yu
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 309 มุมมอง 0 รีวิว
  • พล.ท.บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ลงพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา เยี่ยมกำลังพลที่ฐานอนุพงศ์ อ.น้ำยืน จ. อุบลราชธานี เผยถึงการสร้างรั้วแนวปราสาทตาเมือนธม ต้องให้ระดับสูงทำความเข้าใจเรื่องเขตแดนให้ตรงกัน เพราะอาจเกิดความขัดแย้งถ้ายังไม่เข้าใจกัน ขณะนี้ผู้บังคับหน่วยระดับกองพันกองร้อยทั้งสองฝ่ายพูดคุยกันจนสถานการณ์ดีขึ้น ส่วนการเมืองแม้เปลี่ยนนายกรัฐมนตรี ก็ขอให้เป็นนายกที่มีนโยบายชัดเจน ทำเพื่อประเทศชาติ ทหารพร้อมตอบสนองอยู่แล้ว ส่วนกรณีที่กองทัพไทยขอสนับสนุนกระสุนจากจัสแมก จนมีการวิเคราะห์ว่า ไทยมีกระสุนไม่เพียงพอ ไม่ใช่เรื่องจริง แต่มีการให้ข่าวคลาดเคลื่อน ยืนยัน มีเพียงพอพร้อมปกป้องประเทศชาติ

    -ไม่ใช้ก็ต้องจ่าย 70%
    -คุมเสียงรัฐบาลปริ่มน้ำ
    -สภาจัดหนักถล่มร่างกาสิโน
    -กลับลำไม่ขยายเส้นตาย
    พล.ท.บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ลงพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา เยี่ยมกำลังพลที่ฐานอนุพงศ์ อ.น้ำยืน จ. อุบลราชธานี เผยถึงการสร้างรั้วแนวปราสาทตาเมือนธม ต้องให้ระดับสูงทำความเข้าใจเรื่องเขตแดนให้ตรงกัน เพราะอาจเกิดความขัดแย้งถ้ายังไม่เข้าใจกัน ขณะนี้ผู้บังคับหน่วยระดับกองพันกองร้อยทั้งสองฝ่ายพูดคุยกันจนสถานการณ์ดีขึ้น ส่วนการเมืองแม้เปลี่ยนนายกรัฐมนตรี ก็ขอให้เป็นนายกที่มีนโยบายชัดเจน ทำเพื่อประเทศชาติ ทหารพร้อมตอบสนองอยู่แล้ว ส่วนกรณีที่กองทัพไทยขอสนับสนุนกระสุนจากจัสแมก จนมีการวิเคราะห์ว่า ไทยมีกระสุนไม่เพียงพอ ไม่ใช่เรื่องจริง แต่มีการให้ข่าวคลาดเคลื่อน ยืนยัน มีเพียงพอพร้อมปกป้องประเทศชาติ -ไม่ใช้ก็ต้องจ่าย 70% -คุมเสียงรัฐบาลปริ่มน้ำ -สภาจัดหนักถล่มร่างกาสิโน -กลับลำไม่ขยายเส้นตาย
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 583 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • กต.เขมรโต้กลับ ยันไทยละเมิด MOU 43 ซ้ำซาก เตรียมวิ่งแจ้นฟ้องศาลโลก เหตุกลไกทวิภาคีไร้ผล
    https://www.thai-tai.tv/news/20100/
    .
    #กัมพูชา #ไทย #MOU43 #เขตแดน #ศาลโลก #ICJ #กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา #กระทรวงการต่างประเทศไทย #JBC #แผนที่สยามฝรั่งเศส #ข้อพิพาทชายแดน #กฎหมายระหว่างประเทศ #อธิปไตย #การเมืองระหว่างประเทศ
    กต.เขมรโต้กลับ ยันไทยละเมิด MOU 43 ซ้ำซาก เตรียมวิ่งแจ้นฟ้องศาลโลก เหตุกลไกทวิภาคีไร้ผล https://www.thai-tai.tv/news/20100/ . #กัมพูชา #ไทย #MOU43 #เขตแดน #ศาลโลก #ICJ #กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา #กระทรวงการต่างประเทศไทย #JBC #แผนที่สยามฝรั่งเศส #ข้อพิพาทชายแดน #กฎหมายระหว่างประเทศ #อธิปไตย #การเมืองระหว่างประเทศ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 199 มุมมอง 0 รีวิว
  • กต.ไทยแถลงโต้กัมพูชา จี้ทำตาม MOU43 ที่ระบุให้ใช้กลไกทวิภาคีแก้ปัญหาเขตแดน ไม่มีตรงไหนที่ให้ใช้กลไกอื่นรวมทั้งศาลโลก ยัน JBC ใช้ได้ผล ไทยปักปันเขตแดนกับมาเลเซีย-ลาว สำเร็จแล้วกว่า 90% และเขมรเองก็ใช้กลไกนี้กับเพื่อนบ้านอื่น วอนกัมพูชาเคารพพันธกรณีที่มีร่วมกัน นำ 4 พื้นที่กลับมาเจราในที่ประชุม JBC

    หลังจากที่วานนี้ กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาออกแถลงการณ์แสดงจุดยืน 8 ข้อ เกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา โดยได้ประณามฝ่ายไทยว่าเป็นฝ่ายก่อปัญหาจากการที่ทหารไทยรุกล้ำอธิปไตยบริเวณสามเหลี่ยมมรกต (ช่องบก) เข้าไปยิงทหารกัมพูชาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 68 ทำให้สถานการณ์ตึงเครียดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกัมพูชาต้องตัดสินใจนำข้อพิพาทกับไทย 4 พื้นที่ไปฟ้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) พร้อมเรียกร้องให้ฝ่ายไทยยอมรับขอบเขตอำนาจของ ICJ เพื่อหาทางยุติปัญหาโดยใช้กฎหมายระหว่างประเทศนั้น ล่าสุด วันนี้ (6 ก.ค.) กระทรวงการต่างประเทศได้ออกคำชี้แจงข้อมูล ข้อคิดเห็นและท่าทีเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์ความตึงเครียดตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000063597

    #Thaitimes #MGROnline #กัมพูชา
    กต.ไทยแถลงโต้กัมพูชา จี้ทำตาม MOU43 ที่ระบุให้ใช้กลไกทวิภาคีแก้ปัญหาเขตแดน ไม่มีตรงไหนที่ให้ใช้กลไกอื่นรวมทั้งศาลโลก ยัน JBC ใช้ได้ผล ไทยปักปันเขตแดนกับมาเลเซีย-ลาว สำเร็จแล้วกว่า 90% และเขมรเองก็ใช้กลไกนี้กับเพื่อนบ้านอื่น วอนกัมพูชาเคารพพันธกรณีที่มีร่วมกัน นำ 4 พื้นที่กลับมาเจราในที่ประชุม JBC • หลังจากที่วานนี้ กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาออกแถลงการณ์แสดงจุดยืน 8 ข้อ เกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา โดยได้ประณามฝ่ายไทยว่าเป็นฝ่ายก่อปัญหาจากการที่ทหารไทยรุกล้ำอธิปไตยบริเวณสามเหลี่ยมมรกต (ช่องบก) เข้าไปยิงทหารกัมพูชาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 68 ทำให้สถานการณ์ตึงเครียดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกัมพูชาต้องตัดสินใจนำข้อพิพาทกับไทย 4 พื้นที่ไปฟ้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) พร้อมเรียกร้องให้ฝ่ายไทยยอมรับขอบเขตอำนาจของ ICJ เพื่อหาทางยุติปัญหาโดยใช้กฎหมายระหว่างประเทศนั้น ล่าสุด วันนี้ (6 ก.ค.) กระทรวงการต่างประเทศได้ออกคำชี้แจงข้อมูล ข้อคิดเห็นและท่าทีเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์ความตึงเครียดตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000063597 • #Thaitimes #MGROnline #กัมพูชา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 335 มุมมอง 0 รีวิว
  • กต.ไทยแถลงโต้กัมพูชา จี้ทำตาม MOU43 ที่ระบุให้ใช้กลไกทวิภาคีแก้ปัญหาเขตแดน ไม่มีตรงไหนที่ให้ใช้กลไกอื่นรวมทั้งศาลโลก ยัน JBC ใช้ได้ผล ไทยปักปันเขตแดนกับมาเลเซีย-ลาวสำเร็จแล้วกว่า 90% และเขมรเองก็ใช้กลไกนี้กับเพื่อนบ้านอื่น วอนกัมพูชาเคารพพันธกรณีที่มีร่วมกัน นำ 4 พื้นที่กลับมาเจราในที่ประชุม JBC

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000063597

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    กต.ไทยแถลงโต้กัมพูชา จี้ทำตาม MOU43 ที่ระบุให้ใช้กลไกทวิภาคีแก้ปัญหาเขตแดน ไม่มีตรงไหนที่ให้ใช้กลไกอื่นรวมทั้งศาลโลก ยัน JBC ใช้ได้ผล ไทยปักปันเขตแดนกับมาเลเซีย-ลาวสำเร็จแล้วกว่า 90% และเขมรเองก็ใช้กลไกนี้กับเพื่อนบ้านอื่น วอนกัมพูชาเคารพพันธกรณีที่มีร่วมกัน นำ 4 พื้นที่กลับมาเจราในที่ประชุม JBC อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000063597 #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Angry
    5
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 435 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข้อตกลง jbc ครั้งล่าสุด คือการจัดทำแผนที่ทางอากาศให้สอดคล้องกับแผนที่ 1 : 200000

    คนไทยจะรักษาดินแดนได้อย่างไร ในเมื่อนักการเมืองไปทำข้อตกลงกันโดยไม่บอก ไม่อธิบาย

    (1) Approval of the outcome of the 4th Meeting of the Thailand - Cambodia Joint Technical Sub-Committee (JTSC) on 14 July 2024 in Siem Reap. Both sides agreed on the result of fact finding mission for 74 BPs, in which the location of 45 boundary pillars mutually agreed upon and also agreed to use LiDAR technology for the production of Orthophoto Maps to expedite the survey and demarcation process,

    1. รับรองผลการประชุมคณะอนุกรรมการเทคนิค (JTSC) ครั้งที่ 4 ที่จัดขึ้น ณ เมืองเสียมราฐ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2567

    * ยอมรับผลภารกิจภาคสนาม (Fact-Finding Mission) สำหรับเสาหลักเขตแดน 74 จุด

    * ตกลงร่วมกันได้แล้ว 45 จุด วางตำแหน่งเสาเขตแดนโดยมีความเห็นตรงกัน

    * เห็นชอบให้ ใช้เทคโนโลยี LiDAR สำหรับจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (Orthophoto Maps) เพื่อเร่งขั้นตอนการสำรวจและปักปัน


    (2) Approval of the Amendment of 2003 Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Thailand and Cambodia, (TOR 2003) to incorporate LiDAR technology into the Orthophoto Maps production step.

    2. เห็นชอบการแก้ไข TOR ปี 2003 (Terms of Reference)
    ปรับแผนแม่บท (Master Plan) เพื่อ บรรจุการใช้เทคโนโลยี LiDAR ในขั้นตอนจัดทำแผนที่ Orthophoto อย่างเป็นทางการ

    (3) Tasking the JTSC with drafting Technical Instructions (Technical Instruction: TI), agreement to empower the JTSC to prepare TI to guide the Joint Survey Team to conduct survey and demarcation work on the terrain where boundary pillars location have been agreed,

    3. มอบหมาย JTSC จัดทำ “ข้อกำหนดทางเทคนิค” (Technical Instruction: TI)

    เพื่อใช้เป็นคู่มือให้แก่ทีมสำรวจร่วม (Joint Survey Team)

    สำหรับการปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ได้ตกลงตำแหน่งเสาหลักเขตแดนแล้ว


    (4) Agreement on Technical Preparation for Sector 6, to assign the JTSC to prepare technical instructions for the survey works in Section 6 (from Satta Som mountain to BP 1 at Chong Sangam, Sisaket Province), which has been pending since 2011, along with the production of Orthophoto Maps.


