• ทบ. แจงเหตุทหารเหยียบกับระเบิดช่องบก เร่งสอบชนิด-ที่มา ทุ่นระเบิดยังไม่ยืนยันใหม่หรือเก่า
    https://www.thai-tai.tv/news/20360/
    .
    #ทหารเหยียบกับระเบิด #ช่องบก #กองทัพบก #ทุ่นระเบิด #อนุสัญญาออตตาวา #ชายแดนไทยกัมพูชา #ข่าวความมั่นคง
    ทบ. แจงเหตุทหารเหยียบกับระเบิดช่องบก เร่งสอบชนิด-ที่มา ทุ่นระเบิดยังไม่ยืนยันใหม่หรือเก่า https://www.thai-tai.tv/news/20360/ . #ทหารเหยียบกับระเบิด #ช่องบก #กองทัพบก #ทุ่นระเบิด #อนุสัญญาออตตาวา #ชายแดนไทยกัมพูชา #ข่าวความมั่นคง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • เซเลนสกีเริ่มขั้นตอนถอนตัวออกจากสนธิสัญญาออตตาวา (Ottawa Treaty) ปี 1997 ที่ห้ามมีการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล โดยที่คำสั่งของเซเลนสกีปรากฏบนเว็บไซต์อย่างเป็นทางการแล้ว แม้ว่าจะมีผลบังคับใช้ทันที แต่การถอนตัวจะมีผลใช้บังคับอย่างเป็นทางการภายในหกเดือนหลังจากที่สหประชาชาติได้รับแจ้งอย่างเป็นทางการ


    สื่อยูเครนรายงานว่า การถอนตัวออกจากอนุสัญญานี้ได้มีการหารือกันแบบลับๆ ตั้งแต่ปี 2023 ร่วมกับพันธมิตร ซึ่งได้มีการอนุญาตให้ใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลในดินแดนของตนเองได้ และในที่สุดเซเลนสกีต้องการมากกว่านั้น จึงได้มีการลงนามในกฎหมายเพื่อทำให้เป็นทางการต่อไป

    ความมุ่งหวังของเซเลนสกีคือ ต้องการให้ยูเครนสามารถกลับมาผลิตทุ่นระเบิดดังกล่าวในประเทศได้อีกครั้งเพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตทุ่นระเบิดดังกล่าว

    ขณะเซเลนสกี ให้ข้ออ้างต่อชาวยูเครนว่า รัสเซียก็ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของอนุสัญญาฉบับดังกล่าวเช่นกัน

    .
    อนุสัญญาออตตาวา (Ottawa Treaty) ได้รับการรับรองในปี 1997 โดยมีจุดมุ่งหมายคือการรณรงค์ให้ทั่วโลกห้ามใช้ สะสม ผลิต และถ่ายโอนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (Anti-Personnel Landmines: APLs) ซึ่งเป็นข้อเรียกร้องของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี (International Committee of the Red Cross – ICRC) 


    ทุ่นระเบิดดังกล่าวมักจะทำให้เหยื่อนผู้เคราะห์มีความพิการ หรือคร่าชีวิตได้ทันที นอกจากนี้ ทุ่นระเบิดที่ยังไม่ระเบิด ยังถือเป็นอันตรายระยะยาวต่อชีวิตพลเรือนอรีกด้วย

    มี 160 ประเทศ ที่เข้าร่วมภาคีของอนุสัญญาออตตาวา แต่ทั้งสหรัฐอเมริกาและรัสเซียไม่ได้เข้าร่วม ส่วนยูเครนให้สัตยาบันรับรองเมื่อปี 2005

