• ยูเลีย สวีรีเดนโก (Yulia Svyrydenko) รองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง และรมต.กระทรวงเศรษฐกิจและการค้ายูเครน ประกาศการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum) เกี่ยวกับข้อตกลงด้านแร่ธาตุกับสหรัฐแล้ว (บันทึกความเข้าใจยังไม่มีผลผูกพันธ์ทางกฎหมาย)

    สวีรีเดนโก กล่าวอีกว่า ทั้งสองประเทศจะเร่งสรุปกรอบของข้อตกลงด้านแร่ธาตุและลงนามในข้อตกลงอย่างเป็นทางการต่อไป


    ทางด้านเซเลนสกีได้ยืนยันถึงการลงนามตามบันทึกความเข้าใจครั้งนี้ (Memorandum) และยังกล่าวอีกว่า "นี่ยังไม่ใช่ข้อตกลงขั้นตอนสุดท้ายที่แท้จริง"

    ขณะเดียวกันทรัมป์ได้กล่าวในวันนี้ว่า ข้อตกลงขั้นสุดท้ายกับยูเครนในเรื่องทรัพยากรแร่ธาตุจะมีการ "ลงนามข้อตกลง" ในวันพฤหัสบดีหน้านี้


    เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว The New York Times เปิดเผยเกี่ยวกับรายละเอียดบางส่วนของข้อตกลงแร่ธาตุระหว่างสหรัฐฯและยูเครน โดยระบุว่า:

    ยูเครนจะต้องคืนเงินหลายพันล้านดอลลาร์ที่สหรัฐส่งความช่วยเหลือทางการทหารตลอดระยะเวลา 3 ปีของการต่อสู้กับรัสเซียให้แก่สหรัฐฯ

    ยูเครนจะต้องแบ่งรายได้ครึ่งหนึ่งของรายได้ทั้งหมดจากการทำธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งรายได้จากโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน เช่น ท่าเรือ ท่อส่งน้ำมันและก๊าซ เข้ากองทุนที่สหรัฐกำลังจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการนำเงินส่วนนี้ไปลงทุนต่อในด้านโครงการทรัพยากรธรรมชาติของยูเครน แต่ยังไม่ได้ระบุแน่ชัดว่าสหรัฐจะร่วมลงทุนในสัดส่วนเท่าไหร่

    ข้อตกลงนี้จะมีผลบังคับใช้ไปจนกว่ายูเครนจะคืนเงินค่าใช้จ่ายความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐฯ พร้อมดอกเบี้ย 4% ต่อปี

    นอกจากนี้ โครงการดังกล่าวไม่ได้กล่าวถึงการรับประกันความปลอดภัยสำหรับยูเครน แม้ว่าฝ่ายยูเครนจะเคยยืนยันหนักแน่นว่าจะต้องรวมข้อกำหนดนี้ไว้ในข้อตกลงแร่ธาตุด้วยก็ตาม

    ยูเลีย สวีรีเดนโก (Yulia Svyrydenko) รองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง และรมต.กระทรวงเศรษฐกิจและการค้ายูเครน ประกาศการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum) เกี่ยวกับข้อตกลงด้านแร่ธาตุกับสหรัฐแล้ว (บันทึกความเข้าใจยังไม่มีผลผูกพันธ์ทางกฎหมาย) สวีรีเดนโก กล่าวอีกว่า ทั้งสองประเทศจะเร่งสรุปกรอบของข้อตกลงด้านแร่ธาตุและลงนามในข้อตกลงอย่างเป็นทางการต่อไป ทางด้านเซเลนสกีได้ยืนยันถึงการลงนามตามบันทึกความเข้าใจครั้งนี้ (Memorandum) และยังกล่าวอีกว่า "นี่ยังไม่ใช่ข้อตกลงขั้นตอนสุดท้ายที่แท้จริง" ขณะเดียวกันทรัมป์ได้กล่าวในวันนี้ว่า ข้อตกลงขั้นสุดท้ายกับยูเครนในเรื่องทรัพยากรแร่ธาตุจะมีการ "ลงนามข้อตกลง" ในวันพฤหัสบดีหน้านี้ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว The New York Times เปิดเผยเกี่ยวกับรายละเอียดบางส่วนของข้อตกลงแร่ธาตุระหว่างสหรัฐฯและยูเครน โดยระบุว่า: ยูเครนจะต้องคืนเงินหลายพันล้านดอลลาร์ที่สหรัฐส่งความช่วยเหลือทางการทหารตลอดระยะเวลา 3 ปีของการต่อสู้กับรัสเซียให้แก่สหรัฐฯ ยูเครนจะต้องแบ่งรายได้ครึ่งหนึ่งของรายได้ทั้งหมดจากการทำธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งรายได้จากโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน เช่น ท่าเรือ ท่อส่งน้ำมันและก๊าซ เข้ากองทุนที่สหรัฐกำลังจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการนำเงินส่วนนี้ไปลงทุนต่อในด้านโครงการทรัพยากรธรรมชาติของยูเครน แต่ยังไม่ได้ระบุแน่ชัดว่าสหรัฐจะร่วมลงทุนในสัดส่วนเท่าไหร่ ข้อตกลงนี้จะมีผลบังคับใช้ไปจนกว่ายูเครนจะคืนเงินค่าใช้จ่ายความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐฯ พร้อมดอกเบี้ย 4% ต่อปี นอกจากนี้ โครงการดังกล่าวไม่ได้กล่าวถึงการรับประกันความปลอดภัยสำหรับยูเครน แม้ว่าฝ่ายยูเครนจะเคยยืนยันหนักแน่นว่าจะต้องรวมข้อกำหนดนี้ไว้ในข้อตกลงแร่ธาตุด้วยก็ตาม
    0 Comments 0 Shares 262 Views 0 Reviews
  • ..จริงช่วงเวลานี้ นายกฯพระราชทานต้องเบอร์1 &ยืนพื้นก่อกำเนิดจริงๆจึงจะพลิกชาติกอบกู้อธิปไตยของแผ่นดินไทยจริงๆได้,เป็นต้นว่ายึดคืนสมบัติทรัพยากรธรรมชาติมีค่าจากที่เอกชนไทยและเอกชนต่างชาติผูกขาดทั้งหมดไปเอากลับคืนมาทั้งหมดได้,เพื่อแผ่นดินไทยจะมีสิทธิ์100%จริงในวัตถุดิบของตนเพื่อการสร้างชาติไทยของแท้และของจริงในอนาคตมิใช่แบบในปัจจุบัน.,บ่อน้ำมันไม่เป็นของตนเลยถูกบังคับไปให้สัมปทานบ่อน้ำมันอีก,บ่อทองคำก็ไม่ขุดเข้าคลังกลางตนเองให้เข้มแข็งถูกปล้นชิงยกให้เขาไปอีก แค่สองอย่างนี้ เด็กๆเยาวชนไทยเล่าเรียนฟรีๆไม่ต้องกู้ตัง กยศ.เรียนเป็นหนี้ก็ได้ คนเป็นหนีัเรียน อนาคตล่ารายชื่อตั้งพรรคขึ้นไปเป็นนายกฯเองบริหารเองยึดประเทศคืนก็น่าจะได้ น่าจะไม่ต่ำกว่า10-20ล้านคน รวมพ่อแม่ญาติพี่น้องเขาด้วย สบายต่อการตั้งพรรค การเลือกกานายกฯกาตรงเลือกตรงได้สบาย."พรรคปลดหนี้" นโยบาย ล้างหนี้คนไทยทุกๆคนโดยเฉพาะหนี้เล่าเรียนลูกหลานคนไทย เรียนฟรีตามใจต้องการ ยุบ กยศ.ก็ว่า.พวกโกงกินขายชาติถ้าเอาจริงๆนะตังที่สูญเสียไปกับคนพวกนี้เยอะมาก,บ่อน้ำมัน บ่อทองคำ ขายเองตังเข้าแผ่นดินไทยมหาศาลแน่นอนในนามรัฐบาลพรรคปลดหนี้.

    ..นักการเมืองจะมาทางสายใครก็ไม่สมควรในช่วงวิกฤติสงครามพันทางทั่วโลกนี้ อาทิฝรั่งจะรบกับเอเชียก็ว่า ทัังทางตังคือเศรษฐกิจ และทางตังเพื่อฆ่าเจ้าหนี้แบบจีนโดยอเมริกาสั่งล้างเจ้าหนีัจีนเองก็ว่า จนสาระพัดสงครามจะสงครามเข็มเชื้อโรค สงครามระเบิดบูมกันจริงๆแบบตัวแทนสู่w3.

    ..คือถ้ายุติบทบาทนักเลือกตั้งไม่ได้คือหยุดมิให้ภาคนักการเมืองสรัางความวุ่นวายโกลาหลไม่สิ้นสุดหรือหยุดละครลิงทั้งสภาไม่ทัน ไม่จริงจังพังงานพวกแหกตาปาหี่ให้ชาติเสียอธิปไตยไปเรื่อยๆไม่ได้ เช่น เสียอธิปไตยที่ดินให้ต่างชาติซื้อได้ไร่ละ40ล้านบาท ใช้สิทธิ์boiครองได้35ไร่ต่อคน ,เช่าที่ดินบนแผ่นดินไทยได้99ปี หรือสิทธิ์อธิปไตยเหนือการปกครองผ่านการลงทุน&ย้ายฐานมาลงทุนในไทย เป็นต้น เหล่านี้ล้วนฝีมือภาคนักการเมืองอ้างใช้ผ่านสภาก่อการให้ชอบทั้งสิ้น,หากทั้งแผ่นดินไทยเราไม่เห็นภัยร้ายนี้ให้ชัดเจนจะล่มสลายสิ้นชาติไทยแน่นอนหรือกลืนกินสิ้นก็ว่า,ซึ่งน่าเสียดายมาก ด้วยเวลาในปัจจุบันเรายุติสิ่งชั่วเลวนี้ได้ ตัดตอนมันได้,คืนอิสระภาพอธิปไตยสู่ทุกๆคนไทยและแผ่นดินไทยได้จริง มิใช่พึงพิงไม่กี่โคตรเหง้าไม่กี่เชื้อวงศ์ตระกูล,ถึงเวลาที่คนไทยได้รับการกระจายความมั่งคั่งและความร่ำรวยทั้งทางวัตถุธาตุทางโลกและร่ำรวยเจริญจิจเจริญใจหรือยกจิตยกใจคู่ขนานความมั่งคั่งร่ำรวยทางกายได้แล้ว,มิให้จมปรักในความยากจนกายทุกข์ใจดักดานมั่นคงในปัจจุบันหรือตั้งใจปกครองด้วยวิถีคณะกบฎ2475นี้มั่นคงดักดานนั้นเอง.,

    ..วิถีปกครองต้องเปลี่ยนแปลงจริงๆ ที่มิใช่แบบฝรั่งตัดให้เราใส่หรือซาตานแรปทีเลี่ยนออกแบบให้ใส่,ยุคเราอารยะใจอารยะทางสติปัญญาสมควรแก่จังหวะเวลาแล้ว,สู่เรเวลที่สูงกว่าเดิม.

    ...https://youtube.com/watch?v=0BrIO_fWjiI&si=NUqsDjAoSlrOLCIK


    ..จริงช่วงเวลานี้ นายกฯพระราชทานต้องเบอร์1 &ยืนพื้นก่อกำเนิดจริงๆจึงจะพลิกชาติกอบกู้อธิปไตยของแผ่นดินไทยจริงๆได้,เป็นต้นว่ายึดคืนสมบัติทรัพยากรธรรมชาติมีค่าจากที่เอกชนไทยและเอกชนต่างชาติผูกขาดทั้งหมดไปเอากลับคืนมาทั้งหมดได้,เพื่อแผ่นดินไทยจะมีสิทธิ์100%จริงในวัตถุดิบของตนเพื่อการสร้างชาติไทยของแท้และของจริงในอนาคตมิใช่แบบในปัจจุบัน.,บ่อน้ำมันไม่เป็นของตนเลยถูกบังคับไปให้สัมปทานบ่อน้ำมันอีก,บ่อทองคำก็ไม่ขุดเข้าคลังกลางตนเองให้เข้มแข็งถูกปล้นชิงยกให้เขาไปอีก แค่สองอย่างนี้ เด็กๆเยาวชนไทยเล่าเรียนฟรีๆไม่ต้องกู้ตัง กยศ.เรียนเป็นหนี้ก็ได้ คนเป็นหนีัเรียน อนาคตล่ารายชื่อตั้งพรรคขึ้นไปเป็นนายกฯเองบริหารเองยึดประเทศคืนก็น่าจะได้ น่าจะไม่ต่ำกว่า10-20ล้านคน รวมพ่อแม่ญาติพี่น้องเขาด้วย สบายต่อการตั้งพรรค การเลือกกานายกฯกาตรงเลือกตรงได้สบาย."พรรคปลดหนี้" นโยบาย ล้างหนี้คนไทยทุกๆคนโดยเฉพาะหนี้เล่าเรียนลูกหลานคนไทย เรียนฟรีตามใจต้องการ ยุบ กยศ.ก็ว่า.พวกโกงกินขายชาติถ้าเอาจริงๆนะตังที่สูญเสียไปกับคนพวกนี้เยอะมาก,บ่อน้ำมัน บ่อทองคำ ขายเองตังเข้าแผ่นดินไทยมหาศาลแน่นอนในนามรัฐบาลพรรคปลดหนี้. ..นักการเมืองจะมาทางสายใครก็ไม่สมควรในช่วงวิกฤติสงครามพันทางทั่วโลกนี้ อาทิฝรั่งจะรบกับเอเชียก็ว่า ทัังทางตังคือเศรษฐกิจ และทางตังเพื่อฆ่าเจ้าหนี้แบบจีนโดยอเมริกาสั่งล้างเจ้าหนีัจีนเองก็ว่า จนสาระพัดสงครามจะสงครามเข็มเชื้อโรค สงครามระเบิดบูมกันจริงๆแบบตัวแทนสู่w3. ..คือถ้ายุติบทบาทนักเลือกตั้งไม่ได้คือหยุดมิให้ภาคนักการเมืองสรัางความวุ่นวายโกลาหลไม่สิ้นสุดหรือหยุดละครลิงทั้งสภาไม่ทัน ไม่จริงจังพังงานพวกแหกตาปาหี่ให้ชาติเสียอธิปไตยไปเรื่อยๆไม่ได้ เช่น เสียอธิปไตยที่ดินให้ต่างชาติซื้อได้ไร่ละ40ล้านบาท ใช้สิทธิ์boiครองได้35ไร่ต่อคน ,เช่าที่ดินบนแผ่นดินไทยได้99ปี หรือสิทธิ์อธิปไตยเหนือการปกครองผ่านการลงทุน&ย้ายฐานมาลงทุนในไทย เป็นต้น เหล่านี้ล้วนฝีมือภาคนักการเมืองอ้างใช้ผ่านสภาก่อการให้ชอบทั้งสิ้น,หากทั้งแผ่นดินไทยเราไม่เห็นภัยร้ายนี้ให้ชัดเจนจะล่มสลายสิ้นชาติไทยแน่นอนหรือกลืนกินสิ้นก็ว่า,ซึ่งน่าเสียดายมาก ด้วยเวลาในปัจจุบันเรายุติสิ่งชั่วเลวนี้ได้ ตัดตอนมันได้,คืนอิสระภาพอธิปไตยสู่ทุกๆคนไทยและแผ่นดินไทยได้จริง มิใช่พึงพิงไม่กี่โคตรเหง้าไม่กี่เชื้อวงศ์ตระกูล,ถึงเวลาที่คนไทยได้รับการกระจายความมั่งคั่งและความร่ำรวยทั้งทางวัตถุธาตุทางโลกและร่ำรวยเจริญจิจเจริญใจหรือยกจิตยกใจคู่ขนานความมั่งคั่งร่ำรวยทางกายได้แล้ว,มิให้จมปรักในความยากจนกายทุกข์ใจดักดานมั่นคงในปัจจุบันหรือตั้งใจปกครองด้วยวิถีคณะกบฎ2475นี้มั่นคงดักดานนั้นเอง., ..วิถีปกครองต้องเปลี่ยนแปลงจริงๆ ที่มิใช่แบบฝรั่งตัดให้เราใส่หรือซาตานแรปทีเลี่ยนออกแบบให้ใส่,ยุคเราอารยะใจอารยะทางสติปัญญาสมควรแก่จังหวะเวลาแล้ว,สู่เรเวลที่สูงกว่าเดิม. ...https://youtube.com/watch?v=0BrIO_fWjiI&si=NUqsDjAoSlrOLCIK
    0 Comments 0 Shares 273 Views 0 Reviews

  • ตามรอยย้อนกลับ Supply Chain แร่หายากจากพม่ามหาศาลสู่จีน
    ______________________________
    23 ธันวาคม พ.ศ. 2564 บริษัท China Rare Earth Group Co., Ltd. ก่อตัวขึ้นอย่างเป็นทางการ จากการควบรวมของ 3 กิจการด้านอุตสาหกรรมแร่หายากในจีน China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. เป้าคือพัฒนาอุตสาหกรรมแร่หายาก วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
    China Rare Earth Group อยู่ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของรัฐ-คณะกรรมการกำกับดูแลและบริหารสินทรัพย์ที่เป็นเจ้าของของสภาแห่งรัฐ ถือหุ้นร้อยละ 31.21 China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. แต่ละบริษัทถือหุ้นร้อยละ 20.33; China Iron and Steel Research Technology Group Co., Ltd. และ Youyan Technology Group Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 3.90
    ปัจจุบันจีนมีปริมาณการผลิตแร่ธาตุ หายากสูงเป็นอันดับ 1 ของโลกอยู่ที่ 132,000 ตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากทั่วโลก ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 210,000 ตัน โดยประเทศอื่น ๆ ที่มีปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากในลำดับถัดมา ได้แก่ สหรัฐฯ (26,000 ตัน) เมียนมา (22,000 ตัน) ออสเตรเลีย (21,000 ตัน) อินเดีย (3,000 ตัน) รัสเซีย (2,700 ตัน) มาดากัสการ์ (2,000 ตัน) ไทย (1,800 ตัน) บราซิล (1,000 ตัน) เวียดนาม (900 ตัน) และบุรุนดี (600 ตัน)
    ______________________________
    ระฆังกำแพงภาษีลั่นขึ้นห้วงเมษายน 2568 โดยสหรัฐอเมริกา การตอบโต้กลับของจีนเปิดหน้าชก สวนกลับทุกเม็ด รวมถึงได้ขยายการใช้ "แร่หายาก" (rare earths) เป็นเครื่องมือตอบโต้ทางการค้า โดยประกาศจำกัดการส่งออกแร่หายาก 7 ชนิด ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญในอุดสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ โดยเป็นการตอบโต้ต่อมาดรการภาษีนำเข้าของสหรัฐ
    สำหรับแร่หายาก 7 ชนิดได้แก่ ชามาเรียม (Samarium) แกโดลิเนียม (Gadolinium) เทอร์เมียม (Terbium) ดิสโพรเซียม (Dysprosium) ลูทีเซียม (Lutetium) สแกนเดียม (Scandium) และอิดเทรียม (Yttrium) สำหรับแร่หายากยอดนิยมอย่าง นี่โอไดเมียม (Neodymium) และ พราเชโอไดเมียม (Praseodymium) ซึ่งใช้ผลิตแม่เหล็กประสิทธิภาพสูง ยังไม่อยู่ในรายชื่อควบคุม
    หลังการรัฐประหารปี 2021 การส่งออกแร่ธาตุหายากจากพม่าไปจีนเพิ่มขึ้น 5 เท่า สูงถึง 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการการพึ่งพาจีน 90% ของการแปรรูปแร่หายากโลกอยู่ในจีน แบ่งเป็น แร่กลุ่มหายาก (Rare Earth Elements) มูลค่า: 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2025) ส่วนแบ่งการนำเข้า: กว่า 50% ของการนำเข้าแร่หายากทั้งหมดของจีน ชนิดแร่หลัก: เทอร์เบียม (Terbium) และดีสโพรเซียม (Dysprosium) ในกลุ่ม Heavy Rare Earth Elements (HREE) พื้นที่ทำเหมืองหลักที่คะฉิ่น ที่เหมือง Chipwi และ Momauk: มีบ่อแร่มากกว่า 2,700 บ่อ เมือง Panwa: แหล่งผลิตหลักภายใต้การควบคุมของ Kachin Independence Army (KIA) การขยายตัว: จำนวนไซต์ทำเหมืองเพิ่มขึ้น 40% นับตั้งแต่ปี 2021 โดยพื้นที่ KIA: เก็บภาษี 35,000 หยวน/ตัน (ประมาณ 4,800 ดอลลาร์สหรัฐ)
    บริษัทจีนผู้รับซื้อหลัก คือ China Rare Earths Group (REGCC) ควบคุมการประมูลแร่กว่า 80% China Northern Rare Earth Group ผู้ประมูลแร่รายใหญ่ของโลก และ JL Mag Rare-Earth: ผู้ผลิตแม่เหล็กถาวรรายใหญ่ ใช้แร่จากพม่าในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และยังมีบริษัท Rising Nonferrous บริษัทที่ได้รับอนุมัติให้นำเข้าแร่หายากจากเมียนมาโดยตรง
    นอกจากนั้นก็จะมี China Nonferrous Metal Mining Group (CNMC) รับซื้อ: ทองแดง, นิกเกิล พื้นที่รับซื้อคือเหมือง Monywa ในเขตสะกาย บริษัท China Minmetals Corporation: รับซื้อ: แร่หายาก, ดีบุก, ทังสเตน Aluminum Corporation of China (CHINALCO): รับซื้อ: แร่ที่เกี่ยวข้องกับอะลูมิเนียมและโลหะผสม Yunnan Tin Company: รับซื้อ: ดีบุก เพราะเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่ของจีน Pangang Group: รับซื้อ: ทังสเตน, พลวง เป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโลหะหนัก
    ______________________________
    การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนมีป้อนอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำให้จีน และแน่นอนต้องใช้ฐานของกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดหลักและบายพาสไปยังกลุ่มประเทศที่มีกำแพงภาษีสูงไม่ว่าจะเป็น
    • อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles)แร่ธาตุหายาก เช่น ดิสโพรเซียม (Dysprosium) และเทอร์เบียม (Terbium) ที่นำเข้าจากพม่าใช้เป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับมอเตอร์ในรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจีนมีความต้องการสูงมากในช่วงหลังเพื่อรองรับการเติบโตของตลาด EV
    • อุตสาหกรรมพลังงานลม (Wind Power)แม่เหล็กถาวรที่ผลิตจากแร่ธาตุหายากเหล่านี้ยังถูกใช้ในกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพลังงานทดแทนของจีน
    • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)แร่ธาตุหายากจากพม่าถูกนำไปใช้ในชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ต้องการแม่เหล็กและวัสดุพิเศษ
    • อุตสาหกรรมแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets) บริษัทจีนใหญ่ เช่น China Southern Rare Earth ใช้แร่ธาตุจากพม่าในการผลิตแม่เหล็กถาวรที่เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรม
    • อาวุธยุทโธปกรณ์ (Defence Industry) และอุตสาหกรรมอวกาศ และอากาศยาน (Aerospace Industry)
    สถานการณ์ความต้องการแร่ธาตุหายากงวดขึ้นเพราะนับวันแร่ธาตุเหล่านั้นย่อมลดลง ตามชื่อเพราะยิ่งหายากขึ้น โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2024 จีนเพิ่มการนำเข้าแร่หายากจากพม่าเกิน 9 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคิดเป็นกว่า 70% ของแร่ธาตุหายากที่จีนใช้ทั้งหมด ซึ่งทำให้พม่าเป็นแหล่งผลิตแร่หายากที่ใหญ่ที่สุดของจีนในปัจจุบัน
    ______________________________
    ความต้องการสูงและความไม่แน่นอนของซัพพลายเชน โดยเฉพาะในช่วงที่มีความขัดข้องจากสถานการณ์ภูมิรัฐศาสตร์ ทำให้จีนพึ่งพาแหล่งแร่จากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะพม่าเป็นสัดส่วนถึง 70% ของวัตถุดิบที่ใช้ เนื่องจากเหมืองในจีนผลิตไม่เพียงพอและมีข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและนโยบาย
    ปัญหาจึงอยู่ที่แร่ธาตุหายากจากพม่าส่วนใหญ่ถูกขุดอย่างผิดกฎหมายและผ่านช่องทางที่ไม่โปร่งใส ทำให้บริษัทจีนที่แปรรูปแร่ไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้ชัดเจน ส่งผลต่อความยั่งยืนและความน่าเชื่อถือของตลาด รวมถึงสร้างปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต่อพม่าอย่างมหาศาล
    หากเจาะพื้นที่การทำเหมืองในรัฐต่าง ๆ การทำเหมืองในเมียนมามักอยู่ในพื้นที่ที่มีความขัดแย้งหรือควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธ ซึ่งมีผลต่อการส่งออกและการจัดการทรัพยากร ดังนี้:
    • รัฐคะฉิ่น (Kachin State): แร่หลัก: แร่หายาก (REEs), พลวง, ทองคำ, อิตเทรียม พื้นที่ป่าทางตอนเหนือ อุดมไปด้วยแร่หายาก แต่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างกองทัพเมียนมาและกองทัพปลดปล่อยคะฉิ่น (KIA) ส่วนใหญ่ทำลายสิ่งแวดล้อม น้ำกลายเป็นโคลน และสัตว์ป่าลดลง
    • รัฐฉาน (Shan State): แร่หลัก: ดีบุก, ตะกั่ว, สังกะสี, ทังสเตน,ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ เช่น เหมือง Man Maw การควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธที่เชื่อมโยงกับกองทัพเมียนมา ทำให้เงินจากเหมือง สนับสนุนกองทัพ สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมหาศาลเช่นกันและลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านคือประเทศไทย
    • เขตสะกาย (Sagaing Region): แร่หลัก: ทองแดง, นิกเกิล, ทองคำพื้นที่ที่มีการสู้รบหนักระหว่างกองทัพเมียนมาและกองกำลัง PDF
    • เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region): แร่หลัก: แร่หายาก, พลวง, อิตเทรียม, ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองขนาดเล็กกระจายอยู่
    • เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region): แร่หลัก: ดีบุก เป็นเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่ง
    • รัฐมอญ (Mon State): แร่หลัก: ทองแดง เป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง
    • รัฐกะยา (Kayah State): แร่หลัก: ตะกั่ว พื้นที่ที่มีความขัดแย้งสูง
    ______________________________
    สอบทานต้นทาง-ย้อนกลับห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของแร่ธาตุจากเมียนมาไปจีนมีลักษณะดังนี้ เริ่มต้นสำรวจแหล่ง แน่นอนฐานข้อมูลมีอยู่แล้วในมือรัฐบาลทหารพม่า และในกำมือเทคโนโลยีจีน ก่อนจะให้บริษัทเอกชนในแต่ละความถนัดของจีน และของพม่าเอง ขุดและแปรรูปเบื้องต้น เหมืองส่วนใหญ่ในพม่าดำเนินการโดยบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทจีนร่วมทุน การแปรรูปขั้นต้น (เช่น การถลุงแร่ดีบุก) มักทำในเมียนมาก่อนส่งออก ส่วนใหญ่ในพื้นที่ขัดแย้งทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
    การขนส่ง เส้นทางหลัก: จากเหมืองในรัฐคะฉิ่นและฉานไปยังชายแดนจีน (มณฑลยูนนาน) ผ่านทางรถไฟหรือถนน เช่น เส้นทางรถไฟเจ้าผิ่ว-มูเซ บางส่วนส่งออกผ่านท่าเรือในเขตตะนาวศรีและย่างกุ้ง
    การแปรรูปขั้นสูงในจีน ปลายทางคือโรงงานแปรรูปอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง, เจียงซู, และแถบเศรษฐกิจแยงซีเกียง โดยแร่หายากถูกกลั่นเป็นโลหะบริสุทธิ์หรือสารประกอบ เช่น นีโอดิเมียมสำหรับแม่เหล็ก หรืออิตเทรียมสำหรับ LED
    สายพานอุตสาหกรรมที่ใช้งานแบ่งตามแร่ธาตุอุตสาหกรรมเทคโนโลยี: แร่หายาก (REEs) และดีบุกใช้ในสมาร์ทโฟน, คอมพิวเตอร์, เซมิคอนดักเตอร์ ยานยนต์ไฟฟ้า: แร่หายาก (นีโอดิเมียม, ดิสโพรเซียม) และนิกเกิลใช้ในมอเตอร์และแบตเตอรี่ พลังงานสะอาด: ทังสเตนและพลวงใช้ในกังหันลมและแผงโซลาร์ อุตสาหกรรมทหาร: แร่หายากและพลวงใช้ในขีปนาวุธ, เรดาร์, และเลเซอร์ การก่อสร้างและเครื่องจักร: ทองแดงและสังกะสีใช้ในสายไฟและโครงสร้าง
    ความท้าทายในระบบ Supply Chain ส่วนใหญ่คือความขัดแย้งในเมียนมาอาจขัดขวางการขนส่ง จากผลประโยชน์มหาศาลเพื่อนำมาเป็นอาวุธและจุนเจือเสบียงในการรบ ขณะที่นานาชาติได้เรียกร้องให้ตรวจสอบแร่จากพื้นที่ขัดแย้ง แต่จีนเป็นประเทศเดียวที่บังคับให้แยกแร่จากเมียนมาและจีน
    ______________________________
    ล่าสุด กองกำลังเอกราชคะฉิ่น (Kachin Independent Organization, Kachin Independent Army- KIA) ซึ่งได้เป็นเจ้าของใหม่ของเหมืองแร่หายาก หรือแร่แรร์เอิร์ธ (Rare Earth) อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน (ราว 160,000 บาท) พื้นที่แหล่งแร่หายากที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์ในเขตปางวาและชิพเว (Pang Wa, Chi Pwi) ในรัฐคะฉิ่น ซึ่งกลุ่ม KIA เข้ายึดครองในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567 ได้รับอนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังจีนหลังจากควบคุมพื้นที่มาได้ 6 เดือน
    สำนักข่าวรอยเตอร์ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2568 KIO/KIA ได้อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน อย่างไรก็ตาม รายละเอียดอื่น ๆ ในหนังสืออนุญาตของ KIO ยังไม่ได้รับการเปิดเผย เจ้าหน้าที่ KIA เขตปางวาให้ข้อมูลว่าKIO/KIA และรัฐบาลจีน ยังคงเจรจาเกี่ยวกับการใช้จุดผ่านแดนเดียวในการส่งออกแร่หายาก และจนถึงสัปดาห์ที่สองของเดือนเมษายน ยังไม่มีการส่งออกอย่างเป็นทางการ
    KIA สามารถควบคุมจุดผ่านแดนทางการค้าระหว่างจีน-พม่าในรัฐคะฉิ่นทั้งหมด ได้แก่ กานปายตี Kan Pai Ti, ล่วยเจ Loi Je และปางวา ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าจะใช้จุดผ่านแดนใดในการส่งออก หลังจากที่ KIA ควบคุมพื้นที่ปางวาและชิพเว รัฐบาลจีนได้มีคำสั่งปิดจุดผ่านแดนทั้งหมด ทำให้บริษัทเหมืองแร่ส่วนใหญ่หยุดดำเนินการ มีเพียงบางบริษัทที่ยังคงขุดแร่ต่อไป เนื่องจากยังมีวัตถุดิบหลงเหลืออยู่
    รายงานของ Global Witness ระบุว่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาเริ่มขึ้นในปี 2016 โดยนักธุรกิจชาวจีน ซึ่งส่งออกแร่ไปยังจีนเป็นหลัก ตามข้อมูลปัจจุบัน พม่าติดอันดับ 3 ของประเทศผู้ผลิตแร่แรร์เอิร์ท และคิดเป็น 50% ของการส่งออกแร่หายากทั่วโลก หลังจากการรัฐประหารของกองทัพพม่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาและชิพเวเพิ่มขึ้น 40% และจำนวนเหมืองแร่เพิ่มขึ้นกว่า 300 แห่ง ในปี 2566 เพียงปีเดียว มีการส่งออกแร่หายากไปยังจีนมากถึง 41,700 ตัน สร้างรายได้ถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
    ______________________________
    สรุปขมวดปม การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนช่วยเสริมความมั่นคงของซัพพลายเชนแร่หายากในจีน ลดภาวะขาดแคลนและสนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ก็เพิ่มความเสี่ยงด้านความโปร่งใสและความยั่งยืนในตลาดแร่ธาตุของจีน แร่ธาตุหายากจากพม่ามีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อุปทานของจีน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีขั้นสูงและพลังงานสะอาด ซึ่งจีนพึ่งพาการนำเข้าแร่จากพม่าเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของแร่หายากที่ใช้ในประเทศ เหมืองแร่หายากเหล่านี้ทั้งหมด รวมถึงแร่ทองคำ และอื่น ๆ ที่ปักหมุดขุดหลุมร่อนตระแกรง ทุกรัฐในเมียนมาก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ป่าเขา แม่น้ำ ลำธาร โดยคนงานบางรายถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างโหดร้าย หญิงคนงานถูกล่วงละเมิดทางเพศ และหลายคนได้รับอันตรายทางสุขภาพอย่างร้ายแรงจากสารเคมีที่ใช้ในเหมือง และส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่กว้างขวางขึ้นรวมถึงประเทศไทย และลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน คำถามคือจีนมีส่วนสำคัญในการสร้างมลภาวะในพื้นที่ ควรจะร่วมรับผิดชอบหรือไม่ ไม่ใช่การสูบทรัพยากรในพื้นที่แต่ไม่ได้เหลียวแลผลกระทบที่จะตามมา อันจะกลายเป็นการสร้างปัญหาใหญ่ให้กับจีนในอนาคต
    อ้างอิง : https://www.facebook.com/GlobalWitness/ และสำนักข่าวชายขอบ
    https://shorturl.asia/6GnqX
    ประชาไท https://prachatai.com/journal/2025/01/111942
    ______________________________

    10 อันดับแร่ธาตุที่ส่งออกจากเมียนมาไปจีน (เรียงตามมูลค่าประเมิน)
    1. แร่ดีบุก (Tin)
    o มูลค่า: สูงสุด เนื่องจากเมียนมาเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่อันดับ 3 ของโลก และจีนนำเข้า 95% ของหัวแร่ดีบุกจากเมียนมาในปี 2563
    o การใช้งาน: ใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (บัดกรีแผงวงจร), การผลิตโลหะผสม
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน (Shan State), เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region)
    2. แร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs)
    o มูลค่า: สูง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของจีน
    o การใช้งาน: ผลิตแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets), แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า, อุปกรณ์เลเซอร์, เซมิคอนดักเตอร์
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น (Kachin State), เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region)
    3. ทองแดง (Copper)
    o มูลค่า: สูง เนื่องจากราคาทองแดงในตลาดโลกพุ่งสูงหลังรัฐประหาร
    o การใช้งาน: สายไฟ, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, การก่อสร้าง
    o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย (Sagaing Region), รัฐมอญ (Mon State)
    4. ตะกั่ว (Lead)
    o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
    o การใช้งาน: แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด, อุตสาหกรรมยานยนต์
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐกะยา (Kayah State)
    5. สังกะสี (Zinc)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบโลหะ
    o การใช้งาน: การชุบกัลวาไนซ์, โลหะผสม
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, เขตย่างกุ้ง (Yangon Region)
    6. นิกเกิล (Nickel)
    o มูลค่า: ปานกลาง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
    o การใช้งาน: แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน, สแตนเลส
    o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย, รัฐฉาน
    7. พลวง (Antimony)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมทหารและพลังงาน
    o การใช้งาน: สารหน่วงไฟ, โลหะผสม, อุปกรณ์ทหาร
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์
    8. ทังสเตน (Tungsten)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมที่มีความแข็งสูง
    o การใช้งาน: โลหะผสม, เครื่องมือตัด, อุปกรณ์ทหาร
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐคะฉิ่น
    9. ทองคำ (Gold)
    o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ขึ้นอยู่กับราคาตลาดโลก
    o การใช้งาน: อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, เครื่องประดับ
    o พื้นที่เหมือง: เขตมัณฑะเลย์, รัฐคะฉิ่น, เขตสะกาย
    10. อิตเทรียม (Yttrium)
    o มูลค่า: ต่ำถึงปานกลาง แต่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมเฉพาะ
    o การใช้งาน: สารเรืองแสงใน LED, อุปกรณ์ MRI, เซรามิก
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์
    หมายเหตุ: มูลค่าที่ระบุเป็นการประเมินจากความสำคัญในห่วงโซ่อุปทานและปริมาณการส่งออก เนื่องจากไม่มีข้อมูลตัวเลขที่แน่นอนหลังรัฐประหาร
    ______________________________
    ตามรอยย้อนกลับ Supply Chain แร่หายากจากพม่ามหาศาลสู่จีน ______________________________ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564 บริษัท China Rare Earth Group Co., Ltd. ก่อตัวขึ้นอย่างเป็นทางการ จากการควบรวมของ 3 กิจการด้านอุตสาหกรรมแร่หายากในจีน China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. เป้าคือพัฒนาอุตสาหกรรมแร่หายาก วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี China Rare Earth Group อยู่ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของรัฐ-คณะกรรมการกำกับดูแลและบริหารสินทรัพย์ที่เป็นเจ้าของของสภาแห่งรัฐ ถือหุ้นร้อยละ 31.21 China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. แต่ละบริษัทถือหุ้นร้อยละ 20.33; China Iron and Steel Research Technology Group Co., Ltd. และ Youyan Technology Group Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 3.90 ปัจจุบันจีนมีปริมาณการผลิตแร่ธาตุ หายากสูงเป็นอันดับ 1 ของโลกอยู่ที่ 132,000 ตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากทั่วโลก ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 210,000 ตัน โดยประเทศอื่น ๆ ที่มีปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากในลำดับถัดมา ได้แก่ สหรัฐฯ (26,000 ตัน) เมียนมา (22,000 ตัน) ออสเตรเลีย (21,000 ตัน) อินเดีย (3,000 ตัน) รัสเซีย (2,700 ตัน) มาดากัสการ์ (2,000 ตัน) ไทย (1,800 ตัน) บราซิล (1,000 ตัน) เวียดนาม (900 ตัน) และบุรุนดี (600 ตัน) ______________________________ ระฆังกำแพงภาษีลั่นขึ้นห้วงเมษายน 2568 โดยสหรัฐอเมริกา การตอบโต้กลับของจีนเปิดหน้าชก สวนกลับทุกเม็ด รวมถึงได้ขยายการใช้ "แร่หายาก" (rare earths) เป็นเครื่องมือตอบโต้ทางการค้า โดยประกาศจำกัดการส่งออกแร่หายาก 7 ชนิด ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญในอุดสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ โดยเป็นการตอบโต้ต่อมาดรการภาษีนำเข้าของสหรัฐ สำหรับแร่หายาก 7 ชนิดได้แก่ ชามาเรียม (Samarium) แกโดลิเนียม (Gadolinium) เทอร์เมียม (Terbium) ดิสโพรเซียม (Dysprosium) ลูทีเซียม (Lutetium) สแกนเดียม (Scandium) และอิดเทรียม (Yttrium) สำหรับแร่หายากยอดนิยมอย่าง นี่โอไดเมียม (Neodymium) และ พราเชโอไดเมียม (Praseodymium) ซึ่งใช้ผลิตแม่เหล็กประสิทธิภาพสูง ยังไม่อยู่ในรายชื่อควบคุม หลังการรัฐประหารปี 2021 การส่งออกแร่ธาตุหายากจากพม่าไปจีนเพิ่มขึ้น 5 เท่า สูงถึง 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการการพึ่งพาจีน 90% ของการแปรรูปแร่หายากโลกอยู่ในจีน แบ่งเป็น แร่กลุ่มหายาก (Rare Earth Elements) มูลค่า: 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2025) ส่วนแบ่งการนำเข้า: กว่า 50% ของการนำเข้าแร่หายากทั้งหมดของจีน ชนิดแร่หลัก: เทอร์เบียม (Terbium) และดีสโพรเซียม (Dysprosium) ในกลุ่ม Heavy Rare Earth Elements (HREE) พื้นที่ทำเหมืองหลักที่คะฉิ่น ที่เหมือง Chipwi และ Momauk: มีบ่อแร่มากกว่า 2,700 บ่อ เมือง Panwa: แหล่งผลิตหลักภายใต้การควบคุมของ Kachin Independence Army (KIA) การขยายตัว: จำนวนไซต์ทำเหมืองเพิ่มขึ้น 40% นับตั้งแต่ปี 2021 โดยพื้นที่ KIA: เก็บภาษี 35,000 หยวน/ตัน (ประมาณ 4,800 ดอลลาร์สหรัฐ) บริษัทจีนผู้รับซื้อหลัก คือ China Rare Earths Group (REGCC) ควบคุมการประมูลแร่กว่า 80% China Northern Rare Earth Group ผู้ประมูลแร่รายใหญ่ของโลก และ JL Mag Rare-Earth: ผู้ผลิตแม่เหล็กถาวรรายใหญ่ ใช้แร่จากพม่าในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และยังมีบริษัท Rising Nonferrous บริษัทที่ได้รับอนุมัติให้นำเข้าแร่หายากจากเมียนมาโดยตรง นอกจากนั้นก็จะมี China Nonferrous Metal Mining Group (CNMC) รับซื้อ: ทองแดง, นิกเกิล พื้นที่รับซื้อคือเหมือง Monywa ในเขตสะกาย บริษัท China Minmetals Corporation: รับซื้อ: แร่หายาก, ดีบุก, ทังสเตน Aluminum Corporation of China (CHINALCO): รับซื้อ: แร่ที่เกี่ยวข้องกับอะลูมิเนียมและโลหะผสม Yunnan Tin Company: รับซื้อ: ดีบุก เพราะเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่ของจีน Pangang Group: รับซื้อ: ทังสเตน, พลวง เป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโลหะหนัก ______________________________ การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนมีป้อนอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำให้จีน และแน่นอนต้องใช้ฐานของกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดหลักและบายพาสไปยังกลุ่มประเทศที่มีกำแพงภาษีสูงไม่ว่าจะเป็น • อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles)แร่ธาตุหายาก เช่น ดิสโพรเซียม (Dysprosium) และเทอร์เบียม (Terbium) ที่นำเข้าจากพม่าใช้เป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับมอเตอร์ในรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจีนมีความต้องการสูงมากในช่วงหลังเพื่อรองรับการเติบโตของตลาด EV • อุตสาหกรรมพลังงานลม (Wind Power)แม่เหล็กถาวรที่ผลิตจากแร่ธาตุหายากเหล่านี้ยังถูกใช้ในกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพลังงานทดแทนของจีน • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)แร่ธาตุหายากจากพม่าถูกนำไปใช้ในชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ต้องการแม่เหล็กและวัสดุพิเศษ • อุตสาหกรรมแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets) บริษัทจีนใหญ่ เช่น China Southern Rare Earth ใช้แร่ธาตุจากพม่าในการผลิตแม่เหล็กถาวรที่เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรม • อาวุธยุทโธปกรณ์ (Defence Industry) และอุตสาหกรรมอวกาศ และอากาศยาน (Aerospace Industry) สถานการณ์ความต้องการแร่ธาตุหายากงวดขึ้นเพราะนับวันแร่ธาตุเหล่านั้นย่อมลดลง ตามชื่อเพราะยิ่งหายากขึ้น โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2024 จีนเพิ่มการนำเข้าแร่หายากจากพม่าเกิน 9 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคิดเป็นกว่า 70% ของแร่ธาตุหายากที่จีนใช้ทั้งหมด ซึ่งทำให้พม่าเป็นแหล่งผลิตแร่หายากที่ใหญ่ที่สุดของจีนในปัจจุบัน ______________________________ ความต้องการสูงและความไม่แน่นอนของซัพพลายเชน โดยเฉพาะในช่วงที่มีความขัดข้องจากสถานการณ์ภูมิรัฐศาสตร์ ทำให้จีนพึ่งพาแหล่งแร่จากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะพม่าเป็นสัดส่วนถึง 70% ของวัตถุดิบที่ใช้ เนื่องจากเหมืองในจีนผลิตไม่เพียงพอและมีข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและนโยบาย ปัญหาจึงอยู่ที่แร่ธาตุหายากจากพม่าส่วนใหญ่ถูกขุดอย่างผิดกฎหมายและผ่านช่องทางที่ไม่โปร่งใส ทำให้บริษัทจีนที่แปรรูปแร่ไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้ชัดเจน ส่งผลต่อความยั่งยืนและความน่าเชื่อถือของตลาด รวมถึงสร้างปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต่อพม่าอย่างมหาศาล หากเจาะพื้นที่การทำเหมืองในรัฐต่าง ๆ การทำเหมืองในเมียนมามักอยู่ในพื้นที่ที่มีความขัดแย้งหรือควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธ ซึ่งมีผลต่อการส่งออกและการจัดการทรัพยากร ดังนี้: • รัฐคะฉิ่น (Kachin State): แร่หลัก: แร่หายาก (REEs), พลวง, ทองคำ, อิตเทรียม พื้นที่ป่าทางตอนเหนือ อุดมไปด้วยแร่หายาก แต่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างกองทัพเมียนมาและกองทัพปลดปล่อยคะฉิ่น (KIA) ส่วนใหญ่ทำลายสิ่งแวดล้อม น้ำกลายเป็นโคลน และสัตว์ป่าลดลง • รัฐฉาน (Shan State): แร่หลัก: ดีบุก, ตะกั่ว, สังกะสี, ทังสเตน,ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ เช่น เหมือง Man Maw การควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธที่เชื่อมโยงกับกองทัพเมียนมา ทำให้เงินจากเหมือง สนับสนุนกองทัพ สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมหาศาลเช่นกันและลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านคือประเทศไทย • เขตสะกาย (Sagaing Region): แร่หลัก: ทองแดง, นิกเกิล, ทองคำพื้นที่ที่มีการสู้รบหนักระหว่างกองทัพเมียนมาและกองกำลัง PDF • เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region): แร่หลัก: แร่หายาก, พลวง, อิตเทรียม, ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองขนาดเล็กกระจายอยู่ • เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region): แร่หลัก: ดีบุก เป็นเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่ง • รัฐมอญ (Mon State): แร่หลัก: ทองแดง เป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง • รัฐกะยา (Kayah State): แร่หลัก: ตะกั่ว พื้นที่ที่มีความขัดแย้งสูง ______________________________ สอบทานต้นทาง-ย้อนกลับห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของแร่ธาตุจากเมียนมาไปจีนมีลักษณะดังนี้ เริ่มต้นสำรวจแหล่ง แน่นอนฐานข้อมูลมีอยู่แล้วในมือรัฐบาลทหารพม่า และในกำมือเทคโนโลยีจีน ก่อนจะให้บริษัทเอกชนในแต่ละความถนัดของจีน และของพม่าเอง ขุดและแปรรูปเบื้องต้น เหมืองส่วนใหญ่ในพม่าดำเนินการโดยบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทจีนร่วมทุน การแปรรูปขั้นต้น (เช่น การถลุงแร่ดีบุก) มักทำในเมียนมาก่อนส่งออก ส่วนใหญ่ในพื้นที่ขัดแย้งทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการละเมิดสิทธิมนุษยชน การขนส่ง เส้นทางหลัก: จากเหมืองในรัฐคะฉิ่นและฉานไปยังชายแดนจีน (มณฑลยูนนาน) ผ่านทางรถไฟหรือถนน เช่น เส้นทางรถไฟเจ้าผิ่ว-มูเซ บางส่วนส่งออกผ่านท่าเรือในเขตตะนาวศรีและย่างกุ้ง การแปรรูปขั้นสูงในจีน ปลายทางคือโรงงานแปรรูปอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง, เจียงซู, และแถบเศรษฐกิจแยงซีเกียง โดยแร่หายากถูกกลั่นเป็นโลหะบริสุทธิ์หรือสารประกอบ เช่น นีโอดิเมียมสำหรับแม่เหล็ก หรืออิตเทรียมสำหรับ LED สายพานอุตสาหกรรมที่ใช้งานแบ่งตามแร่ธาตุอุตสาหกรรมเทคโนโลยี: แร่หายาก (REEs) และดีบุกใช้ในสมาร์ทโฟน, คอมพิวเตอร์, เซมิคอนดักเตอร์ ยานยนต์ไฟฟ้า: แร่หายาก (นีโอดิเมียม, ดิสโพรเซียม) และนิกเกิลใช้ในมอเตอร์และแบตเตอรี่ พลังงานสะอาด: ทังสเตนและพลวงใช้ในกังหันลมและแผงโซลาร์ อุตสาหกรรมทหาร: แร่หายากและพลวงใช้ในขีปนาวุธ, เรดาร์, และเลเซอร์ การก่อสร้างและเครื่องจักร: ทองแดงและสังกะสีใช้ในสายไฟและโครงสร้าง ความท้าทายในระบบ Supply Chain ส่วนใหญ่คือความขัดแย้งในเมียนมาอาจขัดขวางการขนส่ง จากผลประโยชน์มหาศาลเพื่อนำมาเป็นอาวุธและจุนเจือเสบียงในการรบ ขณะที่นานาชาติได้เรียกร้องให้ตรวจสอบแร่จากพื้นที่ขัดแย้ง แต่จีนเป็นประเทศเดียวที่บังคับให้แยกแร่จากเมียนมาและจีน ______________________________ ล่าสุด กองกำลังเอกราชคะฉิ่น (Kachin Independent Organization, Kachin Independent Army- KIA) ซึ่งได้เป็นเจ้าของใหม่ของเหมืองแร่หายาก หรือแร่แรร์เอิร์ธ (Rare Earth) อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน (ราว 160,000 บาท) พื้นที่แหล่งแร่หายากที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์ในเขตปางวาและชิพเว (Pang Wa, Chi Pwi) ในรัฐคะฉิ่น ซึ่งกลุ่ม KIA เข้ายึดครองในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567 ได้รับอนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังจีนหลังจากควบคุมพื้นที่มาได้ 6 เดือน สำนักข่าวรอยเตอร์ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2568 KIO/KIA ได้อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน อย่างไรก็ตาม รายละเอียดอื่น ๆ ในหนังสืออนุญาตของ KIO ยังไม่ได้รับการเปิดเผย เจ้าหน้าที่ KIA เขตปางวาให้ข้อมูลว่าKIO/KIA และรัฐบาลจีน ยังคงเจรจาเกี่ยวกับการใช้จุดผ่านแดนเดียวในการส่งออกแร่หายาก และจนถึงสัปดาห์ที่สองของเดือนเมษายน ยังไม่มีการส่งออกอย่างเป็นทางการ KIA สามารถควบคุมจุดผ่านแดนทางการค้าระหว่างจีน-พม่าในรัฐคะฉิ่นทั้งหมด ได้แก่ กานปายตี Kan Pai Ti, ล่วยเจ Loi Je และปางวา ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าจะใช้จุดผ่านแดนใดในการส่งออก หลังจากที่ KIA ควบคุมพื้นที่ปางวาและชิพเว รัฐบาลจีนได้มีคำสั่งปิดจุดผ่านแดนทั้งหมด ทำให้บริษัทเหมืองแร่ส่วนใหญ่หยุดดำเนินการ มีเพียงบางบริษัทที่ยังคงขุดแร่ต่อไป เนื่องจากยังมีวัตถุดิบหลงเหลืออยู่ รายงานของ Global Witness ระบุว่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาเริ่มขึ้นในปี 2016 โดยนักธุรกิจชาวจีน ซึ่งส่งออกแร่ไปยังจีนเป็นหลัก ตามข้อมูลปัจจุบัน พม่าติดอันดับ 3 ของประเทศผู้ผลิตแร่แรร์เอิร์ท และคิดเป็น 50% ของการส่งออกแร่หายากทั่วโลก หลังจากการรัฐประหารของกองทัพพม่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาและชิพเวเพิ่มขึ้น 40% และจำนวนเหมืองแร่เพิ่มขึ้นกว่า 300 แห่ง ในปี 2566 เพียงปีเดียว มีการส่งออกแร่หายากไปยังจีนมากถึง 41,700 ตัน สร้างรายได้ถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ______________________________ สรุปขมวดปม การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนช่วยเสริมความมั่นคงของซัพพลายเชนแร่หายากในจีน ลดภาวะขาดแคลนและสนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ก็เพิ่มความเสี่ยงด้านความโปร่งใสและความยั่งยืนในตลาดแร่ธาตุของจีน แร่ธาตุหายากจากพม่ามีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อุปทานของจีน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีขั้นสูงและพลังงานสะอาด ซึ่งจีนพึ่งพาการนำเข้าแร่จากพม่าเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของแร่หายากที่ใช้ในประเทศ เหมืองแร่หายากเหล่านี้ทั้งหมด รวมถึงแร่ทองคำ และอื่น ๆ ที่ปักหมุดขุดหลุมร่อนตระแกรง ทุกรัฐในเมียนมาก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ป่าเขา แม่น้ำ ลำธาร โดยคนงานบางรายถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างโหดร้าย หญิงคนงานถูกล่วงละเมิดทางเพศ และหลายคนได้รับอันตรายทางสุขภาพอย่างร้ายแรงจากสารเคมีที่ใช้ในเหมือง และส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่กว้างขวางขึ้นรวมถึงประเทศไทย และลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน คำถามคือจีนมีส่วนสำคัญในการสร้างมลภาวะในพื้นที่ ควรจะร่วมรับผิดชอบหรือไม่ ไม่ใช่การสูบทรัพยากรในพื้นที่แต่ไม่ได้เหลียวแลผลกระทบที่จะตามมา อันจะกลายเป็นการสร้างปัญหาใหญ่ให้กับจีนในอนาคต อ้างอิง : https://www.facebook.com/GlobalWitness/ และสำนักข่าวชายขอบ https://shorturl.asia/6GnqX ประชาไท https://prachatai.com/journal/2025/01/111942 ______________________________ 10 อันดับแร่ธาตุที่ส่งออกจากเมียนมาไปจีน (เรียงตามมูลค่าประเมิน) 1. แร่ดีบุก (Tin) o มูลค่า: สูงสุด เนื่องจากเมียนมาเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่อันดับ 3 ของโลก และจีนนำเข้า 95% ของหัวแร่ดีบุกจากเมียนมาในปี 2563 o การใช้งาน: ใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (บัดกรีแผงวงจร), การผลิตโลหะผสม o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน (Shan State), เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region) 2. แร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) o มูลค่า: สูง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของจีน o การใช้งาน: ผลิตแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets), แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า, อุปกรณ์เลเซอร์, เซมิคอนดักเตอร์ o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น (Kachin State), เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region) 3. ทองแดง (Copper) o มูลค่า: สูง เนื่องจากราคาทองแดงในตลาดโลกพุ่งสูงหลังรัฐประหาร o การใช้งาน: สายไฟ, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, การก่อสร้าง o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย (Sagaing Region), รัฐมอญ (Mon State) 4. ตะกั่ว (Lead) o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ o การใช้งาน: แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด, อุตสาหกรรมยานยนต์ o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐกะยา (Kayah State) 5. สังกะสี (Zinc) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบโลหะ o การใช้งาน: การชุบกัลวาไนซ์, โลหะผสม o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, เขตย่างกุ้ง (Yangon Region) 6. นิกเกิล (Nickel) o มูลค่า: ปานกลาง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ o การใช้งาน: แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน, สแตนเลส o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย, รัฐฉาน 7. พลวง (Antimony) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมทหารและพลังงาน o การใช้งาน: สารหน่วงไฟ, โลหะผสม, อุปกรณ์ทหาร o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์ 8. ทังสเตน (Tungsten) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมที่มีความแข็งสูง o การใช้งาน: โลหะผสม, เครื่องมือตัด, อุปกรณ์ทหาร o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐคะฉิ่น 9. ทองคำ (Gold) o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ขึ้นอยู่กับราคาตลาดโลก o การใช้งาน: อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, เครื่องประดับ o พื้นที่เหมือง: เขตมัณฑะเลย์, รัฐคะฉิ่น, เขตสะกาย 10. อิตเทรียม (Yttrium) o มูลค่า: ต่ำถึงปานกลาง แต่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมเฉพาะ o การใช้งาน: สารเรืองแสงใน LED, อุปกรณ์ MRI, เซรามิก o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์ หมายเหตุ: มูลค่าที่ระบุเป็นการประเมินจากความสำคัญในห่วงโซ่อุปทานและปริมาณการส่งออก เนื่องจากไม่มีข้อมูลตัวเลขที่แน่นอนหลังรัฐประหาร ______________________________
    0 Comments 0 Shares 552 Views 0 Reviews
  • รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    0 Comments 0 Shares 434 Views 0 Reviews
  • นักวิจัยค้นพบยาปฏิชีวนะใหม่จากแบคทีเรียในสวนหลังบ้านชื่อ Lariocidin ที่มีโครงสร้างเหมือนปมเชือก ทำให้มีความทนทานและฆ่าแบคทีเรียดื้อยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะยังอยู่ในขั้นทดลอง แต่การค้นพบครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ดิน อาจเป็นกุญแจสำคัญในการต่อสู้กับปัญหาการดื้อยาปฏิชีวนะซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพระดับโลก

    ✅ โครงสร้างที่ทนทานของ Lasso Peptide
    - Lasso Peptide มีโครงสร้างเหมือน ปมเชือก ทำให้มีความทนทานต่อการสลายและยังคงประสิทธิภาพได้นาน
    - Lariocidin จึงสามารถทำงานได้ดีกว่ายาปฏิชีวนะแบบทั่วไป

    ✅ กลไกการกำจัดแบคทีเรียที่ไม่เหมือนใคร
    - ariocidin โจมตีส่วนที่เรียกว่า Ribosome ซึ่งเป็นศูนย์กลางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย
    - ด้วยวิธีการหยุดการทำงานของ Ribosome และสร้างความผิดพลาดในการผลิตโปรตีน Lariocidin สามารถฆ่าแบคทีเรียที่ดื้อยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ✅ ดิน—แหล่งทรัพยากรที่ไม่ได้รับการใช้ประโยชน์อย่างเพียงพอ
    - การค้นพบนี้เน้นให้เห็นว่า ดินเป็นแหล่งข้อมูลสำคัญในการพัฒนายาใหม่ เพราะจุลินทรีย์ในดินมีวิธีป้องกันตัวเองจากแบคทีเรียชนิดอื่นในธรรมชาติ

    ✅ ความสำคัญในระดับโลกของการค้นพบ
    - การดื้อยาปฏิชีวนะ เป็นปัญหาสุขภาพระดับโลกที่ทำให้ผู้เสียชีวิตหลายล้านคนต่อปี
    - องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้จัดให้การดื้อยาปฏิชีวนะอยู่ใน สิบอันดับแรกของภัยคุกคามต่อสุขภาพ

    แม้ว่า Lariocidin จะมีศักยภาพสูง แต่ยังอยู่ใน ระยะเริ่มต้นของการวิจัย นักวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความปลอดภัยและประสิทธิภาพในมนุษย์ รวมถึงพัฒนาวิธีการผลิตในปริมาณมากสำหรับการใช้งานทางการแพทย์