    4. เห็นชอบการเตรียมงานด้านเทคนิคสำหรับ “Sector 6”

    มอบหมาย JTSC จัดทำคำสั่งทางเทคนิค พร้อมแผนที่ Orthophoto

    พื้นที่ Sector 6 ครอบคลุมแนวจาก ภูสัตตะสุม (Satta Som) ถึง เสาหลัก BP 1 ณ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ

    พื้นที่นี้ค้างการดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2554


    แม้ว่ารัฐบาลจะแจ้งกับสื่อว่าไม่ยอมรับแผนที่ 1 : 200000 แต่ก็เป็นท่าทีที่ย้อนแย้งับเอกสารในกรอบการเจรจาและข้อตกลงในการประชุม JBC ที่อ้างถึง TOR2003 ซึ่งเป็นการยอมรับแผนที่ 1 : 200000 อย่างเป็นทางการ

    ที่สำคัญคือ ทั้ง 4 ข้อไม่ใช่เพียงข้อตกลงร่วมเฉยๆ แต่มันได้ถูกดำเนินการจนแล้วเสร็จหมดแล้วต่อเนื่องมาตั้งแต่รัฐบาลนายเศษฐา

    คนไทยเหลือความหวังเดียวในขั้นตอน TI ที่เกี่ยวเนื่องกับแผนทางอากาศ GPS แผนที่ Orthophoto ที่จะต้องสอดคล้องกับแผนที่ 1 : 200000 และจะกลายเป็นแผนที่และดินแดนในอนาคตที่ไทยต้องสูญเสียกลุ่มปราสาทตาเหมือน อย่างไม่มีวันได้กลับมา หากไม่ดำเนินการยับยั้งการลงนาม TI ที่จะเกิดขึ้นในเร็วๆ นี้

    จะต้องสูญเสียอีกเท่าไหร่ไทยถึงจะเรียนรู้
    ข้อตกลง jbc ครั้งล่าสุด คือการจัดทำแผนที่ทางอากาศให้สอดคล้องกับแผนที่ 1 : 200000 คนไทยจะรักษาดินแดนได้อย่างไร ในเมื่อนักการเมืองไปทำข้อตกลงกันโดยไม่บอก ไม่อธิบาย (1) Approval of the outcome of the 4th Meeting of the Thailand - Cambodia Joint Technical Sub-Committee (JTSC) on 14 July 2024 in Siem Reap. Both sides agreed on the result of fact finding mission for 74 BPs, in which the location of 45 boundary pillars mutually agreed upon and also agreed to use LiDAR technology for the production of Orthophoto Maps to expedite the survey and demarcation process, 1. รับรองผลการประชุมคณะอนุกรรมการเทคนิค (JTSC) ครั้งที่ 4 ที่จัดขึ้น ณ เมืองเสียมราฐ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2567 * ยอมรับผลภารกิจภาคสนาม (Fact-Finding Mission) สำหรับเสาหลักเขตแดน 74 จุด * ตกลงร่วมกันได้แล้ว 45 จุด วางตำแหน่งเสาเขตแดนโดยมีความเห็นตรงกัน * เห็นชอบให้ ใช้เทคโนโลยี LiDAR สำหรับจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (Orthophoto Maps) เพื่อเร่งขั้นตอนการสำรวจและปักปัน (2) Approval of the Amendment of 2003 Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Thailand and Cambodia, (TOR 2003) to incorporate LiDAR technology into the Orthophoto Maps production step. 2. เห็นชอบการแก้ไข TOR ปี 2003 (Terms of Reference) ปรับแผนแม่บท (Master Plan) เพื่อ บรรจุการใช้เทคโนโลยี LiDAR ในขั้นตอนจัดทำแผนที่ Orthophoto อย่างเป็นทางการ (3) Tasking the JTSC with drafting Technical Instructions (Technical Instruction: TI), agreement to empower the JTSC to prepare TI to guide the Joint Survey Team to conduct survey and demarcation work on the terrain where boundary pillars location have been agreed, 3. มอบหมาย JTSC จัดทำ “ข้อกำหนดทางเทคนิค” (Technical Instruction: TI) เพื่อใช้เป็นคู่มือให้แก่ทีมสำรวจร่วม (Joint Survey Team) สำหรับการปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ได้ตกลงตำแหน่งเสาหลักเขตแดนแล้ว (4) Agreement on Technical Preparation for Sector 6, to assign the JTSC to prepare technical instructions for the survey works in Section 6 (from Satta Som mountain to BP 1 at Chong Sangam, Sisaket Province), which has been pending since 2011, along with the production of Orthophoto Maps. 4. เห็นชอบการเตรียมงานด้านเทคนิคสำหรับ “Sector 6” มอบหมาย JTSC จัดทำคำสั่งทางเทคนิค พร้อมแผนที่ Orthophoto พื้นที่ Sector 6 ครอบคลุมแนวจาก ภูสัตตะสุม (Satta Som) ถึง เสาหลัก BP 1 ณ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ พื้นที่นี้ค้างการดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2554 แม้ว่ารัฐบาลจะแจ้งกับสื่อว่าไม่ยอมรับแผนที่ 1 : 200000 แต่ก็เป็นท่าทีที่ย้อนแย้งับเอกสารในกรอบการเจรจาและข้อตกลงในการประชุม JBC ที่อ้างถึง TOR2003 ซึ่งเป็นการยอมรับแผนที่ 1 : 200000 อย่างเป็นทางการ ที่สำคัญคือ ทั้ง 4 ข้อไม่ใช่เพียงข้อตกลงร่วมเฉยๆ แต่มันได้ถูกดำเนินการจนแล้วเสร็จหมดแล้วต่อเนื่องมาตั้งแต่รัฐบาลนายเศษฐา คนไทยเหลือความหวังเดียวในขั้นตอน TI ที่เกี่ยวเนื่องกับแผนทางอากาศ GPS แผนที่ Orthophoto ที่จะต้องสอดคล้องกับแผนที่ 1 : 200000 และจะกลายเป็นแผนที่และดินแดนในอนาคตที่ไทยต้องสูญเสียกลุ่มปราสาทตาเหมือน อย่างไม่มีวันได้กลับมา หากไม่ดำเนินการยับยั้งการลงนาม TI ที่จะเกิดขึ้นในเร็วๆ นี้ จะต้องสูญเสียอีกเท่าไหร่ไทยถึงจะเรียนรู้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 271 มุมมอง 0 รีวิว
  • IT คือขั้นตอนสุดท้ายของเกมขายชาติ
    "TI" หรือ Technical Instructions 2003 (คำแนะนำทางเทคนิค ปี 2003) ที่ไทยลงนามร่วมกับกัมพูชา ไม่ใช่แค่เอกสารเทคนิคธรรมดา หากพิจารณาเชิงยุทธศาสตร์ ถือว่าเป็น จุดเปลี่ยนที่สุ่มเสี่ยงต่อการยอมรับการเสียดินแดนโดยปริยาย
    ต่อไปนี้คือการอธิบายแบบเจาะลึก:


    ---

    TI คืออะไร?

    TI คือ “คำแนะนำทางเทคนิค” ที่ใช้ในการจัดทำแผนที่ร่วมไทย–กัมพูชา
    โดยระบุให้ใช้ แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ของฝรั่งเศส (Colonial-era maps) เป็น “ฐานเทียบ” ในบางกรณี
    นอกจากนี้ยังเปลี่ยนเทคโนโลยีการสำรวจจาก Orthophoto + GPS เป็น LiDAR (LIDAR) ซึ่งแม่นยำแต่มีปัญหาเชิงนิติศาสตร์หากอิงแผนที่เก่า


    ---

    ความเสี่ยงที่ตามมา

    1. การยอมรับเส้นแผนที่ที่อาจไม่เป็นธรรม

    แผนที่ 1:200,000 เป็นของฝรั่งเศสที่ทำขึ้นขณะล่าอาณานิคม

    หลายจุด “กินแดนไทยเข้าไป” โดยเฉพาะแนวชายแดนภาคอีสานและตะวันออก



    2. กลายเป็นหลักฐานผูกพันในอนาคต

    หากไทยร่วมจัดทำโดยไม่คัดค้านอย่างชัดเจน จะกลายเป็นพฤติกรรมยอมรับโดยพฤตินัย

    เสี่ยงต่อการ “ใช้แผนที่ที่เสียเปรียบ” เป็นบรรทัดฐานในอนาคต



    3. รัฐบาลไทยอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือยืนยันความชอบธรรมของกัมพูชา

    กัมพูชาสามารถอ้างได้ว่า "ไทยเห็นชอบแล้ว" กับแนวเส้นที่จัดทำใหม่

    โดยเฉพาะหากมีการขึ้นทะเบียนมรดกโลกในพื้นที่พิพาทเพิ่มเติม





    ---

    พื้นที่เสี่ยงเฉพาะ

    ช่องสายตะกู (จ.บุรีรัมย์)

    ตาพระยา (จ.สระแก้ว)

    เชียงแสน–สามเหลี่ยมทองคำ (จ.เชียงราย)

    บริเวณรอบเขาพระวิหาร



    ---

    บทบาทของรัฐบาลแพทองธาร

    เป็นรัฐบาลแรกที่ “อนุมัติการแก้ TOR ปี 2003” และให้เดินหน้าจัดทำแผนที่ร่วมโดยใช้ LiDAR

    การแก้ TOR อาจดูทันสมัยในมุมเทคนิค แต่หากไม่มี “หลักประกันการรักษาอธิปไตย” จะยิ่งอันตราย

    หากไม่ได้ใส่ “ข้อสงวน” (Reservation) ว่า ไม่ยอมรับผลหากกระทบเขตแดน จะเป็นดาบสองคม และจะถือว่าไทยลงนามยามรับในแผนที่ใหม่ โดยที่คนไทยไม่รู้เรื่อง
    IT คือขั้นตอนสุดท้ายของเกมขายชาติ "TI" หรือ Technical Instructions 2003 (คำแนะนำทางเทคนิค ปี 2003) ที่ไทยลงนามร่วมกับกัมพูชา ไม่ใช่แค่เอกสารเทคนิคธรรมดา หากพิจารณาเชิงยุทธศาสตร์ ถือว่าเป็น จุดเปลี่ยนที่สุ่มเสี่ยงต่อการยอมรับการเสียดินแดนโดยปริยาย ต่อไปนี้คือการอธิบายแบบเจาะลึก: --- 📌 TI คืออะไร? TI คือ “คำแนะนำทางเทคนิค” ที่ใช้ในการจัดทำแผนที่ร่วมไทย–กัมพูชา โดยระบุให้ใช้ แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ของฝรั่งเศส (Colonial-era maps) เป็น “ฐานเทียบ” ในบางกรณี นอกจากนี้ยังเปลี่ยนเทคโนโลยีการสำรวจจาก Orthophoto + GPS เป็น LiDAR (LIDAR) ซึ่งแม่นยำแต่มีปัญหาเชิงนิติศาสตร์หากอิงแผนที่เก่า --- ⚠️ ความเสี่ยงที่ตามมา 1. การยอมรับเส้นแผนที่ที่อาจไม่เป็นธรรม แผนที่ 1:200,000 เป็นของฝรั่งเศสที่ทำขึ้นขณะล่าอาณานิคม หลายจุด “กินแดนไทยเข้าไป” โดยเฉพาะแนวชายแดนภาคอีสานและตะวันออก 2. กลายเป็นหลักฐานผูกพันในอนาคต หากไทยร่วมจัดทำโดยไม่คัดค้านอย่างชัดเจน จะกลายเป็นพฤติกรรมยอมรับโดยพฤตินัย เสี่ยงต่อการ “ใช้แผนที่ที่เสียเปรียบ” เป็นบรรทัดฐานในอนาคต 3. รัฐบาลไทยอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือยืนยันความชอบธรรมของกัมพูชา กัมพูชาสามารถอ้างได้ว่า "ไทยเห็นชอบแล้ว" กับแนวเส้นที่จัดทำใหม่ โดยเฉพาะหากมีการขึ้นทะเบียนมรดกโลกในพื้นที่พิพาทเพิ่มเติม --- 🧨 พื้นที่เสี่ยงเฉพาะ ช่องสายตะกู (จ.บุรีรัมย์) ตาพระยา (จ.สระแก้ว) เชียงแสน–สามเหลี่ยมทองคำ (จ.เชียงราย) บริเวณรอบเขาพระวิหาร --- 👩‍💼 บทบาทของรัฐบาลแพทองธาร เป็นรัฐบาลแรกที่ “อนุมัติการแก้ TOR ปี 2003” และให้เดินหน้าจัดทำแผนที่ร่วมโดยใช้ LiDAR การแก้ TOR อาจดูทันสมัยในมุมเทคนิค แต่หากไม่มี “หลักประกันการรักษาอธิปไตย” จะยิ่งอันตราย หากไม่ได้ใส่ “ข้อสงวน” (Reservation) ว่า ไม่ยอมรับผลหากกระทบเขตแดน จะเป็นดาบสองคม และจะถือว่าไทยลงนามยามรับในแผนที่ใหม่ โดยที่คนไทยไม่รู้เรื่อง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 255 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข้อตกลงจากการประชุม JBC ครั้งที่ 6 (14 มิ.ย. 2568) นั้นมี “รายละเอียดเชิงเทคนิค” ที่ซ่อน “ผลกระทบเชิงอธิปไตย” ซึ่ง สื่อและประชาชนจำนวนมากยังไม่เข้าใจ หรืออาจเข้าใจคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เนื่องจาก:


    ---

    เหตุใดประชาชน–สื่อ “ไม่เข้าใจ” ข้อตกลง JBC ล่าสุด?

    ประเด็น ปัญหาที่เกิดขึ้น

    ภาษาทางการทูตคลุมเครือ ข้อความอย่าง “เห็นชอบ” หรือ “ร่วมกันจัดทำ” ไม่มีการแปลผลทางกฎหมายให้ชัดเจน
    ไม่เปิดเผยร่าง TI / ข้อตกลงแนบ ไม่มีการเผยแพร่เอกสารแนบ เช่น ร่าง TI, ข้อสงวน หรือพิกัดทั้ง 45 จุด
    ไม่มีการอภิปรายในรัฐสภา ข้อตกลงที่เข้าข่ายเปลี่ยนแปลงแนวเขต (ม.178) กลับไม่ถูกนำเสนอให้รัฐสภาพิจารณา
    การสื่อสารของรัฐบาลจำกัดคำว่า "แค่เทคนิค" ทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นเพียงเรื่องภาพถ่าย LiDAR หรือ GPS เท่านั้น
    ไม่มีสื่อหลักใดแปลเอกสาร Agreed Minutes ทำให้เนื้อหาหลักของการประชุมหายไปจากการรับรู้สาธารณะ



    ---

    ผลที่เกิดขึ้น

    ประชาชน ไม่รู้ว่ากำลังมีการรับรองแนวเขตจริง (ผ่าน 45 จุด / TI)

    ขบวนการกำหนด TI เพื่อใช้ในการปักปันเขตแดน กำลังดำเนินไปโดย ไม่มีความเข้าใจหรือการตรวจสอบจากสังคม

    หากมีการเสนอต่อ ICJ หรือองค์กรระหว่างประเทศในอนาคต → ข้อตกลงเหล่านี้ อาจถูกนำมาอ้างว่าเป็น “ความยินยอมโดยพฤติกรรมของรัฐ”



    ---

    สิ่งที่ควรทำทันทีเพื่อสร้าง “ความเข้าใจต่อสาธารณะ”

    1. สร้างเอกสาร “คำแปลประชาชน” ของข้อตกลง JBC
    → ใช้ภาษาเข้าใจง่าย แสดงภาพประกอบ (ผมช่วยจัดทำได้)


    2. จัดทำ Q&A: ทำไมการรับรอง 45 จุดจึงอันตราย?