    เซเลนสกีเริ่มขั้นตอนถอนตัวออกจากสนธิสัญญาออตตาวา (Ottawa Treaty) ปี 1997 ที่ห้ามมีการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล โดยที่คำสั่งของเซเลนสกีปรากฏบนเว็บไซต์อย่างเป็นทางการแล้ว แม้ว่าจะมีผลบังคับใช้ทันที แต่การถอนตัวจะมีผลใช้บังคับอย่างเป็นทางการภายในหกเดือนหลังจากที่สหประชาชาติได้รับแจ้งอย่างเป็นทางการ สื่อยูเครนรายงานว่า การถอนตัวออกจากอนุสัญญานี้ได้มีการหารือกันแบบลับๆ ตั้งแต่ปี 2023 ร่วมกับพันธมิตร ซึ่งได้มีการอนุญาตให้ใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลในดินแดนของตนเองได้ และในที่สุดเซเลนสกีต้องการมากกว่านั้น จึงได้มีการลงนามในกฎหมายเพื่อทำให้เป็นทางการต่อไป ความมุ่งหวังของเซเลนสกีคือ ต้องการให้ยูเครนสามารถกลับมาผลิตทุ่นระเบิดดังกล่าวในประเทศได้อีกครั้งเพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตทุ่นระเบิดดังกล่าว ขณะเซเลนสกี ให้ข้ออ้างต่อชาวยูเครนว่า รัสเซียก็ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของอนุสัญญาฉบับดังกล่าวเช่นกัน . 👉อนุสัญญาออตตาวา (Ottawa Treaty) ได้รับการรับรองในปี 1997 โดยมีจุดมุ่งหมายคือการรณรงค์ให้ทั่วโลกห้ามใช้ สะสม ผลิต และถ่ายโอนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (Anti-Personnel Landmines: APLs) ซึ่งเป็นข้อเรียกร้องของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี (International Committee of the Red Cross – ICRC)  👉ทุ่นระเบิดดังกล่าวมักจะทำให้เหยื่อนผู้เคราะห์มีความพิการ หรือคร่าชีวิตได้ทันที นอกจากนี้ ทุ่นระเบิดที่ยังไม่ระเบิด ยังถือเป็นอันตรายระยะยาวต่อชีวิตพลเรือนอรีกด้วย 👉มี 160 ประเทศ ที่เข้าร่วมภาคีของอนุสัญญาออตตาวา แต่ทั้งสหรัฐอเมริกาและรัสเซียไม่ได้เข้าร่วม ส่วนยูเครนให้สัตยาบันรับรองเมื่อปี 2005
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 322 มุมมอง 0 รีวิว
  • สาเหตุที่ทำให้มีเสียงวิจารณ์คำสั่งของไบเดน ในการอนุญาตให้ยูเครนใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลได้นั้น เนื่องจากรัฐบาลของไบเดนเองที่ประกาศนโยบาย แบนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (U.S. Anti-Personnel Landmine Policy) ไปเมื่อปี 2022 (2565) แต่ในวันนี้ไบเดนมีคำสั่งอนุญาตให้ยูเครนใช้ได้!!!

    จากรายละเอียดของประกาศฉบับนี้ ระบุว่า:

    ตามคำสั่งของประธานาธิบดี สหรัฐฯ จะมีการแก้ไขนโยบายเกี่ยวกับการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติสำคัญของอนุสัญญาออตตาวา ซึ่งเป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่ห้ามการใช้ การสะสม การผลิต และการโอนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล

    นอกจากนี้ ประธานาธิบดีจะห้ามการพัฒนา การผลิต และการจัดหาทุ่นระเบิดสังหารบุคคลซึ่งถูกห้ามตามอนุสัญญาออตตาวา และจะสั่งให้กระทรวงกลาโหมดำเนินการอย่างเข้มข้น ในการแสวงหาทางเลือกอื่นแทนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ซึ่งในที่สุดจะทำให้สหรัฐฯ เข้าร่วมอนุสัญญาออตตาวาได้
    สาเหตุที่ทำให้มีเสียงวิจารณ์คำสั่งของไบเดน ในการอนุญาตให้ยูเครนใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลได้นั้น เนื่องจากรัฐบาลของไบเดนเองที่ประกาศนโยบาย แบนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (U.S. Anti-Personnel Landmine Policy) ไปเมื่อปี 2022 (2565) แต่ในวันนี้ไบเดนมีคำสั่งอนุญาตให้ยูเครนใช้ได้!!! จากรายละเอียดของประกาศฉบับนี้ ระบุว่า: ตามคำสั่งของประธานาธิบดี สหรัฐฯ จะมีการแก้ไขนโยบายเกี่ยวกับการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติสำคัญของอนุสัญญาออตตาวา ซึ่งเป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่ห้ามการใช้ การสะสม การผลิต และการโอนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล นอกจากนี้ ประธานาธิบดีจะห้ามการพัฒนา การผลิต และการจัดหาทุ่นระเบิดสังหารบุคคลซึ่งถูกห้ามตามอนุสัญญาออตตาวา และจะสั่งให้กระทรวงกลาโหมดำเนินการอย่างเข้มข้น ในการแสวงหาทางเลือกอื่นแทนทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ซึ่งในที่สุดจะทำให้สหรัฐฯ เข้าร่วมอนุสัญญาออตตาวาได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 235 มุมมอง 0 รีวิว