• #พี่คิงส์รู้สึกเอ๊ะ!
    เลื่อนๆผ่านไปเห็นแบบไม่ได้ตั้งใจในตต.
    ช่องของ "อี-จันไร" สัมภาษณ์นังพัด
    เออ แปลกใจ ทำไมช่องนี้ชอบเชียร์
    คนซั่วๆด้วยการเชิญมาสัมภาษณ์
    แล้วมือขึ้นด้วยนะ สัมภาษ์ปุ๊บ
    วีระกรรมที่ทำกับพี่หนุ่มมาทันที
    "อี-จันไร"เปิดโอกาสให้คนซั่วๆมาชุบตัว
    คงเป็นโยบายใหม่เค้าละกระมัง
    ว่าแต่ใครได้ฟังคลิปที่พี่หนุ่มเปิดแล้วมั๊ย
    พี่คิงส์ฟังแล้ว รู้สึกผิดหวังในตัวอดีตนักร้องมากๆ
    ไม่คิดเลยว่า คนมันจะเปลี่ยนไปได้ขนาดนี้
    แล้วไปคบหาสนิทได้ไงกับคนอย่างนังพัด
    จากนักร้องกลายเป็นนักตบไปแล้ว
    แล้วเรื่องนี้ผลกระทบในคลิป มันไปถึงช่อง3
    ไปถึงพี่หนุ่มอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
    ถึงพี่หนุ่มจะไม่อยากทำอะไร
    แต่สถานการณ์มันต้องทำ เกมส์แล้ว ฟิล์ม
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #พี่คิงส์รู้สึกเอ๊ะ! เลื่อนๆผ่านไปเห็นแบบไม่ได้ตั้งใจในตต. ช่องของ "อี-จันไร" สัมภาษณ์นังพัด เออ แปลกใจ ทำไมช่องนี้ชอบเชียร์ คนซั่วๆด้วยการเชิญมาสัมภาษณ์ แล้วมือขึ้นด้วยนะ สัมภาษ์ปุ๊บ วีระกรรมที่ทำกับพี่หนุ่มมาทันที "อี-จันไร"เปิดโอกาสให้คนซั่วๆมาชุบตัว คงเป็นโยบายใหม่เค้าละกระมัง ว่าแต่ใครได้ฟังคลิปที่พี่หนุ่มเปิดแล้วมั๊ย พี่คิงส์ฟังแล้ว รู้สึกผิดหวังในตัวอดีตนักร้องมากๆ ไม่คิดเลยว่า คนมันจะเปลี่ยนไปได้ขนาดนี้ แล้วไปคบหาสนิทได้ไงกับคนอย่างนังพัด จากนักร้องกลายเป็นนักตบไปแล้ว แล้วเรื่องนี้ผลกระทบในคลิป มันไปถึงช่อง3 ไปถึงพี่หนุ่มอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ถึงพี่หนุ่มจะไม่อยากทำอะไร แต่สถานการณ์มันต้องทำ เกมส์แล้ว ฟิล์ม #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Like
    8
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 524 มุมมอง 0 รีวิว
  • เจ้าแสงมรกต ซุ้มช. วีระชัยแชมป์ 1.54 ล้านสนามมหาลาภ เครดิตwww.น้อยรอยลาย.com
    เจ้าแสงมรกต ซุ้มช. วีระชัยแชมป์ 1.54 ล้านสนามมหาลาภ เครดิตwww.น้อยรอยลาย.com
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 107 0 รีวิว
  • 31 ตุลาคม 2567 -รายงานจากเพจเฟซบุ๊กของวาสนา นาน่วม นักข่าวสายความมั่นคงและทหาร นสพ.บางกอกโพสต์ ระบุเกี่ยวกับโผทหารว่า เขย่าผู้การ ทบ. “บิ๊กปู” เซ็นโผแรก ย้าย 362 พันเอกพิเศษ คอแดง-คอเขียว จัดแถว “รองผบ.พล.-ผู้การกรม ล้าง ปืนใหญ่ คอแดง พ้น พล.1 รอ. กองพล วงศ์เทวัญคอแดง เปลี่ยน ผบ.ร.31 รอ. หน่วยเดิม บิ๊กปู “ผู้การย้ง” ขึ้น รอง ผบ.พล.1 รอ.ขยับเพียบ บูรพาพยัคฆ์คอแดงพล.ร.2รอ.เปลี่ยน รบพิเศษคอแดง ผบ.รพศ.3 รอ.

    พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์ ผบ.ทบ. ลงนามคำสั่งกองทัพบก ที่ 406/2567 เรื่องให้นายทหารรับราชการและปรับเงินเดือน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2567 จัดแถวนายทหารระดับ พันเอกพิเศษ หรือโผ ผู้บังคับการกรม ระดับ “รองผบ.พล-ผู้การกรม” 362 นาย

    ที่น่าจับตา ในส่วนกองทัพภาคที่ 1 ซึ่งเป็นหน่วยคุมกำลังหลักในกรุงเทพฯ และภาคกลาง โดยเฉพาะในหน่วยทหารคอแดง และขึ้นกับ ฉก.ทม.รอ.904 เช่น พล.1 รอ. และพล.ร.2 รอ.

    พ.อ.รณวรรณ พจน์สถิตย์ รองผบ.พล.1 รอ. (ตท.31) ข้ามหลุดสายวงศ์เทวัญ ไปเป็น รองผบ.มทบ.17

    ทั้งนี้ เป็นที่ตั้งข้อสังเกตุว่า อาจเพราะเป็นทหารเหล่าปืนใหญ่ ที่มาอยู่ในพล.1 รอ. ซึ่งเป็นกองพลทหารราบ ที่ ในที่สุด ผบ.พล.1 รอ. ก็ต้องเป็นทหารราบ
    จึงย้ายออก เพื่อเปิดทางให้ ผู้การย้ง พ.อ.คทาวุธ ชัยยัง ผบ.ร.31 รอ. (ตท.35) ขึ้นเป็น รองผบ.พล.1 รอ. พ.อ.กฤษดาหิรัญโรจน์ เสธ.พล.1 รอ. (ตท.36) เป็น ผบ.ร.31 รอ. แทน

    ที่สำคัญ คือ พ.อ.สาธิต ไวยนนท์ รองผบ.มทบ.310 (ตท.26) รุ่น ผบ.ทบ. ข้ามมาเป็น รองผบ.พล.1 รอ.

    ในส่วน พล.ร.2 รอ. กองพลบูรพาพยัคฆ์คอแดง พ.อ.ปฏิวัติ เพื่องประ ภัสสร์ ผบ.ร.12 รอ. (ตท.35) ขึ้นเป็น รองผบ.พล.ร.2 รอ. พ.อ.บัญชา ชาญฉลาด เสธ.พล.ร.2 รอ. (ตท.36) ขยับเป็น ผบ.ร.2 รอ. , พ.อ.ชัยณรงค์ กาสี รองผบ.ร.12 รอ. (ตท.36) ขึ้นเป็น ผบ.ร.12 รอ.

    กองพลทหารราบที่9 กองพลทหารคอเขียว- พ.อ.พงศ์พัฒน์ ห้องสินหลาก ผบ.ร.29 (ตท.32) ขึ้นเป็น รองผบ.พล.ร.9 , พ.อ.พรรณศักย์ เพรียวพานิช เสธ.พล.ร.9 (ตท.33) เป็น ผบ.ร.29 , พ.อ.ชูพงษ์ สายอุบล ผบ.กรม.สน.พล.ร.9 (ตท.32) เป็น ผบ.ร.19

    กองพลทหารราบที่ 11- พ.อ.สังกาศ สร้อยคํา รอง ผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.13 (ตท.31) ข้ามกลับถิ่น มาเป็น รองผบ.พล.ร.11

    ในส่วน มทบ.ใน กองทัพภาค1 -
    พ.อ.ศตวรรษ อินทร์กง รองผบ.มทบ.17 (ตท.32) เป็น รองผบ.มทบ.12 , พ.อ.ชูชีพ โพธิ์นอก เสธ.มทบ.12 (ตท.28) เป็น รองผบ.มทบ.12 , พ.อ.พิทยากูล โพธิสุวรณ รองเสธ.ทภ.1 (ตท.29) ย้ายระนาบเป็น รองผบ.มทบ.13 , พ.อ.ธารา เจนตลอด รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.16 (ตท.26) เป็น รองผบ.มทบ.16 พ.อ.เอกรัติ เมธาวัฒนานันท์ รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.11 (ตท.27) เป็น รองผบ.มทบ.18 , พ.อ.ภัทราวุธ ทิพโกมุท รอง ผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.18 (ตท.27) เป็น รองผบ.มทบ.18

    พ.อ.อำนาจ วริชศักดิ์โสภานะ ผอ.กยก.ทภ.1 (ตท.35) ขัยเป็น ผบ.ม.5 รอ. , พ.อ.ณัฐฐา นวลศรีฉาย รองผบ.ม.4 รอ. (ตท.37) เป็น ผบ.ม.4 รอ.

    กองทัพภาคที่ 2 มีการขยับ
    พ.อ.ณรงค์ วิชญาณวรวุฒิ รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.24 (ตท.31) เป็น รองผบ.พล.ร.3 , พ.อ.จักรพงษ์ โพธิ์นาแค รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.29 (ตท.31) เป็น รองผบ.พล.ร.3 , พ.อ.สุพรเทพ ไชยยงค์ รองผบ.ร.8 (ตท.33) เป็น ผบ.ร.8 ,พ.อ.สุรกิจ กาฬเนตร เสธ.พล.ร.6 (ตท.32) เป็น ผบ.ร.16 พ.อ.ประวัติ จารุตัน รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.23 (ตท.29) เป็น รองผบ.พล.ม.3 ล พ.อ.บดินทร์ อุปสาร รองผบ.ม.6 (ตท.32) ขึ้นเป็น ผบ.ม.6 , พ.อ.เอนก พรหมทา รองผบ.ม.6 (ตท.35) เป็น ผบ.ม.7

    กองทัพภาคที่ 3 : พ.อ.ณรงค์ชัย เจริญชัย เสธ.พล.ร.4 (ตท.32) เป็น รองผบ.พล.ร.4 , พ.อ.วันชัย มณีวรรณ เสธ.พล.ร.7 (ตท.32) เป็น รองผบ.พล.ร.7

    พ.อ.ภาส วงศ์สารภี รอง ผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.33 (ตท.29 ) กลับเข้าไลน์ เป็นรอง ผบ.พล.ร.7 พ.อ.ยรรยง ทิพาปกรณ์ รองผบ.พล.ร.7 (ตท.28) เป็น รองผบ.มทบ.33 , พ.อ.ชนกานต์ แสงศร ผองกยก.ทภ.3 (ตท.35) เป็น ผบ.ร.14 , พ.อ.สุพรรณ ร้อยพุท รองผบ.ม.3 (ตท.33) เป็น ผบ.ม.2

    ส่วนกองทัพภาคที่ 4 มีการหมุนเวียนตำแหน่ง: พ.อ.วัชระ สุขวงศ์ นปก.ประจำ มทบ.41 (ตท.25) เป็น รองผบ.บชร.4 , พ.อ.อัทตเศรษฐ์ เต็มมีศรี ผองกขว.ทน.4 (ตท.27) เป็น รองผบ.มทบ.44 , พ.อ.พิเชษฐ์ ชุติเดโช รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.42 (ตท.29) เป็น รองผบ.มทบ.46 , พ.อ.ภูมเดชา พ่วงเจริญ รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.46 (ตท.26) เป็น รองผบ.มทบ.46

    หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ:
    พ.อ.สุนทร กำลังมา ผบ.รพศ.4 (ตท.29) เป็น รองผบ.พล.รพศ.1 , พ.อ.นิมิตร วีระพงศ์ รองผบ.รพศ.2 (ตท.32) เป็นผบ.รพศ.3 รอ. ,

    กองพลทหารปืนใหญ่: พ.อ.ศักดิ์ชัย พงคพนาไกร เสธ.พล.ปตอ. (ตท.31) เป็น รองผบ.พล.ปตอ.