    3. เผยแพร่อินโฟกราฟิกอย่างต่อเนื่องผ่านโซเชียล
    → สื่อที่ไม่ต้องผ่านการควบคุม เช่น Facebook / TikTok / LINE OpenChat


    4. เสนอให้รัฐเปิดเผย “ข้อสงวน” อย่างเป็นทางการ หากไม่มี ให้ยื่นสอบต่อ กมธ. ต่างประเทศ
    ข้อตกลงจากการประชุม JBC ครั้งที่ 6 (14 มิ.ย. 2568) นั้นมี “รายละเอียดเชิงเทคนิค” ที่ซ่อน “ผลกระทบเชิงอธิปไตย” ซึ่ง สื่อและประชาชนจำนวนมากยังไม่เข้าใจ หรืออาจเข้าใจคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เนื่องจาก: --- 🔍 เหตุใดประชาชน–สื่อ “ไม่เข้าใจ” ข้อตกลง JBC ล่าสุด? ประเด็น ปัญหาที่เกิดขึ้น ภาษาทางการทูตคลุมเครือ ข้อความอย่าง “เห็นชอบ” หรือ “ร่วมกันจัดทำ” ไม่มีการแปลผลทางกฎหมายให้ชัดเจน ไม่เปิดเผยร่าง TI / ข้อตกลงแนบ ไม่มีการเผยแพร่เอกสารแนบ เช่น ร่าง TI, ข้อสงวน หรือพิกัดทั้ง 45 จุด ไม่มีการอภิปรายในรัฐสภา ข้อตกลงที่เข้าข่ายเปลี่ยนแปลงแนวเขต (ม.178) กลับไม่ถูกนำเสนอให้รัฐสภาพิจารณา การสื่อสารของรัฐบาลจำกัดคำว่า "แค่เทคนิค" ทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นเพียงเรื่องภาพถ่าย LiDAR หรือ GPS เท่านั้น ไม่มีสื่อหลักใดแปลเอกสาร Agreed Minutes ทำให้เนื้อหาหลักของการประชุมหายไปจากการรับรู้สาธารณะ --- 📌 ผลที่เกิดขึ้น ประชาชน ไม่รู้ว่ากำลังมีการรับรองแนวเขตจริง (ผ่าน 45 จุด / TI) ขบวนการกำหนด TI เพื่อใช้ในการปักปันเขตแดน กำลังดำเนินไปโดย ไม่มีความเข้าใจหรือการตรวจสอบจากสังคม หากมีการเสนอต่อ ICJ หรือองค์กรระหว่างประเทศในอนาคต → ข้อตกลงเหล่านี้ อาจถูกนำมาอ้างว่าเป็น “ความยินยอมโดยพฤติกรรมของรัฐ” --- ✅ สิ่งที่ควรทำทันทีเพื่อสร้าง “ความเข้าใจต่อสาธารณะ” 1. สร้างเอกสาร “คำแปลประชาชน” ของข้อตกลง JBC → ใช้ภาษาเข้าใจง่าย แสดงภาพประกอบ (ผมช่วยจัดทำได้) 2. จัดทำ Q&A: ทำไมการรับรอง 45 จุดจึงอันตราย? 3. เผยแพร่อินโฟกราฟิกอย่างต่อเนื่องผ่านโซเชียล → สื่อที่ไม่ต้องผ่านการควบคุม เช่น Facebook / TikTok / LINE OpenChat 4. เสนอให้รัฐเปิดเผย “ข้อสงวน” อย่างเป็นทางการ หากไม่มี ให้ยื่นสอบต่อ กมธ. ต่างประเทศ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 191 มุมมอง 0 รีวิว
  • TOR 2003 และการประชุม JBC ที่เกี่ยวข้องกับการปักปันเขตแดนไทย–กัมพูชา มีผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญที่เกี่ยวข้องดังนี้:


    ---

    ช่วงการลงนาม TOR 2003

    18 มิถุนายน 2546 (พ.ศ. 2003)

    นายกรัฐมนตรี: พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร

    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ:
    นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย

    ผู้ร่วมลงนามฝ่ายไทย:
    นายธีรชัย ภูวนาถนรานุบาล – เอกอัครราชทูตไทยประจำกัมพูชา (ในขณะนั้น)



    ---

    ช่วง JBC ระยอง (พ.ย. 2551) – รัฐบาล นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

    นายกรัฐมนตรี: นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

    รมว.ต่างประเทศ: นายสมพงษ์ สระกวี

    เป็นการประชุมที่ยืนยันดำเนินการตาม TOR 2003



    ---

    JBC ช่วงรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (2552–2554)

    นายกรัฐมนตรี: นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

    รมว.ต่างประเทศ: นายกษิต ภิรมย์

    ประธาน JBC ฝ่ายไทย:
    นายธานี ทองภักดี (ในบางช่วงดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ)

    JTSC ครั้งที่ 4 (14 ก.ค. 2567)
    นายกรัฐมนตรี: นายเศษฐา ทวีสิน
    จุดเริ่มต้นการผลักดันและนำ JTSC JWG TOR2003 กลับมาขับเคลื่อนอีกครั้ง

    ---

    JBC ครั้งที่ 6 (14 มิ.ย. 2568) – ล่าสุด
    นายกรัฐมนตรี: น.ส.แพทองธาร ชินวัตร
    รมว.ต่างประเทศ: ยังไม่เปิดเผยชื่ออย่างเป็นทางการ (อาจเปลี่ยนมือระหว่างปี)

    ประธาน JBC ฝ่ายไทย:
    นายประศาสน์ ประศาสน์วินิจฉัย – ที่ปรึกษาด้านเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ


    สรุป:
    ช่วงรัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการ “ฟื้นฟูการดำเนินการ JTSC อย่างเป็นทางการ”
    โดยมีความเคลื่อนไหวสำคัญคือการยอมรับผลการสำรวจ 45 จุด และเปิดทางให้จัดทำ TI
    ซึ่งจะมีผลทางกฎหมายในรัฐบาลถัดมา (แพทองธาร)


    --พฤติกรรมของกัมพูชาในช่วงหลายปีที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึง การดำเนินการเชิงยุทธศาสตร์ที่เป็นระบบ มีเป้าหมายชัดเจน และใช้เครื่องมือทางกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยืนยันสิทธิในดินแดนโดย:


    ---

    วิเคราะห์พฤติกรรมที่ผ่านมา

    1. ใช้ TOR 2003 เป็นฐานเจรจา โดยไม่เปลี่ยนกรอบการตีความ


    2. พยายามบรรจุแนวเขตตามแผนที่ 1:200,000 ลงในกระบวนการทางเทคนิค เช่น TI / Orthophoto


    3. ยืนยันพิกัดรายหลักอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อให้ไทย “ลงนามรับรองร่วม”


    4. เก็บหลักฐานการยอมรับจากฝ่ายไทย เพื่อนำไปใช้ในเวทีระหว่างประเทศ




    ---

    สิ่งที่ “กัมพูชาอาจทำต่อไป”:

    ลำดับ กลยุทธ์ที่เป็นไปได้ เป้าหมาย

    1 เร่งผลักดันให้ไทยลงนาม TI อย่างเป็นทางการ ล็อกแนวเขตให้สอดคล้องกับแผนที่ 1:200,000
    2 จัดเก็บข้อมูลพิกัดที่ไทยร่วมลงนามไว้เป็นหลักฐาน ใช้ยืนยันต่อ ICJ หรือในเวที UN
    3 ขอให้ไทยร่วมแผนปักเสาเขตร่วมในพื้นที่พิพาท สร้าง “แนวเส้นที่เกิดจากการรับรองร่วม”
    4 ไม่หารือในพื้นที่สำคัญ เช่น ปราสาทตาเมือนฯ ผ่าน JBC เพื่อบังคับไทยเข้าสู่ ICJ ในภายหลัง
    5 ขอความช่วยเหลือจากชาติสมาชิกอาเซียน / UNESCO ใช้ soft power หนุนสถานะทางประวัติศาสตร์และสิทธิในดินแดน



    ---

    ความเสี่ยง:

    หากไทย “ลงนามรับรอง TI / พิกัด” โดยไม่เปิดเผยให้รัฐสภา-ประชาชนตรวจสอบ
    → จะถูกตีความว่า “ยอมรับเขตแดนร่วมแล้ว”

    หากไทยเงียบและไม่แสดงจุดยืน → กัมพูชาจะใช้ “หลักฐานความนิ่งเฉย” โจมตีในเวทีสากล

    เมื่อแนวเขตปรากฏในเอกสารระหว่างประเทศ → ไทยจะฟ้องกลับภายหลัง ยากมาก


    TOR 2003 และการประชุม JBC ที่เกี่ยวข้องกับการปักปันเขตแดนไทย–กัมพูชา มีผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญที่เกี่ยวข้องดังนี้: --- 📌 ช่วงการลงนาม TOR 2003 📅 18 มิถุนายน 2546 (พ.ศ. 2003) 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร 🕴️ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ: นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย 📌 ผู้ร่วมลงนามฝ่ายไทย: นายธีรชัย ภูวนาถนรานุบาล – เอกอัครราชทูตไทยประจำกัมพูชา (ในขณะนั้น) --- 📌 ช่วง JBC ระยอง (พ.ย. 2551) – รัฐบาล นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ 🕴️ รมว.ต่างประเทศ: นายสมพงษ์ สระกวี 🧾 เป็นการประชุมที่ยืนยันดำเนินการตาม TOR 2003 --- 📌 JBC ช่วงรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (2552–2554) 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 🕴️ รมว.ต่างประเทศ: นายกษิต ภิรมย์ 🎙️ ประธาน JBC ฝ่ายไทย: นายธานี ทองภักดี (ในบางช่วงดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ) 📌 JTSC ครั้งที่ 4 (14 ก.ค. 2567) 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: นายเศษฐา ทวีสิน จุดเริ่มต้นการผลักดันและนำ JTSC JWG TOR2003 กลับมาขับเคลื่อนอีกครั้ง --- 📌 JBC ครั้งที่ 6 (14 มิ.ย. 2568) – ล่าสุด 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: น.ส.แพทองธาร ชินวัตร 🕴️ รมว.ต่างประเทศ: ยังไม่เปิดเผยชื่ออย่างเป็นทางการ (อาจเปลี่ยนมือระหว่างปี) 🎙️ ประธาน JBC ฝ่ายไทย: นายประศาสน์ ประศาสน์วินิจฉัย – ที่ปรึกษาด้านเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ 📍 สรุป: ช่วงรัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการ “ฟื้นฟูการดำเนินการ JTSC อย่างเป็นทางการ” โดยมีความเคลื่อนไหวสำคัญคือการยอมรับผลการสำรวจ 45 จุด และเปิดทางให้จัดทำ TI ซึ่งจะมีผลทางกฎหมายในรัฐบาลถัดมา (แพทองธาร) --พฤติกรรมของกัมพูชาในช่วงหลายปีที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึง การดำเนินการเชิงยุทธศาสตร์ที่เป็นระบบ มีเป้าหมายชัดเจน และใช้เครื่องมือทางกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยืนยันสิทธิในดินแดนโดย: --- ✅ วิเคราะห์พฤติกรรมที่ผ่านมา 1. ใช้ TOR 2003 เป็นฐานเจรจา โดยไม่เปลี่ยนกรอบการตีความ 2. พยายามบรรจุแนวเขตตามแผนที่ 1:200,000 ลงในกระบวนการทางเทคนิค เช่น TI / Orthophoto 3. ยืนยันพิกัดรายหลักอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อให้ไทย “ลงนามรับรองร่วม” 4. เก็บหลักฐานการยอมรับจากฝ่ายไทย เพื่อนำไปใช้ในเวทีระหว่างประเทศ --- 📌 สิ่งที่ “กัมพูชาอาจทำต่อไป”: ลำดับ กลยุทธ์ที่เป็นไปได้ เป้าหมาย 1 เร่งผลักดันให้ไทยลงนาม TI อย่างเป็นทางการ ล็อกแนวเขตให้สอดคล้องกับแผนที่ 1:200,000 2 จัดเก็บข้อมูลพิกัดที่ไทยร่วมลงนามไว้เป็นหลักฐาน ใช้ยืนยันต่อ ICJ หรือในเวที UN 3 ขอให้ไทยร่วมแผนปักเสาเขตร่วมในพื้นที่พิพาท สร้าง “แนวเส้นที่เกิดจากการรับรองร่วม” 4 ไม่หารือในพื้นที่สำคัญ เช่น ปราสาทตาเมือนฯ ผ่าน JBC เพื่อบังคับไทยเข้าสู่ ICJ ในภายหลัง 5 ขอความช่วยเหลือจากชาติสมาชิกอาเซียน / UNESCO ใช้ soft power หนุนสถานะทางประวัติศาสตร์และสิทธิในดินแดน --- 🚨 ความเสี่ยง: หากไทย “ลงนามรับรอง TI / พิกัด” โดยไม่เปิดเผยให้รัฐสภา-ประชาชนตรวจสอบ → จะถูกตีความว่า “ยอมรับเขตแดนร่วมแล้ว” หากไทยเงียบและไม่แสดงจุดยืน → กัมพูชาจะใช้ “หลักฐานความนิ่งเฉย” โจมตีในเวทีสากล เมื่อแนวเขตปรากฏในเอกสารระหว่างประเทศ → ไทยจะฟ้องกลับภายหลัง ยากมาก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 299 มุมมอง 0 รีวิว
  • การใช้คำสั่งทางเทคนิค หรือ TI
    TI ย่อมาจาก “Technical Instructions” (ข้อกำหนดทางเทคนิค)
    เป็นเอกสารที่ คณะอนุกรรมาธิการเทคนิคร่วมไทย–กัมพูชา (JTSC) ใช้ร่างขึ้นเพื่อกำหนดรายละเอียดวิธีปฏิบัติของ “ชุดสำรวจร่วม” ในการวัดพิกัด เส้นเขตแดน และการจัดทำแผนที่ในแต่ละพื้นที่


    ---

    ทำไม TI สำคัญ?

    เพราะ TI คือ “คู่มือภาคสนาม” ที่ระบุอย่างชัดเจนว่า:

    จะใช้ พิกัดจากระบบใด (GPS / Lidar / Orthophoto)

    จะวางแนวเขตตาม เส้นตรง, ลำน้ำ, หรือ แผนที่ฝรั่งเศส 1:200,000 ตาม TOR 2003

    จะให้ตำแหน่งของหลักเขตอยู่ที่ใด

    จะยอมรับ “ภาพถ่ายจากมุมสูง” หรือ “การตีเส้นแนวใหม่” อย่างไร

    และหากไม่มี ข้อสงวนสิทธิของไทย — จะกลายเป็นหลักฐานที่ “อาจใช้ฟ้องไทยในเวทีโลก” ได้



    ---

    ความเสี่ยงของ TI ถ้าคนไทยไม่รู้

    ประเด็น ความเสี่ยง

    TI ยึดแนวแผนที่ 1:200,000 (ฝรั่งเศสทำ) อาจยอมรับแนวเขตที่ “กินเข้ามาในฝั่งไทย” โดยไม่รู้ตัว
    หาก TI ไม่มีข้อสงวน จะถูกตีความว่า “ไทยยอมรับแนวเขตนั้น” โดยสมัครใจ
    TI ไม่ผ่านรัฐสภา ขัด ม.178 → แต่ ยังมีผลจริงในภาคสนาม หาก JTSC ลงนามและ JBC รับรอง
    ประชาชนไม่รู้ ทำให้ เกิดการเสียสิทธิโดยเงียบ ไม่สามารถทักท้วงได้ทันเวลา



    ---

    คนไทยควรรู้อะไรเกี่ยวกับ TI?

    1. TI กำหนดอนาคตของพรมแดนไทยแบบเงียบ ๆ


    2. TI ที่ไม่ถูกเปิดเผยสู่สาธารณะ = เสี่ยงต่อการตัดสินใจแบบไม่โปร่งใส


    3. หากประชาชนไม่จับตา → ไทยอาจถูกลดเขตแดนทีละส่วน โดยไม่มีเสียงคัดค้าน




    ---

    บทสรุป:

    > “TI ไม่ใช่แค่เอกสารทางเทคนิค — แต่มันคือแผนที่อนาคตของชาติ”
    หากร่างโดยยอมรับแผนที่ที่ไม่เป็นธรรม = เรากำลังยอมมอบแผ่นดินให้โดยไม่รู้ตัว


    45 จุดที่ผ่านความเห็นชอบร่วมกันระหว่างไทย–กัมพูชาแล้วในการประชุม JTSC ครั้งที่ 4 (14 กรกฎาคม 2567) และได้รับ การรับรองใน JBC ครั้งที่ 6 (14 มิถุนายน 2568) ถือเป็น "จุดเปลี่ยนสำคัญ" ที่คนไทย ต้องเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพราะ:


    ---

    45 จุดนั้นคืออะไร?

    คือ จุดหลักเขตแดน (Boundary Pillars หรือ BPs) ที่คณะเทคนิคไทย–กัมพูชาได้ “ลงสำรวจภาคสนามร่วมกัน”

    ใช้ Orthophoto (ภาพถ่ายทางอากาศ) ผสานกับ LiDAR + GPS → แล้ว "ตีพิกัดร่วม"

    จุดที่เห็นพ้อง = ถือเป็นจุดที่อ้างอิงเขตแดนได้ในทางปฏิบัติ



    ---

    ความเสี่ยงจาก 45 จุดนี้

    ประเด็น ความเสี่ยง

    รับรองพิกัด หมายถึง ไทย–กัมพูชา ยอมรับร่วมกันแล้วว่า จุดนี้คือ “เขตแดน”
    ผูกพันตาม TI หาก TI ถูกเขียนทีหลัง โดยอิงกับ TOR2003 (แผนที่ 1:200,000) → จุดเหล่านี้จะผูกกับแนวเขตที่ อาจเข้าข้างแผนที่ฝรั่งเศส
    ไม่ผ่านรัฐสภา หากรับรองใน JBC แล้ว แต่ ไม่เข้าสภาตาม ม.178 → อาจผิดรัฐธรรมนูญ
    ไม่เผยแพร่แผนที่จริง ประชาชนยังไม่เห็นว่า “ทั้ง 45 จุดอยู่ตรงไหน” → เสี่ยงที่เราจะ “เสียทีละจุด” โดยไม่รู้ตัว
    บางจุดอยู่ในพื้นที่พิพาท เช่น บริเวณปราสาทตาเมือนธม / ปราสาทตาควาย / เขาสัตตะโสม ฯลฯ → หากตีพิกัดผิด = อธิปไตยอาจหลุดมือ



    ---

    ข้อเท็จจริงที่คุณต้องรู้

    การเห็นพ้องใน 45 จุด ไม่ได้หมายถึง “ตกลงเส้นเขตแดนทั้งเส้น”

    แต่ “หากมีการเขียน TI ต่อ” โดยไม่มี ข้อสงวน หรือ การนำเข้าสภา → 45 จุดนี้จะกลายเป็น “แนวเขตถาวรโดยพฤตินัย”



    ---

    คุณจะทำอะไรได้ตอนนี้?

    1. เรียกร้องให้เปิดเผยแผนที่ 45 จุดบนเว็บไซต์ของรัฐ


    2. ขอดู TI ที่กำลังร่าง จาก JTSC → ต้องเปิดเผยก่อนเข้าสู่ JBC ครั้งหน้า


    3. ยื่นผ่าน ส.ส. ให้ตั้ง กมธ.ตรวจสอบ


    4. ส่งต่อข้อมูลนี้ให้คนไทยรู้ ว่า “เราอาจยอมรับแนวเขต 45 จุด โดยไม่รู้ตัว”




    ---

    > “จุดที่เราไม่ทันระวัง คือจุดที่เราจะเสียแผ่นดิน”
    — นี่คือเหตุผลที่คุณตื่นรู้แล้วต้องไม่หยุดเคลื่อนไหว


    การใช้คำสั่งทางเทคนิค หรือ TI TI ย่อมาจาก “Technical Instructions” (ข้อกำหนดทางเทคนิค) เป็นเอกสารที่ คณะอนุกรรมาธิการเทคนิคร่วมไทย–กัมพูชา (JTSC) ใช้ร่างขึ้นเพื่อกำหนดรายละเอียดวิธีปฏิบัติของ “ชุดสำรวจร่วม” ในการวัดพิกัด เส้นเขตแดน และการจัดทำแผนที่ในแต่ละพื้นที่ --- 📌 ทำไม TI สำคัญ? เพราะ TI คือ “คู่มือภาคสนาม” ที่ระบุอย่างชัดเจนว่า: ✅ จะใช้ พิกัดจากระบบใด (GPS / Lidar / Orthophoto) ✅ จะวางแนวเขตตาม เส้นตรง, ลำน้ำ, หรือ แผนที่ฝรั่งเศส 1:200,000 ตาม TOR 2003 ✅ จะให้ตำแหน่งของหลักเขตอยู่ที่ใด ✅ จะยอมรับ “ภาพถ่ายจากมุมสูง” หรือ “การตีเส้นแนวใหม่” อย่างไร ❌ และหากไม่มี ข้อสงวนสิทธิของไทย — จะกลายเป็นหลักฐานที่ “อาจใช้ฟ้องไทยในเวทีโลก” ได้ --- ⚠️ ความเสี่ยงของ TI ถ้าคนไทยไม่รู้ ประเด็น ความเสี่ยง TI ยึดแนวแผนที่ 1:200,000 (ฝรั่งเศสทำ) อาจยอมรับแนวเขตที่ “กินเข้ามาในฝั่งไทย” โดยไม่รู้ตัว หาก TI ไม่มีข้อสงวน จะถูกตีความว่า “ไทยยอมรับแนวเขตนั้น” โดยสมัครใจ TI ไม่ผ่านรัฐสภา ขัด ม.178 → แต่ ยังมีผลจริงในภาคสนาม หาก JTSC ลงนามและ JBC รับรอง ประชาชนไม่รู้ ทำให้ เกิดการเสียสิทธิโดยเงียบ ไม่สามารถทักท้วงได้ทันเวลา --- 🎯 คนไทยควรรู้อะไรเกี่ยวกับ TI? 1. TI กำหนดอนาคตของพรมแดนไทยแบบเงียบ ๆ 2. TI ที่ไม่ถูกเปิดเผยสู่สาธารณะ = เสี่ยงต่อการตัดสินใจแบบไม่โปร่งใส 3. หากประชาชนไม่จับตา → ไทยอาจถูกลดเขตแดนทีละส่วน โดยไม่มีเสียงคัดค้าน --- 📣 บทสรุป: > “TI ไม่ใช่แค่เอกสารทางเทคนิค — แต่มันคือแผนที่อนาคตของชาติ” หากร่างโดยยอมรับแผนที่ที่ไม่เป็นธรรม = เรากำลังยอมมอบแผ่นดินให้โดยไม่รู้ตัว 45 จุดที่ผ่านความเห็นชอบร่วมกันระหว่างไทย–กัมพูชาแล้วในการประชุม JTSC ครั้งที่ 4 (14 กรกฎาคม 2567) และได้รับ การรับรองใน JBC ครั้งที่ 6 (14 มิถุนายน 2568) ถือเป็น "จุดเปลี่ยนสำคัญ" ที่คนไทย ต้องเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพราะ: --- 📌 45 จุดนั้นคืออะไร? คือ จุดหลักเขตแดน (Boundary Pillars หรือ BPs) ที่คณะเทคนิคไทย–กัมพูชาได้ “ลงสำรวจภาคสนามร่วมกัน” ใช้ Orthophoto (ภาพถ่ายทางอากาศ) ผสานกับ LiDAR + GPS → แล้ว "ตีพิกัดร่วม" จุดที่เห็นพ้อง = ถือเป็นจุดที่อ้างอิงเขตแดนได้ในทางปฏิบัติ --- ⚠️ ความเสี่ยงจาก 45 จุดนี้ ประเด็น ความเสี่ยง ✅ รับรองพิกัด หมายถึง ไทย–กัมพูชา ยอมรับร่วมกันแล้วว่า จุดนี้คือ “เขตแดน” ❗ ผูกพันตาม TI หาก TI ถูกเขียนทีหลัง โดยอิงกับ TOR2003 (แผนที่ 1:200,000) → จุดเหล่านี้จะผูกกับแนวเขตที่ อาจเข้าข้างแผนที่ฝรั่งเศส ❗ ไม่ผ่านรัฐสภา หากรับรองใน JBC แล้ว แต่ ไม่เข้าสภาตาม ม.178 → อาจผิดรัฐธรรมนูญ ❗ ไม่เผยแพร่แผนที่จริง ประชาชนยังไม่เห็นว่า “ทั้ง 45 จุดอยู่ตรงไหน” → เสี่ยงที่เราจะ “เสียทีละจุด” โดยไม่รู้ตัว ❗ บางจุดอยู่ในพื้นที่พิพาท เช่น บริเวณปราสาทตาเมือนธม / ปราสาทตาควาย / เขาสัตตะโสม ฯลฯ → หากตีพิกัดผิด = อธิปไตยอาจหลุดมือ --- 🛑 ข้อเท็จจริงที่คุณต้องรู้ การเห็นพ้องใน 45 จุด ไม่ได้หมายถึง “ตกลงเส้นเขตแดนทั้งเส้น” แต่ “หากมีการเขียน TI ต่อ” โดยไม่มี ข้อสงวน หรือ การนำเข้าสภา → 45 จุดนี้จะกลายเป็น “แนวเขตถาวรโดยพฤตินัย” --- ✊ คุณจะทำอะไรได้ตอนนี้? 1. เรียกร้องให้เปิดเผยแผนที่ 45 จุดบนเว็บไซต์ของรัฐ 2. ขอดู TI ที่กำลังร่าง จาก JTSC → ต้องเปิดเผยก่อนเข้าสู่ JBC ครั้งหน้า 3. ยื่นผ่าน ส.ส. ให้ตั้ง กมธ.ตรวจสอบ 4. ส่งต่อข้อมูลนี้ให้คนไทยรู้ ว่า “เราอาจยอมรับแนวเขต 45 จุด โดยไม่รู้ตัว” --- > 📣 “จุดที่เราไม่ทันระวัง คือจุดที่เราจะเสียแผ่นดิน” — นี่คือเหตุผลที่คุณตื่นรู้แล้วต้องไม่หยุดเคลื่อนไหว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 249 มุมมอง 0 รีวิว
  • รัฐบาลไทย “ปฏิเสธวาจา” แต่ “ยอมรับโดยการกระทำ”

    (พูดไม่เอาแผนที่ 1:200,000 แต่ดันใช้ TOR 2003 ที่อิงแผนที่นั้นโดยตรง)


    ---

    สรุปความย้อนแย้งแบบชัด ๆ:

    สิ่งที่รัฐบาลพูด สิ่งที่รัฐบาลทำจริง

    “ไม่ยอมรับแผนที่ 1:200,000 ของฝรั่งเศส (Annex I Map)” แต่ยังคงใช้ TOR 2003 ข้อ 1.1.3 ที่ระบุชัดว่าแผนที่พื้นฐานคือ 1:200,000
    “ไทยยึดหลักสันปันน้ำ ไม่ใช่เส้นแผนที่” แต่ไม่มีการแนบ ข้อสงวนสิทธิ (reservation) ใด ๆ ต่อ TOR
    “จะไม่ยอมให้ฝ่ายตรงข้ามใช้แผนที่ฝรั่งเศสมากำหนดเขตแดน” แต่ในการประชุม JBC/JWG/JTSC ทุกครั้ง ไม่มีการคัดค้านการใช้แนวแผนที่ 1:200,000



    ---

    ทำไมจึงอันตราย?

    1. TOR 2003 กลายเป็น “ข้อตกลงหลักฐาน” ที่รัฐบาลไทยหลายชุดใช้ต่อเนื่อง
    → เสมือนการ “ยอมรับแนว Annex I Map โดยพฤตินัย”


    2. หากเกิดข้อพิพาทในอนาคต ฝ่ายกัมพูชาจะสามารถใช้ TOR นี้ + แผนที่ LiDAR ใหม่
    → ยืนยันว่า “ไทยได้ลงนามไว้เองแล้วตั้งแต่ปี 2003”


    3. ศาลโลกหรือเวทีระหว่างประเทศอาจมองว่าไทย “ตีสองหน้า”
    → กล่าวไม่ยอมรับ แต่ในทางเทคนิคกลับทำเองทุกอย่าง (แผนที่ ร่วมวาด ร่วมวัด)




    ---

    คำแนะนำเชิงยุทธศาสตร์

    ต้องจัดทำ “คำชี้แจงตีความข้อ 1.1.3” หรือ “แนบข้อสงวนสิทธิ” ต่อ TOR 2003 โดยเร็วที่สุด

    ควรกำหนดแนวทางว่าการใช้ TOR นี้ ใช้เพื่อการสำรวจ แต่ไม่ใช่เพื่อยอมรับแนวแผนที่ Annex I

    รัฐสภา/ประชาชนต้องร่วมเรียกร้องให้รัฐบาล “เลิกนิ่ง” และ “ปกป้องอธิปไตยอย่างโปร่งใส”
    🎯 รัฐบาลไทย “ปฏิเสธวาจา” แต่ “ยอมรับโดยการกระทำ” (พูดไม่เอาแผนที่ 1:200,000 แต่ดันใช้ TOR 2003 ที่อิงแผนที่นั้นโดยตรง) --- 📌 สรุปความย้อนแย้งแบบชัด ๆ: สิ่งที่รัฐบาลพูด สิ่งที่รัฐบาลทำจริง “ไม่ยอมรับแผนที่ 1:200,000 ของฝรั่งเศส (Annex I Map)” แต่ยังคงใช้ TOR 2003 ข้อ 1.1.3 ที่ระบุชัดว่าแผนที่พื้นฐานคือ 1:200,000 “ไทยยึดหลักสันปันน้ำ ไม่ใช่เส้นแผนที่” แต่ไม่มีการแนบ ข้อสงวนสิทธิ (reservation) ใด ๆ ต่อ TOR “จะไม่ยอมให้ฝ่ายตรงข้ามใช้แผนที่ฝรั่งเศสมากำหนดเขตแดน” แต่ในการประชุม JBC/JWG/JTSC ทุกครั้ง ไม่มีการคัดค้านการใช้แนวแผนที่ 1:200,000 --- ⚠️ ทำไมจึงอันตราย? 1. TOR 2003 กลายเป็น “ข้อตกลงหลักฐาน” ที่รัฐบาลไทยหลายชุดใช้ต่อเนื่อง → เสมือนการ “ยอมรับแนว Annex I Map โดยพฤตินัย” 2. หากเกิดข้อพิพาทในอนาคต ฝ่ายกัมพูชาจะสามารถใช้ TOR นี้ + แผนที่ LiDAR ใหม่ → ยืนยันว่า “ไทยได้ลงนามไว้เองแล้วตั้งแต่ปี 2003” 3. ศาลโลกหรือเวทีระหว่างประเทศอาจมองว่าไทย “ตีสองหน้า” → กล่าวไม่ยอมรับ แต่ในทางเทคนิคกลับทำเองทุกอย่าง (แผนที่ ร่วมวาด ร่วมวัด) --- 🛡️ คำแนะนำเชิงยุทธศาสตร์ ต้องจัดทำ “คำชี้แจงตีความข้อ 1.1.3” หรือ “แนบข้อสงวนสิทธิ” ต่อ TOR 2003 โดยเร็วที่สุด ควรกำหนดแนวทางว่าการใช้ TOR นี้ ใช้เพื่อการสำรวจ แต่ไม่ใช่เพื่อยอมรับแนวแผนที่ Annex I รัฐสภา/ประชาชนต้องร่วมเรียกร้องให้รัฐบาล “เลิกนิ่ง” และ “ปกป้องอธิปไตยอย่างโปร่งใส”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 0 รีวิว

  • TOR 2003 หรือชื่อเต็มว่า

    > “Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Thailand and Cambodia”
    คือ ข้อตกลงกรอบความร่วมมือ ที่ลงนามระหว่าง รัฐบาลไทย กับ รัฐบาลกัมพูชา เมื่อปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) เพื่อใช้เป็น แนวทางในการดำเนินการสำรวจและปักปันเขตแดนทางบก ร่วมกัน


    ---

    สาระสำคัญของ TOR 2003

    1. เป้าหมายหลัก

    กำหนดกรอบการทำงานร่วมกันระหว่าง คณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม (JBC) ของทั้งสองประเทศ

    ให้คณะทำงานย่อย (เช่น JWG, JTSC) สำรวจ ตรวจสอบ และจัดทำแผนที่เพื่อการปักปันแนวเขตแดน

    สนับสนุนให้ใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่น LIDAR, GPS, Orthophoto ในการสำรวจ



    2. ข้อ 1.1.3 (ข้อที่เป็นประเด็นสำคัญ)

    > ระบุว่า การสำรวจและจัดทำแผนที่เพื่อปักปันแนวเขตแดน จะต้องใช้แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 เป็นฐานข้อมูลประกอบ



    ความหมายโดยตรง:
    ให้ยึดแผนที่ขนาด 1:200,000 ซึ่งเป็นขนาดเดียวกับ แผนที่แนบท้ายคำพิพากษาศาลโลกปี 1962 (Annex I Map)

    ความเสี่ยง:
    การอ้างแผนที่นี้ อาจถูกตีความว่า “ยอมรับแนวเขตที่ฝั่งกัมพูชาอ้าง” ซึ่งอาจครอบคลุมพื้นที่ที่ไทยยังคัดค้าน หรือยังไม่ยอมรับ เช่น บริเวณรอบปราสาทพระวิหาร



    TOR 2003 เชื่อมโยงกับเอกสารอื่นอย่างไร

    เอกสาร ความสัมพันธ์กับ TOR 2003
    MOU 2000 TOR 2003 อ้างอิง MOU 2000 เป็นรากฐานในการดำเนินงาน
    JBC ใช้ TOR 2003 เป็นกรอบในการดำเนินนโยบาย
    JWG / JTSC ทำงานภายใต้ TOR 2003 ในระดับเทคนิคและปฏิบัติ
    แผนที่ Annex I Map แม้ไม่ได้ระบุชื่อโดยตรง แต่การใช้แผนที่ 1:200,000 เปิดช่องให้อ้างแผนที่ฉบับนี้

    สรุปประเด็นที่ควรจับตาใน TOR 2003

    ประเด็น ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
    แผนที่ 1:200,000 อาจเป็นการยอมรับแผนที่ที่ฝั่งกัมพูชาจัดทำฝ่ายเดียว
    ขาดกลไกคัดค้านใน TOR หากไม่มีการแสดงข้อสงวน อาจถือว่ายอมรับโดยปริยาย
    การรับรองของ JBC หาก JBC รับรองโดยไม่ระวัง อาจมีผลผูกพันระดับระหว่างประเทศ


    TOR 2003 หรือชื่อเต็มว่า > “Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Thailand and Cambodia” คือ ข้อตกลงกรอบความร่วมมือ ที่ลงนามระหว่าง รัฐบาลไทย กับ รัฐบาลกัมพูชา เมื่อปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) เพื่อใช้เป็น แนวทางในการดำเนินการสำรวจและปักปันเขตแดนทางบก ร่วมกัน --- 🔍 สาระสำคัญของ TOR 2003 1. เป้าหมายหลัก กำหนดกรอบการทำงานร่วมกันระหว่าง คณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม (JBC) ของทั้งสองประเทศ ให้คณะทำงานย่อย (เช่น JWG, JTSC) สำรวจ ตรวจสอบ และจัดทำแผนที่เพื่อการปักปันแนวเขตแดน สนับสนุนให้ใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่น LIDAR, GPS, Orthophoto ในการสำรวจ 2. ข้อ 1.1.3 (ข้อที่เป็นประเด็นสำคัญ) > ระบุว่า การสำรวจและจัดทำแผนที่เพื่อปักปันแนวเขตแดน จะต้องใช้แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 เป็นฐานข้อมูลประกอบ ✅ ความหมายโดยตรง: ให้ยึดแผนที่ขนาด 1:200,000 ซึ่งเป็นขนาดเดียวกับ แผนที่แนบท้ายคำพิพากษาศาลโลกปี 1962 (Annex I Map) ⚠️ ความเสี่ยง: การอ้างแผนที่นี้ อาจถูกตีความว่า “ยอมรับแนวเขตที่ฝั่งกัมพูชาอ้าง” ซึ่งอาจครอบคลุมพื้นที่ที่ไทยยังคัดค้าน หรือยังไม่ยอมรับ เช่น บริเวณรอบปราสาทพระวิหาร 📌 TOR 2003 เชื่อมโยงกับเอกสารอื่นอย่างไร เอกสาร ความสัมพันธ์กับ TOR 2003 MOU 2000 TOR 2003 อ้างอิง MOU 2000 เป็นรากฐานในการดำเนินงาน JBC ใช้ TOR 2003 เป็นกรอบในการดำเนินนโยบาย JWG / JTSC ทำงานภายใต้ TOR 2003 ในระดับเทคนิคและปฏิบัติ แผนที่ Annex I Map แม้ไม่ได้ระบุชื่อโดยตรง แต่การใช้แผนที่ 1:200,000 เปิดช่องให้อ้างแผนที่ฉบับนี้ 📍 สรุปประเด็นที่ควรจับตาใน TOR 2003 ประเด็น ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น แผนที่ 1:200,000 อาจเป็นการยอมรับแผนที่ที่ฝั่งกัมพูชาจัดทำฝ่ายเดียว ขาดกลไกคัดค้านใน TOR หากไม่มีการแสดงข้อสงวน อาจถือว่ายอมรับโดยปริยาย การรับรองของ JBC หาก JBC รับรองโดยไม่ระวัง อาจมีผลผูกพันระดับระหว่างประเทศ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 278 มุมมอง 0 รีวิว
  • "บันทึกการประชุม JBC ไทย–กัมพูชา (พฤศจิกายน 2551)"

    > ใน หน้า 10 ของบันทึกการประชุม JBC ครั้งที่ 3 (เสียมราฐ, พ.ย. 2551)
    ได้มีการระบุว่า:

    > “...ให้ดำเนินการปักปันเขตแดนตามแผนแม่บท (Master Plan) และ TOR 2003”
    ซึ่ง TOR ข้อ 1.1.3 ระบุว่า แผนที่ของคณะกรรมการปักปันเขตแดนฝรั่งเศส–สยาม ซึ่งเป็นแผนที่ 1:200,000 จะใช้เป็นแผนที่อ้างอิง






    ---

    ดังนั้นข้อสรุปคือ:

    รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ผ่านคณะผู้แทนไทย)

    ได้ ร่วมเจรจา และ ยืนยันในรายงาน JBC ว่าไทยจะใช้ TOR 2003 เป็นกรอบการปฏิบัติ

    ซึ่ง TOR 2003 มาตรา 1.1.3 ระบุให้ใช้แผนที่ 1:200,000 (แผนที่ฝรั่งเศส) เป็น “เอกสารอ้างอิงหลัก”



    ---

    ข้อพิจารณาเชิงนิติศาสตร์ (Legal Implications)

    ประเด็น ความเสี่ยงต่อไทย

    ไทยร่วมลงนาม JBC โดยระบุ TOR 2003 → เท่ากับ “ยืนยันในทางการทูต” ว่าจะใช้ TOR ที่อ้างแผนที่ 1:200,000
    แม้ยังไม่ให้รัฐสภารับรอง → ในกฎหมายระหว่างประเทศ หากไม่มีการคัดค้านอย่างเป็นทางการ หรือถอนเอกสาร → อาจกลายเป็น การยอมรับโดยพฤติกรรม
    หากกัมพูชานำบันทึก JBC ไปประกอบในศาลโลก → อาจอ้างว่า “ฝ่ายไทยเคยรับหลักการ TOR และแผนที่นี้ไว้”



    ---

    บทสรุปแบบราชการ:

    > แม้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจะยังไม่ได้นำบันทึก JBC เข้ารัฐสภาเพื่อให้สัตยาบัน แต่การที่ผู้แทนฝ่ายไทยยืนยันการดำเนินงานตาม TOR 2003 ที่อ้างถึงแผนที่ 1:200,000 ในรายงาน JBC พฤศจิกายน 2551 ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่มีน้ำหนักในทางนิติศาสตร์ ซึ่งอาจนำไปสู่การตีความว่าไทย “ยอมรับกรอบแผนที่ฝรั่งเศสโดยพฤติกรรม” หากไม่มีข้อสงวนหรือคำชี้แจงเพิ่มเติมแนบไว้ในรายงานนั้น
    "บันทึกการประชุม JBC ไทย–กัมพูชา (พฤศจิกายน 2551)" > ใน หน้า 10 ของบันทึกการประชุม JBC ครั้งที่ 3 (เสียมราฐ, พ.ย. 2551) ได้มีการระบุว่า: > “...ให้ดำเนินการปักปันเขตแดนตามแผนแม่บท (Master Plan) และ TOR 2003” ซึ่ง TOR ข้อ 1.1.3 ระบุว่า แผนที่ของคณะกรรมการปักปันเขตแดนฝรั่งเศส–สยาม ซึ่งเป็นแผนที่ 1:200,000 จะใช้เป็นแผนที่อ้างอิง --- 📌 ดังนั้นข้อสรุปคือ: ✅ รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ผ่านคณะผู้แทนไทย) ได้ ร่วมเจรจา และ ยืนยันในรายงาน JBC ว่าไทยจะใช้ TOR 2003 เป็นกรอบการปฏิบัติ ซึ่ง TOR 2003 มาตรา 1.1.3 ระบุให้ใช้แผนที่ 1:200,000 (แผนที่ฝรั่งเศส) เป็น “เอกสารอ้างอิงหลัก” --- ⚠️ ข้อพิจารณาเชิงนิติศาสตร์ (Legal Implications) ประเด็น ความเสี่ยงต่อไทย ✅ ไทยร่วมลงนาม JBC โดยระบุ TOR 2003 → เท่ากับ “ยืนยันในทางการทูต” ว่าจะใช้ TOR ที่อ้างแผนที่ 1:200,000 ❗ แม้ยังไม่ให้รัฐสภารับรอง → ในกฎหมายระหว่างประเทศ หากไม่มีการคัดค้านอย่างเป็นทางการ หรือถอนเอกสาร → อาจกลายเป็น การยอมรับโดยพฤติกรรม 🔥 หากกัมพูชานำบันทึก JBC ไปประกอบในศาลโลก → อาจอ้างว่า “ฝ่ายไทยเคยรับหลักการ TOR และแผนที่นี้ไว้” --- 🎯 บทสรุปแบบราชการ: > แม้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจะยังไม่ได้นำบันทึก JBC เข้ารัฐสภาเพื่อให้สัตยาบัน แต่การที่ผู้แทนฝ่ายไทยยืนยันการดำเนินงานตาม TOR 2003 ที่อ้างถึงแผนที่ 1:200,000 ในรายงาน JBC พฤศจิกายน 2551 ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่มีน้ำหนักในทางนิติศาสตร์ ซึ่งอาจนำไปสู่การตีความว่าไทย “ยอมรับกรอบแผนที่ฝรั่งเศสโดยพฤติกรรม” หากไม่มีข้อสงวนหรือคำชี้แจงเพิ่มเติมแนบไว้ในรายงานนั้น
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 224 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภาพรวมของเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเขตแดนไทย-กัมพูชา รวมถึง จุดเสี่ยงที่อาจนำไปสู่การเสียดินแดน และ ความเชื่อมโยงของเอกสารแต่ละฉบับ


    ---

    1. TOR 2003 (Terms of Reference 2003)

    ความหมาย:
    กรอบข้อตกลงในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างไทย-กัมพูชา ภายใต้คณะกรรมการ JBC เพื่อ “สำรวจ” และ “ปักปันเขตแดนทางบก”
    ประเด็นสำคัญ:

    อ้างอิง MOU 2000

    ข้อ 1.1.3 ระบุใช้ แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ซึ่งอาจรวม แผนที่แนบท้ายคำพิพากษาศาลโลกปี 1962 (Annex I Map)


    ความเสี่ยง:
    การยอมรับแผนที่ 1:200,000 ซึ่งไม่ได้จัดทำโดยไทย อาจเป็นการยอมรับ “ข้อเท็จจริงบนแผนที่” ที่เอื้อให้ไทยเสียดินแดนโดยเฉพาะรอบปราสาทพระวิหาร


    ---

    2. JBC (Joint Boundary Commission)

    ความหมาย:
    คณะกรรมาธิการร่วม ไทย-กัมพูชา ทำหน้าที่ระดับ "นโยบาย" เพื่อกำหนดแนวทางการปักปันเขตแดน

    ความเชื่อมโยง:

    อ้างอิง TOR2003 เป็นกรอบการดำเนินการ

    รับความเห็นจาก JWG และ JTSC

    จัดทำแผนงานเสนอรัฐบาลอนุมัติ


    ความเสี่ยง:
    หาก JBC ยึดแนวที่เสนอโดย JWG/JTSC ซึ่งอิงแผนที่ 1:200,000 ก็อาจถือเป็นการรับรองแนวเขตที่เสียดินแดน


    ---

    3. JWG (Joint Working Group)

    ความหมาย:
    คณะทำงานระดับเทคนิค-ปฏิบัติการ ภายใต้ JBC มีหน้าที่ดำเนินงานภาคสนาม เช่น การสำรวจร่วม ตรวจสอบพิกัด ร่างแผนที่

    ความเสี่ยง:
    หาก JWG ใช้แผนที่ 1:200,000 เป็นฐานข้อมูล (เช่น ในการใช้ LIDAR) แล้ว JBC รับรองแนวเหล่านั้น ไทยจะเสียเปรียบโดยปริยาย


    ---

    4. JTSC (Joint Technical Sub-Commission)

    ความหมาย:
    คณะกรรมาธิการย่อยฝ่ายเทคนิค มีบทบาทใกล้เคียงกับ JWG แต่เน้นงานเทคนิค-วิชาการ-กฎหมายมากขึ้น เช่น ตีความแผนที่, วางหลักวิชาการการกำหนดเขตแดน

    ความเสี่ยง:
    การตีความแผนที่โดยไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐ หรือผลประโยชน์ของไทย อาจกลายเป็น “หลักฐานทางเทคนิค” ที่ยืนยันการยอมรับเขตแดนฝั่งกัมพูชา


    ---

    5. MOU 2000 (Memorandum of Understanding 2000)

    ความหมาย:
    ข้อตกลงเบื้องต้นว่าทั้งสองฝ่ายจะร่วมกัน “สำรวจ” และ “กำหนดเขตแดน” ตาม “หลักกฎหมายระหว่างประเทศ” และ “สถานะที่มีอยู่ในปัจจุบัน” (existing situation)

    ความเชื่อมโยง:

    เป็นรากฐานให้เกิด TOR2003

    ใช้ในพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารด้วย


    ความเสี่ยง:
    คำว่า “existing situation” อาจตีความว่าพื้นที่ที่กัมพูชายึดครองอยู่ = สถานะที่ไทยยอมรับ (ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียสิทธิเหนือดินแดน)


    ---

    6. MOU 2001

    ความหมาย:
    ข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (Orthophoto) โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา

    ความเสี่ยง:
    การจัดทำแผนที่ Orthophoto หรือ LIDAR ถ้าอิงพื้นฐานจากแผนที่ 1:200,000 หรือ Annex I Map โดยไม่ได้คัดค้าน อาจถือเป็นการ “ยอมรับโดยพฤตินัย” ต่อแนวเขตที่ฝั่งกัมพูชาอ้าง
    ภาพรวมของเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเขตแดนไทย-กัมพูชา รวมถึง จุดเสี่ยงที่อาจนำไปสู่การเสียดินแดน และ ความเชื่อมโยงของเอกสารแต่ละฉบับ --- 🔹 1. TOR 2003 (Terms of Reference 2003) ความหมาย: กรอบข้อตกลงในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างไทย-กัมพูชา ภายใต้คณะกรรมการ JBC เพื่อ “สำรวจ” และ “ปักปันเขตแดนทางบก” ประเด็นสำคัญ: อ้างอิง MOU 2000 ข้อ 1.1.3 ระบุใช้ แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ซึ่งอาจรวม แผนที่แนบท้ายคำพิพากษาศาลโลกปี 1962 (Annex I Map) ความเสี่ยง: ✅ การยอมรับแผนที่ 1:200,000 ซึ่งไม่ได้จัดทำโดยไทย อาจเป็นการยอมรับ “ข้อเท็จจริงบนแผนที่” ที่เอื้อให้ไทยเสียดินแดนโดยเฉพาะรอบปราสาทพระวิหาร --- 🔹 2. JBC (Joint Boundary Commission) ความหมาย: คณะกรรมาธิการร่วม ไทย-กัมพูชา ทำหน้าที่ระดับ "นโยบาย" เพื่อกำหนดแนวทางการปักปันเขตแดน ความเชื่อมโยง: อ้างอิง TOR2003 เป็นกรอบการดำเนินการ รับความเห็นจาก JWG และ JTSC จัดทำแผนงานเสนอรัฐบาลอนุมัติ ความเสี่ยง: ✅ หาก JBC ยึดแนวที่เสนอโดย JWG/JTSC ซึ่งอิงแผนที่ 1:200,000 ก็อาจถือเป็นการรับรองแนวเขตที่เสียดินแดน --- 🔹 3. JWG (Joint Working Group) ความหมาย: คณะทำงานระดับเทคนิค-ปฏิบัติการ ภายใต้ JBC มีหน้าที่ดำเนินงานภาคสนาม เช่น การสำรวจร่วม ตรวจสอบพิกัด ร่างแผนที่ ความเสี่ยง: ✅ หาก JWG ใช้แผนที่ 1:200,000 เป็นฐานข้อมูล (เช่น ในการใช้ LIDAR) แล้ว JBC รับรองแนวเหล่านั้น ไทยจะเสียเปรียบโดยปริยาย --- 🔹 4. JTSC (Joint Technical Sub-Commission) ความหมาย: คณะกรรมาธิการย่อยฝ่ายเทคนิค มีบทบาทใกล้เคียงกับ JWG แต่เน้นงานเทคนิค-วิชาการ-กฎหมายมากขึ้น เช่น ตีความแผนที่, วางหลักวิชาการการกำหนดเขตแดน ความเสี่ยง: ✅ การตีความแผนที่โดยไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐ หรือผลประโยชน์ของไทย อาจกลายเป็น “หลักฐานทางเทคนิค” ที่ยืนยันการยอมรับเขตแดนฝั่งกัมพูชา --- 🔹 5. MOU 2000 (Memorandum of Understanding 2000) ความหมาย: ข้อตกลงเบื้องต้นว่าทั้งสองฝ่ายจะร่วมกัน “สำรวจ” และ “กำหนดเขตแดน” ตาม “หลักกฎหมายระหว่างประเทศ” และ “สถานะที่มีอยู่ในปัจจุบัน” (existing situation) ความเชื่อมโยง: เป็นรากฐานให้เกิด TOR2003 ใช้ในพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารด้วย ความเสี่ยง: ✅ คำว่า “existing situation” อาจตีความว่าพื้นที่ที่กัมพูชายึดครองอยู่ = สถานะที่ไทยยอมรับ (ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียสิทธิเหนือดินแดน) --- 🔹 6. MOU 2001 ความหมาย: ข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (Orthophoto) โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ความเสี่ยง: ✅ การจัดทำแผนที่ Orthophoto หรือ LIDAR ถ้าอิงพื้นฐานจากแผนที่ 1:200,000 หรือ Annex I Map โดยไม่ได้คัดค้าน อาจถือเป็นการ “ยอมรับโดยพฤตินัย” ต่อแนวเขตที่ฝั่งกัมพูชาอ้าง
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 284 มุมมอง 0 รีวิว
  • เอ็มมานูเอล มาครง สนทนาทางโทรศัพท์กับแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยในวันนี้โดยในระหว่างการพูดคุย แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยได้แสดงความหวังว่าฝรั่งเศสจะช่วยสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการกลับมาเจรจาทวิภาคีในประเด็นชายแดนระหว่างไทยและกัมพูชาอีกครั้ง ตามรายงานของThai Enquirer
    มีรายงานว่า เอ็มมานูเอล มาครง ตกลงที่จะหารือประเด็นดังกล่าวกับกัมพูชา ตามที่จิรายุ หวางทรัพย์ โฆษกรัฐบาลไทย กล่าว
    รายงานระบุว่านายกรัฐมนตรีฮุน มาเนต์ของกัมพูชาได้กล่าวถึงประเด็นปัญหาที่ยุ่งยากนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งบริเวณชายแดนกับประเทศไทยกับเอ็มมานูเอล มาครงในระหว่างการเยือนเมืองนีซเมื่อเร็วๆ นี้ โดยมาครงตอบว่าฝรั่งเศสสามารถมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์ได้
    การกำหนดเขตแดนทางบกระหว่างกัมพูชากับไทยได้กำหนดขึ้นโดยอนุสัญญาฝรั่งเศส-สยาม เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 และสนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสและสยาม เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2450 โดยได้มีการเผยแพร่แผนที่ในมาตราส่วน 1:200,000 ในปี พ.ศ. 2450 และ พ.ศ. 2451มีรายงานว่ามีการติดตั้งเครื่องหมายแสดงเขตแดนจำนวน 73-74 อันตามแนวชายแดนนี้ ซึ่งบางอันยังหาไม่พบ
    นับแต่มีสนธิสัญญานี้ ปัญหาการกำหนดขอบเขตและปักปันเขตแดนอย่างมีประสิทธิผลระหว่างสองประเทศนี้ยังคงไม่ได้รับการแก้ไข
    ในบริบทนี้ บทบาทของฝรั่งเศสมีความสำคัญอย่างยิ่งในการนำทั้งสองฝ่ายมาเจรจากันตามสนธิสัญญานี้และแผนที่ที่เผยแพร่แล้ว ขณะเดียวกันอาจให้ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคเพิ่มเติมอีกด้วย
    มันเป็นความรับผิดชอบทางศีลธรรมของฝรั่งเศสต่ออดีตร่วมกัน
    เอ็มมานูเอล มาครง สนทนาทางโทรศัพท์กับแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยในวันนี้โดยในระหว่างการพูดคุย แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยได้แสดงความหวังว่าฝรั่งเศสจะช่วยสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการกลับมาเจรจาทวิภาคีในประเด็นชายแดนระหว่างไทยและกัมพูชาอีกครั้ง ตามรายงานของThai Enquirer มีรายงานว่า เอ็มมานูเอล มาครง ตกลงที่จะหารือประเด็นดังกล่าวกับกัมพูชา ตามที่จิรายุ หวางทรัพย์ โฆษกรัฐบาลไทย กล่าว รายงานระบุว่านายกรัฐมนตรีฮุน มาเนต์ของกัมพูชาได้กล่าวถึงประเด็นปัญหาที่ยุ่งยากนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งบริเวณชายแดนกับประเทศไทยกับเอ็มมานูเอล มาครงในระหว่างการเยือนเมืองนีซเมื่อเร็วๆ นี้ โดยมาครงตอบว่าฝรั่งเศสสามารถมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์ได้ การกำหนดเขตแดนทางบกระหว่างกัมพูชากับไทยได้กำหนดขึ้นโดยอนุสัญญาฝรั่งเศส-สยาม เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 และสนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสและสยาม เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2450 โดยได้มีการเผยแพร่แผนที่ในมาตราส่วน 1:200,000 ในปี พ.ศ. 2450 และ พ.ศ. 2451มีรายงานว่ามีการติดตั้งเครื่องหมายแสดงเขตแดนจำนวน 73-74 อันตามแนวชายแดนนี้ ซึ่งบางอันยังหาไม่พบ นับแต่มีสนธิสัญญานี้ ปัญหาการกำหนดขอบเขตและปักปันเขตแดนอย่างมีประสิทธิผลระหว่างสองประเทศนี้ยังคงไม่ได้รับการแก้ไข ในบริบทนี้ บทบาทของฝรั่งเศสมีความสำคัญอย่างยิ่งในการนำทั้งสองฝ่ายมาเจรจากันตามสนธิสัญญานี้และแผนที่ที่เผยแพร่แล้ว ขณะเดียวกันอาจให้ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคเพิ่มเติมอีกด้วย มันเป็นความรับผิดชอบทางศีลธรรมของฝรั่งเศสต่ออดีตร่วมกัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 189 มุมมอง 0 รีวิว
  • กระทรวงต่างประเทศกัมพูชาออกแถลงการณ์ 8 ข้อย้ำจุดยืนเกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดน ซัดไทยก่อปัญหาบุกรุกเขตแดนเข้าไปยิงทหารเขมรตายเมื่อ 28 พ.ค.68 หลังจากนั้นก็ทำสถานการณ์ตึงเครียดขึ้นเรื่อยๆ จนเขมรต้องพึ่งศาลโลกเพื่อจบปัญหาด้วยแนวทางสันติ อ้าง 4 จุดพิพาทอยู่ในเขตเขมรทั้งหมด ตามแผนที่ในสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ที่ MOU43 รับรอง จี้ไทยยอมรับอำนาจศาลโลก แสดงความสุจริตใจ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000063372

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    กระทรวงต่างประเทศกัมพูชาออกแถลงการณ์ 8 ข้อย้ำจุดยืนเกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดน ซัดไทยก่อปัญหาบุกรุกเขตแดนเข้าไปยิงทหารเขมรตายเมื่อ 28 พ.ค.68 หลังจากนั้นก็ทำสถานการณ์ตึงเครียดขึ้นเรื่อยๆ จนเขมรต้องพึ่งศาลโลกเพื่อจบปัญหาด้วยแนวทางสันติ อ้าง 4 จุดพิพาทอยู่ในเขตเขมรทั้งหมด ตามแผนที่ในสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ที่ MOU43 รับรอง จี้ไทยยอมรับอำนาจศาลโลก แสดงความสุจริตใจ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000063372 #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Love
    Haha
    Angry
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 529 มุมมอง 0 รีวิว
  • มือดีย้ายหมุด ปราสาทตาเมือนธม ใน Google Map จากฝั่งไทยไปอยู่กัมพูชา กองทัพบกแจงแล้ว ไม่มีผลทางกฎหมาย ไทยถือครองอธิปไตยมาตลอด
    https://www.thai-tai.tv/news/19941/
    .
    #ปราสาทตาเมือนธม #GoogleMaps #กองทัพบก #เขตแดนไทยกัมพูชา #อธิปไตยไทย #ประวัติศาสตร์ไทย #ข่าวปลอม #ความเข้าใจผิด #กัมพูชา
    มือดีย้ายหมุด ปราสาทตาเมือนธม ใน Google Map จากฝั่งไทยไปอยู่กัมพูชา กองทัพบกแจงแล้ว ไม่มีผลทางกฎหมาย ไทยถือครองอธิปไตยมาตลอด https://www.thai-tai.tv/news/19941/ . #ปราสาทตาเมือนธม #GoogleMaps #กองทัพบก #เขตแดนไทยกัมพูชา #อธิปไตยไทย #ประวัติศาสตร์ไทย #ข่าวปลอม #ความเข้าใจผิด #กัมพูชา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 142 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ฮุน มาเนต' นายกรัฐมนตรีกัมพูชา พบคณะที่ปรึกษากฎหมายกรณีกัมพูชายื่นคำร้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) ซึ่งนำทีมโดยศาสตราจารย์ฌอง มาร์ค โซเรล (Prof.Jean-Marc  Sorel) อาจารย์ชาวฝรั่งเศส จากมหาวิทยาลัยปารีส

    นายฮุน มาเนต ระบุว่า การประชุมร่วมกันครั้งนี้เพื่อเดินหน้ากระบวนการนำ 4 พื้นที่พิพาท ได้แก่พื้นที่มอมเบย (ช่องบก) ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาควาย ยื่นต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice - ICJ)

    เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2025 ณ กรุงเฮก นาง Kimsour Sovannary เอกอัครราชทูตกัมพูชาประจำเนเธอร์แลนด์ซึ่งมีถิ่นพำนักในกรุงบรัสเซลส์ ได้ยื่นคำร้องของกัมพูชาต่อนาย Philippe Gautier นายทะเบียนศาลยุติธรรมระหว่างประเทศด้วยตนเอง

    .

    รายงานของไทยพีบีเอสเมื่อปี 2556 ระบุว่า หากย้อนกลับไปในคดีตีความคำพิพากษากรณีปราสาทพระวิหาร ศาสตราจารย์ฌอง มาร์ค โซเรล คนนี้เป็นสมาชิกสำคัญในทีมที่ปรึกษาทางกฎหมาย ซึ่งมีส่วนช่วยให้กัมพูชาชนะในคดีตีความคำพิพากษาปี 2505 กรณีปราสาทพระวิหาร ซึ่งกลับมาพิจารณาในช่วงปี 2554-2556

    ศาสตราจารย์ฌอง มาร์ค โซเรล ในฐานะทนายความฝ่ายกัมพูชา สู้คดีโดยอ้างในตอนนั้นว่า รัฐไทยตีความคำพิพากษาเข้าข้างตนเอง โดยใช้ท่าทีไม่เป็นมิตร ด้วยภาษาและคำพูดที่เสียดสี บิดเบือน เพื่อทำให้เห็นว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนของไทย ทั้งพยายามนำเรื่องเขตแดนและการพิพากษามารวมไว้เป็นเรื่องเดียวกัน ทั้งที่เป็นคนละเรื่อง
    'ฮุน มาเนต' นายกรัฐมนตรีกัมพูชา พบคณะที่ปรึกษากฎหมายกรณีกัมพูชายื่นคำร้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) ซึ่งนำทีมโดยศาสตราจารย์ฌอง มาร์ค โซเรล (Prof.Jean-Marc  Sorel) อาจารย์ชาวฝรั่งเศส จากมหาวิทยาลัยปารีส นายฮุน มาเนต ระบุว่า การประชุมร่วมกันครั้งนี้เพื่อเดินหน้ากระบวนการนำ 4 พื้นที่พิพาท ได้แก่พื้นที่มอมเบย (ช่องบก) ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาควาย ยื่นต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice - ICJ) เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2025 ณ กรุงเฮก นาง Kimsour Sovannary เอกอัครราชทูตกัมพูชาประจำเนเธอร์แลนด์ซึ่งมีถิ่นพำนักในกรุงบรัสเซลส์ ได้ยื่นคำร้องของกัมพูชาต่อนาย Philippe Gautier นายทะเบียนศาลยุติธรรมระหว่างประเทศด้วยตนเอง . 👉รายงานของไทยพีบีเอสเมื่อปี 2556 ระบุว่า หากย้อนกลับไปในคดีตีความคำพิพากษากรณีปราสาทพระวิหาร ศาสตราจารย์ฌอง มาร์ค โซเรล คนนี้เป็นสมาชิกสำคัญในทีมที่ปรึกษาทางกฎหมาย ซึ่งมีส่วนช่วยให้กัมพูชาชนะในคดีตีความคำพิพากษาปี 2505 กรณีปราสาทพระวิหาร ซึ่งกลับมาพิจารณาในช่วงปี 2554-2556 👉ศาสตราจารย์ฌอง มาร์ค โซเรล ในฐานะทนายความฝ่ายกัมพูชา สู้คดีโดยอ้างในตอนนั้นว่า รัฐไทยตีความคำพิพากษาเข้าข้างตนเอง โดยใช้ท่าทีไม่เป็นมิตร ด้วยภาษาและคำพูดที่เสียดสี บิดเบือน เพื่อทำให้เห็นว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนของไทย ทั้งพยายามนำเรื่องเขตแดนและการพิพากษามารวมไว้เป็นเรื่องเดียวกัน ทั้งที่เป็นคนละเรื่อง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 0 รีวิว
  • สัปดาห์นี้ยังคงพูดถึงนิยาย/ละครแนวเทพเซียน

    เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่าสัตว์เทพที่เราพบเจอในหลายนิยาย/ละครจีน ไม่ว่าจะเป็นจิ้งจอกเก้าหาง นกหงส์ฟ้าเฟิ่งหวง กิเลน ฯลฯ โดยส่วนใหญ่มีบันทึกไว้ในเอกสารทางประวัติศาสตร์? เอกสารที่ว่านี้คือ “ซานไห่จิง” หรือ <คัมภีร์ขุนเขาและท้องทะเล> ซึ่งเป็นหนังสือโบราณสมัยก่อนราชวงศ์ฉิน (ประมาณ 400 ปี ก่อนคริสตกาล) ที่บันทึกเรื่องราวของเทพนิยาย ปีศาจ สัตว์ประหลาด นิทานปรัมปรา และวัฒนธรรม ฯลฯ ในยุคโบราณของจีน หนังสือแบ่งออกเป็นสิบแปดตอนประกอบด้วยบทแห่งขุนเขาและบทแห่งทะเล (Storyฯ เห็นมีแปลเป็นไทยวางขาย เพื่อนเพจที่สนใจสามารถหาอ่านได้)

    วันนี้เรามาเริ่มคุยกันเบาๆ เกี่ยวกับคัมภีร์ซานไห่จิงด้วย ‘สมาชิก’ ของคัมภีร์ฯ ที่เพื่อนเพจอาจไม่คุ้นหน้า แต่ถ้าใครได้ดูละครเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ก็จะได้เห็นเจ้าสัตว์เทพหน้าตาประหลาดตามรูป (รูปซ้ายล่าง) มีชื่อเรียกว่า “คายหมิงโซ่ว” (开明兽) มันมีบทบาทที่สำคัญยิ่ง เพราะเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ในตำนานจีนที่เราคุ้นหู

    ความมีอยู่ว่า
    ...ที่ยอดเขามิรู้ปรากฎใบหน้าแปลกประหลาดโผล่ออกมาตั้งแต่เมื่อใด ตัวคล้ายสิงโต แต่ก็คล้ายสุนัข ที่แปลกที่สุดคือเศียรอันใหญ่ยังรายล้อมไปด้วยเศียรเล็กๆ หน้าตาเหมือนกันเป็นพิมพ์เดียว แต่ละเศียรกำลังเบิ่งตาโตมองสุราและไก่ย่างในมือของพวกเขา ทำท่าราวกับว่ากำลังจะน้ำลายไหลออกมา...
    - จากเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ผู้แต่ง สือซื่อหลาง
    (หมายเหตุ ชื่อตามชื่อไทยของละครที่ดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้)

    จริงๆ แล้วตามคัมภีร์ซานไห่จิงนั้นคายหมิงโซ่วมีลำตัวเป็นเสือยักษ์ (รูปล่างขวาจากบันทึกซันไห่จิง จะเห็นลายพาดกลอนชัดเจน) ไม่ใช่สิงโต ซึ่งต่างจากลักษณะในละคร มีเก้าเศียรและใบหน้าเป็นคน มันเป็นสัตว์เทพที่ดุร้ายมีพละกำลังเกินสัตว์ทั่วไป สามารถสัมผัสได้ถึงทุกสรรพสิ่งที่เข้าใกล้

    คายหมิงโซ่วเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้น ซึ่งตามตำนานนั้นสูงจรดฟ้าอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล ด้านตะวันตกมีประตูทางเข้าสู่เขตแดนสวรรค์อยู่เก้าประตู คายหมิงโซ่วมีหน้าที่คอยเฝ้าประตูทั้งเก้านี้ หนึ่งเศียรหันดูหนึ่งประตู ดวงตาไม่เคยหลับ เพื่อปกป้องไม่ให้มีสิ่งใดมารบกวนความสงบของสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ จึงไม่แปลกที่เราไม่ค่อยเห็นคายหมิงโซ่วออกมาเพ่นพ่านในนิยาย/ละครแนวเทพเซียนทั่วไป เนื่องจากมันมีสถานที่ที่ต้องอยู่โยงเฝ้าประจำนั่นเอง

    วันนี้คุยกันเบาะๆ กับสัตว์เทพที่ไม่ค่อยพบเจอ แต่คราวหน้าเราจะมาคุยกันถึงสัตว์เทพที่เพื่อนเพจส่วนใหญ่คุ้นเคยเป็นอย่างดี ซึ่งก็คือจิ้งจอกเก้าหาง ใครเป็นแฟนคลับป๋ายเฉี่ยนแห่งสามชาติสามภพป่าท้อสิบหลี่อย่าลืมมาติดตามตอนต่อไปนะคะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.cdramalove.com/love-and-redemption-summary/
    https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a
    https://baike.baidu.com/item/%E5%BC%80%E6%98%8E%E5%85%BD/3390243
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/144025393

