• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการถูกตราหน้าตามเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 191
    ชื่อบทธรรม :- การถูกตราหน้าเพราะตายตามเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=191
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การถูกตราหน้าเพราะตายตามเบญจขันธ์
    --ถูกแล้ว ภิกษุ ! ถูกแล้ว ภิกษุ ! เธอเข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวโดยย่อ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/45/?keywords=อนุมิยฺยติ
    (ว่าถ้ามีอนุสัยในสิ่งใด ย่อมตายไปตามสิ่งนั้น ;
    ตายตามสิ่งใดไปย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น),
    ได้ โดยพิสดาร อย่างถูกต้องแล้ว.
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัย ใน รูป, เขาย่อมตายไปตามรูปนั้น,
    ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน เวทนา, เขาย่อมตายไปตามเวทนานั้น,
    ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน สัญญา, เขาย่อมตายไปตามสัญญานั้น,
    ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน สังขารทั้งหลาย, เขาย่อมตายไปตามสังขารนั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน วิญญาณ, เขาย่อมตายไปตามวิญญาณนั้น,
    ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น.

    (ปฏิปักขนัย)
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน รูป, เขาย่อมไม่ตายไปตามรูปนั้น,
    ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน เวทนา, เขาย่อมไม่ตายไปตามเวทนานั้น,
    ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน สัญญา, เขาย่อมไม่ตายไปตามสัญญานั้น,
    ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปอนุสัยใน สังขารทั้งหลาย, เขาย่อมไม่ตายไปตามสังขารนั้น,
    ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ;
    --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน วิญญาณ, เขาย่อมไม่ตายไปตามวิญญาณนั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ! เนื้อความแห่งภาษิตอันเรากล่าวแล้วโดยย่อนี้ ใคร ๆพึงเห็นโดยพิสดาร
    ดังนี้เถิด.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/36/78.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/36/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๔๕/๗๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/45/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=191
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=191
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการถูกตราหน้าตามเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 191 ชื่อบทธรรม :- การถูกตราหน้าเพราะตายตามเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=191 เนื้อความทั้งหมด :- --การถูกตราหน้าเพราะตายตามเบญจขันธ์ --ถูกแล้ว ภิกษุ ! ถูกแล้ว ภิกษุ ! เธอเข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวโดยย่อ http://etipitaka.com/read/pali/17/45/?keywords=อนุมิยฺยติ (ว่าถ้ามีอนุสัยในสิ่งใด ย่อมตายไปตามสิ่งนั้น ; ตายตามสิ่งใดไปย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น), ได้ โดยพิสดาร อย่างถูกต้องแล้ว. --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัย ใน รูป, เขาย่อมตายไปตามรูปนั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน เวทนา, เขาย่อมตายไปตามเวทนานั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน สัญญา, เขาย่อมตายไปตามสัญญานั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน สังขารทั้งหลาย, เขาย่อมตายไปตามสังขารนั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน วิญญาณ, เขาย่อมตายไปตามวิญญาณนั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น. (ปฏิปักขนัย) --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน รูป, เขาย่อมไม่ตายไปตามรูปนั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน เวทนา, เขาย่อมไม่ตายไปตามเวทนานั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน สัญญา, เขาย่อมไม่ตายไปตามสัญญานั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปอนุสัยใน สังขารทั้งหลาย, เขาย่อมไม่ตายไปตามสังขารนั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; --ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน วิญญาณ, เขาย่อมไม่ตายไปตามวิญญาณนั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น. --ภิกษุ ! เนื้อความแห่งภาษิตอันเรากล่าวแล้วโดยย่อนี้ ใคร ๆพึงเห็นโดยพิสดาร ดังนี้เถิด.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/36/78. http://etipitaka.com/read/thai/17/36/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๔๕/๗๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/45/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=191 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=191 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การถูกตราหน้าเพราะตายตามเบญจขันธ์
    -การถูกตราหน้าเพราะตายตามเบญจขันธ์ ถูกแล้ว ภิกษุ ! ถูกแล้ว ภิกษุ ! เธอเข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวโดยย่อ (ว่าถ้ามีอนุสัยในสิ่งใด ย่อมตายไปตามสิ่งนั้น ; ตายตามสิ่งใดไปย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น), ได้ โดยพิสดาร อย่างถูกต้องแล้ว. ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัย ใน รูป, เขาย่อมตายไปตามรูปนั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน เวทนา, เขาย่อมตายไปตามเวทนานั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน สัญญา, เขาย่อมตายไปตามสัญญานั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน สังขารทั้งหลาย, เขาย่อมตายไปตามสังขารนั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตเข้าไปมีอนุสัยใน วิญญาณ, เขาย่อมตายไปตามวิญญาณนั้น, ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น. (ปฏิปักขนัย) ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน รูป, เขาย่อมไม่ตายไปตามรูปนั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน เวทนา, เขาย่อมไม่ตายไปตามเวทนานั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน สัญญา, เขาย่อมไม่ตายไปตามสัญญานั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปอนุสัยใน สังขารทั้งหลาย, เขาย่อมไม่ตายไปตามสังขารนั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น ; ภิกษุ ! ถ้าบุคคลมีจิตไม่เข้าไปมีอนุสัยใน วิญญาณ, เขาย่อมไม่ตายไปตามวิญญาณนั้น, ไม่ตายตามสิ่งใดไป, เขาย่อมไม่ถูกตราหน้า เพราะสิ่งนั้น. ภิกษุ ! เนื้อความแห่งภาษิตอันเรากล่าวแล้วโดยย่อนี้ ใคร ๆพึงเห็นโดยพิสดาร ดังนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 61 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    สัทธรรมลำดับที่ : 560
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    ...
    --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก
    เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา
    เป็นผู้รับใช้พระราชา
    ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม.
    ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ
    ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล
    ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ
    ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ
    ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ว่า
    “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น
    ภายในหรือภายนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี
    ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น
    #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ ;

    (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้ทุกขสมุทัย
    นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น :
    อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ
    ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สัทธรรมลำดับที่ : 560 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร ... --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.- #สัมมาทิฏฐิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196. http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    -ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ เป็นผู้ยิงได้ไกล เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกลเป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่อัตตาของเรา” ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำเป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มีสัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 604 มุมมอง 0 รีวิว
  • วิชชา ๓

    1. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
    2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การจุติ(เคลื่อน-การเกิด) และการอุบัติของสัตว์
    3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป


    อภิญญา ๖

    1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ เช่น หายตัว เหาะได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
    2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
    3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
    4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
    5. ทิพพจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
    6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป


    วิโมกข์ ๘
    1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
    2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
    3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
    4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
    5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
    6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
    7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
    8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ



    วิชชา ๘

    1 วิปัสสนาญาณ
    จิตเป็นสมาธิ ไม่มีกิเลส ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว เปรียบเหมือนช่างเจียรใน ที่เจียรแก้วอัน งามสมส่วนบริสุทธิ์ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก อุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ

    2 มโนมยิทธิญาณ
    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ นิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง เหมือนบุรุษชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดว่า นี้ดาบ นี้ฝัก

    3 อิทธิวิธญาณ
    มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ เหมือนช่างทองจะขึ้นรูปแบบใดก็ทำได้ เมื่อจิตเป็นสมาธิไม่หวั่น ไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี คือ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ ไม่ติดขัด

    4 ทิพยโสตญาณ
    หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ ย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้

    5 เจโตปริยญาณ
    เมื่อจิตเป็นสมาธิตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ เจโตปริยญาณ ย่อมรู้ใจของสัตว์อื่นของบุคคลอื่น คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมี โทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิตหลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น

    6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
    รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัป ว่าในภพโน้นเรามีโคตรอย่างนั้น

    7 จุตูปปาตญาณ
    ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรกหรือสววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไป เพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เห็นหมู่สัตว์ที่ กำลัง จุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์

    8 อาสวักขยญาณ
    รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
    วิชชา ๓ 1. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้ 2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การจุติ(เคลื่อน-การเกิด) และการอุบัติของสัตว์ 3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป อภิญญา ๖ 1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ เช่น หายตัว เหาะได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้ 2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา 3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้ 4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้ 5. ทิพพจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต 6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป วิโมกข์ ๘ 1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป 2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก 3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม 4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้ 5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้ 6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร 7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ 8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ วิชชา ๘ 1 วิปัสสนาญาณ จิตเป็นสมาธิ ไม่มีกิเลส ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว เปรียบเหมือนช่างเจียรใน ที่เจียรแก้วอัน งามสมส่วนบริสุทธิ์ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก อุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ 2 มโนมยิทธิญาณ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ นิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง เหมือนบุรุษชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดว่า นี้ดาบ นี้ฝัก 3 อิทธิวิธญาณ มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ เหมือนช่างทองจะขึ้นรูปแบบใดก็ทำได้ เมื่อจิตเป็นสมาธิไม่หวั่น ไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี คือ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ ไม่ติดขัด 4 ทิพยโสตญาณ หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ ย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ 5 เจโตปริยญาณ เมื่อจิตเป็นสมาธิตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ เจโตปริยญาณ ย่อมรู้ใจของสัตว์อื่นของบุคคลอื่น คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมี โทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิตหลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น 6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัป ว่าในภพโน้นเรามีโคตรอย่างนั้น 7 จุตูปปาตญาณ ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรกหรือสววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไป เพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เห็นหมู่สัตว์ที่ กำลัง จุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ 8 อาสวักขยญาณ รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 397 มุมมอง 0 รีวิว
  • ญาณ ๓ วิชชา ๓ อภิญญา 6 วิชชา ๘
    (เนื้อหาพอสังเขป)

    ญาณ ๓ วิชชา ๓
    1. ปุพเพนิวาสา - ระลึกชาติในอดีตได้
    2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การอุบัติของสัตว์
    3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำให้สิ้นอาสวะ

    อภิญญา ๖
    1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ หายตัวได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
    2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
    3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
    4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
    5. ทิพยจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
    6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป

    วิโมกข์ ๘
    1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
    2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
    3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
    4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
    5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
    6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
    7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
    8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ

    วิชชา ๘
    1 วิปัสสนาญาณ
    จิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ

    2 มโนมยิทธิญาณ
    จิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง

    3 อิทธิวิธญาณ
    มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุกำแพง ภูเขาไปได้ไม่ติดขัด

    4 ทิพยโสตญาณ
    หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ

    5 เจโตปริยญาณ
    เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมรู้ใจของสัตว์ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิต หลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น

    6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
    รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อระลึกชาติก่อนได้ ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง.. ว่าในภพโน้นเรามีชื่อ มีโคตรอย่างนั้น

    7 จุตูปปาตญาณ
    ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรก หรือ สววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์

    8 อาสวักขยญาณ
    รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
    ญาณ ๓ วิชชา ๓ อภิญญา 6 วิชชา ๘ (เนื้อหาพอสังเขป) ญาณ ๓ วิชชา ๓ 1. ปุพเพนิวาสา - ระลึกชาติในอดีตได้ 2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การอุบัติของสัตว์ 3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำให้สิ้นอาสวะ อภิญญา ๖ 1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ หายตัวได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้ 2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา 3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้ 4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้ 5. ทิพยจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต 6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป วิโมกข์ ๘ 1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป 2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก 3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม 4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้ 5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้ 6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร 7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ 8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ วิชชา ๘ 1 วิปัสสนาญาณ จิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ 2 มโนมยิทธิญาณ จิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง 3 อิทธิวิธญาณ มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุกำแพง ภูเขาไปได้ไม่ติดขัด 4 ทิพยโสตญาณ หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ 5 เจโตปริยญาณ เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมรู้ใจของสัตว์ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิต หลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น 6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อระลึกชาติก่อนได้ ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง.. ว่าในภพโน้นเรามีชื่อ มีโคตรอย่างนั้น 7 จุตูปปาตญาณ ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรก หรือ สววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ 8 อาสวักขยญาณ รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 397 มุมมอง 0 รีวิว

  • มหาสติปัฏฐานสูตร ฉบับ บาลีอักษรไทย(แปล)

    สัจจบรรพ

    (นำ) หันทะ มะยัง อะริยะสัจจะปัพพะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

    (รับ) ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
    - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

    ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ
    - ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่

    จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ
    - คือ อริยสัจ ๔

    กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ
    - ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่

    จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ
    - คือ อริยสัจ ๔ เป็นอย่างไรเล่า?

    อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
    - ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้

    อิทัง ทุกขันติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ
    - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์

    อะยัง ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ
    - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขสมุทัย

    อะยัง ทุกขะนิโรโธติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ
    - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขนิโรธ

    อะยัง ทุกขะนิโรคะคามินี ปะฏิปะทาติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ
    - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา

    กะตะมัญจะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง
    - ภิกษุทั้งหลาย ทุกขอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า?

    ชาติปิ ทุกขา
    - แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์

    ชะราปิ ทุกขา
    - แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์

    มะระณัมปิ ทุกขัง
    - แม้ความตายก็เป็นทุกข์

    โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา
    - แม้ความโศกความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย
    ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์

    อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข
    - ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์

    ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
    - ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์

    ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง
    - มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้นนั่นก็เป็นทุกข์

    สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา
    - โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า เป็นตัวทุกข์

    กะตะมา จะ ภิกขะเว ชาติ
    - ภิกษุทั้งหลาย ชาติ เป็นอย่างไรเล่า?

    ยาเตสัง เตสัง สัตตานิ ตัมหิ ตัมหิ สัตตะนิกาเย, ชาติ สัญชาติ โอกกันติ นิพพัตติ
    อะภินิพพัตติ ขันธานัง, ปาตุภาโว อายะตะนานัง ปะฏิลาโภ
    - การเกิด การกำเนิด การก้าวลง การเกิดจำเพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์
    การได้อายตนะครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของสัตว์เหล่านั้นๆ

    อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว ชาติ
    - ภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ชาติ
    มหาสติปัฏฐานสูตร ฉบับ บาลีอักษรไทย(แปล) สัจจบรรพ (นำ) หันทะ มะยัง อะริยะสัจจะปัพพะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ (รับ) ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ - คือ อริยสัจ ๔ กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ - คือ อริยสัจ ๔ เป็นอย่างไรเล่า? อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ อิทัง ทุกขันติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ อะยัง ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขสมุทัย อะยัง ทุกขะนิโรโธติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขนิโรธ อะยัง ทุกขะนิโรคะคามินี ปะฏิปะทาติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ - ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา กะตะมัญจะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง - ภิกษุทั้งหลาย ทุกขอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า? ชาติปิ ทุกขา - แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์ ชะราปิ ทุกขา - แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์ มะระณัมปิ ทุกขัง - แม้ความตายก็เป็นทุกข์ โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา - แม้ความโศกความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์ อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข - ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์ ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข - ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์ ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง - มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้นนั่นก็เป็นทุกข์ สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา - โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า เป็นตัวทุกข์ กะตะมา จะ ภิกขะเว ชาติ - ภิกษุทั้งหลาย ชาติ เป็นอย่างไรเล่า? ยาเตสัง เตสัง สัตตานิ ตัมหิ ตัมหิ สัตตะนิกาเย, ชาติ สัญชาติ โอกกันติ นิพพัตติ อะภินิพพัตติ ขันธานัง, ปาตุภาโว อายะตะนานัง ปะฏิลาโภ - การเกิด การกำเนิด การก้าวลง การเกิดจำเพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ การได้อายตนะครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของสัตว์เหล่านั้นๆ อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว ชาติ - ภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ชาติ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 114 มุมมอง 0 รีวิว