    ที่มา : wassana nanuam https://www.facebook.com/share/154TquBDqq/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    31 ตุลาคม 2567 -รายงานจากเพจเฟซบุ๊กของวาสนา นาน่วม นักข่าวสายความมั่นคงและทหาร นสพ.บางกอกโพสต์ ระบุเกี่ยวกับโผทหารว่า เขย่าผู้การ ทบ. “บิ๊กปู” เซ็นโผแรก ย้าย 362 พันเอกพิเศษ คอแดง-คอเขียว จัดแถว “รองผบ.พล.-ผู้การกรม ล้าง ปืนใหญ่ คอแดง พ้น พล.1 รอ. กองพล วงศ์เทวัญคอแดง เปลี่ยน ผบ.ร.31 รอ. หน่วยเดิม บิ๊กปู “ผู้การย้ง” ขึ้น รอง ผบ.พล.1 รอ.ขยับเพียบ บูรพาพยัคฆ์คอแดงพล.ร.2รอ.เปลี่ยน รบพิเศษคอแดง ผบ.รพศ.3 รอ. พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์ ผบ.ทบ. ลงนามคำสั่งกองทัพบก ที่ 406/2567 เรื่องให้นายทหารรับราชการและปรับเงินเดือน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2567 จัดแถวนายทหารระดับ พันเอกพิเศษ หรือโผ ผู้บังคับการกรม ระดับ “รองผบ.พล-ผู้การกรม” 362 นาย ที่น่าจับตา ในส่วนกองทัพภาคที่ 1 ซึ่งเป็นหน่วยคุมกำลังหลักในกรุงเทพฯ และภาคกลาง โดยเฉพาะในหน่วยทหารคอแดง และขึ้นกับ ฉก.ทม.รอ.904 เช่น พล.1 รอ. และพล.ร.2 รอ. พ.อ.รณวรรณ พจน์สถิตย์ รองผบ.พล.1 รอ. (ตท.31) ข้ามหลุดสายวงศ์เทวัญ ไปเป็น รองผบ.มทบ.17 ทั้งนี้ เป็นที่ตั้งข้อสังเกตุว่า อาจเพราะเป็นทหารเหล่าปืนใหญ่ ที่มาอยู่ในพล.1 รอ. ซึ่งเป็นกองพลทหารราบ ที่ ในที่สุด ผบ.พล.1 รอ. ก็ต้องเป็นทหารราบ จึงย้ายออก เพื่อเปิดทางให้ ผู้การย้ง พ.อ.คทาวุธ ชัยยัง ผบ.ร.31 รอ. (ตท.35) ขึ้นเป็น รองผบ.พล.1 รอ. พ.อ.กฤษดาหิรัญโรจน์ เสธ.พล.1 รอ. (ตท.36) เป็น ผบ.ร.31 รอ. แทน ที่สำคัญ คือ พ.อ.สาธิต ไวยนนท์ รองผบ.มทบ.310 (ตท.26) รุ่น ผบ.ทบ. ข้ามมาเป็น รองผบ.พล.1 รอ. ในส่วน พล.ร.2 รอ. กองพลบูรพาพยัคฆ์คอแดง พ.อ.ปฏิวัติ เพื่องประ ภัสสร์ ผบ.ร.12 รอ. (ตท.35) ขึ้นเป็น รองผบ.พล.ร.2 รอ. พ.อ.บัญชา ชาญฉลาด เสธ.พล.ร.2 รอ. (ตท.36) ขยับเป็น ผบ.ร.2 รอ. , พ.อ.ชัยณรงค์ กาสี รองผบ.ร.12 รอ. (ตท.36) ขึ้นเป็น ผบ.ร.12 รอ. กองพลทหารราบที่9 กองพลทหารคอเขียว- พ.อ.พงศ์พัฒน์ ห้องสินหลาก ผบ.ร.29 (ตท.32) ขึ้นเป็น รองผบ.พล.ร.9 , พ.อ.พรรณศักย์ เพรียวพานิช เสธ.พล.ร.9 (ตท.33) เป็น ผบ.ร.29 , พ.อ.ชูพงษ์ สายอุบล ผบ.กรม.สน.พล.ร.9 (ตท.32) เป็น ผบ.ร.19 กองพลทหารราบที่ 11- พ.อ.สังกาศ สร้อยคํา รอง ผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.13 (ตท.31) ข้ามกลับถิ่น มาเป็น รองผบ.พล.ร.11 ในส่วน มทบ.ใน กองทัพภาค1 - พ.อ.ศตวรรษ อินทร์กง รองผบ.มทบ.17 (ตท.32) เป็น รองผบ.มทบ.12 , พ.อ.ชูชีพ โพธิ์นอก เสธ.มทบ.12 (ตท.28) เป็น รองผบ.มทบ.12 , พ.อ.พิทยากูล โพธิสุวรณ รองเสธ.ทภ.1 (ตท.29) ย้ายระนาบเป็น รองผบ.มทบ.13 , พ.อ.ธารา เจนตลอด รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.16 (ตท.26) เป็น รองผบ.มทบ.16 พ.อ.เอกรัติ เมธาวัฒนานันท์ รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.11 (ตท.27) เป็น รองผบ.มทบ.18 , พ.อ.ภัทราวุธ ทิพโกมุท รอง ผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.18 (ตท.27) เป็น รองผบ.มทบ.18 พ.อ.อำนาจ วริชศักดิ์โสภานะ ผอ.กยก.ทภ.1 (ตท.35) ขัยเป็น ผบ.ม.5 รอ. , พ.อ.ณัฐฐา นวลศรีฉาย รองผบ.ม.4 รอ. (ตท.37) เป็น ผบ.ม.4 รอ. กองทัพภาคที่ 2 มีการขยับ พ.อ.ณรงค์ วิชญาณวรวุฒิ รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.24 (ตท.31) เป็น รองผบ.พล.ร.3 , พ.อ.จักรพงษ์ โพธิ์นาแค รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.29 (ตท.31) เป็น รองผบ.พล.ร.3 , พ.อ.สุพรเทพ ไชยยงค์ รองผบ.ร.8 (ตท.33) เป็น ผบ.ร.8 ,พ.อ.สุรกิจ กาฬเนตร เสธ.พล.ร.6 (ตท.32) เป็น ผบ.ร.16 พ.อ.ประวัติ จารุตัน รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.23 (ตท.29) เป็น รองผบ.พล.ม.3 ล พ.อ.บดินทร์ อุปสาร รองผบ.ม.6 (ตท.32) ขึ้นเป็น ผบ.ม.6 , พ.อ.เอนก พรหมทา รองผบ.ม.6 (ตท.35) เป็น ผบ.ม.7 กองทัพภาคที่ 3 : พ.อ.ณรงค์ชัย เจริญชัย เสธ.พล.ร.4 (ตท.32) เป็น รองผบ.พล.ร.4 , พ.อ.วันชัย มณีวรรณ เสธ.พล.ร.7 (ตท.32) เป็น รองผบ.พล.ร.7 พ.อ.ภาส วงศ์สารภี รอง ผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.33 (ตท.29 ) กลับเข้าไลน์ เป็นรอง ผบ.พล.ร.7 พ.อ.ยรรยง ทิพาปกรณ์ รองผบ.พล.ร.7 (ตท.28) เป็น รองผบ.มทบ.33 , พ.อ.ชนกานต์ แสงศร ผองกยก.ทภ.3 (ตท.35) เป็น ผบ.ร.14 , พ.อ.สุพรรณ ร้อยพุท รองผบ.ม.3 (ตท.33) เป็น ผบ.ม.2 ส่วนกองทัพภาคที่ 4 มีการหมุนเวียนตำแหน่ง: พ.อ.วัชระ สุขวงศ์ นปก.ประจำ มทบ.41 (ตท.25) เป็น รองผบ.บชร.4 , พ.อ.อัทตเศรษฐ์ เต็มมีศรี ผองกขว.ทน.4 (ตท.27) เป็น รองผบ.มทบ.44 , พ.อ.พิเชษฐ์ ชุติเดโช รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.42 (ตท.29) เป็น รองผบ.มทบ.46 , พ.อ.ภูมเดชา พ่วงเจริญ รองผอ.สน.ปรมน.จว.มทบ.46 (ตท.26) เป็น รองผบ.มทบ.46 หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ: พ.อ.สุนทร กำลังมา ผบ.รพศ.4 (ตท.29) เป็น รองผบ.พล.รพศ.1 , พ.อ.นิมิตร วีระพงศ์ รองผบ.รพศ.2 (ตท.32) เป็นผบ.รพศ.3 รอ. , กองพลทหารปืนใหญ่: พ.อ.ศักดิ์ชัย พงคพนาไกร เสธ.พล.ปตอ. (ตท.31) เป็น รองผบ.พล.ปตอ. ที่มา : wassana nanuam https://www.facebook.com/share/154TquBDqq/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 481 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลทุจริตฯรับไต่สวนคดี ‘วีระ’ ฟ้อง ป.ป.ช.จงใจปกปิดสอบสวนสำนวนคดี ‘นาฬิกาเพื่อน’
    .
    อังคารที่ 22 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมา ศาลอาญาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ ภาค 1 มีคำสั่งให้รับคดีคุณวีระ สมความคิด ที่ฟ้อง ป.ป.ช. ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท 95/2567 ลงวันที่ 22 ตุลาคม ในคำสั่งระบุว่า ตรวจคำฟ้องของโจทก์แล้วเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอาญาทุจริตภาค 1 ฟ้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ 2559 มาตรา 15 จึงเห็นควรรับฟ้องโจทก์ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง
    .
    กรณี "แหวนแม่-นาฬิกาเพื่อน" ของ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติตั้งแต่ปี 2561 ว่าคดีเรื่องการจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน หนี้สิน ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงนั้น ป.ป.ช. มีมติว่าไม่มีมูลเพียงพอ สร้างแรงสั่นสะเทือนและข้อกังขาให้ผู้คนในสังคมวงกว้าง
    .
    จนกระทั่ง "นักร้องระดับชาติ" คุณวีระ สมความคิด ประธานเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน ได้ยื่นเรื่องให้มีการเปิดเผยสำนวนการสอบสวนคดีดังกล่าว แต่ ป.ป.ช. ไม่ยอมให้เสียที แม้กระทั่งมีคำสั่งศาลปกครองแล้ว ศาลสั่งปรับก็แล้ว องค์กร ป.ป.ช. ภายใต้การนำของ พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ ประธาน ป.ป.ช. กับนายนิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการ ป.ป.ช. ที่เกษียณแล้วทั้งคู่ ไม่ยอมเปิดเผยข้อมูล ยังใช้เล่ห์เหลี่ยมต่างๆจงใจปกปิดข้อมูล
    .
    กรณีนี้เนื่องจากคุณวีระ สมความคิด เป็นผู้เสียหายโดยตรงอย่างชัดเจน เพราะมีคำสั่งศาลมาแล้วในหลายครั้ง กรณีนี้ศาลอาญาคดีทุจริตฯ จึงต้องรับไว้ไต่สวนมูลฟ้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
    .
    อย่างไรก็ตาม คุณวีระ ก็มีข้อจำกัด คือต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานทั้งหมดเพื่อส่งศาลให้ได้ภายใน 7 วัน คือภายในวันจันทร์ที่จะถึงนี้ วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 คุณวีระ ต้องรวบรวมเอกสารส่งศาลให้ครบถ้วน ซึ่งเวลาก็รวบรัดมาก คดีนี้พวกเรามาให้กำลังใจคุณวีระ กันหน่อยครับ ถือว่าเป็นคดีที่คุณวีระ สุ่มเสี่ยงเรื่องความปลอดภัยในชีวิตอย่างมาก เพราะถ้าคุณวีระตายคนเดียว อีก 12 คน ก็จะรอด แต่ถ้าคุณวีระรอด อีก 12 คน ก็อาจจะตายแทนก็ได้ครับ