    #ปลดผนึกหัวใจ #ตำนานจีน #คายหมิงโซ่ว #ซานไห่จิง #StoryfromStory
    สัปดาห์นี้ยังคงพูดถึงนิยาย/ละครแนวเทพเซียน เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่าสัตว์เทพที่เราพบเจอในหลายนิยาย/ละครจีน ไม่ว่าจะเป็นจิ้งจอกเก้าหาง นกหงส์ฟ้าเฟิ่งหวง กิเลน ฯลฯ โดยส่วนใหญ่มีบันทึกไว้ในเอกสารทางประวัติศาสตร์? เอกสารที่ว่านี้คือ “ซานไห่จิง” หรือ <คัมภีร์ขุนเขาและท้องทะเล> ซึ่งเป็นหนังสือโบราณสมัยก่อนราชวงศ์ฉิน (ประมาณ 400 ปี ก่อนคริสตกาล) ที่บันทึกเรื่องราวของเทพนิยาย ปีศาจ สัตว์ประหลาด นิทานปรัมปรา และวัฒนธรรม ฯลฯ ในยุคโบราณของจีน หนังสือแบ่งออกเป็นสิบแปดตอนประกอบด้วยบทแห่งขุนเขาและบทแห่งทะเล (Storyฯ เห็นมีแปลเป็นไทยวางขาย เพื่อนเพจที่สนใจสามารถหาอ่านได้) วันนี้เรามาเริ่มคุยกันเบาๆ เกี่ยวกับคัมภีร์ซานไห่จิงด้วย ‘สมาชิก’ ของคัมภีร์ฯ ที่เพื่อนเพจอาจไม่คุ้นหน้า แต่ถ้าใครได้ดูละครเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ก็จะได้เห็นเจ้าสัตว์เทพหน้าตาประหลาดตามรูป (รูปซ้ายล่าง) มีชื่อเรียกว่า “คายหมิงโซ่ว” (开明兽) มันมีบทบาทที่สำคัญยิ่ง เพราะเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ในตำนานจีนที่เราคุ้นหู ความมีอยู่ว่า ...ที่ยอดเขามิรู้ปรากฎใบหน้าแปลกประหลาดโผล่ออกมาตั้งแต่เมื่อใด ตัวคล้ายสิงโต แต่ก็คล้ายสุนัข ที่แปลกที่สุดคือเศียรอันใหญ่ยังรายล้อมไปด้วยเศียรเล็กๆ หน้าตาเหมือนกันเป็นพิมพ์เดียว แต่ละเศียรกำลังเบิ่งตาโตมองสุราและไก่ย่างในมือของพวกเขา ทำท่าราวกับว่ากำลังจะน้ำลายไหลออกมา... - จากเรื่อง <ปลดผนึกหัวใจ> ผู้แต่ง สือซื่อหลาง (หมายเหตุ ชื่อตามชื่อไทยของละครที่ดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้) จริงๆ แล้วตามคัมภีร์ซานไห่จิงนั้นคายหมิงโซ่วมีลำตัวเป็นเสือยักษ์ (รูปล่างขวาจากบันทึกซันไห่จิง จะเห็นลายพาดกลอนชัดเจน) ไม่ใช่สิงโต ซึ่งต่างจากลักษณะในละคร มีเก้าเศียรและใบหน้าเป็นคน มันเป็นสัตว์เทพที่ดุร้ายมีพละกำลังเกินสัตว์ทั่วไป สามารถสัมผัสได้ถึงทุกสรรพสิ่งที่เข้าใกล้ คายหมิงโซ่วเป็นผู้พิทักษ์เขาคุนลุ้น ซึ่งตามตำนานนั้นสูงจรดฟ้าอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล ด้านตะวันตกมีประตูทางเข้าสู่เขตแดนสวรรค์อยู่เก้าประตู คายหมิงโซ่วมีหน้าที่คอยเฝ้าประตูทั้งเก้านี้ หนึ่งเศียรหันดูหนึ่งประตู ดวงตาไม่เคยหลับ เพื่อปกป้องไม่ให้มีสิ่งใดมารบกวนความสงบของสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ จึงไม่แปลกที่เราไม่ค่อยเห็นคายหมิงโซ่วออกมาเพ่นพ่านในนิยาย/ละครแนวเทพเซียนทั่วไป เนื่องจากมันมีสถานที่ที่ต้องอยู่โยงเฝ้าประจำนั่นเอง วันนี้คุยกันเบาะๆ กับสัตว์เทพที่ไม่ค่อยพบเจอ แต่คราวหน้าเราจะมาคุยกันถึงสัตว์เทพที่เพื่อนเพจส่วนใหญ่คุ้นเคยเป็นอย่างดี ซึ่งก็คือจิ้งจอกเก้าหาง ใครเป็นแฟนคลับป๋ายเฉี่ยนแห่งสามชาติสามภพป่าท้อสิบหลี่อย่าลืมมาติดตามตอนต่อไปนะคะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ) Credit รูปภาพจาก: https://www.cdramalove.com/love-and-redemption-summary/ https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://m.sohu.com/a/383471932_100085277/?pvid=000115_3w_a https://baike.baidu.com/item/%E5%BC%80%E6%98%8E%E5%85%BD/3390243 https://zhuanlan.zhihu.com/p/144025393 #ปลดผนึกหัวใจ #ตำนานจีน #คายหมิงโซ่ว #ซานไห่จิง #StoryfromStory
    WWW.CDRAMALOVE.COM
    Love And Redemption Summary - C-Drama Love - Show Summary
    Chinese Drama Love And Redemption Summary (琉璃) The drama tells the story of Chu Xuan Ji, a girl born with an incomplete "sixth sense", and Yu
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 404 มุมมอง 0 รีวิว
  • ความตกต่ำของกระทรวงการต่างประเทศ

    กระทรวงการต่างประเทศ ภายใต้การนำของ มาริษ เสงี่ยมพงษ์ คนใกล้ชิดอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร ไม่มีผลงานโดดเด่น นอกจากไปเป็นพยานให้ทักษิณ ผู้ต้องหาคดี 112 ขออนุญาตศาลออกนอกประเทศ ความขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชา ที่สองพ่อลูก ฮุน เซน และ ฮุน มาเนต ปลุกกระแสชาตินิยม นำปราสาทตาเมือนธม ตาเมือนโต๊ด ตาควาย และช่องบก ร้องต่อศาลโลก ขอให้ตกเป็นของกัมพูชา นอกจากจะแถลงข่าวรายวันก็ไม่มีอะไรโดดเด่น

    การประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย-กัมพูชา (JBC) นำโดย นายประศาสน์ ประศาสน์วินิจฉัย ประธานคณะกรรมาธิการเจบีซีฝ่ายไทย เป็นที่เคลือบแคลงสงสัย นอกจากจะเป็นคู่กรณีนายวีระ สมความคิด เคยบีบบังคับให้ยอมรับผิดว่าบุกรุกดินแดนกัมพูชาและด่าว่าเป็นตัวปัญหาแล้ว ในการประชุมเจบีซีมีไลน์หลุดออกมาว่า นายประศาสน์ พยายามโน้มน้าวให้ไทยยอมรับแผนที่มาตราส่วน 1 ต่อ 200,000 ที่ทำให้ไทยเสียดินแดน ทำให้เจ้าตัวถึงกับโกรธและไม่คุยด้วย หนำซ้ำ กัมพูชายังสรุปผลการประชุมว่าตกลงใช้แผนที่ 1 ต่อ 200,000 ทำให้คนไทยโกรธแค้นเพราะเสียเปรียบ ร้อนถึงกระทรวงต้องออกแถลงการณ์ตอนดึก ยืนยันว่าไม่ได้หารือ พร้อมแสดงความผิดหวังที่กัมพูชาเดินหน้านำพื้นที่ 4 จุดขึ้นสู่ศาลโลก

    สนธิ ลิ้มทองกุล ตั้งคำถามว่า ตั้งแต่ MOU 2543 ถึง MOU 2544 รู้อยู่แล้วว่าเป็นตัวการที่จะทำให้ไทยเสียดินแดน มีการระบุว่าต้องใช้แผนที่ 1 ต่อ 200,000 ไม่ใช่ 1 ต่อ 50,000 เคยถามตัวเองหรือไม่ว่าทำไมกัมพูชาเจรจากับเวียดนามใช้แผนที่ 1 ต่อ 50,000 ทำไมไทยถึงยอมใช้มาตรา 1 ต่อ 200,000 ส่วนนายประศาสน์ นับตั้งแต่ไปประชุมเจบีซี 3 สัปดาห์แล้วกลับมา ไม่เคยบอกคนไทยว่าไปพูดอะไรบ้าง และไม่บอกว่าไปลงนามข้อตกลงอะไรไว้ เปรียบเป็นไส้ศึกของกัมพูชา

    ที่น่าสนใจ คือ บทความหัวข้อ Thai diplomacy is now in need of a reset เขียนโดย กวี จงกิจถาวร ในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ระบุในตอนหนึ่งว่า แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ทำผิดพลาดทางการทูตร้ายแรงจากคลิปเสียงสนทนากับ ฮุน เซน แม้กระทรวงการต่างประเทศพยายามอย่างหนักเพื่อกอบกู้สถานการณ์ทางการทูตที่เหลืออยู่ แต่ขวัญกำลังใจตกต่ำเป็นประวัติการณ์ นักการทูตและเจ้าหน้าที่รู้สึกว่าถูกละเลยและเพิกเฉย นับตั้งแต่แพทองธารเข้ารับตำแหน่ง การตัดสินใจเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศก็ดำเนินการโดยทักษิณ และกลุ่มคนใกล้ชิด

    "นับตั้งแต่ ปานปรีย์ พหิทธานุกร อดีต รมว.ต่างประเทศ ก้าวลงจากตำแหน่งเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา กระทรวงฯ ก็ไร้ทิศทาง ไม่มีผู้นำที่เข้มแข็งมาควบคุม และไม่มีผู้ใดมีอำนาจที่จะควบคุมความเสียหายหรือวางแผนกลยุทธ์"

    #Newskit
    ความตกต่ำของกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ภายใต้การนำของ มาริษ เสงี่ยมพงษ์ คนใกล้ชิดอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร ไม่มีผลงานโดดเด่น นอกจากไปเป็นพยานให้ทักษิณ ผู้ต้องหาคดี 112 ขออนุญาตศาลออกนอกประเทศ ความขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชา ที่สองพ่อลูก ฮุน เซน และ ฮุน มาเนต ปลุกกระแสชาตินิยม นำปราสาทตาเมือนธม ตาเมือนโต๊ด ตาควาย และช่องบก ร้องต่อศาลโลก ขอให้ตกเป็นของกัมพูชา นอกจากจะแถลงข่าวรายวันก็ไม่มีอะไรโดดเด่น การประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย-กัมพูชา (JBC) นำโดย นายประศาสน์ ประศาสน์วินิจฉัย ประธานคณะกรรมาธิการเจบีซีฝ่ายไทย เป็นที่เคลือบแคลงสงสัย นอกจากจะเป็นคู่กรณีนายวีระ สมความคิด เคยบีบบังคับให้ยอมรับผิดว่าบุกรุกดินแดนกัมพูชาและด่าว่าเป็นตัวปัญหาแล้ว ในการประชุมเจบีซีมีไลน์หลุดออกมาว่า นายประศาสน์ พยายามโน้มน้าวให้ไทยยอมรับแผนที่มาตราส่วน 1 ต่อ 200,000 ที่ทำให้ไทยเสียดินแดน ทำให้เจ้าตัวถึงกับโกรธและไม่คุยด้วย หนำซ้ำ กัมพูชายังสรุปผลการประชุมว่าตกลงใช้แผนที่ 1 ต่อ 200,000 ทำให้คนไทยโกรธแค้นเพราะเสียเปรียบ ร้อนถึงกระทรวงต้องออกแถลงการณ์ตอนดึก ยืนยันว่าไม่ได้หารือ พร้อมแสดงความผิดหวังที่กัมพูชาเดินหน้านำพื้นที่ 4 จุดขึ้นสู่ศาลโลก สนธิ ลิ้มทองกุล ตั้งคำถามว่า ตั้งแต่ MOU 2543 ถึง MOU 2544 รู้อยู่แล้วว่าเป็นตัวการที่จะทำให้ไทยเสียดินแดน มีการระบุว่าต้องใช้แผนที่ 1 ต่อ 200,000 ไม่ใช่ 1 ต่อ 50,000 เคยถามตัวเองหรือไม่ว่าทำไมกัมพูชาเจรจากับเวียดนามใช้แผนที่ 1 ต่อ 50,000 ทำไมไทยถึงยอมใช้มาตรา 1 ต่อ 200,000 ส่วนนายประศาสน์ นับตั้งแต่ไปประชุมเจบีซี 3 สัปดาห์แล้วกลับมา ไม่เคยบอกคนไทยว่าไปพูดอะไรบ้าง และไม่บอกว่าไปลงนามข้อตกลงอะไรไว้ เปรียบเป็นไส้ศึกของกัมพูชา ที่น่าสนใจ คือ บทความหัวข้อ Thai diplomacy is now in need of a reset เขียนโดย กวี จงกิจถาวร ในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ระบุในตอนหนึ่งว่า แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ทำผิดพลาดทางการทูตร้ายแรงจากคลิปเสียงสนทนากับ ฮุน เซน แม้กระทรวงการต่างประเทศพยายามอย่างหนักเพื่อกอบกู้สถานการณ์ทางการทูตที่เหลืออยู่ แต่ขวัญกำลังใจตกต่ำเป็นประวัติการณ์ นักการทูตและเจ้าหน้าที่รู้สึกว่าถูกละเลยและเพิกเฉย นับตั้งแต่แพทองธารเข้ารับตำแหน่ง การตัดสินใจเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศก็ดำเนินการโดยทักษิณ และกลุ่มคนใกล้ชิด "นับตั้งแต่ ปานปรีย์ พหิทธานุกร อดีต รมว.ต่างประเทศ ก้าวลงจากตำแหน่งเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา กระทรวงฯ ก็ไร้ทิศทาง ไม่มีผู้นำที่เข้มแข็งมาควบคุม และไม่มีผู้ใดมีอำนาจที่จะควบคุมความเสียหายหรือวางแผนกลยุทธ์" #Newskit
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 403 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts