• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950
    ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้
    ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น
    และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง
    กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง
    ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง
    จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป
    หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว
    ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย
    ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์
    และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า
    “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
    ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย.
    ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด”
    ดังนี้.
    --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้
    ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง.
    เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม
    นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า,
    เธอ
    ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่;
    ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่;
    ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่;
    ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่.
    --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน.

    *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง
    รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน,
    ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว.

    (ในกรณีแห่งการบรรลุ
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน...
    &จตุตถฌาน...
    &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ...
    ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน.
    ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ
    สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น
    ตรัสว่า :-
    )
    --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป.
    เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน
    แล.

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย สัทธรรมลำดับที่ : 950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950 ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. (ในกรณีแห่งการบรรลุ &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... &จตุตถฌาน... &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ... ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น ตรัสว่า :- ) --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล. #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244. http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว).
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว). แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมา จากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. ๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌานอันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. (ในกรณีแห่งการบรรลุ ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ กระทั่งถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ตรัสว่า :- ) ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล.
    0 Comments 0 Shares 97 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​กหัดศึกษาว่าปราศจากความยึดถือว่าตัวตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    ชื่อบทธรรม :- ปราศจากความยึดถือว่าตัวตน อันเป็นมานะเครื่องถือตัวตน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ;
    รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้
    พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !”
    --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ(สิ่งทั้งหมด) เหล่าใด
    ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
    อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี
    เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี
    อริยสาวก

    "ได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า
    นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้
    แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ" ;

    "สพฺพงฺ วิญฺญาณงฺ
    เนตัง มม เนโสหมัสมิ น เมโส อตฺตาติ
    เอวเมตงฺ ยถาภูตงฺ สมฺมปฺปญฺญาย ทิสฺวา
    อนุปาทา วิมุตฺโต โหติ" ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/208/?keywords=วิญฺญาณํ+สมฺมปฺปญฺญาย+วิมุตฺโต

    --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตจึงจะเป็นธรรมชาติ
    ปราศจากความยึดถือว่าเรา #ปราศจากความยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้
    และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้,
    และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/164/319.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/164/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๗/๓๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=579
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​กหัดศึกษาว่าปราศจากความยึดถือว่าตัวตน สัทธรรมลำดับที่ : 579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 ชื่อบทธรรม :- ปราศจากความยึดถือว่าตัวตน อันเป็นมานะเครื่องถือตัวตน เนื้อความทั้งหมด :- --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !” --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ(สิ่งทั้งหมด) เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวก "ได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้ แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ" ; "สพฺพงฺ วิญฺญาณงฺ เนตัง มม เนโสหมัสมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตงฺ ยถาภูตงฺ สมฺมปฺปญฺญาย ทิสฺวา อนุปาทา วิมุตฺโต โหติ" ; http://etipitaka.com/read/pali/17/208/?keywords=วิญฺญาณํ+สมฺมปฺปญฺญาย+วิมุตฺโต --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตจึงจะเป็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา #ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้, และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/164/319. http://etipitaka.com/read/thai/17/164/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๗/๓๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=579 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีอวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !”
    -“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีอวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !” กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ ; กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตใจจึงจะเป็นธรรมชาติปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้, และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 96 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง
    สัทธรรมลำดับที่ : 143
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=143
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา มีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --ภิกษุ ท. !
    ๑. สุขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็น ทุกข์,
    ๒. ทุกขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็น ลูกศร,
    ๓. อทุกขมสุขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็น ของไม่เที่ยง.
    --ภิกษุ ท. ! แต่กาลใดแล
    สุขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นทุกข์,
    ทุกขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นลูกศร,
    อทุกขมสุขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นของไม่เที่ยง ;
    ----ภิกษุ ท. ! แต่กาลนั้น ภิกษุนี้เราเรียกว่า
    “ผู้เห็นโดยถูกต้อง (สมฺมทฺทโส)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/257/?keywords=สมฺมทฺทโส
    ได้ตัดตัณหาเสียแล้ว
    รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว
    ได้กระทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้จักหน้าตา
    ของมานะอย่างถูกต้องแล้ว.”
    -