    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/iXeVUMagHP8Ewo9T/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ศาลทุจริตฯรับไต่สวนคดี ‘วีระ’ ฟ้อง ป.ป.ช.จงใจปกปิดสอบสวนสำนวนคดี ‘นาฬิกาเพื่อน’ . อังคารที่ 22 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมา ศาลอาญาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ ภาค 1 มีคำสั่งให้รับคดีคุณวีระ สมความคิด ที่ฟ้อง ป.ป.ช. ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท 95/2567 ลงวันที่ 22 ตุลาคม ในคำสั่งระบุว่า ตรวจคำฟ้องของโจทก์แล้วเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอาญาทุจริตภาค 1 ฟ้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ 2559 มาตรา 15 จึงเห็นควรรับฟ้องโจทก์ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง . กรณี "แหวนแม่-นาฬิกาเพื่อน" ของ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติตั้งแต่ปี 2561 ว่าคดีเรื่องการจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน หนี้สิน ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงนั้น ป.ป.ช. มีมติว่าไม่มีมูลเพียงพอ สร้างแรงสั่นสะเทือนและข้อกังขาให้ผู้คนในสังคมวงกว้าง . จนกระทั่ง "นักร้องระดับชาติ" คุณวีระ สมความคิด ประธานเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน ได้ยื่นเรื่องให้มีการเปิดเผยสำนวนการสอบสวนคดีดังกล่าว แต่ ป.ป.ช. ไม่ยอมให้เสียที แม้กระทั่งมีคำสั่งศาลปกครองแล้ว ศาลสั่งปรับก็แล้ว องค์กร ป.ป.ช. ภายใต้การนำของ พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ ประธาน ป.ป.ช. กับนายนิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการ ป.ป.ช. ที่เกษียณแล้วทั้งคู่ ไม่ยอมเปิดเผยข้อมูล ยังใช้เล่ห์เหลี่ยมต่างๆจงใจปกปิดข้อมูล . กรณีนี้เนื่องจากคุณวีระ สมความคิด เป็นผู้เสียหายโดยตรงอย่างชัดเจน เพราะมีคำสั่งศาลมาแล้วในหลายครั้ง กรณีนี้ศาลอาญาคดีทุจริตฯ จึงต้องรับไว้ไต่สวนมูลฟ้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ . อย่างไรก็ตาม คุณวีระ ก็มีข้อจำกัด คือต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานทั้งหมดเพื่อส่งศาลให้ได้ภายใน 7 วัน คือภายในวันจันทร์ที่จะถึงนี้ วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 คุณวีระ ต้องรวบรวมเอกสารส่งศาลให้ครบถ้วน ซึ่งเวลาก็รวบรัดมาก คดีนี้พวกเรามาให้กำลังใจคุณวีระ กันหน่อยครับ ถือว่าเป็นคดีที่คุณวีระ สุ่มเสี่ยงเรื่องความปลอดภัยในชีวิตอย่างมาก เพราะถ้าคุณวีระตายคนเดียว อีก 12 คน ก็จะรอด แต่ถ้าคุณวีระรอด อีก 12 คน ก็อาจจะตายแทนก็ได้ครับ ที่มา https://www.facebook.com/share/p/iXeVUMagHP8Ewo9T/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Love
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 551 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลทุจริตฯรับไต่สวนคดี ‘วีระ’ ฟ้อง ป.ป.ช.จงใจปกปิดสอบสวนสำนวนคดี ‘นาฬิกาเพื่อน’
    .
    อังคารที่ 22 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมา ศาลอาญาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ ภาค 1 มีคำสั่งให้รับคดีคุณวีระ สมความคิด ที่ฟ้อง ป.ป.ช. ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท 95/2567 ลงวันที่ 22 ตุลาคม ในคำสั่งระบุว่า ตรวจคำฟ้องของโจทก์แล้วเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอาญาทุจริตภาค 1 ฟ้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ 2559 มาตรา 15 จึงเห็นควรรับฟ้องโจทก์ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง
    .
    กรณี "แหวนแม่-นาฬิกาเพื่อน" ของ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติตั้งแต่ปี 2561 ว่าคดีเรื่องการจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน หนี้สิน ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงนั้น ป.ป.ช. มีมติว่าไม่มีมูลเพียงพอ สร้างแรงสั่นสะเทือนและข้อกังขาให้ผู้คนในสังคมวงกว้าง
    .
    จนกระทั่ง "นักร้องระดับชาติ" คุณวีระ สมความคิด ประธานเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน ได้ยื่นเรื่องให้มีการเปิดเผยสำนวนการสอบสวนคดีดังกล่าว แต่ ป.ป.ช. ไม่ยอมให้เสียที แม้กระทั่งมีคำสั่งศาลปกครองแล้ว ศาลสั่งปรับก็แล้ว องค์กร ป.ป.ช. ภายใต้การนำของ พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ ประธาน ป.ป.ช. กับนายนิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการ ป.ป.ช. ที่เกษียณแล้วทั้งคู่ ไม่ยอมเปิดเผยข้อมูล ยังใช้เล่ห์เหลี่ยมต่างๆจงใจปกปิดข้อมูล
    .
    กรณีนี้เนื่องจากคุณวีระ สมความคิด เป็นผู้เสียหายโดยตรงอย่างชัดเจน เพราะมีคำสั่งศาลมาแล้วในหลายครั้ง กรณีนี้ศาลอาญาคดีทุจริตฯ จึงต้องรับไว้ไต่สวนมูลฟ้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
    .
    อย่างไรก็ตาม คุณวีระ ก็มีข้อจำกัด คือต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานทั้งหมดเพื่อส่งศาลให้ได้ภายใน 7 วัน คือภายในวันจันทร์ที่จะถึงนี้ วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 คุณวีระ ต้องรวบรวมเอกสารส่งศาลให้ครบถ้วน ซึ่งเวลาก็รวบรัดมาก คดีนี้พวกเรามาให้กำลังใจคุณวีระ กันหน่อยครับ ถือว่าเป็นคดีที่คุณวีระ สุ่มเสี่ยงเรื่องความปลอดภัยในชีวิตอย่างมาก เพราะถ้าคุณวีระตายคนเดียว อีก 12 คน ก็จะรอด แต่ถ้าคุณวีระรอด อีก 12 คน ก็อาจจะตายแทนก็ได้ครับ
    ศาลทุจริตฯรับไต่สวนคดี ‘วีระ’ ฟ้อง ป.ป.ช.จงใจปกปิดสอบสวนสำนวนคดี ‘นาฬิกาเพื่อน’ . อังคารที่ 22 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมา ศาลอาญาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ ภาค 1 มีคำสั่งให้รับคดีคุณวีระ สมความคิด ที่ฟ้อง ป.ป.ช. ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท 95/2567 ลงวันที่ 22 ตุลาคม ในคำสั่งระบุว่า ตรวจคำฟ้องของโจทก์แล้วเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอาญาทุจริตภาค 1 ฟ้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีทุจริตประพฤติมิชอบ 2559 มาตรา 15 จึงเห็นควรรับฟ้องโจทก์ไว้ไต่สวนมูลฟ้อง . กรณี "แหวนแม่-นาฬิกาเพื่อน" ของ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติตั้งแต่ปี 2561 ว่าคดีเรื่องการจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน หนี้สิน ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงนั้น ป.ป.ช. มีมติว่าไม่มีมูลเพียงพอ สร้างแรงสั่นสะเทือนและข้อกังขาให้ผู้คนในสังคมวงกว้าง . จนกระทั่ง "นักร้องระดับชาติ" คุณวีระ สมความคิด ประธานเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน ได้ยื่นเรื่องให้มีการเปิดเผยสำนวนการสอบสวนคดีดังกล่าว แต่ ป.ป.ช. ไม่ยอมให้เสียที แม้กระทั่งมีคำสั่งศาลปกครองแล้ว ศาลสั่งปรับก็แล้ว องค์กร ป.ป.ช. ภายใต้การนำของ พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ ประธาน ป.ป.ช. กับนายนิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการ ป.ป.ช. ที่เกษียณแล้วทั้งคู่ ไม่ยอมเปิดเผยข้อมูล ยังใช้เล่ห์เหลี่ยมต่างๆจงใจปกปิดข้อมูล . กรณีนี้เนื่องจากคุณวีระ สมความคิด เป็นผู้เสียหายโดยตรงอย่างชัดเจน เพราะมีคำสั่งศาลมาแล้วในหลายครั้ง กรณีนี้ศาลอาญาคดีทุจริตฯ จึงต้องรับไว้ไต่สวนมูลฟ้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ . อย่างไรก็ตาม คุณวีระ ก็มีข้อจำกัด คือต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานทั้งหมดเพื่อส่งศาลให้ได้ภายใน 7 วัน คือภายในวันจันทร์ที่จะถึงนี้ วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 คุณวีระ ต้องรวบรวมเอกสารส่งศาลให้ครบถ้วน ซึ่งเวลาก็รวบรัดมาก คดีนี้พวกเรามาให้กำลังใจคุณวีระ กันหน่อยครับ ถือว่าเป็นคดีที่คุณวีระ สุ่มเสี่ยงเรื่องความปลอดภัยในชีวิตอย่างมาก เพราะถ้าคุณวีระตายคนเดียว อีก 12 คน ก็จะรอด แต่ถ้าคุณวีระรอด อีก 12 คน ก็อาจจะตายแทนก็ได้ครับ
    Like
    8
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 828 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลฯ รับคดีไว้ไต่สวน หลัง "วีระ" ฟ้อง ป.ป.ช.ไม่เผยสำนวนนาฬิกาหรู "บิ๊กป้อม" พร้อมนัดไต่สวน 22 ม.ค. ปีหน้า ตรวจเอกสาร 19 ธ.ค.

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000101827

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ศาลฯ รับคดีไว้ไต่สวน หลัง "วีระ" ฟ้อง ป.ป.ช.ไม่เผยสำนวนนาฬิกาหรู "บิ๊กป้อม" พร้อมนัดไต่สวน 22 ม.ค. ปีหน้า ตรวจเอกสาร 19 ธ.ค. อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000101827 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    10
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 2004 มุมมอง 0 รีวิว
  • ⭐️อานิสงส์ถวายข้าวเพื่อบูชาพระ

    ผู้ถาม : “ถวายข้าวพระพุทธรูป กับ ถวายข้าวพระสงฆ์ อย่างไหนมีอานิสงส์มากกว่ากันคะ.?”

    หลวงพ่อ : “การถวายข้าวพระพุทธรูป ถ้าเป็นเจตนาเพื่อเป็นพุทธบูชาจริง ก็เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตั้งใจถวายพระสงฆ์และตั้งใจถวายจริงๆ เป็นวัตถุทานด้วย เป็นสังฆานุสสติกรรมฐานด้วย

    แต่อย่าลืมนะว่า ถวายแก่พระพุทธเจ้ามีอานิสงส์มากกว่าถวายพระสงฆ์เยอะ แต่ว่าเวลานี้ถ้าไม่ถวายพระสงฆ์ เกิดไปชาติหน้าอดข้าว เดี๋ยวหนูเกิดไปชาติหน้า ถ้าพูดเขาไม่ให้กิน ต้องนั่งเฉยๆ เดี๋ยวเขาก็ให้กิน”

    ผู้ถาม : (หัวเราะ)

    หลวงพ่อ : “ถวายพระพุทธเจ้าเป็นพุทธบูชาเฉยๆ ยังไม่ถือเป็นทาน เราจะมีทรัพย์สิน มีเสื้อสวม มีผ้านุ่ง มีบ้านอยู่ นั่นเป็นอานิสงส์ของทาน การให้ ถ้าเราบูชาพระพุทธเจ้า จัดเป็นพุทธบูชาเฉยๆ นึกถึงความดีท่าน ไม่ถือว่าเป็นทาน อานิสงส์ได้คนละอย่าง

    “พุทธบูชา มหาเตชะวันโต” การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชมีอำนาจมาก นั่นหมายความว่า ถ้าเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม มีรัศมีกายสว่างไสวมาก เทวดาหรือพรหมนี่เขาไม่ดูเครื่องแต่งตัว เขาดูแสงสว่างออกจากกาย

    “ธัมมบูชา มหาปัญโญ” การบูชาพระธรรม มีปัญญามาก คือใคร่ครวญในพระธรรมจนเกิดปัญญา จิตเป็นสมาธิ

    “สังฆบูชา มหาโภคะวะโห” สงเคราะห์พระสงฆ์ เกิดไปรวยมาก เพราะเราใช้วัตถุเป็นเครื่องหมาย

    อานิสงส์ต่านกัน แต่ต้องทำ 3 อย่าง ไม่งั้นหลวงพ่ออด”

    ผู้ถาม : (หัวเราะ)

    📚จาก : หนังสือ หลวงพ่อ ตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่มที่ ๔ หน้า ๓๘ โดย ⭐️หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) วัดจันทาราม(ท่าซุง) อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
    ✨เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน

    🖊️พิมพ์ธรรมทาน นภา อิน
    ⭐️อานิสงส์ถวายข้าวเพื่อบูชาพระ ผู้ถาม : “ถวายข้าวพระพุทธรูป กับ ถวายข้าวพระสงฆ์ อย่างไหนมีอานิสงส์มากกว่ากันคะ.?” หลวงพ่อ : “การถวายข้าวพระพุทธรูป ถ้าเป็นเจตนาเพื่อเป็นพุทธบูชาจริง ก็เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตั้งใจถวายพระสงฆ์และตั้งใจถวายจริงๆ เป็นวัตถุทานด้วย เป็นสังฆานุสสติกรรมฐานด้วย แต่อย่าลืมนะว่า ถวายแก่พระพุทธเจ้ามีอานิสงส์มากกว่าถวายพระสงฆ์เยอะ แต่ว่าเวลานี้ถ้าไม่ถวายพระสงฆ์ เกิดไปชาติหน้าอดข้าว เดี๋ยวหนูเกิดไปชาติหน้า ถ้าพูดเขาไม่ให้กิน ต้องนั่งเฉยๆ เดี๋ยวเขาก็ให้กิน” ผู้ถาม : (หัวเราะ) หลวงพ่อ : “ถวายพระพุทธเจ้าเป็นพุทธบูชาเฉยๆ ยังไม่ถือเป็นทาน เราจะมีทรัพย์สิน มีเสื้อสวม มีผ้านุ่ง มีบ้านอยู่ นั่นเป็นอานิสงส์ของทาน การให้ ถ้าเราบูชาพระพุทธเจ้า จัดเป็นพุทธบูชาเฉยๆ นึกถึงความดีท่าน ไม่ถือว่าเป็นทาน อานิสงส์ได้คนละอย่าง “พุทธบูชา มหาเตชะวันโต” การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชมีอำนาจมาก นั่นหมายความว่า ถ้าเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม มีรัศมีกายสว่างไสวมาก เทวดาหรือพรหมนี่เขาไม่ดูเครื่องแต่งตัว เขาดูแสงสว่างออกจากกาย “ธัมมบูชา มหาปัญโญ” การบูชาพระธรรม มีปัญญามาก คือใคร่ครวญในพระธรรมจนเกิดปัญญา จิตเป็นสมาธิ “สังฆบูชา มหาโภคะวะโห” สงเคราะห์พระสงฆ์ เกิดไปรวยมาก เพราะเราใช้วัตถุเป็นเครื่องหมาย อานิสงส์ต่านกัน แต่ต้องทำ 3 อย่าง ไม่งั้นหลวงพ่ออด” ผู้ถาม : (หัวเราะ) 📚จาก : หนังสือ หลวงพ่อ ตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่มที่ ๔ หน้า ๓๘ โดย ⭐️หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) วัดจันทาราม(ท่าซุง) อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ✨เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน 🖊️พิมพ์ธรรมทาน นภา อิน
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 191 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🤠#มังกรหยกเยือนสำนักแมวขาวแมวดำ ตอน 01🤠

    ในเช้าวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1981 เติ้งกง(邓公)ได้รับแขกพิเศษในห้องโถงใหญ่ของประชาชน

    แขกรับเชิญคนนี้ คือ จินยง(金庸)นักเขียนนวนิยายจีนกำลังภายในชื่อดัง

    ทั้งสองคนนี้ คนหนึ่งเป็นนักการเมือง อีกคนเป็นนักเขียน ดูเหมือนไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกัน ในความเป็นจริงพวกเขาชื่นชมซึ่งกันและกันเสมอ ในมุมมองของ จินยง(金庸) เติ้งกง(邓公) เป็นบุคคลที่น่านับถือที่สุดเหมือนเช่นเดียวกับวีรบุรุษที่เขาได้เขียนบรรยายไว้ในนวนิยาย

    🥸บ้านและเมืองในใต้หล้า🥸

    ในเวลานั้น จินยง(金庸)เป็นหัวหน้าบรรณาธิการของ "หมิงเป้า(明报)" เขาเคยตีพิมพ์บทความว่า เติ้งกง(邓公)ควรได้เป็นประธานาธิบดีของประเทศโดยเร็วที่สุด

    😎ในเวลานี้ เติ้งกง(邓公)ได้ดำรงตำแหน่งผู้นำของจีนใหม่ และยังดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีของประเทศอีกด้วย😎

    😎จากมุมมองของผู้คนทั่วไป เติ้งกง(邓公)ได้รับเลือกเป็นประธานประเทศเพิ่มขึ้นอีกสักตำแหน่งหนึ่ง เหตุผลมันก็ควรเป็นอย่างที่ควรจะเป็น😎

    😎แต่ครั้งนี้ เติ้งกง(邓公)ได้ชี้แจงกับจินยง(金庸)อย่างชัดเจนว่า เขาไม่ต้องการเป็นประธานาธิบดีของประเทศ😎

    ในตอนแรก จินยง(金庸)รู้สึกแปลกใจมาก เห็นได้ชัดว่า เติ้งกง(邓公)ได้เป็นประธานของประเทศ ซึ่งทุกคนต่างก็คาดหวังดังนั้น ทำไมเขาถึงไม่เต็มใจ?

    อย่างไรก็ตาม หลังจากฟังเหตุผลที่เติ้งกง(邓公)พูดจบ จินยง(金庸)ก็มีแต่ความชื่นชมอยู่ในใจ

    😎จินยง(金庸)เคยกล่าวไว้ว่า เติ้งกง(邓公)เป็นหนึ่งในบุคคลที่เขาชื่นชมมากที่สุด จากภายในตัวของ เติ้งกง(邓公) เขาได้เห็นตัวตนของวีรบุรุษในฐานะของการรับใช้ประเทศและประชาชนซึ่งเขาใฝ่แสวงหา😎

    จินยง(金庸)มีชื่อเสียงจากงานในด้านงานเขียน แต่ในความเป็นจริงแล้ว ในเวลาที่ผ่านมาโดยตลอดเขาไม่ใช่เป็นนักเขียนวรรณกรรมธรรมดาๆ เลย นอกจากนี้เขายังมีอิทธิพลในสนามด้านการเมืองด้วย

    เมื่อเขายังเด็กเยาววัย อุดมคติของจินยง(金庸) คือ การเป็นนักการทูตที่ยอดเยี่ยม

    ด้วยเหตุนี้ หลังจากจบการศึกษาจากโรงเรียนมัธยมในปี ค.ศ. 1942 เขาจึงเข้าเรียนที่โรงเรียนกฎหมายของมหาวิทยาลัย ซูโจว(苏州大学)ในเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเขาเรียนวิชาเอกกฎหมายระหว่างประเทศ

    อย่างไรก็ตามเขาไม่ได้จบลงด้วยการเป็นนักการทูต หลังจบการศึกษา ต้ากงเป้า(大公报)ได้ชวนจินยง(金庸)เป็นบรรณาธิการข่าวต่างประเทศ

    สำหรับจินยง(金庸)ที่เพิ่งเรียนจบ นี่เป็นงานที่ดีมาก ดังนั้นเขาจึงยอมรับอย่างง่ายดาย

    หลังจากนั้นไม่นาน "ต้ากงเป้า(大公报)" ก็วางแผนที่จะกลับมาตีพิมพ์ในฮ่องกงและกำลังต้องการกำลังคนอย่างเร่งด่วน

    ดังนั้น จินยง(金庸)จึงถูกย้ายไปฮ่องกงด้วยวิธีนี้

    ฟันเฟืองแห่งโชคชะตากำลังพลิกผันอย่างไม่ทันตั้งตัว และจินยง(金庸)ต้องห่างไกลจากความฝันในการเป็นนักการทูตมากขึ้นเรื่อยๆ แต่เขากลายเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ที่มีอิทธิพลต่อผลกระทบไม่ด้อยไปกว่านักการทูต

    ในปีค.ศ. 1959 จินยง(金庸)ออกจาก "ต้ากงเป้า(大公报)" และก่อตั้ง "หมิงเป้า(明报)"ที่มีชื่อเสียงด้วยตัวเขาเอง

    "หมิงเป้า(明报)"มีชื่อเสียงในเวลาต่อมาเนื่องจากออกพิมพ์นิยายกำลังภายในอย่างต่อเนื่องของจินยง(金庸)

    อย่างไรก็ตาม "หมิงเป้า(明报)" ไม่ได้มีแค่คอลัมน์นิยายกำลังภายใน อันที่จริง จินยง(金庸)มักจะแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันใน "หมิงเป้า(明报)"เสมอ

    ในเวลานั้น เติ้งกง(邓公)ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงทั้งในและต่างประเทศ และจินยง(金庸)ไม่เข้าใจปรากฏการณ์นี้

    เพราะแม้ว่าเขาจะไม่มีสายสัมพันธ์กับเติ้งกง(邓公)ในขณะนี้ แต่เขาได้เรียนรู้แนวคิดทางการเมืองบางอย่างของเติ้งกง(邓公) และเชื่อว่าเติ้งกง(邓公) เป็นบุคคลที่มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและเป็นคนที่สามารถเปลี่ยนชะตากรรมของจีนได้

    เขาไม่สามารถยอมรับการใส่ร้ายต่อเติ้งกง(邓公)ของคนอื่นได้ ดังนั้น ในฐานะบรรณาธิการ เขาจึงตีพิมพ์บทความหลายบทความใน "หมิงเป้า(明报)"เพื่อพูดแทนเติ้งกง(邓公)

    เนื่องจากในเวลานั้นเขามีชื่อเสียงมาก บทความเหล่านี้ทำให้เกิดกระแสคลื่นลมไม่เบาในฮ่องกงและแม้แต่ในแผ่นดินใหญ่

    แต่แม้ว่าจะเกิดการโต้แย้งกันขึ้น จินยง(金庸)ยังคงยืนยันในมุมมองของเขาเหมือนเดิม เขาถึงกับยังได้เขียนคำทำนายว่า "เติ้ง เสี่ยวผิง(邓小平)จะกลับมาแน่นอน" ในบทความ

    เหตุผลที่ทำให้ จินยง(金庸)มีความมั่นใจในตนเองคือในปีค.ศ. 1975 เติ้งกง(邓公)ได้กลับมาในช่วงสั้นๆ จากนั้นได้ดำเนินการแก้ไขภายในประเทศหลายครั้งด้วยความกล้าหาญอย่างยิ่งและใช้นโยบายใหม่

    อย่างไรก็ตาม การกลับมาครั้งนี้กินเวลาเพียงหนึ่งปี และเติ้งกง(邓公)ก็ออกจากเวทีการเมืองอีกครั้ง

    ในเวลานั้นคนส่วนใหญ่เชื่อว่าคราวนี้เติ้งกง(邓公)จะเลือนหายไปจากเวทีการเมืองตลอดไป แต่จินยง(金庸)ไม่เชื่อ เขาเชื่อว่า สักวันหนึ่งเติ้งกง(邓公)จะกลายเป็นผู้นำที่แท้จริงของจีนใหม่และนำจีนไปสู่บรรยากาศใหม่

    หลายคนไม่เข้าใจการสนับสนุนที่ร้อนแรงแข็งแกร่งของจินยง(金庸)ที่มีต่อเติ้งกง(邓公) ในตอนนั้น

    แม้ว่าจินยง(金庸)จะกระตือรือร้นใฝ่ใจในการแสดงความคิดเห็นวิภาษวิจารณ์เกี่ยวกับการเมือง แต่เขาก็ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และเขาไม่เคยมีมิตรภาพกับเติ้งกง(邓公)

    ยิ่งไปกว่านั้นฮ่องกงยังไม่ได้กลับสู่มาตุภูมิในเวลานั้น ความสัมพันธ์ระหว่างสองฝั่งของช่องแคบไต้หวันก็อ่อนไหวมาก จินยง(金庸)เสี่ยงที่จะถูกปิดล้อมโดยผู้อ่านเนื่องมาจากการประสงค์ที่จะพูดแทน เติ้งกง(邓公) ทำไมเขาถึงมั่นใจในความสามารถของเติ้งกง(邓公)ถึงขนาดนั้น?

    ในการสัมภาษณ์ครั้งต่อมา จินยง(金庸)ชื่นชมต่อเติ้งกง(邓公)มาก เขากล่าวว่า: 😎"ผมชื่นชมบุคลิกที่แข็งแกร่งและไม่ยอมแพ้นี้ของเขามาโดยตลอด เหมือนกับวีระบุรุษผู้กล้าหาญที่เขียนบรรยายไว้ในนิยายต่อสู้กำลังภายในของผม.......เพียงแค่ความแข็งแกร่งนั้น แน่นอนว่ายังไม่เพียงพอ ต้องยืนหยัดในข้อเสนอที่ถูกต้องโดยไม่คำนึงถึงเกียรติยศ ความอับอาย และความปลอดภัยของตนเอง นี่ถึงจะทำให้ผู้อื่นยอมรับ”😎

    สำหรับการเคลื่อนไหวของ จินยง(金庸) ความจริงแล้ว เติ้งกง(邓公)ก็ได้สัมผัสรู้มา เมื่อเวลาที่เขาถูกส่งไปที่ เจึยงซี(江西) เขาได้ยินว่ามีนักเขียนที่มีชื่อเสียงมากในฮ่องกงซึ่งมักจะตีพิมพ์บทความที่เกี่ยวข้องกับการเมือง

    หลังจากเติ้งกง(邓公)อ่านบทความเหล่านี้ เขาคิดว่า จินยง(金庸) อยู่ในฮ่องกง แม้ว่าเขาจะมีมุมมองที่จำกัดในฮ่องกงก็ตาม ยังมีความเฉียบแหลมทางการเมืองของเขาและความสามารถของเขาในการพูดเพื่อความยุติธรรม จึงเป็นคนที่ควรค่าแก่การเคารพ

    แน่นอน สิ่งที่คาดไม่ถึงที่สุดคือตัวเติ้งกง(邓公)เองเป็นคนรักอ่านนวนิยายศิลปะการต่อสู้กำลังภายในมาก ทันทีที่เขาเห็นนิยายของจินยง(金庸) เขาก็เต็มไปด้วยคำชมและหมกมุ่นในการอ่านนวนิยายนั้น จนกระทั่งหลายปีต่อมา การอ่านนวนิยายของ จินยง(金庸)เป็นหนึ่งในงานอดิเรกที่ชื่นชอบที่สุดของเติ้งกง(邓公)

    ด้วยประการฉะนี้แม้ว่าทั้งสองจะยังไม่ได้พบหน้ากันแต่ดูเหมือนว่าพวกเขาจะเป็นเพื่อนในฐานะเพื่อนรู้ใจ

    🥳โปรดติดตามบทความ #มังกรหยกเยือนสำนักแมวขาวแมวดำ ตอน 02.ต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳

    🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    🤠#มังกรหยกเยือนสำนักแมวขาวแมวดำ ตอน 01🤠 ในเช้าวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1981 เติ้งกง(邓公)ได้รับแขกพิเศษในห้องโถงใหญ่ของประชาชน แขกรับเชิญคนนี้ คือ จินยง(金庸)นักเขียนนวนิยายจีนกำลังภายในชื่อดัง ทั้งสองคนนี้ คนหนึ่งเป็นนักการเมือง อีกคนเป็นนักเขียน ดูเหมือนไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกัน ในความเป็นจริงพวกเขาชื่นชมซึ่งกันและกันเสมอ ในมุมมองของ จินยง(金庸) เติ้งกง(邓公) เป็นบุคคลที่น่านับถือที่สุดเหมือนเช่นเดียวกับวีรบุรุษที่เขาได้เขียนบรรยายไว้ในนวนิยาย 🥸บ้านและเมืองในใต้หล้า🥸 ในเวลานั้น จินยง(金庸)เป็นหัวหน้าบรรณาธิการของ "หมิงเป้า(明报)" เขาเคยตีพิมพ์บทความว่า เติ้งกง(邓公)ควรได้เป็นประธานาธิบดีของประเทศโดยเร็วที่สุด 😎ในเวลานี้ เติ้งกง(邓公)ได้ดำรงตำแหน่งผู้นำของจีนใหม่ และยังดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีของประเทศอีกด้วย😎 😎จากมุมมองของผู้คนทั่วไป เติ้งกง(邓公)ได้รับเลือกเป็นประธานประเทศเพิ่มขึ้นอีกสักตำแหน่งหนึ่ง เหตุผลมันก็ควรเป็นอย่างที่ควรจะเป็น😎 😎แต่ครั้งนี้ เติ้งกง(邓公)ได้ชี้แจงกับจินยง(金庸)อย่างชัดเจนว่า เขาไม่ต้องการเป็นประธานาธิบดีของประเทศ😎 ในตอนแรก จินยง(金庸)รู้สึกแปลกใจมาก เห็นได้ชัดว่า เติ้งกง(邓公)ได้เป็นประธานของประเทศ ซึ่งทุกคนต่างก็คาดหวังดังนั้น ทำไมเขาถึงไม่เต็มใจ? อย่างไรก็ตาม หลังจากฟังเหตุผลที่เติ้งกง(邓公)พูดจบ จินยง(金庸)ก็มีแต่ความชื่นชมอยู่ในใจ 😎จินยง(金庸)เคยกล่าวไว้ว่า เติ้งกง(邓公)เป็นหนึ่งในบุคคลที่เขาชื่นชมมากที่สุด จากภายในตัวของ เติ้งกง(邓公) เขาได้เห็นตัวตนของวีรบุรุษในฐานะของการรับใช้ประเทศและประชาชนซึ่งเขาใฝ่แสวงหา😎 จินยง(金庸)มีชื่อเสียงจากงานในด้านงานเขียน แต่ในความเป็นจริงแล้ว ในเวลาที่ผ่านมาโดยตลอดเขาไม่ใช่เป็นนักเขียนวรรณกรรมธรรมดาๆ เลย นอกจากนี้เขายังมีอิทธิพลในสนามด้านการเมืองด้วย เมื่อเขายังเด็กเยาววัย อุดมคติของจินยง(金庸) คือ การเป็นนักการทูตที่ยอดเยี่ยม ด้วยเหตุนี้ หลังจากจบการศึกษาจากโรงเรียนมัธยมในปี ค.ศ. 1942 เขาจึงเข้าเรียนที่โรงเรียนกฎหมายของมหาวิทยาลัย ซูโจว(苏州大学)ในเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเขาเรียนวิชาเอกกฎหมายระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตามเขาไม่ได้จบลงด้วยการเป็นนักการทูต หลังจบการศึกษา ต้ากงเป้า(大公报)ได้ชวนจินยง(金庸)เป็นบรรณาธิการข่าวต่างประเทศ สำหรับจินยง(金庸)ที่เพิ่งเรียนจบ นี่เป็นงานที่ดีมาก ดังนั้นเขาจึงยอมรับอย่างง่ายดาย หลังจากนั้นไม่นาน "ต้ากงเป้า(大公报)" ก็วางแผนที่จะกลับมาตีพิมพ์ในฮ่องกงและกำลังต้องการกำลังคนอย่างเร่งด่วน ดังนั้น จินยง(金庸)จึงถูกย้ายไปฮ่องกงด้วยวิธีนี้ ฟันเฟืองแห่งโชคชะตากำลังพลิกผันอย่างไม่ทันตั้งตัว และจินยง(金庸)ต้องห่างไกลจากความฝันในการเป็นนักการทูตมากขึ้นเรื่อยๆ แต่เขากลายเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ที่มีอิทธิพลต่อผลกระทบไม่ด้อยไปกว่านักการทูต ในปีค.ศ. 1959 จินยง(金庸)ออกจาก "ต้ากงเป้า(大公报)" และก่อตั้ง "หมิงเป้า(明报)"ที่มีชื่อเสียงด้วยตัวเขาเอง "หมิงเป้า(明报)"มีชื่อเสียงในเวลาต่อมาเนื่องจากออกพิมพ์นิยายกำลังภายในอย่างต่อเนื่องของจินยง(金庸) อย่างไรก็ตาม "หมิงเป้า(明报)" ไม่ได้มีแค่คอลัมน์นิยายกำลังภายใน อันที่จริง จินยง(金庸)มักจะแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันใน "หมิงเป้า(明报)"เสมอ ในเวลานั้น เติ้งกง(邓公)ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงทั้งในและต่างประเทศ และจินยง(金庸)ไม่เข้าใจปรากฏการณ์นี้ เพราะแม้ว่าเขาจะไม่มีสายสัมพันธ์กับเติ้งกง(邓公)ในขณะนี้ แต่เขาได้เรียนรู้แนวคิดทางการเมืองบางอย่างของเติ้งกง(邓公) และเชื่อว่าเติ้งกง(邓公) เป็นบุคคลที่มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและเป็นคนที่สามารถเปลี่ยนชะตากรรมของจีนได้ เขาไม่สามารถยอมรับการใส่ร้ายต่อเติ้งกง(邓公)ของคนอื่นได้ ดังนั้น ในฐานะบรรณาธิการ เขาจึงตีพิมพ์บทความหลายบทความใน "หมิงเป้า(明报)"เพื่อพูดแทนเติ้งกง(邓公) เนื่องจากในเวลานั้นเขามีชื่อเสียงมาก บทความเหล่านี้ทำให้เกิดกระแสคลื่นลมไม่เบาในฮ่องกงและแม้แต่ในแผ่นดินใหญ่ แต่แม้ว่าจะเกิดการโต้แย้งกันขึ้น จินยง(金庸)ยังคงยืนยันในมุมมองของเขาเหมือนเดิม เขาถึงกับยังได้เขียนคำทำนายว่า "เติ้ง เสี่ยวผิง(邓小平)จะกลับมาแน่นอน" ในบทความ เหตุผลที่ทำให้ จินยง(金庸)มีความมั่นใจในตนเองคือในปีค.ศ. 1975 เติ้งกง(邓公)ได้กลับมาในช่วงสั้นๆ จากนั้นได้ดำเนินการแก้ไขภายในประเทศหลายครั้งด้วยความกล้าหาญอย่างยิ่งและใช้นโยบายใหม่ อย่างไรก็ตาม การกลับมาครั้งนี้กินเวลาเพียงหนึ่งปี และเติ้งกง(邓公)ก็ออกจากเวทีการเมืองอีกครั้ง ในเวลานั้นคนส่วนใหญ่เชื่อว่าคราวนี้เติ้งกง(邓公)จะเลือนหายไปจากเวทีการเมืองตลอดไป แต่จินยง(金庸)ไม่เชื่อ เขาเชื่อว่า สักวันหนึ่งเติ้งกง(邓公)จะกลายเป็นผู้นำที่แท้จริงของจีนใหม่และนำจีนไปสู่บรรยากาศใหม่ หลายคนไม่เข้าใจการสนับสนุนที่ร้อนแรงแข็งแกร่งของจินยง(金庸)ที่มีต่อเติ้งกง(邓公) ในตอนนั้น แม้ว่าจินยง(金庸)จะกระตือรือร้นใฝ่ใจในการแสดงความคิดเห็นวิภาษวิจารณ์เกี่ยวกับการเมือง แต่เขาก็ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และเขาไม่เคยมีมิตรภาพกับเติ้งกง(邓公) ยิ่งไปกว่านั้นฮ่องกงยังไม่ได้กลับสู่มาตุภูมิในเวลานั้น ความสัมพันธ์ระหว่างสองฝั่งของช่องแคบไต้หวันก็อ่อนไหวมาก จินยง(金庸)เสี่ยงที่จะถูกปิดล้อมโดยผู้อ่านเนื่องมาจากการประสงค์ที่จะพูดแทน เติ้งกง(邓公) ทำไมเขาถึงมั่นใจในความสามารถของเติ้งกง(邓公)ถึงขนาดนั้น? ในการสัมภาษณ์ครั้งต่อมา จินยง(金庸)ชื่นชมต่อเติ้งกง(邓公)มาก เขากล่าวว่า: 😎"ผมชื่นชมบุคลิกที่แข็งแกร่งและไม่ยอมแพ้นี้ของเขามาโดยตลอด เหมือนกับวีระบุรุษผู้กล้าหาญที่เขียนบรรยายไว้ในนิยายต่อสู้กำลังภายในของผม.......เพียงแค่ความแข็งแกร่งนั้น แน่นอนว่ายังไม่เพียงพอ ต้องยืนหยัดในข้อเสนอที่ถูกต้องโดยไม่คำนึงถึงเกียรติยศ ความอับอาย และความปลอดภัยของตนเอง นี่ถึงจะทำให้ผู้อื่นยอมรับ”😎 สำหรับการเคลื่อนไหวของ จินยง(金庸) ความจริงแล้ว เติ้งกง(邓公)ก็ได้สัมผัสรู้มา เมื่อเวลาที่เขาถูกส่งไปที่ เจึยงซี(江西) เขาได้ยินว่ามีนักเขียนที่มีชื่อเสียงมากในฮ่องกงซึ่งมักจะตีพิมพ์บทความที่เกี่ยวข้องกับการเมือง หลังจากเติ้งกง(邓公)อ่านบทความเหล่านี้ เขาคิดว่า จินยง(金庸) อยู่ในฮ่องกง แม้ว่าเขาจะมีมุมมองที่จำกัดในฮ่องกงก็ตาม ยังมีความเฉียบแหลมทางการเมืองของเขาและความสามารถของเขาในการพูดเพื่อความยุติธรรม จึงเป็นคนที่ควรค่าแก่การเคารพ แน่นอน สิ่งที่คาดไม่ถึงที่สุดคือตัวเติ้งกง(邓公)เองเป็นคนรักอ่านนวนิยายศิลปะการต่อสู้กำลังภายในมาก ทันทีที่เขาเห็นนิยายของจินยง(金庸) เขาก็เต็มไปด้วยคำชมและหมกมุ่นในการอ่านนวนิยายนั้น จนกระทั่งหลายปีต่อมา การอ่านนวนิยายของ จินยง(金庸)เป็นหนึ่งในงานอดิเรกที่ชื่นชอบที่สุดของเติ้งกง(邓公) ด้วยประการฉะนี้แม้ว่าทั้งสองจะยังไม่ได้พบหน้ากันแต่ดูเหมือนว่าพวกเขาจะเป็นเพื่อนในฐานะเพื่อนรู้ใจ 🥳โปรดติดตามบทความ #มังกรหยกเยือนสำนักแมวขาวแมวดำ ตอน 02.ต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳 🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 224 มุมมอง 0 รีวิว
  • คลอดโผมหาดไทย สายสิงห์ดำ-เด็กเนวิน ผงาด
    .
    โผแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการระดับสูงของกระทรวงมหาดไทยหลังเลื่อนไม่เอาเข้าครม.มาสองสัปดาห์ เพราะติดขัดปัญหาบางประการในการจัดสรรตำแหน่งให้ลงตัว รอบนี้ อนุทิน ชาญวีรกูล รมว.มหาดไทย ลงมาดูโผทุกรายชื่อและมีการตรวจสอบประวัติการทำงาน ผลงาน อย่างละเอียด โดยเฉพาะในตำแหน่งอธิบดีและผู้ว่าฯจังหวัดสำคัญ ซึ่งสุดท้าย อนุทิน และนายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ก็ได้ชงโผมหาดไทยเข้าครม.วันนี้ (8ต.ค.) และที่ประชุม เห็นชอบ
    .
    รายชื่อส่วนใหญ่ ก็เป็นไปตามที่มีข่าวก่อนหน้านี้ ที่ก็พบว่าเครือข่ายสิงห์ดำ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ กับปลัดมหาดไทย อรรษิษฐ์ ได้เข้าสู่ตำแหน่งสำคัญกันหลายคน รวมถึงเครือข่ายสิงห์มหาดไทยสายใกล้ชิดเครือข่ายบ้านใหญ่บุรีรัมย์ ก็ได้ดิบได้ดีกันหลายคน เช่น นายไชยวัฒน์ จุนถิระพงศ์ ที่จะเกษียณปีหน้า ก็โยกจากอธิบดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ไปเป็น อธิบดีกรมการปกครอง หรือนายนฤชา โฆษาศิวิไลซ์ จาก ผวจ.บุรีรัมย์ ฐานที่มั่นของเนวิน ชิดชอบ และพรรคภูมิใจไทย ก็ได้เป็น อธิบดี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นต้น
    .
    โดยรายละเอียดของโผมหาดไทยมีดังนี้
    น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล โฆษกกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยว่า  ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันที่ 8 ต.ค. 67 มีมติเห็นชอบการแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูง สังกัดกระทรวงมหาดไทย จำนวน 25 ราย ดังนี้  
     .
    1.นายขจร ศรีชวโนทัย พ้นจากตำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวง
     .
    2.นายสันติธร ยิ้มละมัย พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดลำพูน และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวง
     .
    3.นายศุภศิษย์ กอเจริญยศ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอุบลราชธานี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง
     .
    4.นายสุพจน์ รอดเรือง ณ หนองคาย พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดจังหวัดพังงา และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง
     .
    5.นายอดิเทพ กมลเวชช์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพิจิตร และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง
     .
    6.นายไชยวัฒน์ จุนถิระพงศ์ พ้นจากตำแหน่งอธิบดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมการปกครอง
     .
    7.นายภาสกร บุญญลักษม์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดปทุมธานี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
     .
    8.นายพงษ์นรา เย็นยิ่ง พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมโยธาธิการและผังเมือง
     .
    9.นายนฤชา โฆษาศิวิไลซ์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดบุรีรัมย์ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
     .
    10.นายอังกูร ศีลาเทวากูล พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดกระบี่
     .
    11.นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดนครศรีธรรมราช และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดฉะเชิงเทรา
     .
    12.นายชรินทร์ ทองสุข พันจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดยโสธร และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดเชียงราย 
     .
    13.นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดราชบุรี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดนนทบุรี
     .
    14. นายสมคิด จันทมฤก พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดปทุมธานี
     .
    15.นายวีระพันธ์ ดีอ่อน พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดปราจีนบุรี
     .
    16. นายทวี เสริมภักดีกุล พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดนครสวรรค์ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพิษณุโลก
     .
    17.นายศรัณยู มีทองคำ พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดเพชรบูรณ์
     .
    18.นายชุติเดช มีจันทร์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดแพร่ และแต่งตั้งที่ให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดลำปาง 
     .
    19.นายโชตินรินทร์ เกิดสม พ้นจากตำแหน่งรองปลัดกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่งผู้ว่าราชการจังหวัด  จังหวัดสงขลา
     .
    20.นางนิศากร วิศิษฏ์สรอรรถ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพัทลุง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดสมุทรสงคราม
     .
    21.นายนริศ นิรามัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดระนอง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด  จังหวัดสุทรสาคร
     .
    22.นายพิริยะ ฉันทดิลก พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอ่างทอง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดสุพรรณบุรี
     .
    23.นายชำนาญ ชื่นตา พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดสุรินทร์
     .
    24.นายราชันย์ ซุ้นหั้ว พ้นจากตำแหน่งรองปลัดกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด  จังหวัดอุดรธานี
     .
    25.ว่าที่พันตรี อดิศักดิ์ น้อยสุวรรณ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอำนาจเจริญ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอุบลราชธานี
    ..............
    Sondhi X
    คลอดโผมหาดไทย สายสิงห์ดำ-เด็กเนวิน ผงาด . โผแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการระดับสูงของกระทรวงมหาดไทยหลังเลื่อนไม่เอาเข้าครม.มาสองสัปดาห์ เพราะติดขัดปัญหาบางประการในการจัดสรรตำแหน่งให้ลงตัว รอบนี้ อนุทิน ชาญวีรกูล รมว.มหาดไทย ลงมาดูโผทุกรายชื่อและมีการตรวจสอบประวัติการทำงาน ผลงาน อย่างละเอียด โดยเฉพาะในตำแหน่งอธิบดีและผู้ว่าฯจังหวัดสำคัญ ซึ่งสุดท้าย อนุทิน และนายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ก็ได้ชงโผมหาดไทยเข้าครม.วันนี้ (8ต.ค.) และที่ประชุม เห็นชอบ . รายชื่อส่วนใหญ่ ก็เป็นไปตามที่มีข่าวก่อนหน้านี้ ที่ก็พบว่าเครือข่ายสิงห์ดำ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ กับปลัดมหาดไทย อรรษิษฐ์ ได้เข้าสู่ตำแหน่งสำคัญกันหลายคน รวมถึงเครือข่ายสิงห์มหาดไทยสายใกล้ชิดเครือข่ายบ้านใหญ่บุรีรัมย์ ก็ได้ดิบได้ดีกันหลายคน เช่น นายไชยวัฒน์ จุนถิระพงศ์ ที่จะเกษียณปีหน้า ก็โยกจากอธิบดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ไปเป็น อธิบดีกรมการปกครอง หรือนายนฤชา โฆษาศิวิไลซ์ จาก ผวจ.บุรีรัมย์ ฐานที่มั่นของเนวิน ชิดชอบ และพรรคภูมิใจไทย ก็ได้เป็น อธิบดี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นต้น . โดยรายละเอียดของโผมหาดไทยมีดังนี้ น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล โฆษกกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยว่า  ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันที่ 8 ต.ค. 67 มีมติเห็นชอบการแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูง สังกัดกระทรวงมหาดไทย จำนวน 25 ราย ดังนี้    . 1.นายขจร ศรีชวโนทัย พ้นจากตำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวง  . 2.นายสันติธร ยิ้มละมัย พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดลำพูน และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวง  . 3.นายศุภศิษย์ กอเจริญยศ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอุบลราชธานี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง  . 4.นายสุพจน์ รอดเรือง ณ หนองคาย พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดจังหวัดพังงา และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง  . 5.นายอดิเทพ กมลเวชช์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพิจิตร และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง  . 6.นายไชยวัฒน์ จุนถิระพงศ์ พ้นจากตำแหน่งอธิบดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมการปกครอง  . 7.นายภาสกร บุญญลักษม์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดปทุมธานี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  . 8.นายพงษ์นรา เย็นยิ่ง พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมโยธาธิการและผังเมือง  . 9.นายนฤชา โฆษาศิวิไลซ์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดบุรีรัมย์ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  . 10.นายอังกูร ศีลาเทวากูล พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดกระบี่  . 11.นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดนครศรีธรรมราช และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดฉะเชิงเทรา  . 12.นายชรินทร์ ทองสุข พันจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดยโสธร และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดเชียงราย   . 13.นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดราชบุรี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดนนทบุรี  . 14. นายสมคิด จันทมฤก พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดปทุมธานี  . 15.นายวีระพันธ์ ดีอ่อน พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดปราจีนบุรี  . 16. นายทวี เสริมภักดีกุล พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดนครสวรรค์ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพิษณุโลก  . 17.นายศรัณยู มีทองคำ พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดเพชรบูรณ์  . 18.นายชุติเดช มีจันทร์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดแพร่ และแต่งตั้งที่ให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดลำปาง   . 19.นายโชตินรินทร์ เกิดสม พ้นจากตำแหน่งรองปลัดกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่งผู้ว่าราชการจังหวัด  จังหวัดสงขลา  . 20.นางนิศากร วิศิษฏ์สรอรรถ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพัทลุง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดสมุทรสงคราม  . 21.นายนริศ นิรามัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดระนอง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด  จังหวัดสุทรสาคร  . 22.นายพิริยะ ฉันทดิลก พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอ่างทอง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดสุพรรณบุรี  . 23.นายชำนาญ ชื่นตา พ้นจากตำแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดสุรินทร์  . 24.นายราชันย์ ซุ้นหั้ว พ้นจากตำแหน่งรองปลัดกระทรวง และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด  จังหวัดอุดรธานี  . 25.ว่าที่พันตรี อดิศักดิ์ น้อยสุวรรณ พ้นจากตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอำนาจเจริญ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดอุบลราชธานี .............. Sondhi X
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 782 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,541
    วันอังคาร: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (8 October 2024)

    รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 2/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    11. วัดป่ามหาญาณ อ.เมือง จ.ตรัง
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    12. วัดผาเทพนิมิต อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    13 .วัดไผ่ดำเจริญศุข อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    14. วัดพระธาตุห้าดวง อ.ลี้ จ.ลำพูน
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    15. วัดแพรกวังตะเคียน อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    16. วัดโพธิ์เฉลิมรักษ์ อ.บางน้ำน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    17. วัดเยื้องคงคาราม อ.ไชโย จ.อ่างทอง
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    18. วัดราษฎร์ศรัทธาทำ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    19. วัดวีระโชติธรรมาราม อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    20. วัดศรีเบญจคาลัย อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,541 วันอังคาร: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (8 October 2024) รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 2/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 11. วัดป่ามหาญาณ อ.เมือง จ.ตรัง (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 12. วัดผาเทพนิมิต อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 13 .วัดไผ่ดำเจริญศุข อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 14. วัดพระธาตุห้าดวง อ.ลี้ จ.ลำพูน (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 15. วัดแพรกวังตะเคียน อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 16. วัดโพธิ์เฉลิมรักษ์ อ.บางน้ำน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 17. วัดเยื้องคงคาราม อ.ไชโย จ.อ่างทอง (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 18. วัดราษฎร์ศรัทธาทำ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 19. วัดวีระโชติธรรมาราม อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 20. วัดศรีเบญจคาลัย อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,541
    วันอังคาร: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (8 October 2024)

    รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 2/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    11. วัดป่ามหาญาณ อ.เมือง จ.ตรัง
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    12. วัดผาเทพนิมิต อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    13 .วัดไผ่ดำเจริญศุข อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    14. วัดพระธาตุห้าดวง อ.ลี้ จ.ลำพูน
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    15. วัดแพรกวังตะเคียน อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    16. วัดโพธิ์เฉลิมรักษ์ อ.บางน้ำน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    17. วัดเยื้องคงคาราม อ.ไชโย จ.อ่างทอง
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    18. วัดราษฎร์ศรัทธาทำ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    19. วัดวีระโชติธรรมาราม อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    20. วัดศรีเบญจคาลัย อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,541 วันอังคาร: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ (8 October 2024) รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 2/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 11. วัดป่ามหาญาณ อ.เมือง จ.ตรัง (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 12. วัดผาเทพนิมิต อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 13 .วัดไผ่ดำเจริญศุข อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 14. วัดพระธาตุห้าดวง อ.ลี้ จ.ลำพูน (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 15. วัดแพรกวังตะเคียน อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 16. วัดโพธิ์เฉลิมรักษ์ อ.บางน้ำน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 17. วัดเยื้องคงคาราม อ.ไชโย จ.อ่างทอง (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 18. วัดราษฎร์ศรัทธาทำ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 19. วัดวีระโชติธรรมาราม อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 20. วัดศรีเบญจคาลัย อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันนี้ไปศูนย์สิริกิติ์ ไปดูงาน SX Sustainability Expo ที่ปกติเน้นไปเดินกินข้าวที่ชั้นล่าง 😆

    แต่ปีนี้มีส่วนจัดแสดงบอร์ดโครงการ The Ten ของ วปอ. 66 เลยไปเดินดูงานด้านบนก่อน แล้วไปเจอ ส่วนจัดแสดงของโรงเรียนมีชัยพัฒนา (Meechai Bamboo School) ซึ่งมีเด็กนักเรียนยืนอยู่ 4-5 คน กับบอร์ดภาพเกี่ยวกับการเษตร และ ชุมชน

    ผมถามเด็กๆว่า ที่ร.ร.ทำอะไรกัน เพราะใจสงสัยว่าทำไมถึงมีร.ร.นี้แห่งเดียวที่มาออกงาน แถมชื่อก็แปลกๆ เกี่ยวอะไรกับไม้ไผ่

    น้อง ๆ เล่าว่า ร.ร.ของเขาตั้งอยู่ที่จ.บุรีรัมย์เป็นโรงเรียนประจำของเอกชน มีสอนทำเกษตร กับ มีกิจกรรมช่วยเหลือชุมชน นอกจากสอนวิชาทั่วไป

    ผมก็คิดว่า อ๋อ คงเป็นร.ร.เอกชนนานาชาติ เหมือนในกรุงเทพฯกระมัง เลยถามต่อว่าค่าเทอมเท่าไหร่?

    เด็กๆตอบว่าเรียนฟรีค่ะ! ผมก็งง ว่าทำไมถึงเรียนฟรี?

    น้องบอกว่า ร.ร.นี้ เปิดมา 15 ปีแล้ว ทั้งร.ร.สร้างด้วยไม้ไผ่ นักเรียนทุกคนต้องจ่ายค่าเทอมเป็นการทำดีให้กับชุมชน รวมถึงทำกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียนตามความรับผิดชอบของตัวเอง มีนักเรียน ม.1-ม.6 ระดับชั้นละ 20 กว่าคน มีครู 10 กว่าคน โดยให้นักเรียนกินนอนที่ร.ร. ไม่ให้กลับบ้านจนกว่าจะปิดเทอม และห้ามนักเรียนใช้โทรศัพท์

    ผมก็ถามว่า แล้วอยู่กันยังไง ไม่เหงาเหรอ?

    น้องตอบกลับว่า หนูมีหนังสือต่างๆให้อ่านเยอะแยะ และ แต่ละวันมีกิจกรรมให้ทำมากมาย และที่ร.ร.ก็กำหนดให้นักเรียนร่วมกันจัดการบริหารดูแลร.ร.กันเอง โดยมีคุณครูช่วยให้คำแนะนำ เรียกว่าทั้งฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายตรวจรับ และฝ่ายต่าง ๆ ของร.ร.ถูกดูแลโดยนักเรียนเอง มีแค่งานครัวที่มีแม่ครัวเป็นคนปรุงอาหารให้กิน

    น้อง ๆ เขาคิดว่า ชีวิตของเขามีกิจกรรมอื่นให้ทำมากกว่าจะมานั่งเล่นโทรศัพท์เลยไม่ติดเกม ติดซีรี่ส์แบบเด็กวัยเดียวกัน

    ตลอด 15 ปีที่ผ่านมา พี่ ๆ ที่จบไปมักจะเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้ทุกคน และมักจะติดตั้งแต่รอบ Portfolio และส่วนใหญ่จะเรียนต่อมหาวิทยาลัยใกล้บ้าน ทั้งด้านเกษตร หรือด้านบริหารก็มี เพราะนักเรียนจะมีทั้งเด็กในจังหวัดบุรีรัมย์ และ ใกล้เคียง แต่ก็มีบางคนที่มาจาก เวียดนาม หรือ เป็นเด็กชาติพันธุ์จากกาญจนบุรี / แม่ฮ่องสอน

    ฟังน้อง ๆ เล่าแล้วผมถึงกับอึ้งกับแนวคิดของ ผ.อ. ซึ่งก็คือ อ.มีชัย วีระไวทยะ แถมยังอยากเขกหัวตัวเองว่า ไม่รู้จักโรงเรียนนี้ได้ยังไง แต่ก็ได้คำตอบว่า ทำไม ผู้จัดงานถึงได้เลือกโรงเรียนนี้มาจัดนิทรรศการในงานนี้

    งานนี้น่าจะจัดถึงวันอาทิตย์ที่ 6 ต.ค. หากมีเวลาอยากชวนให้ไปดูงานนี้ แล้วไปฟังน้อง ๆ เล่าถึงโรงเรียนของเขากันนะครับ ❤️
    วันนี้ไปศูนย์สิริกิติ์ ไปดูงาน SX Sustainability Expo ที่ปกติเน้นไปเดินกินข้าวที่ชั้นล่าง 😆 แต่ปีนี้มีส่วนจัดแสดงบอร์ดโครงการ The Ten ของ วปอ. 66 เลยไปเดินดูงานด้านบนก่อน แล้วไปเจอ ส่วนจัดแสดงของโรงเรียนมีชัยพัฒนา (Meechai Bamboo School) ซึ่งมีเด็กนักเรียนยืนอยู่ 4-5 คน กับบอร์ดภาพเกี่ยวกับการเษตร และ ชุมชน ผมถามเด็กๆว่า ที่ร.ร.ทำอะไรกัน เพราะใจสงสัยว่าทำไมถึงมีร.ร.นี้แห่งเดียวที่มาออกงาน แถมชื่อก็แปลกๆ เกี่ยวอะไรกับไม้ไผ่ น้อง ๆ เล่าว่า ร.ร.ของเขาตั้งอยู่ที่จ.บุรีรัมย์เป็นโรงเรียนประจำของเอกชน มีสอนทำเกษตร กับ มีกิจกรรมช่วยเหลือชุมชน นอกจากสอนวิชาทั่วไป ผมก็คิดว่า อ๋อ คงเป็นร.ร.เอกชนนานาชาติ เหมือนในกรุงเทพฯกระมัง เลยถามต่อว่าค่าเทอมเท่าไหร่? เด็กๆตอบว่าเรียนฟรีค่ะ! ผมก็งง ว่าทำไมถึงเรียนฟรี? น้องบอกว่า ร.ร.นี้ เปิดมา 15 ปีแล้ว ทั้งร.ร.สร้างด้วยไม้ไผ่ นักเรียนทุกคนต้องจ่ายค่าเทอมเป็นการทำดีให้กับชุมชน รวมถึงทำกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียนตามความรับผิดชอบของตัวเอง มีนักเรียน ม.1-ม.6 ระดับชั้นละ 20 กว่าคน มีครู 10 กว่าคน โดยให้นักเรียนกินนอนที่ร.ร. ไม่ให้กลับบ้านจนกว่าจะปิดเทอม และห้ามนักเรียนใช้โทรศัพท์ ผมก็ถามว่า แล้วอยู่กันยังไง ไม่เหงาเหรอ? น้องตอบกลับว่า หนูมีหนังสือต่างๆให้อ่านเยอะแยะ และ แต่ละวันมีกิจกรรมให้ทำมากมาย และที่ร.ร.ก็กำหนดให้นักเรียนร่วมกันจัดการบริหารดูแลร.ร.กันเอง โดยมีคุณครูช่วยให้คำแนะนำ เรียกว่าทั้งฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายตรวจรับ และฝ่ายต่าง ๆ ของร.ร.ถูกดูแลโดยนักเรียนเอง มีแค่งานครัวที่มีแม่ครัวเป็นคนปรุงอาหารให้กิน น้อง ๆ เขาคิดว่า ชีวิตของเขามีกิจกรรมอื่นให้ทำมากกว่าจะมานั่งเล่นโทรศัพท์เลยไม่ติดเกม ติดซีรี่ส์แบบเด็กวัยเดียวกัน ตลอด 15 ปีที่ผ่านมา พี่ ๆ ที่จบไปมักจะเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้ทุกคน และมักจะติดตั้งแต่รอบ Portfolio และส่วนใหญ่จะเรียนต่อมหาวิทยาลัยใกล้บ้าน ทั้งด้านเกษตร หรือด้านบริหารก็มี เพราะนักเรียนจะมีทั้งเด็กในจังหวัดบุรีรัมย์ และ ใกล้เคียง แต่ก็มีบางคนที่มาจาก เวียดนาม หรือ เป็นเด็กชาติพันธุ์จากกาญจนบุรี / แม่ฮ่องสอน ฟังน้อง ๆ เล่าแล้วผมถึงกับอึ้งกับแนวคิดของ ผ.อ. ซึ่งก็คือ อ.มีชัย วีระไวทยะ แถมยังอยากเขกหัวตัวเองว่า ไม่รู้จักโรงเรียนนี้ได้ยังไง แต่ก็ได้คำตอบว่า ทำไม ผู้จัดงานถึงได้เลือกโรงเรียนนี้มาจัดนิทรรศการในงานนี้ งานนี้น่าจะจัดถึงวันอาทิตย์ที่ 6 ต.ค. หากมีเวลาอยากชวนให้ไปดูงานนี้ แล้วไปฟังน้อง ๆ เล่าถึงโรงเรียนของเขากันนะครับ ❤️
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 81 มุมมอง 0 รีวิว
  • #อุรณสวัสดิ์แฟนเพจคิงส์โพธิ์แดง
    เช้าๆแบบนี้ พี่คิงส์อยากคุยเรื่องแรงจูงใจสู่ความสำเร็จ
    แต่ละคน ล้วนแล้วแต่มีการตั้งเป้าหมายเพื่อให้ชีวิตไปถึงจุด
    ที่เป็นความต้องการ บ้างก็อยากมีตำแหน่งหน้าที่การงานที่ดี
    บ้างก็อยากมีทรัพย์สินเงินทองเยอะๆ บ้างขอเพียงแค่อยู่อย่างไม่ลำบาก
    แต่ต้องยอมรับว่า สำหรับตัวละครหนึ่ง
    ในนิทานเรื่อง "ชาวนากับงูจอมหงี่"
    ตัวละครหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากคือ ปี๋หน้าเห็ด
    ซึ่ง เค้าก็มีเป้าหมายที่ชัดเจน ชนิดที่เค้าเองก็ไม่เคยออกมาปฏิเสธ
    มีความชัดเจนถึงจุดยืน
    ในสมัยก่อนที่มีอาชีพขี่เกวียนเวียนส่งผักส่งปลาในพื้นที่เมืองแห่งการเริ่มต้น
    ปี๋หน้าเห็นสร้างวีระกรรมไว้อย่างโชกโชน โดยเฉพาะเรื่องการฉุด การหาเศษหาเลยกับแม่นางในเมือง จนเป็นที่โจษจันกันอย่างกว้างขวาง ถ้าปี๋ ขี่เกวียนมา บรรดาประชาชนต่างกันแตกตื่น ต้องปิดบ้านปิดเรือนล็อคบ้านให้เรียบร้อย
    ปี๋หน้าเห็ด มักอ้างว่าตนเองมีพี่เป็นจองหงวน ซึ่งถ้าจริง ครอบครัวปี๋หน้าเห็ดก็ควรตรวจดีเอ็นเอ เพราะทั้งหน้าตาและสมองช่างต่างกับพี่เสียเหลือเกิน แต่ถ้าไม่จริง ก็เป็นเรื่องอัปยศที่สร้างไว้เพื่อหวังให้ผู้อื่นยำเกรง
    ปี๋หน้าเห็ด ขี่เกวียนเวียนส่งผัก ช่างกล้านัก ลูกค้าฝากเงินค่าผักไปให้แม่ค้า ปี๋หน้าเห็ด เชิดหน้าตาเฉย จนทำให้ผู้คนต่างตามล่าหาตัวกันทั่วเมืองแห่งการเริ่มต้น นั่นคือความเป็นโจนที่มีอยู่ในตัวปี๋ อย่างเต็มระบบ
    -สำหรับคนแบบปี๋ ก็ทำให้ต้องมาขุดตัวละครนี้ ให้ลึกไปอีกว่า เงินที่หามา จากการขี่เกวียน และที่เชิดไปนั้นเอาไปไหน กลับพบว่า ปี๋หน้าเห็น เป็นคนที่มมีกำหนัดสูงปรี๊ด ถ้าไม่มีตังค์ ปี๋ จะใช้การสำเร็จโทษด้วยแม่นางทั้งห้า แต่ถ้าปี๋ได้ตังค์มาจากใดๆ ก็จะต้องไปหาสำนักโคมเขียว เพื่อระบายน้ำเน่าในตัว ดังนั้นสำหรับตัวละครตัวนี้
    แรงจูงใจในการชับเคลื่อนชีวิต คือ เพื่อพี่เท่านั้น พี่ไม่ใช่หมายถึงพี่ชายพี่สาว หรือพี่จีมันทโน แต่เป็น "พี่เหือ"
    วีรกรรมของตัวละครนี้ยังมีอีกเยอะ ไว้ค่อยๆเป็นค่อยๆไป
    เพราะนิทานเรื่องนี้ คงอีกหลายพีอี กว่าจะจบ
    เดี๋ยวรอติดตาม EP4 เจาะเทพในวังศรีธัญญ่าตัวสำคัญอีก 1 ตัว
    ที่พี่คิงส์ใบให้ทายเมื่อวานไปแล้ว
    รอติดตาม
    #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #อุรณสวัสดิ์แฟนเพจคิงส์โพธิ์แดง เช้าๆแบบนี้ พี่คิงส์อยากคุยเรื่องแรงจูงใจสู่ความสำเร็จ แต่ละคน ล้วนแล้วแต่มีการตั้งเป้าหมายเพื่อให้ชีวิตไปถึงจุด ที่เป็นความต้องการ บ้างก็อยากมีตำแหน่งหน้าที่การงานที่ดี บ้างก็อยากมีทรัพย์สินเงินทองเยอะๆ บ้างขอเพียงแค่อยู่อย่างไม่ลำบาก แต่ต้องยอมรับว่า สำหรับตัวละครหนึ่ง ในนิทานเรื่อง "ชาวนากับงูจอมหงี่" ตัวละครหนึ่งที่ได้รับความสนใจมากคือ ปี๋หน้าเห็ด ซึ่ง เค้าก็มีเป้าหมายที่ชัดเจน ชนิดที่เค้าเองก็ไม่เคยออกมาปฏิเสธ มีความชัดเจนถึงจุดยืน ในสมัยก่อนที่มีอาชีพขี่เกวียนเวียนส่งผักส่งปลาในพื้นที่เมืองแห่งการเริ่มต้น ปี๋หน้าเห็นสร้างวีระกรรมไว้อย่างโชกโชน โดยเฉพาะเรื่องการฉุด การหาเศษหาเลยกับแม่นางในเมือง จนเป็นที่โจษจันกันอย่างกว้างขวาง ถ้าปี๋ ขี่เกวียนมา บรรดาประชาชนต่างกันแตกตื่น ต้องปิดบ้านปิดเรือนล็อคบ้านให้เรียบร้อย ปี๋หน้าเห็ด มักอ้างว่าตนเองมีพี่เป็นจองหงวน ซึ่งถ้าจริง ครอบครัวปี๋หน้าเห็ดก็ควรตรวจดีเอ็นเอ เพราะทั้งหน้าตาและสมองช่างต่างกับพี่เสียเหลือเกิน แต่ถ้าไม่จริง ก็เป็นเรื่องอัปยศที่สร้างไว้เพื่อหวังให้ผู้อื่นยำเกรง ปี๋หน้าเห็ด ขี่เกวียนเวียนส่งผัก ช่างกล้านัก ลูกค้าฝากเงินค่าผักไปให้แม่ค้า ปี๋หน้าเห็ด เชิดหน้าตาเฉย จนทำให้ผู้คนต่างตามล่าหาตัวกันทั่วเมืองแห่งการเริ่มต้น นั่นคือความเป็นโจนที่มีอยู่ในตัวปี๋ อย่างเต็มระบบ -สำหรับคนแบบปี๋ ก็ทำให้ต้องมาขุดตัวละครนี้ ให้ลึกไปอีกว่า เงินที่หามา จากการขี่เกวียน และที่เชิดไปนั้นเอาไปไหน กลับพบว่า ปี๋หน้าเห็น เป็นคนที่มมีกำหนัดสูงปรี๊ด ถ้าไม่มีตังค์ ปี๋ จะใช้การสำเร็จโทษด้วยแม่นางทั้งห้า แต่ถ้าปี๋ได้ตังค์มาจากใดๆ ก็จะต้องไปหาสำนักโคมเขียว เพื่อระบายน้ำเน่าในตัว ดังนั้นสำหรับตัวละครตัวนี้ แรงจูงใจในการชับเคลื่อนชีวิต คือ เพื่อพี่เท่านั้น พี่ไม่ใช่หมายถึงพี่ชายพี่สาว หรือพี่จีมันทโน แต่เป็น "พี่เหือ" วีรกรรมของตัวละครนี้ยังมีอีกเยอะ ไว้ค่อยๆเป็นค่อยๆไป เพราะนิทานเรื่องนี้ คงอีกหลายพีอี กว่าจะจบ เดี๋ยวรอติดตาม EP4 เจาะเทพในวังศรีธัญญ่าตัวสำคัญอีก 1 ตัว ที่พี่คิงส์ใบให้ทายเมื่อวานไปแล้ว รอติดตาม #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 994 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ประเทศไทยยังมีทะนายดีๆอีกเพียบที่พร้อมยืนข้างคนไทยทุกคน
    "หากท่านใดโดนฟ้องคดีที่เกี่ยวกับน้องผู้หญิง
    ตอนนี้มีทีม "ท-น-า-ย" ช่วยว่าความให้ฟรีนะครับ
    ติดต่อได้ที่ท-น-า-ยวีระ มานะกิจจานนะครับ"
    อย่างว่านะครับ ทุกวงการ มีดี มีซั่วครับ
    #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #ประเทศไทยยังมีทะนายดีๆอีกเพียบที่พร้อมยืนข้างคนไทยทุกคน "หากท่านใดโดนฟ้องคดีที่เกี่ยวกับน้องผู้หญิง ตอนนี้มีทีม "ท-น-า-ย" ช่วยว่าความให้ฟรีนะครับ ติดต่อได้ที่ท-น-า-ยวีระ มานะกิจจานนะครับ" อย่างว่านะครับ ทุกวงการ มีดี มีซั่วครับ #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Love
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 598 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กางเขนแดงหัวใจขาว"
    ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล
    ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม
    ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก
    - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    - โรงพยาบาลยันฮี
    - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
    .
    "กางเขนแดงหัวใจขาว" ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - โรงพยาบาลยันฮี - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 754 มุมมอง 126 0 รีวิว
  • "ศิลปาชีพ"
    ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล
    ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์
    ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร
    ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ศิลปาชีพ" ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์ ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 695 มุมมอง 138 0 รีวิว
  • "กายเราคือเสาหลัก"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี
    ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "กายเราคือเสาหลัก" ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 675 มุมมอง 119 0 รีวิว
  • "คนโขน"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย
    ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่
    ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "คนโขน" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 669 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ภาพพันปี"
    ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม
    ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล
    ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ
    ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "ภาพพันปี" ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 680 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ
    ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า
    .
    ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย..
    .
    คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า)
    น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ)
    น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง)
    ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ)
    น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่)
    คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่
    เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง
    โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย
    ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่
    คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า
    ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา
    .
    "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า . ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย.. . คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า) น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ) น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง) ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ) น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่) คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่ เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่ คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 781 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "โพธิ์ทองของปวงไทย"
    ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์)
    ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย
    ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้
    ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej
    และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ
    .
    "โพธิ์ทองของปวงไทย" ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์) ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้ ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ .
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 722 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ"
    ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช
    ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 679 มุมมอง 80 0 รีวิว
  • "สุดหัวใจ"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล,
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล,
    ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "สุดหัวใจ" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล, เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล, ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 650 มุมมอง 81 0 รีวิว
  • "เพลงไหมแพรวา"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ,
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช
    ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน
    ปรัชญา นันธะชัย : แคน
    ==========================
    .
    ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "เพลงไหมแพรวา" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ, เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน ปรัชญา นันธะชัย : แคน ========================== . ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 658 มุมมอง 58 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 841 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts