• มุสลิมอินโดฯ ช็อก! ร้านไก่ทอดดังเพิ่งเผยเมนูไม่ฮาลาล

    ร้านไก่ทอดชื่อดังในอินโดนีเซีย กลายเป็นประเด็นร้อนบนโซเชียลฯ ในประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากกว่า 80% เมื่อร้านไก่ทอดชื่อดัง อะยัม โกเรง วิดูรัน (AYAM GORENG WIDURAN) ในเมืองซูราการ์ตา (โซโล) จังหวัดชวาเตงกะห์ กำลังถูกชาวมุสลิมแสดงความไม่พอใจ หลังบัญชีผู้ใช้เธรด (Thread) ที่ชื่อ @pedalranger สงสัยว่าเกล็ดกรุบกรอบ หรือเกรอเมอร์ส (Kremes) ที่โรยบนไก่ทอด ทอดด้วยไขมันหมู ซึ่งเป็นสิ่งต้องห้ามปรุงอาหาร ทั้งที่นับตั้งแต่เปิดกิจการในปี 2516 หรือกว่า 50 ปีก่อน ไม่เคยบอกให้สาธารณชนรับรู้ ภายหลังทางร้านจึงใช้วิธีติดป้ายว่า "KREMES NON HALAL" แทน

    เรื่องนี้ทำให้ผู้บริโภคที่เป็นชาวมุสลิมรู้สึกว่าเหมือนถูกหลอก เพราะร้านอาหารไม่เคยแจ้งให้ทราบว่าเมนูภายในร้านไม่ใช่ฮาลาล นอกจากนี้ ยังมีชาวเน็ตบางคนไปขุดภาพร้านใน Google Street View แล้วพบว่าเคยขึ้นเครื่องหมายฮาลาลบนป้ายแบนเนอร์ในอดีตอีกด้วย ร้อนถึงฝ่ายบริหารของร้านออกมาขอโทษผ่านอินสตาแกรม @ayamgorengwiduransolo เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (23 พ.ค.) ว่า ได้แจ้งข้อมูลที่ไม่ใช่ฮาลาลอย่างชัดเจนในร้านค้าและโซเชียลมีเดียอย่างเป็นทางการของร้านทุกแห่ง หวังว่าสาธารณชนจะให้พื้นที่แก่ทางร้านในการแก้ไขและปรับปรุงทุกอย่างด้วยความตั้งใจ ขณะที่พนักงานร้านยืนยันว่าเมนูที่มีปัญหามีเพียงไก่ทอดเกรอเมอร์สเท่านั้น เมนูอื่นใช้น้ำมันพืชปกติ

    ขณะที่นายกเทศมนตรีเมืองโซโล เรสปาตี อาร์ดี สั่งปิดร้านอาหารชั่วคราว ยอมรับว่าผิดหวังที่ร้านอาหารในตำนานแห่งนี้ไม่ได้ติดป้าย NON HALAL มานาน ทั้งที่มีผู้บริโภคชาวมุสลิมจำนวนมากซื้อไก่ทอดที่ร้านแห่งนี้ และย้ำว่าการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ส่วนแกนนำกลุ่มด้านสิทธิผู้บริโภคอินโดนีเซีย Forum Konsumen Berdaya Indonesia (FKBI) ตูลุส อาบาดี ระบุว่า คำขอโทษดังกล่าวไม่เพียงพอ เพราะสิ่งที่ทางร้านทำมานานเป็นสิบปี เป็นการกระทำโดยจงใจ ทำให้ผู้บริโภคได้รับความเสียหาย อีกทั้งทางร้านละเมิดกฎหมายทั้งทางแพ่งและอาญา โดยเฉพาะกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายอาหาร และกฎหมายการรับประกันผลิตภัณฑ์ฮาลาล ซึ่งจัดอยู่ในประเภทการฉ้อโกง โดยเรียกร้องให้ดำเนินคดีและลงโทษทางปกครอง

    สำหรับเกรอเมอร์ส ภาษาอินโดนีเซีย ตรงกับคำว่า Crunch (ครันช์) เป็นเกล็ดที่ใช้โรยบนไก่ทอด ทำมาจากแป้งมันสำปะหลัง ผสมแป้งข้าวเจ้า ไข่แดง และซอสที่ใช้หมักไก่ทอดแบบอินโดนีเซีย เติมผงฟูลงไปเล็กน้อย แล้วค่อยใช้มือวักส่วนผสมโรยลงบนน้ำมันให้กลายเป็นเกล็ด ก่อนซับน้ำมันแล้วนำไปโรยหน้าบนจานไก่ทอด ข้าว และแตงกวาหั่น

    #Newskit
    มุสลิมอินโดฯ ช็อก! ร้านไก่ทอดดังเพิ่งเผยเมนูไม่ฮาลาล ร้านไก่ทอดชื่อดังในอินโดนีเซีย กลายเป็นประเด็นร้อนบนโซเชียลฯ ในประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากกว่า 80% เมื่อร้านไก่ทอดชื่อดัง อะยัม โกเรง วิดูรัน (AYAM GORENG WIDURAN) ในเมืองซูราการ์ตา (โซโล) จังหวัดชวาเตงกะห์ กำลังถูกชาวมุสลิมแสดงความไม่พอใจ หลังบัญชีผู้ใช้เธรด (Thread) ที่ชื่อ @pedalranger สงสัยว่าเกล็ดกรุบกรอบ หรือเกรอเมอร์ส (Kremes) ที่โรยบนไก่ทอด ทอดด้วยไขมันหมู ซึ่งเป็นสิ่งต้องห้ามปรุงอาหาร ทั้งที่นับตั้งแต่เปิดกิจการในปี 2516 หรือกว่า 50 ปีก่อน ไม่เคยบอกให้สาธารณชนรับรู้ ภายหลังทางร้านจึงใช้วิธีติดป้ายว่า "KREMES NON HALAL" แทน เรื่องนี้ทำให้ผู้บริโภคที่เป็นชาวมุสลิมรู้สึกว่าเหมือนถูกหลอก เพราะร้านอาหารไม่เคยแจ้งให้ทราบว่าเมนูภายในร้านไม่ใช่ฮาลาล นอกจากนี้ ยังมีชาวเน็ตบางคนไปขุดภาพร้านใน Google Street View แล้วพบว่าเคยขึ้นเครื่องหมายฮาลาลบนป้ายแบนเนอร์ในอดีตอีกด้วย ร้อนถึงฝ่ายบริหารของร้านออกมาขอโทษผ่านอินสตาแกรม @ayamgorengwiduransolo เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (23 พ.ค.) ว่า ได้แจ้งข้อมูลที่ไม่ใช่ฮาลาลอย่างชัดเจนในร้านค้าและโซเชียลมีเดียอย่างเป็นทางการของร้านทุกแห่ง หวังว่าสาธารณชนจะให้พื้นที่แก่ทางร้านในการแก้ไขและปรับปรุงทุกอย่างด้วยความตั้งใจ ขณะที่พนักงานร้านยืนยันว่าเมนูที่มีปัญหามีเพียงไก่ทอดเกรอเมอร์สเท่านั้น เมนูอื่นใช้น้ำมันพืชปกติ ขณะที่นายกเทศมนตรีเมืองโซโล เรสปาตี อาร์ดี สั่งปิดร้านอาหารชั่วคราว ยอมรับว่าผิดหวังที่ร้านอาหารในตำนานแห่งนี้ไม่ได้ติดป้าย NON HALAL มานาน ทั้งที่มีผู้บริโภคชาวมุสลิมจำนวนมากซื้อไก่ทอดที่ร้านแห่งนี้ และย้ำว่าการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ส่วนแกนนำกลุ่มด้านสิทธิผู้บริโภคอินโดนีเซีย Forum Konsumen Berdaya Indonesia (FKBI) ตูลุส อาบาดี ระบุว่า คำขอโทษดังกล่าวไม่เพียงพอ เพราะสิ่งที่ทางร้านทำมานานเป็นสิบปี เป็นการกระทำโดยจงใจ ทำให้ผู้บริโภคได้รับความเสียหาย อีกทั้งทางร้านละเมิดกฎหมายทั้งทางแพ่งและอาญา โดยเฉพาะกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายอาหาร และกฎหมายการรับประกันผลิตภัณฑ์ฮาลาล ซึ่งจัดอยู่ในประเภทการฉ้อโกง โดยเรียกร้องให้ดำเนินคดีและลงโทษทางปกครอง สำหรับเกรอเมอร์ส ภาษาอินโดนีเซีย ตรงกับคำว่า Crunch (ครันช์) เป็นเกล็ดที่ใช้โรยบนไก่ทอด ทำมาจากแป้งมันสำปะหลัง ผสมแป้งข้าวเจ้า ไข่แดง และซอสที่ใช้หมักไก่ทอดแบบอินโดนีเซีย เติมผงฟูลงไปเล็กน้อย แล้วค่อยใช้มือวักส่วนผสมโรยลงบนน้ำมันให้กลายเป็นเกล็ด ก่อนซับน้ำมันแล้วนำไปโรยหน้าบนจานไก่ทอด ข้าว และแตงกวาหั่น #Newskit
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 84 มุมมอง 0 รีวิว
  • สภาผู้บริโภคจี้คปภ.ทบทวน Co-payment ผลักภาระประชาชน : คนเคาะข่าว 24-03-68
    : นิมิตร์ เทียนอุดม รองประธานสภาผู้บริโภค
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #สภาผู้บริโภค #CoPayment #คปภ #สิทธิผู้บริโภค #ภาระประชาชน #ประกันสุขภาพ #นโยบายรัฐ #นิมิตร์เทียนอุดม #นงวดีถนิมมาลย์ #ข่าวสังคม #สุขภาพการเงิน #ความเป็นธรรม #ThaiTimes #วิเคราะห์นโยบาย
    สภาผู้บริโภคจี้คปภ.ทบทวน Co-payment ผลักภาระประชาชน : คนเคาะข่าว 24-03-68 : นิมิตร์ เทียนอุดม รองประธานสภาผู้บริโภค ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #สภาผู้บริโภค #CoPayment #คปภ #สิทธิผู้บริโภค #ภาระประชาชน #ประกันสุขภาพ #นโยบายรัฐ #นิมิตร์เทียนอุดม #นงวดีถนิมมาลย์ #ข่าวสังคม #สุขภาพการเงิน #ความเป็นธรรม #ThaiTimes #วิเคราะห์นโยบาย
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 814 มุมมอง 7 0 รีวิว
  • ♣ ถ้าเจ้าหน้าที่รัฐผู้ปกป้องคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค แล้วโดนแบบนี้ ต่อไปก็คงไม่มีเจ้าหน้าที่รัฐหน้าไหนทำเพื่อประชาชน หากต้องเผชิญหน้ากับนายทุน
    #7ดอกจิก
    #พิรงรอง
    ♣ ถ้าเจ้าหน้าที่รัฐผู้ปกป้องคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค แล้วโดนแบบนี้ ต่อไปก็คงไม่มีเจ้าหน้าที่รัฐหน้าไหนทำเพื่อประชาชน หากต้องเผชิญหน้ากับนายทุน #7ดอกจิก #พิรงรอง
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 347 มุมมอง 0 รีวิว
  • สภาผู้บริโภคกดดัน OPPO - Realme เปิดชื่อผู้อยู่เบื้องหลังแอปฯ กู้เงินเถื่อน Fineasy - สินเชื่อความสุข จี้ปรับปรุงระบบปฏิบัติการให้ถอนติดตั้งแอปฯ ได้เองโดยไม่ต้องไปศูนย์บริการ จี้หน่วยงานรัฐเร่งตรวจสอบ คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ชวนร้องเรียนหากถูกทวงหนี้โหด

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000003750

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    สภาผู้บริโภคกดดัน OPPO - Realme เปิดชื่อผู้อยู่เบื้องหลังแอปฯ กู้เงินเถื่อน Fineasy - สินเชื่อความสุข จี้ปรับปรุงระบบปฏิบัติการให้ถอนติดตั้งแอปฯ ได้เองโดยไม่ต้องไปศูนย์บริการ จี้หน่วยงานรัฐเร่งตรวจสอบ คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ชวนร้องเรียนหากถูกทวงหนี้โหด อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000003750 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Angry
    Love
    14
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1401 มุมมอง 0 รีวิว
  • ‘สภาผู้บริโภค’ ชี้ภาครัฐละเลยไม่กำกับดูแล-ควบคุมเพดานค่ารักษาพยาบาล ‘โรงพยาบาลเอกชน’ ทำให้ผู้บริโภคถูกเรียกเก็บค่าบริการตามใจชอบ

    23 ตุลาคม 2567-รายงานสำนักข่าวอิศราระบุว่า จากกรณีผู้บริโภคสะท้อนปัญหาการเข้าไปใช้บริการรักษาสุขภาพในโรงพยาบาลเอกชน ที่มีราคาต่างกัน แม้จะเข้าใช้บริการด้วยอาการเดียวกัน โดยผู้บริโภครายนี้ระบุว่ากรณีที่ไม่ได้ใช้ประกันสุขภาพ โรงพยาบาลคิดค่าบริการ 1,400 บาท ต่อมามีอาการเจ็บป่วยในลักษณะเดิมและผู้บริโภคใช้ประกันสุขภาพผู้ป่วยนอก กลับถูกคิดค่าบริการ 3,400 บาท โดยประกันคุ้มครองฯจ่าย 2,000 บาท ทำให้ต้องจ่ายเพิ่มเองอีก 1,400 บาท ซึ่งไม่เป็นธรรมในการใช้บริการ นั้น

    นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย อนุกรรมการด้านบริการสุขภาพ สภาองค์กรของผู้บริโภค เปิดเผยถึงกรณีดังกล่าว ว่า สาเหตุของปัญหานี้ เป็นเพราะไม่มีการควบคุมราคาค่ารักษา โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่ต้องกำกับ ดูแลค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชน แต่ปล่อยปละละเลย ทำให้โรงพยาบาลเอกชนคิดราคาค่ารักษาได้โดยไม่มีเพดานกำหนด ซึ่งการกระทำดังกล่าวถือว่าละเมิดสิทธิผู้บริโภค

    ดังนั้น สิ่งที่ภาครัฐต้องดำเนินการ คือ การทบทวนมาตรการกำกับค่ารักษาพยาบาลที่แพงเกินจริงและกำหนดราคากลางที่เป็นธรรม รวมทั้งไม่ควรปล่อยให้เกิดการแข่งขันของโรงพยาบาลเอกชนมากเกินไป เพราะจะกลายเป็นช่องโหว่ให้มีการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคเกิดขึ้น

    นอกจากนี้ ขอเสนอให้ผู้บริโภคต้องตรวจสอบใบเสร็จมีรายการใดบ้างที่จ่ายไป และเหตุใดที่การรักษาอาการเดียวกัน แต่เมื่อมีประกันภัยจ่ายค่ารักษาให้ราคากลับเพิ่มขึ้น แสดงว่าโรงพยาบาลแห่งนั้น อาจไม่ทำตามประกาศอัตราค่าบริการที่ติดประกาศไว้ ซึ่งกรมการค้าภายในที่กำกับดูแลเรื่องประกาศอัตราค่าบริการไม่ควรนิ่งเฉยกับกรณีนี้

    “เมื่อเกิดปัญหาค่ารักษาพยาบาลแพง ภาครัฐจะแก้ไขปัญหาเป็นรายกรณีไป ไม่มีแนวทางที่แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ หรือมีมาตรการที่จะออกมาควบคุมกำกับราคาอย่างจริงจัง เพราะภาพรวมคือการขาดกลไกการควบคุมกำกับ ไม่มีภาครัฐเคยดูเลยว่าโรงพยาบาลเอกชนเรียกเก็บเงินอย่างไร ผู้บริโภคแทบไม่ได้รับการช่วยเหลือเลย” นพ.ขวัญประชา กล่าว

    นพ.ขวัญประชา ยังระบุว่า ที่ผ่านมาสภาผู้บริโภคเคยส่งหนังสือข้อเสนอแนะทางนโยบายไปยังกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ โดยขอให้มีการกำกับราคาค่ารักษาพยาบาลให้ชัดเจน มีมาตรฐาน และเป็นธรรมต่อผู้บริโภค รวมถึงมีข้อเสนอแนะไปยังกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ให้ดำเนินการพัฒนาระบบคลังข้อมูล โดยกำหนดให้มีการแสดงรายละเอียดของรายการที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนค่าบริการรักษาพยาบาลในงบกำไรขาดทุนของโรงพยาบาลเอกชน

    “เราเคยเสนอองค์ความรู้ในการควบคุมราคาว่า จริงๆแล้ว สามารถทำกลไกการควบคุมราคาได้ โดยใช้ข้อมูลที่กรมการค้าภายในและข้อมูลที่กรมพัฒนาเศรษฐกิจการค้า สังกัดกระทรวงพาณิชย์มีข้อมูล ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานไหนตอบรับข้อเสนอ แต่สภาผู้บริโภคจะผลักดันข้อเสนอต่อเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค” นพ.ขวัญประชา ระบุ

    อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบปัญหาถูกเรียกเก็บค่ารักษาแพงเกินจริง ร้องเรียนได้ที่สายด่วนสภาผู้บริโภค 1502 หรือร้องเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ tcc.or.th และสามารถร้องเรียนกับหน่วยงานประจำจังหวัดของสภาผู้บริโภค ทั้ง 19 จังหวัด โดยดูรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ https://www.tcc.or.th/tcc-agency/

    ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-short-news/132801-TCC-Medical-expense-Private-hospital-news.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2JZQTQpzsbX3j9O_APQSKLhqcTwWNdJqKrHhBPKE-YJNobdOfkSq87DXo_aem_NZvpNKA39nV0yUf4Xw6crw
    ‘สภาผู้บริโภค’ ชี้ภาครัฐละเลยไม่กำกับดูแล-ควบคุมเพดานค่ารักษาพยาบาล ‘โรงพยาบาลเอกชน’ ทำให้ผู้บริโภคถูกเรียกเก็บค่าบริการตามใจชอบ 23 ตุลาคม 2567-รายงานสำนักข่าวอิศราระบุว่า จากกรณีผู้บริโภคสะท้อนปัญหาการเข้าไปใช้บริการรักษาสุขภาพในโรงพยาบาลเอกชน ที่มีราคาต่างกัน แม้จะเข้าใช้บริการด้วยอาการเดียวกัน โดยผู้บริโภครายนี้ระบุว่ากรณีที่ไม่ได้ใช้ประกันสุขภาพ โรงพยาบาลคิดค่าบริการ 1,400 บาท ต่อมามีอาการเจ็บป่วยในลักษณะเดิมและผู้บริโภคใช้ประกันสุขภาพผู้ป่วยนอก กลับถูกคิดค่าบริการ 3,400 บาท โดยประกันคุ้มครองฯจ่าย 2,000 บาท ทำให้ต้องจ่ายเพิ่มเองอีก 1,400 บาท ซึ่งไม่เป็นธรรมในการใช้บริการ นั้น นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย อนุกรรมการด้านบริการสุขภาพ สภาองค์กรของผู้บริโภค เปิดเผยถึงกรณีดังกล่าว ว่า สาเหตุของปัญหานี้ เป็นเพราะไม่มีการควบคุมราคาค่ารักษา โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่ต้องกำกับ ดูแลค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชน แต่ปล่อยปละละเลย ทำให้โรงพยาบาลเอกชนคิดราคาค่ารักษาได้โดยไม่มีเพดานกำหนด ซึ่งการกระทำดังกล่าวถือว่าละเมิดสิทธิผู้บริโภค ดังนั้น สิ่งที่ภาครัฐต้องดำเนินการ คือ การทบทวนมาตรการกำกับค่ารักษาพยาบาลที่แพงเกินจริงและกำหนดราคากลางที่เป็นธรรม รวมทั้งไม่ควรปล่อยให้เกิดการแข่งขันของโรงพยาบาลเอกชนมากเกินไป เพราะจะกลายเป็นช่องโหว่ให้มีการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคเกิดขึ้น นอกจากนี้ ขอเสนอให้ผู้บริโภคต้องตรวจสอบใบเสร็จมีรายการใดบ้างที่จ่ายไป และเหตุใดที่การรักษาอาการเดียวกัน แต่เมื่อมีประกันภัยจ่ายค่ารักษาให้ราคากลับเพิ่มขึ้น แสดงว่าโรงพยาบาลแห่งนั้น อาจไม่ทำตามประกาศอัตราค่าบริการที่ติดประกาศไว้ ซึ่งกรมการค้าภายในที่กำกับดูแลเรื่องประกาศอัตราค่าบริการไม่ควรนิ่งเฉยกับกรณีนี้ “เมื่อเกิดปัญหาค่ารักษาพยาบาลแพง ภาครัฐจะแก้ไขปัญหาเป็นรายกรณีไป ไม่มีแนวทางที่แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ หรือมีมาตรการที่จะออกมาควบคุมกำกับราคาอย่างจริงจัง เพราะภาพรวมคือการขาดกลไกการควบคุมกำกับ ไม่มีภาครัฐเคยดูเลยว่าโรงพยาบาลเอกชนเรียกเก็บเงินอย่างไร ผู้บริโภคแทบไม่ได้รับการช่วยเหลือเลย” นพ.ขวัญประชา กล่าว นพ.ขวัญประชา ยังระบุว่า ที่ผ่านมาสภาผู้บริโภคเคยส่งหนังสือข้อเสนอแนะทางนโยบายไปยังกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ โดยขอให้มีการกำกับราคาค่ารักษาพยาบาลให้ชัดเจน มีมาตรฐาน และเป็นธรรมต่อผู้บริโภค รวมถึงมีข้อเสนอแนะไปยังกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ให้ดำเนินการพัฒนาระบบคลังข้อมูล โดยกำหนดให้มีการแสดงรายละเอียดของรายการที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนค่าบริการรักษาพยาบาลในงบกำไรขาดทุนของโรงพยาบาลเอกชน “เราเคยเสนอองค์ความรู้ในการควบคุมราคาว่า จริงๆแล้ว สามารถทำกลไกการควบคุมราคาได้ โดยใช้ข้อมูลที่กรมการค้าภายในและข้อมูลที่กรมพัฒนาเศรษฐกิจการค้า สังกัดกระทรวงพาณิชย์มีข้อมูล ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานไหนตอบรับข้อเสนอ แต่สภาผู้บริโภคจะผลักดันข้อเสนอต่อเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค” นพ.ขวัญประชา ระบุ อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบปัญหาถูกเรียกเก็บค่ารักษาแพงเกินจริง ร้องเรียนได้ที่สายด่วนสภาผู้บริโภค 1502 หรือร้องเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ tcc.or.th และสามารถร้องเรียนกับหน่วยงานประจำจังหวัดของสภาผู้บริโภค ทั้ง 19 จังหวัด โดยดูรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ https://www.tcc.or.th/tcc-agency/ ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-short-news/132801-TCC-Medical-expense-Private-hospital-news.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2JZQTQpzsbX3j9O_APQSKLhqcTwWNdJqKrHhBPKE-YJNobdOfkSq87DXo_aem_NZvpNKA39nV0yUf4Xw6crw
    WWW.ISRANEWS.ORG
    ‘สภาผู้บริโภค’ชี้รัฐละเลย-ไม่ควบคุมค่ารักษาพยาบาล เปิดช่อง‘รพ.เอกชน’เอาเปรียบผู้บริโภค
    ‘สภาผู้บริโภค’ ชี้ภาครัฐละเลยไม่กำกับดูแล-ควบคุมเพดานค่ารักษาพยาบาล ‘โรงพยาบาลเอกชน’ ทำให้ผู้บริโภคถูกเรียกเก็บค่าบริการตามใจชอบ
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1180 มุมมอง 0 รีวิว