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/221/367.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/221/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๖/๓๖๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/256/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=143
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=143
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง สัทธรรมลำดับที่ : 143 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=143 ชื่อบทธรรม :- เวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง --ภิกษุ ท. ! เวทนา มีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ๑. สุขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็น ทุกข์, ๒. ทุกขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็น ลูกศร, ๓. อทุกขมสุขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็น ของไม่เที่ยง. --ภิกษุ ท. ! แต่กาลใดแล สุขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นทุกข์, ทุกขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นลูกศร, อทุกขมสุขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; ----ภิกษุ ท. ! แต่กาลนั้น ภิกษุนี้เราเรียกว่า “ผู้เห็นโดยถูกต้อง (สมฺมทฺทโส) http://etipitaka.com/read/pali/18/257/?keywords=สมฺมทฺทโส ได้ตัดตัณหาเสียแล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้กระทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้จักหน้าตา ของมานะอย่างถูกต้องแล้ว.” - #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/221/367. http://etipitaka.com/read/thai/18/221/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๖/๓๖๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/256/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=143 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=143 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง
    -เวทนาเป็นทุกข์ เป็นลูกศร เป็นของไม่เที่ยง ภิกษุ ท. ! เวทนา มีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็นทุกข์, ทุกขเวทนาพึงเห็นโดยความเป็นลูกศร, อทุกขมสุขเวทนา พึงเห็นโดยความเป็นของไม่เที่ยง. ภิกษุ ท. ! แต่กาลใดแล สุขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นทุกข์, ทุกขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นลูกศร, อทุกขมสุขเวทนา เป็นสิ่งที่ภิกษุเห็นแล้ว โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; ภิกษุ ท. ! แต่กาลนั้น ภิกษุนี้เราเรียกว่า “ผู้เห็นโดยถูกต้อง (สมฺมทฺทโส) ได้ตัดตัณหา เสียแล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้กระทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้จักหน้าตา ของมานะอย่างถูกต้องแล้ว.”-
    0 Comments 0 Shares 89 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร
    : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน
    ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน.
    สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป;
    ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-
    )​
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”.
    --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”.
    (ในกรณีแห่ง
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน... และ
    &จตุตถฌาน...
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว
    จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา
    เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา
    จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด”
    ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น.
    (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ
    &วิญญาณัญจายตนะ...
    &อากิญจัญญายตนะ... และ
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ....
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว.
    ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่,
    #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น ,
    ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก
    ดังนี้.-
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน,
    เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร
    คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ
    เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้
    แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด.
    ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน
    สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร สัทธรรมลำดับที่ : 949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :- )​ --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... และ &จตุตถฌาน... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ &วิญญาณัญจายตนะ... &อากิญจัญญายตนะ... และ &เนวสัญญานาสัญญายตนะ.... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243. http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ .
    -(ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ . ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี ดังที่ได้ยกมาไว้ในภาคนำแห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หน้า ๗๕. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๐๐/๑๔๘. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๘๑/๒๕๐). แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-) ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัว อยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึงอากาสานัญจายตนะ :-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งรูปสัญญาเสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจ ซึ่งนานัตตสัญญา จึงเข้าถึง อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไป เพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 154 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    สัทธรรมลำดับที่ : 578
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578
    ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ
    ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !”
    --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด
    ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
    อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี
    เลวหรือประณีตก็ดี
    อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี
    อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า
    นั้นไม่ใช่ตัวของเรา (เนตํ มม)
    นั่นไม่ใช่ตนเป็นเรา (เนโสหมสฺมิ)
    นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา)
    http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=เนตํ+เนโสหมสฺมิ+อตฺตา
    ดังนี้นั่นแหละ ;

    --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึง
    ไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีมโนวิญญาณนี้ และ
    ในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/163/318.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/163/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๖/๓๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/206/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=578
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหมดตัวตน ก็หมดอหังการ สัทธรรมลำดับที่ : 578 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578 ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดอหังการ เนื้อความทั้งหมด :- --หมดตัวตน ก็หมดอหังการ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !” --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า นั้นไม่ใช่ตัวของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่ตนเป็นเรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=เนตํ+เนโสหมสฺมิ+อตฺตา ดังนี้นั่นแหละ ; --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึง ไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีมโนวิญญาณนี้ และ ในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/163/318. http://etipitaka.com/read/thai/17/163/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๖/๓๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/206/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=578 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    -หมดตัวตน ก็หมดอหังการ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !” กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า นั้นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เป็นเรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) ดังนี้นั่นแหละ ; กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.
    0 Comments 0 Shares 113 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    สัทธรรมลำดับที่ : 142
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142
    ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    ----ภิกษุทั้งหลาย
    ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้ เรากล่าวผู้นี้ว่า #สัทธานุสารี
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=สทฺธานุสารี
    เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ 17/248/473.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ ๑๗/๒๘๐/๔๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=142
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาแปรปรวน สัทธรรมลำดับที่ : 142 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142 ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาแปรปรวน เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนามีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ----ภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้ เรากล่าวผู้นี้ว่า #สัทธานุสารี http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=สทฺธานุสารี เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า. #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ 17/248/473. http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ ๑๗/๒๘๐/๔๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=142 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    -เวทนามีธรรมดาแปรปรวน ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
    0 Comments 0 Shares 108 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948
    ชื่อบทธรรม :- อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลานรตานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=ปฏิสลฺลานรตานํ
    เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น
    จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน
    มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา
    เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่,
    ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง
    เป็นอันเธอหวังได้ คือ #อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ
    หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.-

    (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ
    รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า)​
    --- ๑๗/๒๐/๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90

    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ #ด้วยการรู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี
    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการรู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ
    จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง #ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    --- ๑๘/๑๐๐/๑๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98

    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น #โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    --- ๑๘/๑๘๑/๒๕๐
    http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/193/223.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๕๙/๒๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/259/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อานิสงส์ของการหลีกเร้น สัทธรรมลำดับที่ : 948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948 ชื่อบทธรรม :- อานิสงส์ของการหลีกเร้น เนื้อความทั้งหมด :- --อานิสงส์ของการหลีกเร้น --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลานรตานํ) http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=ปฏิสลฺลานรตานํ เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด. --ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่, ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง เป็นอันเธอหวังได้ คือ #อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้ http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.- (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า)​ --- ๑๗/๒๐/๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 --ในสูตรอื่นแสดงไว้ #ด้วยการรู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการรู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง #ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. --- ๑๘/๑๐๐/๑๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น #โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. --- ๑๘/๑๘๑/๒๕๐ http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/193/223. http://etipitaka.com/read/thai/25/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๕๙/๒๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/25/259/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. -๑๗/๑๘/๒๗. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๑๒๗-๑๓๑ และที่หน้า ๓๓๘-๓๔๑ )
    -(ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. -๑๗/๑๘/๒๗. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๑๒๗-๑๓๑ และที่หน้า ๓๓๘-๓๔๑ ) ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. – ๑๘/๙๙/๑๔๗. อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. -๑๘/๑๘๐/๒๔๙). อานิสงส์ของการหลีกเร้น ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลาณ) เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด. ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่, ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง เป็นอันเธอหวังได้ คือ อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้ หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.
    0 Comments 0 Shares 156 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาหมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    สัทธรรมลำดับที่ : 577
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577
    ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว
    ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า.
    ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ
    ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :
    --(๑) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย
    ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ;
    --(๒) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ;
    --(๓) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ;
    --(๔) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ;
    --(๕) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ;
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล
    เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก,
    เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร)
    เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ;

    เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็น​#ผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=ทุกฺขสฺมาติ

    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.17/158/305.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/158/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.๑๗/๒๐๑/๓๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=577
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาหมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน สัทธรรมลำดับที่ : 577 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577 ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน เนื้อความทั้งหมด :- --หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า. ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : --(๑) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ; --(๒) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ; --(๓) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ; --(๔) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ; --(๕) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ; --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก, เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร) เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ; เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็น​#ผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=ทุกฺขสฺมาติ ดังนี้แล.- ​ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.17/158/305. http://etipitaka.com/read/thai/17/158/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.๑๗/๒๐๑/๓๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=577 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    -หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า. ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : (๑) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ; (๒) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ; (๓) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ; (๔) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ; (๕) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ; ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก, เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร) เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ; เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 138 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    สัทธรรมลำดับที่ : 141
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141
    ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    --อัคคิเวสสนะ ! เวทนามีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สมัยใด เสวยสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา และ
    ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่สุขเวทนาอย่างเดียว.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สมัยใด เสวยทุกขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ
    ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สมัยใด เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ
    ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาอย่างเดียว.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สุขเวทนา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว
    มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
    มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา
    มีความดับเป็นธรรมดา.
    --อัคคิเวสสนะ ! แม้
    ทุกขเวทนา ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว
    มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
    มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา
    มีความดับเป็นธรรมดา.
    --อัคคิเวสสนะ ! แม้
    อทุกขมสุขเวทนา เล่า ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว
    มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
    มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา
    มีความดับเป็นธรรมดา
    แล.-
    --อัคคิเวสสนะ !
    อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา
    เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น แล้ว
    รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
    --อัคคิเวสสนะ !
    ภิกษุ #ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว(วิมุตฺตจิตฺโต)​อย่างนี้แล
    -http://etipitaka.com/read/pali/13/268/?keywords=วิมุตฺตจิตฺโต
    ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/207/273.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/207/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๖๗/๒๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/267/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=141
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง สัทธรรมลำดับที่ : 141 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141 ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง --อัคคิเวสสนะ ! เวทนามีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา และ ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่สุขเวทนาอย่างเดียว. --อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยทุกขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว. --อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาอย่างเดียว. --อัคคิเวสสนะ ! สุขเวทนา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. --อัคคิเวสสนะ ! แม้ ทุกขเวทนา ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. --อัคคิเวสสนะ ! แม้ อทุกขมสุขเวทนา เล่า ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา แล.- --อัคคิเวสสนะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น แล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. --อัคคิเวสสนะ ! ภิกษุ #ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว(วิมุตฺตจิตฺโต)​อย่างนี้แล -http://etipitaka.com/read/pali/13/268/?keywords=วิมุตฺตจิตฺโต ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/207/273. http://etipitaka.com/read/thai/13/207/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๖๗/๒๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/13/267/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=141 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    -เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง อัคคิเวสสนะ ! เวทนามีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา และไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่สุขเวทนาอย่างเดียว. อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยทุกขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยสุขเวทนา และไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว. อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา และไม่ได้เสวยทุกขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาอย่างเดียว. อัคคิเวสสนะ ! สุขเวทนา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้วอาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดามีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. อัคคิเวสสนะ ! แม้ทุกขเวทนา ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้วมีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. อัคคิเวสสนะ ! แม้ อทุกขมสุขเวทนา เล่า ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้วมีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา แล.
    0 Comments 0 Shares 154 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว
    สัทธรรมลำดับที่ : 947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้ .
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้เถิด.-

    (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ
    ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า )
    ---๑๗/๑๘/๒๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97

    ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด
    อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง
    คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๙๙/๑๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97

    อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ
    อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว สัทธรรมลำดับที่ : 947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งสมาธิ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.- (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ) ---๑๗/๑๘/๒๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๙๙/๑๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97 อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙ http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654. http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งสมาธิ
    -อานุภาพแห่งสมาธิ ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และนี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีมีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.
    0 Comments 0 Shares 204 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่า​ “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 140
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140
    ชื่อบทธรรม :- “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --“ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    (อันเป็นเหตุให้หลงทุ่มเถียงกัน)
    --ภิกษุ ท. ! เวทนาเรากล่าวแล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=เวทนา
    โดยปริยายแม้สองอย่าง,
    โดยปริยายแม้สามอย่าง,
    โดยปริยายแม้ห้าอย่าง,
    โดยปริยายแม้หกอย่าง,
    โดยปริยายแม้สิบแปดอย่าง,
    โดยปริยายแม้สามสิบหกอย่าง,
    โดยปริยายแม้ร้อยแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนี้ ที่เราแสดงธรรม.
    เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนี้,
    ชนเหล่าใด จักไม่สำคัญร่วม จักไม่รู้ร่วม จักไม่พอใจร่วม แก่กันและกัน
    ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ;
    เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ
    จักบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกันทิ่มแทงกันและกันด้วยหอกปาก อยู่.
    --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนั้น ที่เราแสดงธรรม.
    เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนั้น,
    ชนเหล่าใด จักสำคัญร่วม จักรู้ร่วม จักพอใจร่วม แก่กันและกัน
    ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว;
    เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ
    จักพร้อมเพรียงกัน บันเทิงต่อกัน ไม่วิวาทกันเข้ากันได้เหมือนน้ำนมกับน้ำ
    มองกันและกันด้วยสายตาอันเป็นที่รักอยู่,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/241/425.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/241/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๓/๔๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=140
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่า​ “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 140 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140 ชื่อบทธรรม :- “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย เนื้อความทั้งหมด :- --“ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย (อันเป็นเหตุให้หลงทุ่มเถียงกัน) --ภิกษุ ท. ! เวทนาเรากล่าวแล้ว http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=เวทนา โดยปริยายแม้สองอย่าง, โดยปริยายแม้สามอย่าง, โดยปริยายแม้ห้าอย่าง, โดยปริยายแม้หกอย่าง, โดยปริยายแม้สิบแปดอย่าง, โดยปริยายแม้สามสิบหกอย่าง, โดยปริยายแม้ร้อยแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนี้ ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนี้, ชนเหล่าใด จักไม่สำคัญร่วม จักไม่รู้ร่วม จักไม่พอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกันทิ่มแทงกันและกันด้วยหอกปาก อยู่. --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนั้น ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนั้น, ชนเหล่าใด จักสำคัญร่วม จักรู้ร่วม จักพอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักพร้อมเพรียงกัน บันเทิงต่อกัน ไม่วิวาทกันเข้ากันได้เหมือนน้ำนมกับน้ำ มองกันและกันด้วยสายตาอันเป็นที่รักอยู่, ดังนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/241/425. http://etipitaka.com/read/thai/18/241/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๓/๔๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=140 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    -“ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย (อันเป็นเหตุให้หลงทุ่มเถียงกัน) ภิกษุ ท. ! เวทนาเรากล่าวแล้ว โดยปริยายแม้สองอย่าง, โดยปริยายแม้สามอย่าง, โดยปริยายแม้ห้าอย่าง, โดยปริยายแม้หกอย่าง, โดยปริยายแม้สิบแปดอย่าง, โดยปริยายแม้สามสิบหกอย่าง, โดยปริยายแม้ร้อยแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนี้ ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดง ธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนี้, ชนเหล่าใด จักไม่สำคัญร่วม จักไม่รู้ร่วม จักไม่พอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกันทิ่มแทงกันและกันด้วยหอกปาก อยู่. ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนั้น ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนั้น, ชนเหล่าใด จักสำคัญร่วม จักรู้ร่วม จักพอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักพร้อมเพรียงกัน บันเทิงต่อกัน ไม่วิวาทกันเข้ากันได้เหมือนน้ำนมกับน้ำ มองกันและกันด้วยสายตาอันเป็นที่รักอยู่, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 156 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 Comments 0 Shares 223 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์
    สัทธรรมลำดับที่ : 574
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้.
    --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต
    พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส !
    ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่,
    --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยปริยาย.

    --(ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ;
    อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย.
    ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น
    กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์
    โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-
    )​

    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ :
    ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
    --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์ สัทธรรมลำดับที่ : 574 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. --(ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ; อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :- )​ --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257. http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. อาวุโส ! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.
    0 Comments 0 Shares 199 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 139
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด
    ซึ่งเวทนา
    ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา
    ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา
    ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา),
    --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท.
    -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่
    เป็นสุขก็ตาม
    เป็นทุกข์ก็ตาม
    เป็นอทุกขมสุขก็ตาม
    เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์
    มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว
    เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา
    : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ.
    -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข
    อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่.
    --เมื่อใดภิกษุ
    มีความเพียรเผากิเลส
    ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ
    ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง
    --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร.
    -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ;
    -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ;
    -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ผู้ใด
    เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์
    เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร
    เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง ;
    --ผู้นั้นเป็นภิกษุ
    ผู้รู้เห็นโดยชอบ
    ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา
    เพราะรอบรู้เวทนา
    จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร,

    -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90

    --วิภาคแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย,
    พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สามอย่างนั้น คือ
    สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข)
    ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์)
    และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข).
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา หกอย่างนั้น คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย,
    และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง,
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง,
    และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง.
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง,
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ
    เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต,
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 139 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด ซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม เป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. --เมื่อใดภิกษุ มีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. -ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; --ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90 --วิภาคแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7. http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัดซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตามเป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุขอันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. เมื่อใดภิกษุมีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึง เป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. วิภาคแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนาแม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่างเราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัสหกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัสหกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่ เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และอุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และเวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.
    0 Comments 0 Shares 237 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945
    ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ
    --ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ

    นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ?
    +--จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี
    ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=อนิจฺจนฺ+สมาธึ
    (ในกรณีแห่งหมวด
    โสตะ, ฆานะ, ชิวหา, กายะ และ มนะ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด.
    เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/181/249.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/148/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๘๑/๒๔๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945 ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ --ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง. --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ? +--จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=อนิจฺจนฺ+สมาธึ (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ, ฆานะ, ชิวหา, กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.- #สัมมาสมาธิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/181/249. http://etipitaka.com/read/thai/18/148/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๘๑/๒๔๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ
    -หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ? จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้. (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.
    0 Comments 0 Shares 210 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาตามคำของพระอานนท์ว่านิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 573
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573
    ชื่อบทธรรม :- ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น.
    นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า
    เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน.
    *-นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ถึง
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94
    ).

    --ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’
    ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=ปรินิพฺพานํ
    --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
    --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้
    ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย.
    --(ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน...
    ตติยฌาน...
    จตุตถฌาน...
    อากาสานัญจายตนะ....
    วิญญาณัญจายตนะ...
    อากิญจัญญายตนะ... และ
    เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย.
    ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน
    โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-)​
    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่,
    อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ,

    --อาวุโส #ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/475/255.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/365/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=573
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาตามคำของพระอานนท์ว่านิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 573 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573 ชื่อบทธรรม :- ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น. นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน. *-นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔ http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ถึง http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94 ). --ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’ ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=ปรินิพฺพานํ --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. --(ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน... ตติยฌาน... จตุตถฌาน... อากาสานัญจายตนะ.... วิญญาณัญจายตนะ... อากิญจัญญายตนะ... และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-)​ --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ, --อาวุโส #ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/475/255. http://etipitaka.com/read/thai/23/365/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=573 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์ และผู้ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น. นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน. -นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔). ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’ ดังนี้. อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ, อาวุโส ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.
    0 Comments 0 Shares 210 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 138
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ;
    คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ;
    ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี;
    ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ;
    อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.--
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    ....
    -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 138 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี; ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.-- --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. .... -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 269 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    สัทธรรมลำดับที่ : 944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    เนื้อความทั้งหมด :-

    --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.
    ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น,
    และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย,
    เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว)
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ;
    อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล
    ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด
    เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น
    ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา.
    (ในกรณีแห่ง
    อินทรีย์คือหู...
    อินทรีย์คือจมูก...
    อินทรีย์คือลิ้น...
    อินทรีย์คือกาย... และ
    อินทรีย์ คือใจ...
    ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว
    ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด
    คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง).
    เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง
    ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ
    ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่;
    ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท
    เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง
    ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ
    มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่;
    ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่;
    ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร”
    ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่.
    --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ
    ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว,
    เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง
    ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    เข้าถึง
    ทุติยฌาน ....
    ตติยฌาน ....
    จตุตถฌาน ....
    แล้วแลอยู่.
    (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ).
    --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว
    ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ.
    -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ
    เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์,
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์;

    และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ,
    นี้เหตุให้เกิดอาสวะ,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ.
    เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ;

    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว.
    เธอ ย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง สัทธรรมลำดับที่ : 944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง เนื้อความทั้งหมด :- --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต. ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู... อินทรีย์คือจมูก... อินทรีย์คือลิ้น... อินทรีย์คือกาย... และ อินทรีย์ คือใจ... ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ). --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ. -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอ ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76. http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ” จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    -(ข้อความนั้น มีลักษณะแห่ง การเจริญสมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์ อาจจะใช้เป็นคำอธิบายแห่งคำว่า “อุปสุมานุสสติ” แห่งอนุสสติสิบ ได้ดี ดีกว่าที่อธิบายกันอยู่อย่างคลุมเครือ. ยิ่งกว่านั้นยังมีความวิเศษตรงที่ว่า ง่ายสำหรับทุกคนที่จะแยกจิตออกมาเสียจากสิ่งทั้งปวง มากำหนดอยู่เฉพาะสิ่งที่เป็นอสังขตะนี้เพียงสิ่งเดียว ทำให้แสวงหาความสุขหรือความเย็นจากพระนิพพานได้ง่ายขึ้น). ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู อินทรีย์คือจมูก อินทรีย์คือลิ้น อินทรีย์คือกาย และอินทรีย์ คือใจ ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มีรูปฌานทั้งสี่ เช่นที่หน้า ๑๒๗๘ แห่งหนังสือเล่มนี้). เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสเป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสวักขยญาณ. เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 308 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    สัทธรรมลำดับที่ : 572
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572
    ชื่อบทธรรม :- ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘สันทิฏฐิกธรรม สันทิฏฐิกธรรม’ ดังนี้
    --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรมนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้
    ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้
    ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย.
    (ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน...
    ตติยฌาน...
    จตุตถฌาน...
    อากาสานัญจายตนะ....
    วิญญาณัญจายตนะ...
    อากิญจัญญายตนะ... และ
    เนวสัญญานาสัญญายตนะ...
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ
    และในฐานะเป็น สันทิฏฐิกธรรม โดยปริยาย.
    ส่วน สัญญาเวทยิตนิโรธชนิดที่มีการสิ้นอาสวะ นั้น
    กล่าวไว้ในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-
    )
    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่
    : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=สญฺญาเวทยิตนิโรธํ
    อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา #อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
    --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/364/250.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/364/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๗๔/๒๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/474/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=572
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ สัทธรรมลำดับที่ : 572 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572 ชื่อบทธรรม :- ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘สันทิฏฐิกธรรม สันทิฏฐิกธรรม’ ดังนี้ --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรมนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน... ตติยฌาน... จตุตถฌาน... อากาสานัญจายตนะ.... วิญญาณัญจายตนะ... อากิญจัญญายตนะ... และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ... มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็น สันทิฏฐิกธรรม โดยปริยาย. ส่วน สัญญาเวทยิตนิโรธชนิดที่มีการสิ้นอาสวะ นั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :- ) --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=สญฺญาเวทยิตนิโรธํ อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา #อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. --อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/364/250. http://etipitaka.com/read/thai/23/364/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๗๔/๒๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/474/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=572 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=572 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้มีสันทิฏฐิกธรรม ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘สันทิฏฐิกธรรม สันทิฏฐิกธรรม’ ดังนี้ อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรมนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดที่มีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นสันทิฏฐิกธรรม โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. อาวุโส ! สันทิฏฐิกธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.
    0 Comments 0 Shares 204 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 153
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    --สัญญาหกประการ
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ
    สัญญาในรูป,
    สัญญาในเสียง,
    สัญญาในกลิ่น,
    สัญญาในรส,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153

    สัทธรรมลำดับที่ : 154
    ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง
    (ดังนี้เป็นต้น).
    ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154

    สัทธรรมลำดับที่ : 155
    ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสัญญา
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่,
    ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง
    มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 153 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ --สัญญาหกประการ --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ สัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153 สัทธรรมลำดับที่ : 154 ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา” เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สัญญา” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง (ดังนี้เป็นต้น). ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154 สัทธรรมลำดับที่ : 155 ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสัญญา --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่, ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    -๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ สัญญาหก ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
    0 Comments 0 Shares 195 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 137
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
    : นี้เราเรียกว่า เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา
    2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา
    ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา)
    3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑
    ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา
    ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา).
    5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ
    สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น
    : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา.
    7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา
    : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา.
    8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา
    : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 137 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! 1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา 2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) 3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑ ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). 5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. 7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. 8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา- *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438. http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา (: นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา๑ (: นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือสัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ (: นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    0 Comments 0 Shares 214 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า
    พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ
    จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน
    ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97
    พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน
    คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ
    หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ
    สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ
    สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น,
    ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน
    คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น,
    แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า
    #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ
    ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น
    ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี.

    (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น
    บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม,
    ส่วนคำตอบในสูตรนี้
    ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ.
    และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน
    ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน
    สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น.
    อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง.
    )​

    สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ
    โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว
    ].

    --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งจักษุ (และ) รูป
    ซึ่งโสตะ (และ) เสียง
    ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น
    ซึ่งชิวหา (และ) รส
    ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งอากาสานัญจายตนะ
    ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตน
    ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง
    ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ
    แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ)
    กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ
    ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ;
    แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.-

    *--๑.บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ
    ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘) http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97 พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น. อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. )​ สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว ]. --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจ ซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.- *--๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215. http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    -[ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗) พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้ ๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพานดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้นทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็นอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว]. สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่กระทำในใจซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รสซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. “มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่ กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.
    0 Comments 0 Shares 262 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาอนิมิตตวิหารีบุรุษ (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต)
    สัทธรรมลำดับที่ : 571
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571
    ชื่อบทธรรม :- ผู้อนิมิตตวิหารี
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้อนิมิตตวิหารี
    ...
    ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะชื่นชมยินดีภาษิต
    ของท้าวติสสพรหม(มีหกบุคคลผู้มีอุปทานข้นธ์)​
    แล้ว หายจากพรหมโลกไปปรากฏที่เขาคิชฌกูฏ
    เหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น
    แล้วท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
    ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
    ครั้นแล้วได้กราบทูลถ้อยคำสนทนาปราศรัยกับท้าวติสสพรหมทั้งหมด
    แด่พระผู้มีพระภาค ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    ...
    --โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น
    อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ?
    +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค
    จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ด(๗) ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=สตฺตมํ+อนิมิตฺตวิหารึ+ปุคฺคลํ
    ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”.
    --โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่.
    เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า
    +--“ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
    เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ;
    เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อ
    เสพเสนาสนะที่สมควร
    คบกัลยาณมิตร
    บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่
    ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น
    อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
    อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่,
    ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่”
    ดังนี้.-
    ...
    --ดูกรโมคคัลลานะ​ ! เทวดาเหล่านั้น
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้อย่างนี้ในบุคคลผู้มีอุปาทานขันธ์เหลือว่า #มีอุปาทานขันธ์เหลือ
    ...

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/65/53.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/65/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=571
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอนิมิตตวิหารีบุรุษ (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) สัทธรรมลำดับที่ : 571 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 ชื่อบทธรรม :- ผู้อนิมิตตวิหารี เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้อนิมิตตวิหารี ... ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะชื่นชมยินดีภาษิต ของท้าวติสสพรหม(มีหกบุคคลผู้มีอุปทานข้นธ์)​ แล้ว หายจากพรหมโลกไปปรากฏที่เขาคิชฌกูฏ เหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น แล้วท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลถ้อยคำสนทนาปราศรัยกับท้าวติสสพรหมทั้งหมด แด่พระผู้มีพระภาค ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ... --โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ? +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ด(๗) ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ; http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=สตฺตมํ+อนิมิตฺตวิหารึ+ปุคฺคลํ ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”. --โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า +--“ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อ เสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่ ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.- ... --ดูกรโมคคัลลานะ​ ! เทวดาเหล่านั้น ย่อมมีญาณหยั่งรู้อย่างนี้ในบุคคลผู้มีอุปาทานขันธ์เหลือว่า #มีอุปาทานขันธ์เหลือ ... #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/65/53. http://etipitaka.com/read/thai/23/65/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=571 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้อนิมิตตวิหารี
    -ผู้อนิมิตตวิหารี โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ? “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ดผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ; ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”. โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อเสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่ ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 283 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าบาดาลนี้เป็นชื่อของทุกขเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 136
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร.
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ #ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=ปาตาโล
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง.
    --ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/220/365.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/220/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๕/๓๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ่านเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าบาดาลนี้เป็นชื่อของทุกขเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 136 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136 ชื่อบทธรรม :- ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. --ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ #ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=ปาตาโล --ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. --ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/220/365. http://etipitaka.com/read/pali/18/220/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๕/๓๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95 อ่านเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    -ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้. ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.
    0 Comments 0 Shares 222 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    สัทธรรมลำดับที่ : 942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    (โลกุตตรสมาธิ)
    “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ
    ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญา ในลม
    ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว
    สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า
    “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ
    เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ
    เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    *--๑. บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ
    สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้
    ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญาในลม
    ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว
    สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว
    สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ สัทธรรมลำดับที่ : 942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ ไม่มีวาโยสัญญา ในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. *--๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214. http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. ”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่ สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.
    0 Comments 0 Shares 205 Views 0 Reviews
More Results