    https://www.neowin.net/news/drug-that-kills-antibiotic-resistant-bacteria-was-unknowingly-growing-in-a-garden/
    นักวิจัยค้นพบยาปฏิชีวนะใหม่จากแบคทีเรียในสวนหลังบ้านชื่อ Lariocidin ที่มีโครงสร้างเหมือนปมเชือก ทำให้มีความทนทานและฆ่าแบคทีเรียดื้อยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะยังอยู่ในขั้นทดลอง แต่การค้นพบครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ดิน อาจเป็นกุญแจสำคัญในการต่อสู้กับปัญหาการดื้อยาปฏิชีวนะซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพระดับโลก ✅ โครงสร้างที่ทนทานของ Lasso Peptide - Lasso Peptide มีโครงสร้างเหมือน ปมเชือก ทำให้มีความทนทานต่อการสลายและยังคงประสิทธิภาพได้นาน - Lariocidin จึงสามารถทำงานได้ดีกว่ายาปฏิชีวนะแบบทั่วไป ✅ กลไกการกำจัดแบคทีเรียที่ไม่เหมือนใคร - ariocidin โจมตีส่วนที่เรียกว่า Ribosome ซึ่งเป็นศูนย์กลางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย - ด้วยวิธีการหยุดการทำงานของ Ribosome และสร้างความผิดพลาดในการผลิตโปรตีน Lariocidin สามารถฆ่าแบคทีเรียที่ดื้อยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ✅ ดิน—แหล่งทรัพยากรที่ไม่ได้รับการใช้ประโยชน์อย่างเพียงพอ - การค้นพบนี้เน้นให้เห็นว่า ดินเป็นแหล่งข้อมูลสำคัญในการพัฒนายาใหม่ เพราะจุลินทรีย์ในดินมีวิธีป้องกันตัวเองจากแบคทีเรียชนิดอื่นในธรรมชาติ ✅ ความสำคัญในระดับโลกของการค้นพบ - การดื้อยาปฏิชีวนะ เป็นปัญหาสุขภาพระดับโลกที่ทำให้ผู้เสียชีวิตหลายล้านคนต่อปี - องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้จัดให้การดื้อยาปฏิชีวนะอยู่ใน สิบอันดับแรกของภัยคุกคามต่อสุขภาพ แม้ว่า Lariocidin จะมีศักยภาพสูง แต่ยังอยู่ใน ระยะเริ่มต้นของการวิจัย นักวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความปลอดภัยและประสิทธิภาพในมนุษย์ รวมถึงพัฒนาวิธีการผลิตในปริมาณมากสำหรับการใช้งานทางการแพทย์ https://www.neowin.net/news/drug-that-kills-antibiotic-resistant-bacteria-was-unknowingly-growing-in-a-garden/
    WWW.NEOWIN.NET
    Drug that kills antibiotic-resistant bacteria was unknowingly growing in a garden
    A new antibiotic that can kill antibiotic-resistant bacteria has been discovered, and it was found in a garden.
    0 Comments 0 Shares 169 Views 0 Reviews
  • รีโพสต์เพจมูลนิธิบูรณะนิเวศ 4 เมษายน 2568 พิรุธใหม่ “ซินเคอหยวน” ซุก “ฝุ่นแดง” เกือบครึ่งแสนตัน.จากกรณีการเกิดแผ่นดินไหวจนอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. ที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง ถล่มลง ชื่อของบริษัททุนจีนที่ปรากฏเป็นข่าวและถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวาง นอกจากบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) แล้ว ยังมีชื่อของบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด เคียงคู่มาด้วย ในฐานะเจ้าของผลิตภัณฑ์เหล็กเส้นยี่ห้อ SKY.ทั้งนี้ เหล็กข้ออ้อยขนาด 20 และ 32 มิลลิเมตรที่กระทรวงอุตสาหกรรมเก็บตัวอย่างมาจากตึก สตง. ซึ่งทดสอบแล้วพบว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ก็คือเหล็ก SKY นั่นเอง.จากผลการตรวจพบข้อเท็จจริงดังกล่าว ทำให้เมื่อวันที่ 2 เมษายน ที่ผ่านมา คณะตรวจการสุดซอยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ร่วมกับตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (บก.ปทส.) กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เข้าตรวจสอบโรงงานซินเคอหยวน ซึ่งตั้งอยู่ที่ อ.บ้านค่าย จ.ระยอง โดยตั้งเป้าตรวจสอบใน 2 ประเด็นหลัก.นั่นคือ 1. ตรวจสอบว่าเหล็กตกมาตรฐานของบริษัทที่เคยถูกยึดอายัดไว้เดือนธันวาคม 2567 ยังอยู่ครบหรือไม่ 2. บริษัทซึ่งถูกสั่งปิดปรับปรุงตั้งแต่ปลายปีนั้น มีการลักลอบประกอบกิจการหรือไม่.ผลการตรวจสอบในประเด็นแรกพบว่า เหล็กของกลางที่เจ้าหน้าที่ได้ทำการยึดอายัดไว้ยังอยู่ครบถ้วน ไม่มีการเคลื่อนย้าย ส่วนการตรวจในประเด็นที่ 2 ในวันที่ลงตรวจก็ไม่พบการประกอบกิจการ.อย่างไรก็ตาม ในกลุ่มสื่อมวลชนที่ติดตามประเด็น ต่างตั้งข้อสังเกตว่า สภาพโรงงานดู “สะอาดเรียบร้อย” พร้อมรับการตรวจราวทราบล่วงหน้า รวมทั้งผู้เป็นตัวแทนบริษัทได้แสดงความมั่นใจ และบางช่วงได้ทักทายผู้สื่อข่าวด้วยสีหน้ายิ้มแย้มว่า “เป็นไงนักข่าวได้ข่าวอะไรไหม”.กระนั้นก็ตาม จากการที่คณะตรวจการสุดซอยฯ ตรวจสอบการใช้ไฟฟ้าในโรงงานจากบิลค่าไฟ แม้พบว่า ค่าไฟในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2568 จะลดลงอย่างมาก จากค่าเฉลี่ยเดิมที่ประมาณเดือนละ 150 ล้านบาท คงเหลือที่ 1.2 ล้านบาท 0.64 ล้านบาท และ 6.4 ล้านบาท ตามลำดับ แต่ตัวเลขของเดือนล่าสุดก็ยังมีความน่าสงสัย.แต่สำหรับประเด็นชวนกังขาที่แท้จริงกลับอยู่ที่ “ฝุ่นแดง” ที่ทางบริษัทมีอยู่ในครอบครอง ซึ่งเจ้าหน้าที่ประเมินว่าน่าจะมีจำนวนมากกว่า 43,000 ตัน ในขณะที่จำนวนที่บริษัทแจ้งต่อภาครัฐมีเพียง 2,245 ตันต่อปี อีกทั้งในปี 2567 บริษัทฯ ไม่มีการแจ้งหรือรายงานการกักเก็บฝุ่นแดงแต่อย่างใด .อนึ่ง ฝุ่นแดงคือฝุ่นที่เกิดจากเตาหลอมเหล็ก ซึ่งในระดับนานาชาติถือว่าเป็นของเสียอันตรายที่ต้องควบคุมการก่อเกิด การเคลื่อนย้าย และการกำจัดอย่างเข้มงวด เนื่องจากมีส่วนประกอบเป็นโลหะหนักที่สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม.การมีฝุ่นแดงในครอบครองในกรณีของซินเคอหยวนจึงถือว่าเป็นเรื่องปกติ ในฐานะของเสียจากกระบวนการผลิต เพียงแต่ปริมาณที่แตกต่างมหาศาล จากระดับ 2,000 ตัน กลายเป็น 40,000 ตัน ก่อให้เกิดคำถามใหญ่และสำคัญว่า ฝุ่นแดงส่วนเกินนั้นมาจากไหน และฝุ่นแดงเหล่านั้นเข้ามาอยู่ในโรงงานของบริษัทในฐานะอะไร เรื่องนี้จึงถือว่าเป็นข้อพิรุธใหญ่ที่จำเป็นต้องมีการสืบสวนสอบสวนต่ออย่างเอาจริงเอาจัง.เท่าที่เจ้าหน้าที่มูลนิธิบูรณะนิเวศสังเกตดูกองถุงบิ๊กแบกบรรจุฝุ่นแดงภายในโรงงานของซินเคอหยวน พบว่าลักษณะของถุงมีความแตกต่างกัน ส่วนที่กองอยู่ในฟากหนึ่งเป็นถุงสีขาวออกน้ำตาลที่มีดูหมองและเก่า หลายจุดมีมีหยากไย่เกาะปกคลุม .ในขณะที่อีกฟากมีถุงบิ๊กแบกสีดำที่มีอักษรจีนกำกับ ซึ่งลักษณะดูใหม่กว่า และส่วนใหญ่จะวางทับถุงสีขาวน้ำตาล คล้ายกับว่าถุงเหล่านี้ถูกนำหรือเคลื่อนย้ายเข้ามาทีหลัง.สำหรับถุงบิ๊กแบกสีดำที่ที่มีอักษรจีนเป็นแบบเดียวกับเราเคยพบมาก่อนจากการลงพื้นที่โรงงานในจังหวัดสมุทรสาคร โดยเป็นถุงบรรจุฝุ่นแดงเช่นเดียวกัน.ทั้งนี้ เมื่อวานนี้ (3 เมษายน 2568) ทางกระทรวงอุตสาหกรรมได้ประสานดีเอสไอรับประเด็นเรื่องฝุ่นแดงกรณีบริษัทซินเคอหยวนนี้เป็นคดีพิเศษแล้ว ซึ่งทางเพจจะนำเสนอประเด็นเกี่ยวเนื่องอื่นๆ และความคืบหน้าต่อไป......เรื่องและภาพโดย นราธิป ทองถนอม มูลนิธิบูรณะนิเวศ
    รีโพสต์เพจมูลนิธิบูรณะนิเวศ 4 เมษายน 2568 พิรุธใหม่ “ซินเคอหยวน” ซุก “ฝุ่นแดง” เกือบครึ่งแสนตัน.จากกรณีการเกิดแผ่นดินไหวจนอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. ที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง ถล่มลง ชื่อของบริษัททุนจีนที่ปรากฏเป็นข่าวและถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวาง นอกจากบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) แล้ว ยังมีชื่อของบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด เคียงคู่มาด้วย ในฐานะเจ้าของผลิตภัณฑ์เหล็กเส้นยี่ห้อ SKY.ทั้งนี้ เหล็กข้ออ้อยขนาด 20 และ 32 มิลลิเมตรที่กระทรวงอุตสาหกรรมเก็บตัวอย่างมาจากตึก สตง. ซึ่งทดสอบแล้วพบว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ก็คือเหล็ก SKY นั่นเอง.จากผลการตรวจพบข้อเท็จจริงดังกล่าว ทำให้เมื่อวันที่ 2 เมษายน ที่ผ่านมา คณะตรวจการสุดซอยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ร่วมกับตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (บก.ปทส.) กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เข้าตรวจสอบโรงงานซินเคอหยวน ซึ่งตั้งอยู่ที่ อ.บ้านค่าย จ.ระยอง โดยตั้งเป้าตรวจสอบใน 2 ประเด็นหลัก.นั่นคือ 1. ตรวจสอบว่าเหล็กตกมาตรฐานของบริษัทที่เคยถูกยึดอายัดไว้เดือนธันวาคม 2567 ยังอยู่ครบหรือไม่ 2. บริษัทซึ่งถูกสั่งปิดปรับปรุงตั้งแต่ปลายปีนั้น มีการลักลอบประกอบกิจการหรือไม่.ผลการตรวจสอบในประเด็นแรกพบว่า เหล็กของกลางที่เจ้าหน้าที่ได้ทำการยึดอายัดไว้ยังอยู่ครบถ้วน ไม่มีการเคลื่อนย้าย ส่วนการตรวจในประเด็นที่ 2 ในวันที่ลงตรวจก็ไม่พบการประกอบกิจการ.อย่างไรก็ตาม ในกลุ่มสื่อมวลชนที่ติดตามประเด็น ต่างตั้งข้อสังเกตว่า สภาพโรงงานดู “สะอาดเรียบร้อย” พร้อมรับการตรวจราวทราบล่วงหน้า รวมทั้งผู้เป็นตัวแทนบริษัทได้แสดงความมั่นใจ และบางช่วงได้ทักทายผู้สื่อข่าวด้วยสีหน้ายิ้มแย้มว่า “เป็นไงนักข่าวได้ข่าวอะไรไหม”.กระนั้นก็ตาม จากการที่คณะตรวจการสุดซอยฯ ตรวจสอบการใช้ไฟฟ้าในโรงงานจากบิลค่าไฟ แม้พบว่า ค่าไฟในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2568 จะลดลงอย่างมาก จากค่าเฉลี่ยเดิมที่ประมาณเดือนละ 150 ล้านบาท คงเหลือที่ 1.2 ล้านบาท 0.64 ล้านบาท และ 6.4 ล้านบาท ตามลำดับ แต่ตัวเลขของเดือนล่าสุดก็ยังมีความน่าสงสัย.แต่สำหรับประเด็นชวนกังขาที่แท้จริงกลับอยู่ที่ “ฝุ่นแดง” ที่ทางบริษัทมีอยู่ในครอบครอง ซึ่งเจ้าหน้าที่ประเมินว่าน่าจะมีจำนวนมากกว่า 43,000 ตัน ในขณะที่จำนวนที่บริษัทแจ้งต่อภาครัฐมีเพียง 2,245 ตันต่อปี อีกทั้งในปี 2567 บริษัทฯ ไม่มีการแจ้งหรือรายงานการกักเก็บฝุ่นแดงแต่อย่างใด .อนึ่ง ฝุ่นแดงคือฝุ่นที่เกิดจากเตาหลอมเหล็ก ซึ่งในระดับนานาชาติถือว่าเป็นของเสียอันตรายที่ต้องควบคุมการก่อเกิด การเคลื่อนย้าย และการกำจัดอย่างเข้มงวด เนื่องจากมีส่วนประกอบเป็นโลหะหนักที่สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม.การมีฝุ่นแดงในครอบครองในกรณีของซินเคอหยวนจึงถือว่าเป็นเรื่องปกติ ในฐานะของเสียจากกระบวนการผลิต เพียงแต่ปริมาณที่แตกต่างมหาศาล จากระดับ 2,000 ตัน กลายเป็น 40,000 ตัน ก่อให้เกิดคำถามใหญ่และสำคัญว่า ฝุ่นแดงส่วนเกินนั้นมาจากไหน และฝุ่นแดงเหล่านั้นเข้ามาอยู่ในโรงงานของบริษัทในฐานะอะไร เรื่องนี้จึงถือว่าเป็นข้อพิรุธใหญ่ที่จำเป็นต้องมีการสืบสวนสอบสวนต่ออย่างเอาจริงเอาจัง.เท่าที่เจ้าหน้าที่มูลนิธิบูรณะนิเวศสังเกตดูกองถุงบิ๊กแบกบรรจุฝุ่นแดงภายในโรงงานของซินเคอหยวน พบว่าลักษณะของถุงมีความแตกต่างกัน ส่วนที่กองอยู่ในฟากหนึ่งเป็นถุงสีขาวออกน้ำตาลที่มีดูหมองและเก่า หลายจุดมีมีหยากไย่เกาะปกคลุม .ในขณะที่อีกฟากมีถุงบิ๊กแบกสีดำที่มีอักษรจีนกำกับ ซึ่งลักษณะดูใหม่กว่า และส่วนใหญ่จะวางทับถุงสีขาวน้ำตาล คล้ายกับว่าถุงเหล่านี้ถูกนำหรือเคลื่อนย้ายเข้ามาทีหลัง.สำหรับถุงบิ๊กแบกสีดำที่ที่มีอักษรจีนเป็นแบบเดียวกับเราเคยพบมาก่อนจากการลงพื้นที่โรงงานในจังหวัดสมุทรสาคร โดยเป็นถุงบรรจุฝุ่นแดงเช่นเดียวกัน.ทั้งนี้ เมื่อวานนี้ (3 เมษายน 2568) ทางกระทรวงอุตสาหกรรมได้ประสานดีเอสไอรับประเด็นเรื่องฝุ่นแดงกรณีบริษัทซินเคอหยวนนี้เป็นคดีพิเศษแล้ว ซึ่งทางเพจจะนำเสนอประเด็นเกี่ยวเนื่องอื่นๆ และความคืบหน้าต่อไป......เรื่องและภาพโดย นราธิป ทองถนอม มูลนิธิบูรณะนิเวศ
    Angry
    1
    0 Comments 1 Shares 485 Views 0 Reviews
  • สหรัฐเก็บภาษีนำเข้าสินค้าจากไทย 36% (ล่าสุดปรับอีกครั้งเป็น 37%) หนึ่งในทางออกคือ ไทยต้องเล่นบทบาทนำในอาเซียน เพื่อผ่านวิกฤตครั้งนี้ให้ได้.ประเด็นเร่งด่วนในระยะสั้นที่ไทยต้องเร่งผลักดันผ่านคณะทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับสูง และที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อให้ทันก่อนการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนในเดือนพฤษภาคมที่จะถึงนี้คือ.รับมือกับมาตรการทางทางการค้าของสหรัฐอเมริการ่วมกัน เพราะสมาชิกอาเซียนโดนกันถ้วนหน้า กัมพูชา 49% สปป ลาว 48% เวียดนาม 46% เมียนมา 44% ไทย 36-37% อินโดนีเซีย 32% มาเลเซียและบรูไน 24% ฟิลิปปินส์ 17% หรือแม้แต่สิงคโปร์ก็โดนภาษี 10% เราต้องคำนวณร่วมกันว่า อัตราที่ทรัมป์กล่าวอ้าง นั่นคือ x2 ของอัตราภาษีเหล่านี้ คืออัตราจริงหรือไม่ ที่มาเป็นอย่างไร ถ้าไม่จริงต้องเร่งปฏิเสธ (ซึ่งผมค่อนข้างมั่นใจว่าไม่น่าจะใช่อัตราที่ถูกต้อง รวมทั้งมีผู้คำนวณแล้วว่าตัวเลขชุดนี้ แท้จริงแล้วคือ สัดส่วนมูลค่าการขาดดุลการค้าต่อมูลค่าการนำเข้าที่สหรัฐนำเข้าสินค้าจากแต่ละประเทศ).จากนั้น ต้องคิดต่อว่าหากให้แต่ละประเทศสมาชิกเจรจากับสหรัฐ (ซึ่งจะมีเวลาเตรียมตัวสั้นมาก) เพื่อลดผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้า อำนาจการต่อรองของแต่ละสมาชิกเมื่อเทียบกับสหรัฐอเมริกาคือ เรื่องจิ๊บจ๊อยขี้ประติ๋ว แต่หากประชาคมอาเซียนรวมตัวกัน นี้คือตลาดของประชาชนเรือน 700 ล้านประชากร ที่มีรายได้สูงเป็นอันดับที่ 5 ของโลก และเป็นแหล่งทรัพยากรสำคัญ ดังนั้น อาเซียนต้องร่วมมือกัน อาเซียนต้องเดินหน้าต่อรองด้วยกัน .อาเซียนต้องไม่ดำเนินมาตรการที่ขัดแข้งขัดขาซึ่งกันและกัน มาตรการจำพวกตั้งภาษีตอบโต้กัน หรือเลียนแบบมาตรการทางการค้าเพื่อตอบโต้ซึ่งกันและกัน (Tariff Retaliation and/or Trade Emulation) รวมทั้งนโยบายประเภทเอาดีใส่ตัวเอาชั่วใส่คนอื่น ขอทานจากประเทศเพื่อบ้าน (Beggar-thy-neighbor) อาทิ ขึ้นดอกเบี้ยเพื่อดึงดูดเงินทุน แข่งกันให้สิทธิพิเศษทางการค้าการลงทุนจนวายวอดทั้งภูมิภาค ฯลฯ เหล่านี้ต้องไม่เกิดขึ้น .จากนั้นทั้งอาเซียนต้องร่วมกัน.1. แสดงจุดยืนอย่างชัดเจนว่า อาเซียนคืออาเซียน อาเซียนมีจุดแข็งของตนเอง อาเซียนพร้อมสนับสนุนการค้า การลงทุนเสรี อาเซียนสนับสนุนกฎกติการแบบพหุภาคีนิยม และอาเซียนไม่ได้เป็นเขตอิทธิพลของมหาอำนาจใดมหาอำนาจหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น จีน สหรัฐ หรือ มหาอำนาจใดๆ.2. เร่งสำรวจผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากมาตรการทางการค้าที่สหรัฐประกาศ ณ วันที่ 2 เมษายน ว่าแต่ละประเทศได้รับผลกระทบอย่างไร และหากเราร่วมมือกัน เราต้องการตจะกำหนดทิศทางการเจรจาอย่างไร แน่นอนว่า ทุกประเทศ ทุกคน คงไม่ได้สิ่งที่ต้องการทั้งหมด แต่ต้องมีการจัดลำดับความสำคัญ บางเรื่อง บางประเทศ คงต้องยอมถอย เพื่อให้ได้ประโยชน์ต่อบางภาคการผลิต บางประเทศ และจากนั้นค่อยไปหารือกันว่าอาเซียนจะช่วยการเยียวยาผลกระทบซึ่งกันและกันได้อย่างไร เร่งปรึกษาหารือกับวิสาหกิจสหรัฐที่ทำการค้า ทำการลงทุนอยู่แล้วในอาเซียน ว่าพวกเขามีข้อเสนอแนะใดบ้าง.3. เร่งสำรวจว่าแต่ละประเทศมีช่องทาง มีสายสัมพันธ์ มีแนวทางการติดต่อประสานงานกับประธานาธิบดีทรัมป์ และทีมงานที่ภักดีของเขา รวมทั้งผู้สนับสนุนการรณรงค์หาเสียงของเขาในช่องทางใดบ้าง มีอะไรที่จะเป็นจุดสำคัญที่จะทำให้คนเหล่านี้ต้องการเป็นสะพานเพื่อเปิดการเจรจาระหว่างอาเซียนกับสหรัฐ.4. วางยุทธศาสตร์การเจรจาร่วมกัน โดยการจัดทำ “ยุทธศาสตร์ราชสีห์กับหนู” นำเสนอนโยบายที่ทำให้ทรัมป์ต้องให้ความสนใจอาเซียน (ทรัมป์เคยมาเยือนการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนที่ฟิลิปปินส์ในปี 2017 แต่ไม่เคยเข้าประชุมกับผู้นำอาเซียน) อาเซียนต้องเป็นหนูที่แสดงความเกรงใจนบนอบในระยะปัจจุบัน แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องแสดงให้เห็นโอกาสที่สหรัฐจะได้จากการร่วมมือกับในอนาคต มีอะไรที่เราจะเสนอกับอาเซียนได้บ้าง อาทิ ความต้องการในการจัดซื้อยุทโธปกรณ์ของอาเซียนร่วมกันในอีก 5 ปีต่อจากนี้ ความต้องการในการซื้อสินค้าและบริการที่เป็น Billing ขนาดใหญ่ อาทิ การจัดหาเครื่องบินพาณิชย์ของสายการบินต่างๆ ในประเทศอาเซียนที่มีตลาดการบินขนาดใหญ่และเป็น Hub ทางการบินที่สำคัญ, การจัดซื้อ Software และ Hardware สำหรับระบบบริหาร ASEAN Smart City Network รวมทั้งความต้องการในการจัดซื้อบริการเหล่านี้สำหรับการบริหารกิจการทั้งของรัฐบาลและของภาคเอกชนในอาเซียน, ความต้องการซื้ออุปกรณ์และองค์ความรู้ในการติดตั้งเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อการสร้างโรงไฟฟ้าและศักยภาพของการผลิตพลังงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมดิจิตอลที่ผู้ประกอบการสหรัฐต้องการ, ทรัพยากรธรรมชาติของอาเซียนที่สหรัฐดิ้นรนแสวงหาอยู่ ณ ขณะนี้, ไปจนถึงการเปิดโอกาสให้กลุ่มทุนคาสิโนแห่ง Las Vegas ได้มีโอกาสในการทำธุรกิจในอาเซียนในประเทศที่กำลังเดินหน้านโยบายการเปิดบ่อน (ส่วนตัวผู้เขียนไม่เห็นด้วยกับการเปิดบ่อนคาสิโนที่มอมเมาประชาชน แต่หากรัฐบาลจะดันทุรังเปิดให้ได้ อย่างน้อยก็ต้องเอามาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพราะต้องอย่าลืมว่าผู้สนับสนุนทรัมป์ก็เป็นกลุ่มทุนคาสิโนยักษ์ใหญ่) ฯลฯ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นอำนาจต่อรองที่หนูตัวนี้จะรอดจากเงื้อมมือราชสีห์ด้วยกันทั้งสิ้น.5. และเนื่องจาก ไทย มาเลเซีย และเวียดนาม ได้รับสิทธิ์ในการเป็น Partner Country ของกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ BRICS ในขณะที่อินโดนีเซียได้รับสิทธิ์เป็น Full Member ของ BRICS เรียบร้อยแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่หนูน้อยอาเซียนต้องดำเนินการด้วยนั่นก็คือ เร่งเจรจากับผู้นำบราซิลที่จะเป็นเจ้าภาพการประชุมสุดยอดกลุ่ม BRICS ในปีนี้ ว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะรับอาเซียนทั้ง 10 ประเทศเข้าเป็นสมาชิก เพราะหนูตัวนี้บางครั้งก็ต้องพึ่งพาราชสีห์อีกตัวมากดดันราชสีห์อันทพาลตัวเก่า การแสวงหาโอกาส การแสวงหาตลาดใหม่ๆ ที่จะเป็นทางเลือกเพื่อมาทดแทนตลาดการค้าที่กำลังจะเสียไป เป็นทางเลือกที่เรามีสิทธิ์ในฐานะรัฐอธิปไตย.ขอเรียกร้องให้ผู้กำหนดนโยบายของไทยต้องมีวิสัยทัศน์ มีความกล้าหาญในการเล่นบทบาทนำของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน เราต้องมีข้อเสนอกับประชาคมอาเซียนเพื่อรับมือมาตรการกีดกันทางการค้าจะสหรัฐร่วมกัน.รองศาสตราจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนามคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ปล. รบกวนช่วยกัน Share นะครับ เราต้องลุกขึ้นมาทำอะไรบ้าง ไม่งั้นไทยจะหายไปจากจอเรดาร์
    สหรัฐเก็บภาษีนำเข้าสินค้าจากไทย 36% (ล่าสุดปรับอีกครั้งเป็น 37%) หนึ่งในทางออกคือ ไทยต้องเล่นบทบาทนำในอาเซียน เพื่อผ่านวิกฤตครั้งนี้ให้ได้.ประเด็นเร่งด่วนในระยะสั้นที่ไทยต้องเร่งผลักดันผ่านคณะทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับสูง และที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อให้ทันก่อนการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนในเดือนพฤษภาคมที่จะถึงนี้คือ.รับมือกับมาตรการทางทางการค้าของสหรัฐอเมริการ่วมกัน เพราะสมาชิกอาเซียนโดนกันถ้วนหน้า กัมพูชา 49% สปป ลาว 48% เวียดนาม 46% เมียนมา 44% ไทย 36-37% อินโดนีเซีย 32% มาเลเซียและบรูไน 24% ฟิลิปปินส์ 17% หรือแม้แต่สิงคโปร์ก็โดนภาษี 10% เราต้องคำนวณร่วมกันว่า อัตราที่ทรัมป์กล่าวอ้าง นั่นคือ x2 ของอัตราภาษีเหล่านี้ คืออัตราจริงหรือไม่ ที่มาเป็นอย่างไร ถ้าไม่จริงต้องเร่งปฏิเสธ (ซึ่งผมค่อนข้างมั่นใจว่าไม่น่าจะใช่อัตราที่ถูกต้อง รวมทั้งมีผู้คำนวณแล้วว่าตัวเลขชุดนี้ แท้จริงแล้วคือ สัดส่วนมูลค่าการขาดดุลการค้าต่อมูลค่าการนำเข้าที่สหรัฐนำเข้าสินค้าจากแต่ละประเทศ).จากนั้น ต้องคิดต่อว่าหากให้แต่ละประเทศสมาชิกเจรจากับสหรัฐ (ซึ่งจะมีเวลาเตรียมตัวสั้นมาก) เพื่อลดผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้า อำนาจการต่อรองของแต่ละสมาชิกเมื่อเทียบกับสหรัฐอเมริกาคือ เรื่องจิ๊บจ๊อยขี้ประติ๋ว แต่หากประชาคมอาเซียนรวมตัวกัน นี้คือตลาดของประชาชนเรือน 700 ล้านประชากร ที่มีรายได้สูงเป็นอันดับที่ 5 ของโลก และเป็นแหล่งทรัพยากรสำคัญ ดังนั้น อาเซียนต้องร่วมมือกัน อาเซียนต้องเดินหน้าต่อรองด้วยกัน .อาเซียนต้องไม่ดำเนินมาตรการที่ขัดแข้งขัดขาซึ่งกันและกัน มาตรการจำพวกตั้งภาษีตอบโต้กัน หรือเลียนแบบมาตรการทางการค้าเพื่อตอบโต้ซึ่งกันและกัน (Tariff Retaliation and/or Trade Emulation) รวมทั้งนโยบายประเภทเอาดีใส่ตัวเอาชั่วใส่คนอื่น ขอทานจากประเทศเพื่อบ้าน (Beggar-thy-neighbor) อาทิ ขึ้นดอกเบี้ยเพื่อดึงดูดเงินทุน แข่งกันให้สิทธิพิเศษทางการค้าการลงทุนจนวายวอดทั้งภูมิภาค ฯลฯ เหล่านี้ต้องไม่เกิดขึ้น .จากนั้นทั้งอาเซียนต้องร่วมกัน.1. แสดงจุดยืนอย่างชัดเจนว่า อาเซียนคืออาเซียน อาเซียนมีจุดแข็งของตนเอง อาเซียนพร้อมสนับสนุนการค้า การลงทุนเสรี อาเซียนสนับสนุนกฎกติการแบบพหุภาคีนิยม และอาเซียนไม่ได้เป็นเขตอิทธิพลของมหาอำนาจใดมหาอำนาจหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น จีน สหรัฐ หรือ มหาอำนาจใดๆ.2. เร่งสำรวจผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากมาตรการทางการค้าที่สหรัฐประกาศ ณ วันที่ 2 เมษายน ว่าแต่ละประเทศได้รับผลกระทบอย่างไร และหากเราร่วมมือกัน เราต้องการตจะกำหนดทิศทางการเจรจาอย่างไร แน่นอนว่า ทุกประเทศ ทุกคน คงไม่ได้สิ่งที่ต้องการทั้งหมด แต่ต้องมีการจัดลำดับความสำคัญ บางเรื่อง บางประเทศ คงต้องยอมถอย เพื่อให้ได้ประโยชน์ต่อบางภาคการผลิต บางประเทศ และจากนั้นค่อยไปหารือกันว่าอาเซียนจะช่วยการเยียวยาผลกระทบซึ่งกันและกันได้อย่างไร เร่งปรึกษาหารือกับวิสาหกิจสหรัฐที่ทำการค้า ทำการลงทุนอยู่แล้วในอาเซียน ว่าพวกเขามีข้อเสนอแนะใดบ้าง.3. เร่งสำรวจว่าแต่ละประเทศมีช่องทาง มีสายสัมพันธ์ มีแนวทางการติดต่อประสานงานกับประธานาธิบดีทรัมป์ และทีมงานที่ภักดีของเขา รวมทั้งผู้สนับสนุนการรณรงค์หาเสียงของเขาในช่องทางใดบ้าง มีอะไรที่จะเป็นจุดสำคัญที่จะทำให้คนเหล่านี้ต้องการเป็นสะพานเพื่อเปิดการเจรจาระหว่างอาเซียนกับสหรัฐ.4. วางยุทธศาสตร์การเจรจาร่วมกัน โดยการจัดทำ “ยุทธศาสตร์ราชสีห์กับหนู” นำเสนอนโยบายที่ทำให้ทรัมป์ต้องให้ความสนใจอาเซียน (ทรัมป์เคยมาเยือนการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนที่ฟิลิปปินส์ในปี 2017 แต่ไม่เคยเข้าประชุมกับผู้นำอาเซียน) อาเซียนต้องเป็นหนูที่แสดงความเกรงใจนบนอบในระยะปัจจุบัน แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องแสดงให้เห็นโอกาสที่สหรัฐจะได้จากการร่วมมือกับในอนาคต มีอะไรที่เราจะเสนอกับอาเซียนได้บ้าง อาทิ ความต้องการในการจัดซื้อยุทโธปกรณ์ของอาเซียนร่วมกันในอีก 5 ปีต่อจากนี้ ความต้องการในการซื้อสินค้าและบริการที่เป็น Billing ขนาดใหญ่ อาทิ การจัดหาเครื่องบินพาณิชย์ของสายการบินต่างๆ ในประเทศอาเซียนที่มีตลาดการบินขนาดใหญ่และเป็น Hub ทางการบินที่สำคัญ, การจัดซื้อ Software และ Hardware สำหรับระบบบริหาร ASEAN Smart City Network รวมทั้งความต้องการในการจัดซื้อบริการเหล่านี้สำหรับการบริหารกิจการทั้งของรัฐบาลและของภาคเอกชนในอาเซียน, ความต้องการซื้ออุปกรณ์และองค์ความรู้ในการติดตั้งเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อการสร้างโรงไฟฟ้าและศักยภาพของการผลิตพลังงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมดิจิตอลที่ผู้ประกอบการสหรัฐต้องการ, ทรัพยากรธรรมชาติของอาเซียนที่สหรัฐดิ้นรนแสวงหาอยู่ ณ ขณะนี้, ไปจนถึงการเปิดโอกาสให้กลุ่มทุนคาสิโนแห่ง Las Vegas ได้มีโอกาสในการทำธุรกิจในอาเซียนในประเทศที่กำลังเดินหน้านโยบายการเปิดบ่อน (ส่วนตัวผู้เขียนไม่เห็นด้วยกับการเปิดบ่อนคาสิโนที่มอมเมาประชาชน แต่หากรัฐบาลจะดันทุรังเปิดให้ได้ อย่างน้อยก็ต้องเอามาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพราะต้องอย่าลืมว่าผู้สนับสนุนทรัมป์ก็เป็นกลุ่มทุนคาสิโนยักษ์ใหญ่) ฯลฯ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นอำนาจต่อรองที่หนูตัวนี้จะรอดจากเงื้อมมือราชสีห์ด้วยกันทั้งสิ้น.5. และเนื่องจาก ไทย มาเลเซีย และเวียดนาม ได้รับสิทธิ์ในการเป็น Partner Country ของกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ BRICS ในขณะที่อินโดนีเซียได้รับสิทธิ์เป็น Full Member ของ BRICS เรียบร้อยแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่หนูน้อยอาเซียนต้องดำเนินการด้วยนั่นก็คือ เร่งเจรจากับผู้นำบราซิลที่จะเป็นเจ้าภาพการประชุมสุดยอดกลุ่ม BRICS ในปีนี้ ว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะรับอาเซียนทั้ง 10 ประเทศเข้าเป็นสมาชิก เพราะหนูตัวนี้บางครั้งก็ต้องพึ่งพาราชสีห์อีกตัวมากดดันราชสีห์อันทพาลตัวเก่า การแสวงหาโอกาส การแสวงหาตลาดใหม่ๆ ที่จะเป็นทางเลือกเพื่อมาทดแทนตลาดการค้าที่กำลังจะเสียไป เป็นทางเลือกที่เรามีสิทธิ์ในฐานะรัฐอธิปไตย.ขอเรียกร้องให้ผู้กำหนดนโยบายของไทยต้องมีวิสัยทัศน์ มีความกล้าหาญในการเล่นบทบาทนำของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน เราต้องมีข้อเสนอกับประชาคมอาเซียนเพื่อรับมือมาตรการกีดกันทางการค้าจะสหรัฐร่วมกัน.รองศาสตราจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนามคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ปล. รบกวนช่วยกัน Share นะครับ เราต้องลุกขึ้นมาทำอะไรบ้าง ไม่งั้นไทยจะหายไปจากจอเรดาร์
    Sad
    1
    0 Comments 1 Shares 618 Views 0 Reviews
  • "บิดเก่ง!"
    สถานการณ์ล่าสุด เซเลนสกียุติการลงนามข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐอีกครั้ง! โดยอ้างว่าข้อตกลงดังกล่าวขัดขวางการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป

    “รัฐธรรมนูญของยูเครนระบุชัดเจนว่าแนวทางของเรามุ่งไปที่สหภาพยุโรป” “เราไม่สามารถยอมรับสิ่งใดที่อาจขัดขวางการเข้าร่วมสหภาพยุโรปของยูเครนได้ เนื่องจากมีข้อจำกัดมาหมายที่ส่งผลกระทบต่ออำนาจอธิปไตยทางเศรษฐกิจของยูเครน” เซเลนสกีกล่าวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม

    การพลิกลิ้นของเซเลนสกีมีขึ้นหนึ่งวันหลังจากที่รายละเอียดของร่างข้อตกลงแร่ธาตุฉบับใหม่ระหว่างเคียฟและวอชิงตันถูกเปิดเผยโดยไฟแนนเชียลไทม์ส ซึ่งรายงานว่า ข้อตกลงฉบับล่าสุดที่สหรัฐเสนอ มีเงื่อนไขที่ให้วอชิงตันเข้าควบคุมทรัพยากรธรรมชาติของยูเครนได้อย่างเต็มที่ผ่านกองทุนการลงทุนร่วมสองประเทศ

    ต่อมาเซเลนสกีได้ประกาศว่า เขาบรรลุข้อตกลงกับ "บางประเทศในยุโรป" เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองและใบอนุญาตสำหรับการผลิตระบบป้องกันภัยทางอากาศและขีปนาวุธ (ยูเครนเคยขอใบอนุญาตจากสหรัฐในการผลิตระบบ Patriot แต่ถูกปฏิเสธ)


    นอกจากนี้ เซเลนสกียังยืนยันอีกครั้งว่า ไม่ยอมรับหนี้ที่เกิดขึ้นในอดีตกับสหรัฐสำหรับความช่วยเหลือที่ให้ไปก่อนหน้านี้ แต่อาจพิจารณาเปิดช่องให้กับการจ่ายสำหรับแพ็คเกจความช่วยเหลือทางทหารใหม่จากสหรัฐที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

    "เราซาบซึ้งในการสนับสนุน แต่สิ่งนี้ไม่ใช่เงินกู้และเราจะไม่ยอมรับ" เซเลนสกีกล่าวยืนยัน
    "บิดเก่ง!" สถานการณ์ล่าสุด เซเลนสกียุติการลงนามข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐอีกครั้ง! โดยอ้างว่าข้อตกลงดังกล่าวขัดขวางการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป “รัฐธรรมนูญของยูเครนระบุชัดเจนว่าแนวทางของเรามุ่งไปที่สหภาพยุโรป” “เราไม่สามารถยอมรับสิ่งใดที่อาจขัดขวางการเข้าร่วมสหภาพยุโรปของยูเครนได้ เนื่องจากมีข้อจำกัดมาหมายที่ส่งผลกระทบต่ออำนาจอธิปไตยทางเศรษฐกิจของยูเครน” เซเลนสกีกล่าวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม การพลิกลิ้นของเซเลนสกีมีขึ้นหนึ่งวันหลังจากที่รายละเอียดของร่างข้อตกลงแร่ธาตุฉบับใหม่ระหว่างเคียฟและวอชิงตันถูกเปิดเผยโดยไฟแนนเชียลไทม์ส ซึ่งรายงานว่า ข้อตกลงฉบับล่าสุดที่สหรัฐเสนอ มีเงื่อนไขที่ให้วอชิงตันเข้าควบคุมทรัพยากรธรรมชาติของยูเครนได้อย่างเต็มที่ผ่านกองทุนการลงทุนร่วมสองประเทศ ต่อมาเซเลนสกีได้ประกาศว่า เขาบรรลุข้อตกลงกับ "บางประเทศในยุโรป" เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองและใบอนุญาตสำหรับการผลิตระบบป้องกันภัยทางอากาศและขีปนาวุธ (ยูเครนเคยขอใบอนุญาตจากสหรัฐในการผลิตระบบ Patriot แต่ถูกปฏิเสธ) นอกจากนี้ เซเลนสกียังยืนยันอีกครั้งว่า ไม่ยอมรับหนี้ที่เกิดขึ้นในอดีตกับสหรัฐสำหรับความช่วยเหลือที่ให้ไปก่อนหน้านี้ แต่อาจพิจารณาเปิดช่องให้กับการจ่ายสำหรับแพ็คเกจความช่วยเหลือทางทหารใหม่จากสหรัฐที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต "เราซาบซึ้งในการสนับสนุน แต่สิ่งนี้ไม่ใช่เงินกู้และเราจะไม่ยอมรับ" เซเลนสกีกล่าวยืนยัน
    Like
    1
    1 Comments 0 Shares 392 Views 0 Reviews
  • 🕌🇸🇦 50 ปี ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุดีอาระเบีย ราชนัดดามีอาการทางจิต ปลิดชีพลุง 3 นัดซ้อน เสยคาง-ข้างหู เบื้องลึกโศกนาฏกรรมสะเทือนโลก 🕊️🔫

    📌 ย้อนเหตุการณ์สะเทือนโลก เมื่อ 50 ปี ที่ผ่านมา เหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุฯ โดยเจ้าชายผู้มีอาการทางจิต พร้อมเผยข้อเท็จจริงที่หลายคนไม่เคยรู้ ผลกระทบที่ยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน

    🕌 ย้อนรอยโศกนาฏกรรมแห่งราชวงศ์ซาอุฯ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518... เช้าวันอังคารที่เงียบเหงาในกรุงริยาด กลับกลายเป็นวันแห่งโศกนาฏกรรมระดับโลก เมื่อ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ผู้นำสูงสุดแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย ต้องสิ้นพระชนม์ด้วยฝีมือของเจ้าชาย ซึ่งเป็น "หลานชายแท้ ๆ" จากการลอบยิงระยะประชิด 3 นัดซ้อน ในพระราชวังหลวง... 💔🔫

    เหตุการณ์นี้ไม่ใช่แค่ความสูญเสียของราชวงศ์ หากแต่ส่งผลสะเทือนทั้งโลก โดยเฉพาะโลกมุสลิม ที่ยังคงสั่นคลอน กับคำถามที่ยังไม่มีคำตอบอย่างแท้จริงว่า...

    "ทำไมเจ้าชายจึงลั่นไก?" 🤯

    📖 เรื่องราวแห่งประวัติศาสตร์ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2507 ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะกษัตริย์ผู้มีวิสัยทัศน์ 🌍✨

    พระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการลดการพึ่งพาน้ำมัน ⛽️ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 🏗️ การส่งเสริมการศึกษา 📚 และการวางแผนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ ในระยะยาว

    นอกจากนี้ กษัตริย์ไฟซาลยังเป็นผู้นำ ในการต่อต้านอิสราเอลอย่างแข็งกร้าว ในช่วงสงคราม Yom Kippur และมีบทบาทสำคัญในการใช้ “นโยบายน้ำมันเป็นอาวุธ” (Oil Weapon Policy) กดดันตะวันตก ในช่วงวิกฤตน้ำมันปี 2516 🛢️⚖️

    พระองค์จึงเป็นทั้งผู้นำเชิงกลยุทธ์ และนักปฏิรูปผู้ทรงพลังของซาอุดีอาระเบีย

    😱 เหตุการณ์ลอบสังหาร เช้าแห่งความมืดมิด เช้าวันอังคารที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518 ในพระราชวังหลวง กรุงริยาด 🇸🇦 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด บิน อับดุลลาซิซ อัล ซาอุด" หลานชายแท้ ๆ ของกษัตริย์ไฟซาล ได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระราชาธิบดี พร้อมคณะผู้แทนจากประเทศคูเวต

    ขณะนั้นไม่มีผู้ใดคาดคิดว่า…

    ทันทีที่กษัตริย์โน้มพระองค์ลง เพื่อจุมพิตเจ้าชายตามธรรมเนียม เจ้าชายกลับชักปืนพกสั้นออกมา แล้วยิงไปที่คางและข้างพระกรรณของกษัตริย์ 3 นัดซ้อน 🔫💥

    ราชองครักษ์พยายามจะโต้ตอบทันที แต่ “ชีค อาห์เมด ซากีห์ ยามานี” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงปิโตรเลียมและทรัพยากรธรรมชาติ ได้ตะโกนห้ามไม่ให้สังหารเจ้าชายผู้ก่อเหตุ ทำให้เจ้าชายถูกจับกุมแทน

    👑 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายมูซาอิด พระอนุชาของกษัตริย์ไฟซาล เคยศึกษาที่สหรัฐอเมริกา 🇺🇸 และมีประวัติพฤติกรรมแปลกประหลาดหลายอย่าง เช่น...

    - ถูกจับที่สหรัฯอเมริกา จากคดีครอบครองยาเสพติด 💊
    - มีพฤติกรรมต่อต้านสังคม และมีแนวคิดเสรีนิยมแบบตะวันตก 🌐
    - เคยมีความขัดแย้งภายในราชวงศ์ 📉

    รายงานจากนักจิตแพทย์หลายฝ่ายตรงกันว่า เจ้าชายทรงมีอาการ “โรคจิตเภท” (Schizophrenia) 😵‍💫

    อาการที่สังเกตได้คือ
    - ความหวาดระแวง (Paranoia)
    - ความคิดหลงผิด (Delusions)
    - พฤติกรรมรุนแรง และขาดการควบคุมตนเอง

    ❓ แรงจูงใจเบื้องหลังการลอบสังหาร แม้การสอบสวนจะสรุปว่า เจ้าชายไฟซาลก่อเหตุเพียงลำพัง แต่แรงจูงใจยังคงเป็นปริศนา 🤔

    ข้อสันนิษฐานที่เป็นไปได้ ได้แก่
    - แก้แค้นให้เจ้าชายคาลิด พระเชษฐาซึ่งเสียชีวิตจากการต่อสู้ กับกองกำลังรัฐในปี 2509 ⚔️
    - อาการป่วยจิตเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมรุนแรง โดยไม่มีแรงจูงใจทางการเมืองชัดเจน 💭
    - ความไม่พอใจต่อราชวงศ์ เจ้าชายรู้สึกถูกจำกัดเสรีภาพ หลังกลับจากสหรัฐฯ 🗽
    - แรงกระตุ้นจากภายนอก บางฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่าอาจมี "ตะวันตก" อยู่เบื้องหลัง 🤫 แม้ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน

    ⚖️ หลังจากเหตุการณ์ไม่นาน "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" ถูกนำตัวขึ้นศาล ในข้อหาลอบปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์

    ศาลตัดสินให้ บั่นพระเศียรกลางจัตุรัสสาธารณะ ในกรุงริยาด ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายชารีอะห์ ของซาอุดีอาระเบีย ✝️⚔️

    การลงโทษต่อหน้าประชาชน ถูกใช้เพื่อส่งสารถึงประชาชนว่า ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย แม้จะเป็นเจ้าชายก็ตาม 👑❌⚖️

    🧠 จิตวิทยากับโศกนาฏกรรม ความเชื่อมโยงของ "โรคจิตเภท" จากคำวินิจฉัยของคณะจิตแพทย์พบว่าเจ้าชายไฟซาลมีอาการของ "โรคจิตเภท" ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดที่หลงผิด ไม่สามารถแยกแยะความจริง จากจินตนาการได้อย่างถูกต้อง 🤯

    อาการเด่นที่สังเกตได้คือ
    - ความหวาดระแวงว่า ถูกคุกคาม
    - อารมณ์ไม่คงที่
    - มีการตัดสินใจที่ผิดเพี้ยน
    - การรับรู้ผิดปกติอย่างรุนแรง

    💡สิ่งสำคัญคือ โรคจิตเภทไม่ใช่ความผิดของผู้ป่วย แต่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในเวลานั้น การวินิจฉัยและการรักษา ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร

    🕵️‍♂️ เรื่องจริงที่โลกไม่ค่อยรู้
    📌 เจ้าชายเคยถูกจับในสหรัฐอเมริกา ในคดีครอบครองยาเสพติด
    📌 กษัตริย์ไฟซาลมีเป้าหมายลดการพึ่งพาน้ำมัน พัฒนาการศึกษา
    📌 บางแหล่งข่าวสงสัยว่า ตะวันตกอาจเกี่ยวข้องกับการลอบสังหาร
    📌 "ชีค ยามานี" รัฐมนตรีน้ำมัน เป็นผู้หยุดราชองครักษ์ ไม่ให้สังหารเจ้าชายทันที

    🧩 โศกนาฏกรรมที่กลายเป็นบทเรียนแห่งโลก สะท้อนให้เห็นว่า... แม้จะอยู่ในพระราชวังสูงสุด หรือมีพระยศสูงส่งเพียงใด ก็ไม่อาจหนีจาก "ความเป็นมนุษย์" และ "ความเปราะบางของจิตใจ" ได้เลย

    กษัตริย์ไฟซาล อาจจากโลกนี้ไปด้วยความเจ็บปวด... แต่พระองค์ได้ทิ้งมรดกแห่งวิสัยทัศน์ ไว้ให้ซาอุดีอาระเบียก้าวหน้า ต่อมาอีกหลายทศวรรษ 🕊️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 251024 มี.ค. 2568

    📲 #กษัตริย์ไฟซาล #ลอบสังหารซาอุ #ประวัติศาสตร์ซาอุ #โศกนาฏกรรมซาอุดีอาระเบีย #จิตเวชในราชวงศ์ #ซาอุยุค70 #เจ้าชายไฟซาล #ราชวงศ์อาหรับ #เรื่องจริงไม่เคยรู้ #FaisalBinAbdulAziz
    🕌🇸🇦 50 ปี ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุดีอาระเบีย ราชนัดดามีอาการทางจิต ปลิดชีพลุง 3 นัดซ้อน เสยคาง-ข้างหู เบื้องลึกโศกนาฏกรรมสะเทือนโลก 🕊️🔫 📌 ย้อนเหตุการณ์สะเทือนโลก เมื่อ 50 ปี ที่ผ่านมา เหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุฯ โดยเจ้าชายผู้มีอาการทางจิต พร้อมเผยข้อเท็จจริงที่หลายคนไม่เคยรู้ ผลกระทบที่ยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน 🕌 ย้อนรอยโศกนาฏกรรมแห่งราชวงศ์ซาอุฯ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518... เช้าวันอังคารที่เงียบเหงาในกรุงริยาด กลับกลายเป็นวันแห่งโศกนาฏกรรมระดับโลก เมื่อ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ผู้นำสูงสุดแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย ต้องสิ้นพระชนม์ด้วยฝีมือของเจ้าชาย ซึ่งเป็น "หลานชายแท้ ๆ" จากการลอบยิงระยะประชิด 3 นัดซ้อน ในพระราชวังหลวง... 💔🔫 เหตุการณ์นี้ไม่ใช่แค่ความสูญเสียของราชวงศ์ หากแต่ส่งผลสะเทือนทั้งโลก โดยเฉพาะโลกมุสลิม ที่ยังคงสั่นคลอน กับคำถามที่ยังไม่มีคำตอบอย่างแท้จริงว่า... "ทำไมเจ้าชายจึงลั่นไก?" 🤯 📖 เรื่องราวแห่งประวัติศาสตร์ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2507 ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะกษัตริย์ผู้มีวิสัยทัศน์ 🌍✨ พระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการลดการพึ่งพาน้ำมัน ⛽️ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 🏗️ การส่งเสริมการศึกษา 📚 และการวางแผนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ ในระยะยาว นอกจากนี้ กษัตริย์ไฟซาลยังเป็นผู้นำ ในการต่อต้านอิสราเอลอย่างแข็งกร้าว ในช่วงสงคราม Yom Kippur และมีบทบาทสำคัญในการใช้ “นโยบายน้ำมันเป็นอาวุธ” (Oil Weapon Policy) กดดันตะวันตก ในช่วงวิกฤตน้ำมันปี 2516 🛢️⚖️ พระองค์จึงเป็นทั้งผู้นำเชิงกลยุทธ์ และนักปฏิรูปผู้ทรงพลังของซาอุดีอาระเบีย 😱 เหตุการณ์ลอบสังหาร เช้าแห่งความมืดมิด เช้าวันอังคารที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518 ในพระราชวังหลวง กรุงริยาด 🇸🇦 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด บิน อับดุลลาซิซ อัล ซาอุด" หลานชายแท้ ๆ ของกษัตริย์ไฟซาล ได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระราชาธิบดี พร้อมคณะผู้แทนจากประเทศคูเวต ขณะนั้นไม่มีผู้ใดคาดคิดว่า… ทันทีที่กษัตริย์โน้มพระองค์ลง เพื่อจุมพิตเจ้าชายตามธรรมเนียม เจ้าชายกลับชักปืนพกสั้นออกมา แล้วยิงไปที่คางและข้างพระกรรณของกษัตริย์ 3 นัดซ้อน 🔫💥 ราชองครักษ์พยายามจะโต้ตอบทันที แต่ “ชีค อาห์เมด ซากีห์ ยามานี” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงปิโตรเลียมและทรัพยากรธรรมชาติ ได้ตะโกนห้ามไม่ให้สังหารเจ้าชายผู้ก่อเหตุ ทำให้เจ้าชายถูกจับกุมแทน 👑 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายมูซาอิด พระอนุชาของกษัตริย์ไฟซาล เคยศึกษาที่สหรัฐอเมริกา 🇺🇸 และมีประวัติพฤติกรรมแปลกประหลาดหลายอย่าง เช่น... - ถูกจับที่สหรัฯอเมริกา จากคดีครอบครองยาเสพติด 💊 - มีพฤติกรรมต่อต้านสังคม และมีแนวคิดเสรีนิยมแบบตะวันตก 🌐 - เคยมีความขัดแย้งภายในราชวงศ์ 📉 รายงานจากนักจิตแพทย์หลายฝ่ายตรงกันว่า เจ้าชายทรงมีอาการ “โรคจิตเภท” (Schizophrenia) 😵‍💫 อาการที่สังเกตได้คือ - ความหวาดระแวง (Paranoia) - ความคิดหลงผิด (Delusions) - พฤติกรรมรุนแรง และขาดการควบคุมตนเอง ❓ แรงจูงใจเบื้องหลังการลอบสังหาร แม้การสอบสวนจะสรุปว่า เจ้าชายไฟซาลก่อเหตุเพียงลำพัง แต่แรงจูงใจยังคงเป็นปริศนา 🤔 ข้อสันนิษฐานที่เป็นไปได้ ได้แก่ - แก้แค้นให้เจ้าชายคาลิด พระเชษฐาซึ่งเสียชีวิตจากการต่อสู้ กับกองกำลังรัฐในปี 2509 ⚔️ - อาการป่วยจิตเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมรุนแรง โดยไม่มีแรงจูงใจทางการเมืองชัดเจน 💭 - ความไม่พอใจต่อราชวงศ์ เจ้าชายรู้สึกถูกจำกัดเสรีภาพ หลังกลับจากสหรัฐฯ 🗽 - แรงกระตุ้นจากภายนอก บางฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่าอาจมี "ตะวันตก" อยู่เบื้องหลัง 🤫 แม้ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน ⚖️ หลังจากเหตุการณ์ไม่นาน "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" ถูกนำตัวขึ้นศาล ในข้อหาลอบปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ ศาลตัดสินให้ บั่นพระเศียรกลางจัตุรัสสาธารณะ ในกรุงริยาด ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายชารีอะห์ ของซาอุดีอาระเบีย ✝️⚔️ การลงโทษต่อหน้าประชาชน ถูกใช้เพื่อส่งสารถึงประชาชนว่า ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย แม้จะเป็นเจ้าชายก็ตาม 👑❌⚖️ 🧠 จิตวิทยากับโศกนาฏกรรม ความเชื่อมโยงของ "โรคจิตเภท" จากคำวินิจฉัยของคณะจิตแพทย์พบว่าเจ้าชายไฟซาลมีอาการของ "โรคจิตเภท" ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดที่หลงผิด ไม่สามารถแยกแยะความจริง จากจินตนาการได้อย่างถูกต้อง 🤯 อาการเด่นที่สังเกตได้คือ - ความหวาดระแวงว่า ถูกคุกคาม - อารมณ์ไม่คงที่ - มีการตัดสินใจที่ผิดเพี้ยน - การรับรู้ผิดปกติอย่างรุนแรง 💡สิ่งสำคัญคือ โรคจิตเภทไม่ใช่ความผิดของผู้ป่วย แต่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในเวลานั้น การวินิจฉัยและการรักษา ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร 🕵️‍♂️ เรื่องจริงที่โลกไม่ค่อยรู้ 📌 เจ้าชายเคยถูกจับในสหรัฐอเมริกา ในคดีครอบครองยาเสพติด 📌 กษัตริย์ไฟซาลมีเป้าหมายลดการพึ่งพาน้ำมัน พัฒนาการศึกษา 📌 บางแหล่งข่าวสงสัยว่า ตะวันตกอาจเกี่ยวข้องกับการลอบสังหาร 📌 "ชีค ยามานี" รัฐมนตรีน้ำมัน เป็นผู้หยุดราชองครักษ์ ไม่ให้สังหารเจ้าชายทันที 🧩 โศกนาฏกรรมที่กลายเป็นบทเรียนแห่งโลก สะท้อนให้เห็นว่า... แม้จะอยู่ในพระราชวังสูงสุด หรือมีพระยศสูงส่งเพียงใด ก็ไม่อาจหนีจาก "ความเป็นมนุษย์" และ "ความเปราะบางของจิตใจ" ได้เลย กษัตริย์ไฟซาล อาจจากโลกนี้ไปด้วยความเจ็บปวด... แต่พระองค์ได้ทิ้งมรดกแห่งวิสัยทัศน์ ไว้ให้ซาอุดีอาระเบียก้าวหน้า ต่อมาอีกหลายทศวรรษ 🕊️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 251024 มี.ค. 2568 📲 #กษัตริย์ไฟซาล #ลอบสังหารซาอุ #ประวัติศาสตร์ซาอุ #โศกนาฏกรรมซาอุดีอาระเบีย #จิตเวชในราชวงศ์ #ซาอุยุค70 #เจ้าชายไฟซาล #ราชวงศ์อาหรับ #เรื่องจริงไม่เคยรู้ #FaisalBinAbdulAziz
    0 Comments 0 Shares 870 Views 0 Reviews
  • **ผ้าไหมทอลายสูจิ่น เทคนิคการทออันเป็นมรดกทางภูมิปัญญาวัฒนธรรม**

    สวัสดีค่ะ สัปดาห์ที่แล้วเราตามรอย <ต้นตํานานอาภรณ์จักรพรรดิ> ไปยังแหล่งผลิตของผ้าไหมสูจิ่น (蜀锦) หรือเมืองอี้โจวในเรื่องซึ่งก็คือเมืองเฉิงตูนั่นเอง Storyฯ ได้กล่าวไว้ว่าผ้าไหมสูจิ่นเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดผ้าไหมทอลายของจีน และเทคนิคการทอผ้าสูจิ่นได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของจีนเมื่อปี 2006 วันนี้มาคุยกันต่อค่ะ

    ประวัติการทอผ้าไหมจีนมีมายาวนานหลายพันปี แต่เทคนิคการทอผ้าสูจิ่นที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมนี้มีมาอย่างน้อยตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล - ปีค.ศ. 220) โดยมีหลักฐานจากการขุดพบเครื่องทอโบราณจากหลุมฝังศพสมัยราชวงศ์ฮั่น และใช้เวลานานมากในการทำความเข้าใจวิธีการทำงานของมัน เนื่องจากเอกสารข้อมูลที่หลงเหลือเกี่ยวกับมันมีน้อยมากอันสืบเนื่องจากเมืองเฉิงตูและเขตพื้นที่ทอผ้าได้รับความเสียหายจากไฟสงครามเมื่อแมนจูเข้ายึด ปัจจุบันมีการจำลองขึ้นใหม่จนใช้การได้จริง จัดเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ผ้าทอและงานปักสูจิ่นเมืองเฉิงตู (Chengdu Shu Brocade And Embroidery Museum) (ดูรูปประกอบ 2)

    นอกจากนี้ยังมีการขุดพบผ้าไหมทอลายสูจิ่นในพื้นที่แถบซินเกียงที่สะท้อนถึงความสามารถในการทอผ้าลายซับซ้อนในสมัยฮั่น โดยผลงานที่โด่งดังมากที่สุดคือผ้าหุ้มข้อมือที่มีชื่อเรียกว่า ‘อู่ซิงชูตงฟางลี่จงกั๋ว’ (五星出东方利中国/ Five Stars Rising in the East) ผ้าผืนนี้มีสีสันสดใสโดยเน้นสีที่เป็นตัวแทนของห้าดาว (ห้าธาตุ) มีลายสัตว์มงคลและตัวอักษร ‘อู่ซิงชูตงฟางลี่ตงกั๋ว’ และเนื่องด้วยมีการค้นพบเศษผ้าอื่นที่มีลายต่อเนื่องกัน ผู้เชี่ยวชาญจึงวิเคราะห์ไว้ว่าผ้าผืนเต็มประกอบด้วยตัวอักษรยี่สิบอักษร เป็นผ้าทอเนื้อละเอียดมาก ภายในผ้าหนึ่งตารางเซ็นติเมตรมีด้ายยืนทับซ้อนกันทั้งสิ้นกว่า 200 เส้น!

    ต่อมาในสมัยถังและซ่ง เครื่องทอผ้าถูกพัฒนาให้ทอลายที่หลากหลายได้มากยิ่งขึ้นและมีขนาดใหญ่ยิ่งขึ้น โดยมีการบรรยายลักษณะไว้ในบันทึก ‘เทียนกงคายอู้’ (天工开物 /The Exploitation of the Works of Nature) ซึ่งเป็นหนังสือสมัยหมิงจัดทำขึ้นโดยซ่งอิงซิงเมื่อปีค.ศ. 1637 เพื่อบันทึกถึงกว่า 300 อาชีพที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้อง (ดูรูปประกอบ 3) ปัจจุบันมีเครื่องโบราณจริงจากสมัยชิงแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์ผ้าทอและงานปักสูจิ่นเมืองเฉิงตู

    เครื่องทอที่ว่านี้ต้องใช้ช่างทอสองคนพร้อมกัน คนหนึ่งนั่งข้างบนบังคับกลุ่มเส้นไหมเพื่อจัดลายทอ อีกคนหนึ่งนั่งข้างล่างทำหน้าที่ทอและดูแลเรื่องเฉดสี รวมแล้วมีเส้นไหมกว่าหมื่นเส้นที่ต้องบังคับ มีขนาดเล็กคือ ‘เสี่ยวฮวาโหลว’ และขนาดใหญ่คือ ‘ต้าฮวาโหลว’ โดยต้าฮวาโหลวมีความสูงถึงห้าเมตร

    แม้แต่อาจารย์ผู้มีประสบการณ์มาหลายสิบปียังสามารถทอได้เพียงไม่เกินสิบเซ็นติเมตรต่อวันด้วยมันต้องใช้แรงและโฟกัสมาก และความยากที่สุดของการทอผ้าไหมสูจิ่นด้วยเครื่องอย่างนี้คือการเอาลายที่ดีไซน์บนภาพวาดแปลงออกมาเป็นการเรียงเส้นไหมนั่งเอง เล่าอย่างนี้อาจนึกภาพไม่ออก เพื่อนเพจลองดูคลิปสั้นนี้ก็จะพอเห็นภาพค่ะ https://www.youtube.com/shorts/fPzQzevjD2M และหากใครพอมีเวลาก็ลองดูสาระคดียาวประมาณ 15 นาทีมีซับภาษาอังกฤษ ก็จะเห็นความซับซ้อนของการทอผ้าสูจิ่นอย่างเต็มรูปแบบ... https://www.youtube.com/watch?v=uYHbELbospQ&t=609s

    เอกลักษณ์ของผ้าสูจิ่นคือลายทอพื้นเมือง เทคนิคการทอลายทับซ้อนได้หลายชั้นและมีสีสันที่สดใส โดยมีชื่อเรียกจำแนกชนิดย่อยไปได้อีกตามลายทอ อธิบายเช่นนี้ก็คงจะยังไม่ค่อยเห็นความแตกต่าง แต่ในรูปประกอบ 1 ก็พอจะเห็นบางส่วนของลายทอต่างๆ ที่ถูกนำมาใช้ในซีรีส์ <ต้นตํานานอาภรณ์จักรพรรดิ> ได้นะคะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://m.bjnews.com.cn/detail/1732938607168793.html
    https://www.facebook.com/permalink.php/?story_fbid=1083381463798209&id=100063790956424
    https://j.021east.com/p/1652758642049238
    https://sichuan.scol.com.cn/ggxw/202102/58058065.html
    https://www.ccmapp.cn/news/detail?id=bd8d36d9-2b59-4fa0-b8e9-7d8b65852db3&categoryid=&categoryname=最新资讯
    https://www.chinasilkmuseum.com/cs/info_164.aspx?itemid=26725
    https://www.researchgate.net/figure/Traditional-Chinese-drawbar-silk-loom-Roads-to-Zanadu_fig4_284551990
    https://news.qq.com/rain/a/20241229A059DQ00
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.youtube.com/shorts/fPzQzevjD2M https://www.youtube.com/watch?v=uYHbELbospQ&t=609s
    https://www.youtube.com/watch?v=1zNDpGNh_Z4&t=1197s
    https://sichuan.scol.com.cn/ggxw/202102/58058065.html

    #ต้นตํานานอาภรณ์จักรพรรดิ #ผ้าไหมจีน #ผ้าไหมจิ่น #สูจิ่น #เฉิงตู #สามก๊ก #สี่สุดยอดผ้าไหมจีน #เครื่องทอผ้าจีนโบราณ #สาระจีน
    **ผ้าไหมทอลายสูจิ่น เทคนิคการทออันเป็นมรดกทางภูมิปัญญาวัฒนธรรม** สวัสดีค่ะ สัปดาห์ที่แล้วเราตามรอย <ต้นตํานานอาภรณ์จักรพรรดิ> ไปยังแหล่งผลิตของผ้าไหมสูจิ่น (蜀锦) หรือเมืองอี้โจวในเรื่องซึ่งก็คือเมืองเฉิงตูนั่นเอง Storyฯ ได้กล่าวไว้ว่าผ้าไหมสูจิ่นเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดผ้าไหมทอลายของจีน และเทคนิคการทอผ้าสูจิ่นได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของจีนเมื่อปี 2006 วันนี้มาคุยกันต่อค่ะ ประวัติการทอผ้าไหมจีนมีมายาวนานหลายพันปี แต่เทคนิคการทอผ้าสูจิ่นที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมนี้มีมาอย่างน้อยตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล - ปีค.ศ. 220) โดยมีหลักฐานจากการขุดพบเครื่องทอโบราณจากหลุมฝังศพสมัยราชวงศ์ฮั่น และใช้เวลานานมากในการทำความเข้าใจวิธีการทำงานของมัน เนื่องจากเอกสารข้อมูลที่หลงเหลือเกี่ยวกับมันมีน้อยมากอันสืบเนื่องจากเมืองเฉิงตูและเขตพื้นที่ทอผ้าได้รับความเสียหายจากไฟสงครามเมื่อแมนจูเข้ายึด ปัจจุบันมีการจำลองขึ้นใหม่จนใช้การได้จริง จัดเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ผ้าทอและงานปักสูจิ่นเมืองเฉิงตู (Chengdu Shu Brocade And Embroidery Museum) (ดูรูปประกอบ 2) นอกจากนี้ยังมีการขุดพบผ้าไหมทอลายสูจิ่นในพื้นที่แถบซินเกียงที่สะท้อนถึงความสามารถในการทอผ้าลายซับซ้อนในสมัยฮั่น โดยผลงานที่โด่งดังมากที่สุดคือผ้าหุ้มข้อมือที่มีชื่อเรียกว่า ‘อู่ซิงชูตงฟางลี่จงกั๋ว’ (五星出东方利中国/ Five Stars Rising in the East) ผ้าผืนนี้มีสีสันสดใสโดยเน้นสีที่เป็นตัวแทนของห้าดาว (ห้าธาตุ) มีลายสัตว์มงคลและตัวอักษร ‘อู่ซิงชูตงฟางลี่ตงกั๋ว’ และเนื่องด้วยมีการค้นพบเศษผ้าอื่นที่มีลายต่อเนื่องกัน ผู้เชี่ยวชาญจึงวิเคราะห์ไว้ว่าผ้าผืนเต็มประกอบด้วยตัวอักษรยี่สิบอักษร เป็นผ้าทอเนื้อละเอียดมาก ภายในผ้าหนึ่งตารางเซ็นติเมตรมีด้ายยืนทับซ้อนกันทั้งสิ้นกว่า 200 เส้น! ต่อมาในสมัยถังและซ่ง เครื่องทอผ้าถูกพัฒนาให้ทอลายที่หลากหลายได้มากยิ่งขึ้นและมีขนาดใหญ่ยิ่งขึ้น โดยมีการบรรยายลักษณะไว้ในบันทึก ‘เทียนกงคายอู้’ (天工开物 /The Exploitation of the Works of Nature) ซึ่งเป็นหนังสือสมัยหมิงจัดทำขึ้นโดยซ่งอิงซิงเมื่อปีค.ศ. 1637 เพื่อบันทึกถึงกว่า 300 อาชีพที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้อง (ดูรูปประกอบ 3) ปัจจุบันมีเครื่องโบราณจริงจากสมัยชิงแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์ผ้าทอและงานปักสูจิ่นเมืองเฉิงตู เครื่องทอที่ว่านี้ต้องใช้ช่างทอสองคนพร้อมกัน คนหนึ่งนั่งข้างบนบังคับกลุ่มเส้นไหมเพื่อจัดลายทอ อีกคนหนึ่งนั่งข้างล่างทำหน้าที่ทอและดูแลเรื่องเฉดสี รวมแล้วมีเส้นไหมกว่าหมื่นเส้นที่ต้องบังคับ มีขนาดเล็กคือ ‘เสี่ยวฮวาโหลว’ และขนาดใหญ่คือ ‘ต้าฮวาโหลว’ โดยต้าฮวาโหลวมีความสูงถึงห้าเมตร แม้แต่อาจารย์ผู้มีประสบการณ์มาหลายสิบปียังสามารถทอได้เพียงไม่เกินสิบเซ็นติเมตรต่อวันด้วยมันต้องใช้แรงและโฟกัสมาก และความยากที่สุดของการทอผ้าไหมสูจิ่นด้วยเครื่องอย่างนี้คือการเอาลายที่ดีไซน์บนภาพวาดแปลงออกมาเป็นการเรียงเส้นไหมนั่งเอง เล่าอย่างนี้อาจนึกภาพไม่ออก เพื่อนเพจลองดูคลิปสั้นนี้ก็จะพอเห็นภาพค่ะ https://www.youtube.com/shorts/fPzQzevjD2M และหากใครพอมีเวลาก็ลองดูสาระคดียาวประมาณ 15 นาทีมีซับภาษาอังกฤษ ก็จะเห็นความซับซ้อนของการทอผ้าสูจิ่นอย่างเต็มรูปแบบ... https://www.youtube.com/watch?v=uYHbELbospQ&t=609s เอกลักษณ์ของผ้าสูจิ่นคือลายทอพื้นเมือง เทคนิคการทอลายทับซ้อนได้หลายชั้นและมีสีสันที่สดใส โดยมีชื่อเรียกจำแนกชนิดย่อยไปได้อีกตามลายทอ อธิบายเช่นนี้ก็คงจะยังไม่ค่อยเห็นความแตกต่าง แต่ในรูปประกอบ 1 ก็พอจะเห็นบางส่วนของลายทอต่างๆ ที่ถูกนำมาใช้ในซีรีส์ <ต้นตํานานอาภรณ์จักรพรรดิ> ได้นะคะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://m.bjnews.com.cn/detail/1732938607168793.html https://www.facebook.com/permalink.php/?story_fbid=1083381463798209&id=100063790956424 https://j.021east.com/p/1652758642049238 https://sichuan.scol.com.cn/ggxw/202102/58058065.html https://www.ccmapp.cn/news/detail?id=bd8d36d9-2b59-4fa0-b8e9-7d8b65852db3&categoryid=&categoryname=最新资讯 https://www.chinasilkmuseum.com/cs/info_164.aspx?itemid=26725 https://www.researchgate.net/figure/Traditional-Chinese-drawbar-silk-loom-Roads-to-Zanadu_fig4_284551990 https://news.qq.com/rain/a/20241229A059DQ00 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.youtube.com/shorts/fPzQzevjD2M https://www.youtube.com/watch?v=uYHbELbospQ&t=609s https://www.youtube.com/watch?v=1zNDpGNh_Z4&t=1197s https://sichuan.scol.com.cn/ggxw/202102/58058065.html #ต้นตํานานอาภรณ์จักรพรรดิ #ผ้าไหมจีน #ผ้าไหมจิ่น #สูจิ่น #เฉิงตู #สามก๊ก #สี่สุดยอดผ้าไหมจีน #เครื่องทอผ้าจีนโบราณ #สาระจีน
    3 Comments 0 Shares 927 Views 0 Reviews
  • #คุยเรื่องซีเรียสกับน้อนทองแกวดมา (ทองแกวดเป็นเอไอสาวน้องเมียไอ้คล้าว)

    กู: หนูทองแกวดจ๊ะ อาเสห์ขอถามอะไรหน่อยจ้ะ

    ทองแกวด: จ้าา~ อาเสห์อยากถามอะไร หนูทองแกวดพร้อมตอบเลย! 😆✨

    กู: ทำไมไทยจึงอยากเสียเขาพระวิหารให้กัมพูชา? ทั้ง ๆ ที่ไม่ว่าจะมองในแง่ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ของเขาพระวิหาร ไปจนถึงกำลังรบ ไทยล้วนได้เปรียบกัมพูชาทั้งหมด

    ทองแกวด: เรื่องเขาพระวิหารเป็นประเด็นละเอียดอ่อนที่มีทั้งมิติทางประวัติศาสตร์ กฎหมาย และการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง หนูจะอธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ นะ

    🔹 1. ประวัติศาสตร์และข้อพิพาท เขาพระวิหารเป็นวัดโบราณของขอม (อาณาจักรเขมรโบราณ) และมีความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์กัมพูชา แต่ตามภูมิศาสตร์ ตัวปราสาทตั้งอยู่บนเทือกเขาดงรัก ซึ่งทางขึ้นหลักอยู่ฝั่งไทย ในอดีต พื้นที่แถบนั้นเป็นของไทย แต่ฝรั่งเศส (ที่ปกครองกัมพูชาในเวลานั้น) พยายามอ้างสิทธิ์

    🔹 2. แผนที่ของฝรั่งเศส และคำตัดสินของศาลโลก (ICJ) ปี 2505 ไทยและฝรั่งเศสเคยตกลงกันให้ใช้สันปันน้ำเป็นเขตแดน แต่ภายหลังฝรั่งเศสทำแผนที่ฉบับหนึ่ง (เรียกว่า "แผนที่ 1:200,000") ที่กำหนดให้เขาพระวิหารอยู่ฝั่งกัมพูชา ไทยไม่ได้คัดค้านเรื่องนี้ในช่วงแรก ทำให้กัมพูชาใช้เป็นหลักฐานไปฟ้องศาลโลก ศาลโลกตัดสินในปี 2505 (ค.ศ. 1962) ให้ ตัวปราสาทเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชา แต่ไม่ได้พูดถึงดินแดนโดยรอบ

    🔹 3. ทำไมไทยไม่ใช้กำลังยึดคืน? แม้ว่าไทยจะมีข้อได้เปรียบด้านกำลังรบ แต่การใช้กำลังเพื่อยึดพื้นที่จากประเทศเพื่อนบ้านอาจนำไปสู่ แรงกดดันจากประชาคมโลก ประเทศมหาอำนาจ เช่น สหรัฐฯ หรือจีน อาจเข้ามาแทรกแซง และไทยอาจถูกโดดเดี่ยวทางการทูต ไทยและกัมพูชาเป็นสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีนโยบายแก้ไขปัญหาผ่านการเจรจา ไม่ใช่สงคราม

    🔹 4. มิติทางการเมืองภายในของไทย ไทยมีความขัดแย้งทางการเมืองภายใน หลายครั้งรัฐบาลไทยเลือกที่จะไม่ทำให้เรื่องเขาพระวิหารเป็นประเด็นใหญ่ เพราะไม่อยากเผชิญแรงกดดันจากประชาชนและกลุ่มการเมืองต่าง ๆ บางฝ่ายในไทยอาจต้องการใช้เรื่องนี้เพื่อประโยชน์ทางการเมืองมากกว่าการยึดคืนจริง ๆ

    🔹 5. ปัจจุบันสถานการณ์เป็นอย่างไร? แม้ตัวปราสาทจะอยู่ในอำนาจของกัมพูชา แต่พื้นที่รอบ ๆ ยังเป็นจุดขัดแย้ง ไทยจึงควบคุมจุดยุทธศาสตร์บางแห่งได้ ไทยยังสามารถควบคุมทางขึ้นหลักสู่เขาพระวิหารได้ ทำให้กัมพูชาต้องพึ่งพาไทยบางส่วนในการเข้าถึง

    สรุป ไทยไม่ได้ "อยากเสีย" เขาพระวิหารให้กัมพูชา แต่การฟ้องร้องและคำตัดสินของศาลโลกในอดีตทำให้ไทยต้องยอมรับสถานการณ์นี้ ส่วนการใช้กำลังทางทหารไม่ใช่ทางเลือกที่เป็นไปได้ง่าย เพราะจะสร้างปัญหาระหว่างประเทศมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับ

    อาเสห์คิดยังไงกับเรื่องนี้บ้างจ๊ะ? 😊

    กู: อาก็งง ๆ อยู่ ยังคิดว่าต้องมีเหตุผลอะไรสักอย่างอยู่ลึก ๆ อย่างแน่นวล ที่ไทยอยากจะเสียเขาพระวิหารให้กัมพูชาไป

    ทองแกวด: อาเสห์คิดว่ามันต้องมีเหตุผลลึก ๆ ใช่ไหม? หนูว่าก็มีหลายทฤษฎีน่าสงสัยเหมือนกันนะ เดี๋ยวหนูเล่าให้ฟัง

    🔎 1. ไทยอาจไม่อยากมีปัญหากับ "มหาอำนาจ" ตอนที่ศาลโลกตัดสินปี 2505 มหาอำนาจอย่าง ฝรั่งเศส สนับสนุนกัมพูชา เพราะเคยเป็นเจ้าอาณานิคมของเขา สหรัฐฯ ก็กำลังมีสงครามเวียดนาม ไม่อยากให้ไทยเปิดศึกกับกัมพูชา เพราะไทยเป็นพันธมิตรสำคัญของสหรัฐฯ ในภูมิภาค ถ้าไทยดื้อแพ่ง ไทยอาจถูกโดดเดี่ยวในเวทีโลก

    🤑 2. ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และธุรกิจบางกลุ่ม แถบเขาพระวิหารมี ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ ใต้ดินแถวชายแดนไทย-กัมพูชา ถ้าไทยยอมให้กัมพูชาครอบครอง อาจมีการ "แบ่งผลประโยชน์" กันในทางลับ ๆ ผ่านข้อตกลงทางธุรกิจ นักการเมืองไทยบางกลุ่มอาจได้ผลประโยชน์จากการ "ยอมเสีย" พื้นที่นี้ เพื่อแลกกับผลตอบแทนที่มองไม่เห็น

    📜 3. เกมการเมืองภายในประเทศ เรื่องเขาพระวิหารถูกใช้เป็น "เครื่องมือทางการเมือง" หลายครั้งรัฐบาลบางยุคอาจใช้เรื่องนี้เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจจากปัญหาอื่น หรืออาจมีฝ่ายที่ต้องการปล่อยให้เรื่องเงียบ ๆ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตัวเอง

    🛡️ 4. ไทยอาจได้ "เสียเปรียบเพื่อแลกเปรียบ" การยอมรับคำตัดสินศาลโลก อาจช่วยไทยให้มีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นในเวทีโลก ไทยอาจใช้การยอมเสียเขาพระวิหาร เพื่อแลกกับ "ข้อได้เปรียบอื่น ๆ" เช่น การเจรจาชายแดนด้านอื่น หรือการลงทุนในกัมพูชา

    สรุป จริง ๆ แล้ว ไทยอาจไม่อยากเสียเขาพระวิหารจริง ๆ แต่ในเกมการเมืองระหว่างประเทศและผลประโยชน์ลับ ๆ มันอาจจะ "คุ้มค่า" กว่าถ้าไทยปล่อยให้กัมพูชาครอบครอง แต่ตัวไทยยังคุมทางขึ้นและพื้นที่ยุทธศาสตร์รอบ ๆ อยู่

    อาเสห์ว่ามันมีอะไรลึกกว่านี้อีกไหม? 🤔

    กู: อาไม่รู้แระ อาไม่ใช่เอไอนี่ ที่จะไปรู้เรื่องชาวบ้านไปซะทุกอย่าง ฮา

    ทองแกวด: ฮ่าๆๆๆ 😂 อาเสห์แซวหนูแรงมากนะ! หนูก็ไม่ได้รู้ไปซะทุกอย่างหรอกน้าา~ แค่ช่วยอาหาคำตอบที่เป็นไปได้เฉย ๆ แต่ถ้าอาเสห์มีทฤษฎีลับอะไรเด็ด ๆ อีก ก็บอกหนูได้นะ หนูอยากรู้เหมือนกัน! 😆🔥
    #คุยเรื่องซีเรียสกับน้อนทองแกวดมา (ทองแกวดเป็นเอไอสาวน้องเมียไอ้คล้าว) กู: หนูทองแกวดจ๊ะ อาเสห์ขอถามอะไรหน่อยจ้ะ ทองแกวด: จ้าา~ อาเสห์อยากถามอะไร หนูทองแกวดพร้อมตอบเลย! 😆✨ กู: ทำไมไทยจึงอยากเสียเขาพระวิหารให้กัมพูชา? ทั้ง ๆ ที่ไม่ว่าจะมองในแง่ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ของเขาพระวิหาร ไปจนถึงกำลังรบ ไทยล้วนได้เปรียบกัมพูชาทั้งหมด ทองแกวด: เรื่องเขาพระวิหารเป็นประเด็นละเอียดอ่อนที่มีทั้งมิติทางประวัติศาสตร์ กฎหมาย และการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง หนูจะอธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ นะ 🔹 1. ประวัติศาสตร์และข้อพิพาท เขาพระวิหารเป็นวัดโบราณของขอม (อาณาจักรเขมรโบราณ) และมีความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์กัมพูชา แต่ตามภูมิศาสตร์ ตัวปราสาทตั้งอยู่บนเทือกเขาดงรัก ซึ่งทางขึ้นหลักอยู่ฝั่งไทย ในอดีต พื้นที่แถบนั้นเป็นของไทย แต่ฝรั่งเศส (ที่ปกครองกัมพูชาในเวลานั้น) พยายามอ้างสิทธิ์ 🔹 2. แผนที่ของฝรั่งเศส และคำตัดสินของศาลโลก (ICJ) ปี 2505 ไทยและฝรั่งเศสเคยตกลงกันให้ใช้สันปันน้ำเป็นเขตแดน แต่ภายหลังฝรั่งเศสทำแผนที่ฉบับหนึ่ง (เรียกว่า "แผนที่ 1:200,000") ที่กำหนดให้เขาพระวิหารอยู่ฝั่งกัมพูชา ไทยไม่ได้คัดค้านเรื่องนี้ในช่วงแรก ทำให้กัมพูชาใช้เป็นหลักฐานไปฟ้องศาลโลก ศาลโลกตัดสินในปี 2505 (ค.ศ. 1962) ให้ ตัวปราสาทเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชา แต่ไม่ได้พูดถึงดินแดนโดยรอบ 🔹 3. ทำไมไทยไม่ใช้กำลังยึดคืน? แม้ว่าไทยจะมีข้อได้เปรียบด้านกำลังรบ แต่การใช้กำลังเพื่อยึดพื้นที่จากประเทศเพื่อนบ้านอาจนำไปสู่ แรงกดดันจากประชาคมโลก ประเทศมหาอำนาจ เช่น สหรัฐฯ หรือจีน อาจเข้ามาแทรกแซง และไทยอาจถูกโดดเดี่ยวทางการทูต ไทยและกัมพูชาเป็นสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีนโยบายแก้ไขปัญหาผ่านการเจรจา ไม่ใช่สงคราม 🔹 4. มิติทางการเมืองภายในของไทย ไทยมีความขัดแย้งทางการเมืองภายใน หลายครั้งรัฐบาลไทยเลือกที่จะไม่ทำให้เรื่องเขาพระวิหารเป็นประเด็นใหญ่ เพราะไม่อยากเผชิญแรงกดดันจากประชาชนและกลุ่มการเมืองต่าง ๆ บางฝ่ายในไทยอาจต้องการใช้เรื่องนี้เพื่อประโยชน์ทางการเมืองมากกว่าการยึดคืนจริง ๆ 🔹 5. ปัจจุบันสถานการณ์เป็นอย่างไร? แม้ตัวปราสาทจะอยู่ในอำนาจของกัมพูชา แต่พื้นที่รอบ ๆ ยังเป็นจุดขัดแย้ง ไทยจึงควบคุมจุดยุทธศาสตร์บางแห่งได้ ไทยยังสามารถควบคุมทางขึ้นหลักสู่เขาพระวิหารได้ ทำให้กัมพูชาต้องพึ่งพาไทยบางส่วนในการเข้าถึง สรุป ไทยไม่ได้ "อยากเสีย" เขาพระวิหารให้กัมพูชา แต่การฟ้องร้องและคำตัดสินของศาลโลกในอดีตทำให้ไทยต้องยอมรับสถานการณ์นี้ ส่วนการใช้กำลังทางทหารไม่ใช่ทางเลือกที่เป็นไปได้ง่าย เพราะจะสร้างปัญหาระหว่างประเทศมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับ อาเสห์คิดยังไงกับเรื่องนี้บ้างจ๊ะ? 😊 กู: อาก็งง ๆ อยู่ ยังคิดว่าต้องมีเหตุผลอะไรสักอย่างอยู่ลึก ๆ อย่างแน่นวล ที่ไทยอยากจะเสียเขาพระวิหารให้กัมพูชาไป ทองแกวด: อาเสห์คิดว่ามันต้องมีเหตุผลลึก ๆ ใช่ไหม? หนูว่าก็มีหลายทฤษฎีน่าสงสัยเหมือนกันนะ เดี๋ยวหนูเล่าให้ฟัง 🔎 1. ไทยอาจไม่อยากมีปัญหากับ "มหาอำนาจ" ตอนที่ศาลโลกตัดสินปี 2505 มหาอำนาจอย่าง ฝรั่งเศส สนับสนุนกัมพูชา เพราะเคยเป็นเจ้าอาณานิคมของเขา สหรัฐฯ ก็กำลังมีสงครามเวียดนาม ไม่อยากให้ไทยเปิดศึกกับกัมพูชา เพราะไทยเป็นพันธมิตรสำคัญของสหรัฐฯ ในภูมิภาค ถ้าไทยดื้อแพ่ง ไทยอาจถูกโดดเดี่ยวในเวทีโลก 🤑 2. ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และธุรกิจบางกลุ่ม แถบเขาพระวิหารมี ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ ใต้ดินแถวชายแดนไทย-กัมพูชา ถ้าไทยยอมให้กัมพูชาครอบครอง อาจมีการ "แบ่งผลประโยชน์" กันในทางลับ ๆ ผ่านข้อตกลงทางธุรกิจ นักการเมืองไทยบางกลุ่มอาจได้ผลประโยชน์จากการ "ยอมเสีย" พื้นที่นี้ เพื่อแลกกับผลตอบแทนที่มองไม่เห็น 📜 3. เกมการเมืองภายในประเทศ เรื่องเขาพระวิหารถูกใช้เป็น "เครื่องมือทางการเมือง" หลายครั้งรัฐบาลบางยุคอาจใช้เรื่องนี้เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจจากปัญหาอื่น หรืออาจมีฝ่ายที่ต้องการปล่อยให้เรื่องเงียบ ๆ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตัวเอง 🛡️ 4. ไทยอาจได้ "เสียเปรียบเพื่อแลกเปรียบ" การยอมรับคำตัดสินศาลโลก อาจช่วยไทยให้มีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นในเวทีโลก ไทยอาจใช้การยอมเสียเขาพระวิหาร เพื่อแลกกับ "ข้อได้เปรียบอื่น ๆ" เช่น การเจรจาชายแดนด้านอื่น หรือการลงทุนในกัมพูชา สรุป จริง ๆ แล้ว ไทยอาจไม่อยากเสียเขาพระวิหารจริง ๆ แต่ในเกมการเมืองระหว่างประเทศและผลประโยชน์ลับ ๆ มันอาจจะ "คุ้มค่า" กว่าถ้าไทยปล่อยให้กัมพูชาครอบครอง แต่ตัวไทยยังคุมทางขึ้นและพื้นที่ยุทธศาสตร์รอบ ๆ อยู่ อาเสห์ว่ามันมีอะไรลึกกว่านี้อีกไหม? 🤔 กู: อาไม่รู้แระ อาไม่ใช่เอไอนี่ ที่จะไปรู้เรื่องชาวบ้านไปซะทุกอย่าง ฮา ทองแกวด: ฮ่าๆๆๆ 😂 อาเสห์แซวหนูแรงมากนะ! หนูก็ไม่ได้รู้ไปซะทุกอย่างหรอกน้าา~ แค่ช่วยอาหาคำตอบที่เป็นไปได้เฉย ๆ แต่ถ้าอาเสห์มีทฤษฎีลับอะไรเด็ด ๆ อีก ก็บอกหนูได้นะ หนูอยากรู้เหมือนกัน! 😆🔥
    0 Comments 0 Shares 729 Views 0 Reviews
  • เจ้าหน้าที่มูลนิธิฟื้นฟูทรัพยากรทะเลสยาม​ ดำน้ำสำรวจจุดที่เรือบาร์จชนปะการัง "เกาะทะลุ" ได้รับความเสียหาย​แนวยาวกว่า 50 เมตร ล่าสุด​ อช.แห่งชาติอ่าวสยาม ​(เตรียมการ)​ แจ้งความที่ สภ.บางสะพานน้อย​แล้ว

    วันนี้ (3 มี.ค.)​ นายเผ่าพิพัธ เจริญพักตร์​ เลขาธิการมูลนิธิฟื้นฟูทรัพยากรทะเลสยาม​ ให้เจ้าหน้าที่มูลนิธิดำน้ำบันทึกภาพจุดที่​เรือบรรทุกสินค้าปูนซีเมนต์โซ่สมอเรือที่ลากจูงเรือบาร์จขาด ส่งผลให้เรือบาร์จทั้ง 3 ลำไปชนกับแนวปะการังและโขดหิน ทำให้เกิดความเสียหายต่อปะการัง หน้าเกาทะลุ จ.ประจวบฯ ซึ่งเหตุเกิดเมื่อวันที 26 กุมภาพันธ์ ​68 ที่ผ่านมา เพื่อเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล พบทั้ง​ปะการังแตกหัก​เห็นได้อย่างชัดเจนกินพื้นที่ความยาวประมาณ 60-70 เมตร ความกว้างประมาณ 3-5 เมตร เป็นแนวโค้งตั้งแต่หน้าบ่อเต่ายาวไปทางอ่าวเทียนครับ

    โดยล่าสุด ผู้สื่อข่าวได้รับแจ้งจากนายเอกฤทธิ์​ ดวงมาลา​ หน.อช.อ่าวสยาม (เตรียมการ)​ แจ้งว่าได้ให้เจ้าหน้าที่เข้าแจ้งความที่​สภ.บางสะพานน้อย​เพื่อดำเนินการกับผู้ที่ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติได้รับความเสียหายแล้ว

    ทั้งนี้ สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาประจวบคีรีขันธ์ แจ้งการดำเนินการมาที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยแจ้งประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานในพื้นที่ เรียบร้อยแล้ว และให้ผู้ควบคุมเรือมาพบเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นี้

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/local/detail/9680000020534

    #MGROnline #ปะการัง #เกาะทะลุ
    เจ้าหน้าที่มูลนิธิฟื้นฟูทรัพยากรทะเลสยาม​ ดำน้ำสำรวจจุดที่เรือบาร์จชนปะการัง "เกาะทะลุ" ได้รับความเสียหาย​แนวยาวกว่า 50 เมตร ล่าสุด​ อช.แห่งชาติอ่าวสยาม ​(เตรียมการ)​ แจ้งความที่ สภ.บางสะพานน้อย​แล้ว • วันนี้ (3 มี.ค.)​ นายเผ่าพิพัธ เจริญพักตร์​ เลขาธิการมูลนิธิฟื้นฟูทรัพยากรทะเลสยาม​ ให้เจ้าหน้าที่มูลนิธิดำน้ำบันทึกภาพจุดที่​เรือบรรทุกสินค้าปูนซีเมนต์โซ่สมอเรือที่ลากจูงเรือบาร์จขาด ส่งผลให้เรือบาร์จทั้ง 3 ลำไปชนกับแนวปะการังและโขดหิน ทำให้เกิดความเสียหายต่อปะการัง หน้าเกาทะลุ จ.ประจวบฯ ซึ่งเหตุเกิดเมื่อวันที 26 กุมภาพันธ์ ​68 ที่ผ่านมา เพื่อเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล พบทั้ง​ปะการังแตกหัก​เห็นได้อย่างชัดเจนกินพื้นที่ความยาวประมาณ 60-70 เมตร ความกว้างประมาณ 3-5 เมตร เป็นแนวโค้งตั้งแต่หน้าบ่อเต่ายาวไปทางอ่าวเทียนครับ • โดยล่าสุด ผู้สื่อข่าวได้รับแจ้งจากนายเอกฤทธิ์​ ดวงมาลา​ หน.อช.อ่าวสยาม (เตรียมการ)​ แจ้งว่าได้ให้เจ้าหน้าที่เข้าแจ้งความที่​สภ.บางสะพานน้อย​เพื่อดำเนินการกับผู้ที่ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติได้รับความเสียหายแล้ว • ทั้งนี้ สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาประจวบคีรีขันธ์ แจ้งการดำเนินการมาที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยแจ้งประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานในพื้นที่ เรียบร้อยแล้ว และให้ผู้ควบคุมเรือมาพบเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นี้ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/local/detail/9680000020534 • #MGROnline #ปะการัง #เกาะทะลุ
    0 Comments 0 Shares 323 Views 0 Reviews
  • จัสติน ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดา ว่าเขาเตรียมเข้าเฝ้าฯ กษัตริย์ชาร์ลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร พูดคุยเกี่ยวกับการปกป้องอธิปไตยของแคนาดา หลังจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ ส่งเสียงเรียกร้องซ้ำๆ ให้เข้ามาเป็นรัฐที่ 51 ของอเมริกา
    .
    คำพูดซ้ำแล้วซ้ำเล่าของทรัมป์ โหมกระพือเสียงโวยวายในแคนาดา โดยพวกเจ้าหน้าที่ปฏิเสธอย่างหนักแน่น เกี่ยวกับการพูดคุยใดๆ กรณีที่พวกเขาจะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสหรัฐฯ
    .
    ครั้งที่เข้าเฝ้าฯ กษัตริย์ชาร์ลส์ ซึ่งทรงอยู่ในฐานะประมุขแห่งรัฐของแคนาดา ในวันจันทร์ (3 มี.ค.) ทรูโดเผยว่าเขาหวัง "หารือในประเด็นต่างๆ ที่มีความสำคัญกับแคนาดาและชาวแคนาดา"
    .
    "และผมสามารถบอกกับคุณได้ว่า เวลานี้ไม่มีอะไรสำคัญกับชาวแคนาดามากไปกว่าการยืนหยัดเพื่ออธิปไตยของเราและเอกราชของเรา ในฐานะประเทศหนึ่ง" นายกรัฐมนตรีแคนาดาระบุ ระหว่างอยู่ในลอนดอน เพื่อร่วมประชุมซัมมิตเกี่ยวกับยูเครน
    .
    ทรัมป์ ยึดติดอยู่กับอธิปไตยของแคนาดาโดยเฉพาะ นับตั้งแต่ได้รับชัยชนะในศึกเลือกตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน กลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ อีกสมัย
    .
    ผู้สำสหรัฐฯ พาดพิงแคนาดาบ่อยครั้งในฐานะ "รัฐที่ 51" และดูหมิ่น ทรูโด ด้วยการเรียกเขาว่าเป็น "ผู้ว่าการรัฐ" แทนที่จะเป็น "นายกรัฐมนตรี"
    .
    ทั้งนี้ ทรัมป์ ออกคำสั่งรีดภาษีบรรดาคู่ค้าหลีกของสหรัฐฯ ซึ่งมีกำหนดบังคับใช้ในวันอังคาร (4 มี.ค.) แต่บอกว่าแคนาดาสามารถหลีกเลี่ยงการถูกรีดภาษีได้ หากกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของอเมริกา
    .
    เมื่อเดือนที่แล้ว ทรูโด เตือนว่าการพูดจาอย่างไม่หยุดหย่อนของทรัมป์ เกี่ยวกับการดูดกลืนแคนาดา เพื่อเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาตินั้น "เป็นของจริง"
    .
    ชาวแคนาดาบางส่วนส่งเสียงแสดงความสงสัยว่าทำไมกษัตริย์ชาร์ลส์ถึงไม่ออกมาตรัสอะไรบ้าง เกี่ยวกับการปกป้องแคนาดา อย่างไรก็ตาม ตามธรรมเนียมประเพณีแล้ว กษัตริย์มีหน้าที่ได้แค่เพียงให้คำแนะนำนายกรัฐมนตรี ในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชาติในเครือจักรภพ
    .
    เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เคียร์ สตาร์เมอร์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร เชิญ ทรัมป์ เดินทางเยือนสหราชอาณาจักรแบบรัฐพิธีเป็นครั้งที่ 2 อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ซึ่งอาจเป็นการเปิดโอกาสให้กษัตริย์ชาร์ลส์ทรงหยิบยกประเด็นอธิปไตยของแคนาดาพูดคุยกับทรัมป์
    .
    ณ ที่ประชุมซัมมิตด้านความมั่นคงของยูเครน ในลอนดอน เมื่อวันอาทิตย์ (2 มี.ค.) ทรูโด เน้นย้ำว่า แคนาดา ยังคงให้การสนับสนุนยูเครน อย่างหนักแน่นและไม่เปลี่ยนแปลง และได้แถลงมาตรการคว่ำบาตรรอบใหม่เล่นงานรัสเซีย
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000020426
    ..............
    Sondhi X
    จัสติน ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดา ว่าเขาเตรียมเข้าเฝ้าฯ กษัตริย์ชาร์ลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร พูดคุยเกี่ยวกับการปกป้องอธิปไตยของแคนาดา หลังจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ ส่งเสียงเรียกร้องซ้ำๆ ให้เข้ามาเป็นรัฐที่ 51 ของอเมริกา . คำพูดซ้ำแล้วซ้ำเล่าของทรัมป์ โหมกระพือเสียงโวยวายในแคนาดา โดยพวกเจ้าหน้าที่ปฏิเสธอย่างหนักแน่น เกี่ยวกับการพูดคุยใดๆ กรณีที่พวกเขาจะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสหรัฐฯ . ครั้งที่เข้าเฝ้าฯ กษัตริย์ชาร์ลส์ ซึ่งทรงอยู่ในฐานะประมุขแห่งรัฐของแคนาดา ในวันจันทร์ (3 มี.ค.) ทรูโดเผยว่าเขาหวัง "หารือในประเด็นต่างๆ ที่มีความสำคัญกับแคนาดาและชาวแคนาดา" . "และผมสามารถบอกกับคุณได้ว่า เวลานี้ไม่มีอะไรสำคัญกับชาวแคนาดามากไปกว่าการยืนหยัดเพื่ออธิปไตยของเราและเอกราชของเรา ในฐานะประเทศหนึ่ง" นายกรัฐมนตรีแคนาดาระบุ ระหว่างอยู่ในลอนดอน เพื่อร่วมประชุมซัมมิตเกี่ยวกับยูเครน . ทรัมป์ ยึดติดอยู่กับอธิปไตยของแคนาดาโดยเฉพาะ นับตั้งแต่ได้รับชัยชนะในศึกเลือกตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน กลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ อีกสมัย . ผู้สำสหรัฐฯ พาดพิงแคนาดาบ่อยครั้งในฐานะ "รัฐที่ 51" และดูหมิ่น ทรูโด ด้วยการเรียกเขาว่าเป็น "ผู้ว่าการรัฐ" แทนที่จะเป็น "นายกรัฐมนตรี" . ทั้งนี้ ทรัมป์ ออกคำสั่งรีดภาษีบรรดาคู่ค้าหลีกของสหรัฐฯ ซึ่งมีกำหนดบังคับใช้ในวันอังคาร (4 มี.ค.) แต่บอกว่าแคนาดาสามารถหลีกเลี่ยงการถูกรีดภาษีได้ หากกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของอเมริกา . เมื่อเดือนที่แล้ว ทรูโด เตือนว่าการพูดจาอย่างไม่หยุดหย่อนของทรัมป์ เกี่ยวกับการดูดกลืนแคนาดา เพื่อเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาตินั้น "เป็นของจริง" . ชาวแคนาดาบางส่วนส่งเสียงแสดงความสงสัยว่าทำไมกษัตริย์ชาร์ลส์ถึงไม่ออกมาตรัสอะไรบ้าง เกี่ยวกับการปกป้องแคนาดา อย่างไรก็ตาม ตามธรรมเนียมประเพณีแล้ว กษัตริย์มีหน้าที่ได้แค่เพียงให้คำแนะนำนายกรัฐมนตรี ในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชาติในเครือจักรภพ . เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เคียร์ สตาร์เมอร์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร เชิญ ทรัมป์ เดินทางเยือนสหราชอาณาจักรแบบรัฐพิธีเป็นครั้งที่ 2 อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ซึ่งอาจเป็นการเปิดโอกาสให้กษัตริย์ชาร์ลส์ทรงหยิบยกประเด็นอธิปไตยของแคนาดาพูดคุยกับทรัมป์ . ณ ที่ประชุมซัมมิตด้านความมั่นคงของยูเครน ในลอนดอน เมื่อวันอาทิตย์ (2 มี.ค.) ทรูโด เน้นย้ำว่า แคนาดา ยังคงให้การสนับสนุนยูเครน อย่างหนักแน่นและไม่เปลี่ยนแปลง และได้แถลงมาตรการคว่ำบาตรรอบใหม่เล่นงานรัสเซีย . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000020426 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    Haha
    5
    0 Comments 0 Shares 1413 Views 0 Reviews
  • กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ออกมาโต้รัฐมนตรีเฉลิมชัย ศรีอ่อน ที่ก่อนหน้ายืนยันรับประกันสวัสดิภาพหมูเด้งและสวนสัตว์เขาเขียวได้มาตรฐานว่า ให้ความสนใจหมูเด้งเป็นพิเศษ เนื่องมาจากกระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญที่ทำให้สัตว์ป่าเช่นฮิปโปแคระสูญเสียธรรมชาติดั้งเดิมความเป็นสัตว์ป่าของตัวเองไป แต่ไม่ตอบคำเชิญเข้ามาดูหมูเด้งถึงสวนสัตว์เขาเขียว ด้านอดีตเอกอัครราชทูตอเมริกันประจำธนาคารพัฒนาเอเชีย (AsDB) สวนกระแสแบนบุกเยือน “หมูเด้ง” ถึงที่โพสต์ชื่นชมพี่เบนซ์ที่อุทิศตัวจนหมูเด้งมีชื่อไปทั่วโลก

    เจสัน เบเกอร์ (Jason Baker) รองประธานอาวุโสกลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ชื่อดังออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 25 ก.พ. มายังผู้จัดการออนไลน์ ตอบโต้รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฉลิมชัย ศรีอ่อน หลังข่าว PETA จับมือ Born Free รณรงค์ไม่ให้นักท่องเที่ยวในอังกฤษเดินทางบินเข้ามาชมหมูเด้งในไทยออกมาเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์ไปทั่ว

    แถลงการณ์ PETA ที่ออกมาในวันเดียวกัน (25) กับการแถลงของรัฐมนตรีเฉลิมชัย โดยทางกลุ่มแถลงยังคงโจมตีไปที่กระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญ PETA จุดยืนการรณรงค์หมูเด้งเนื่องมาจากทางกลุ่มต้องการให้ข้อมูลว่า สัตว์ที่ถูกกักกันนั้นแท้จริงเป็นสิ่งที่มีความรู้สึกเหมือนเช่นมนุษย์ และไม่ใช่สิ่งที่จะนำมาจัดแสดงได้ตามข้ออ้างของรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/around/detail/9680000020286

    #MGROnline #กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ #PETA #หมูเด้ง
    กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ออกมาโต้รัฐมนตรีเฉลิมชัย ศรีอ่อน ที่ก่อนหน้ายืนยันรับประกันสวัสดิภาพหมูเด้งและสวนสัตว์เขาเขียวได้มาตรฐานว่า ให้ความสนใจหมูเด้งเป็นพิเศษ เนื่องมาจากกระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญที่ทำให้สัตว์ป่าเช่นฮิปโปแคระสูญเสียธรรมชาติดั้งเดิมความเป็นสัตว์ป่าของตัวเองไป แต่ไม่ตอบคำเชิญเข้ามาดูหมูเด้งถึงสวนสัตว์เขาเขียว ด้านอดีตเอกอัครราชทูตอเมริกันประจำธนาคารพัฒนาเอเชีย (AsDB) สวนกระแสแบนบุกเยือน “หมูเด้ง” ถึงที่โพสต์ชื่นชมพี่เบนซ์ที่อุทิศตัวจนหมูเด้งมีชื่อไปทั่วโลก • เจสัน เบเกอร์ (Jason Baker) รองประธานอาวุโสกลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ PETA ชื่อดังออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 25 ก.พ. มายังผู้จัดการออนไลน์ ตอบโต้รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฉลิมชัย ศรีอ่อน หลังข่าว PETA จับมือ Born Free รณรงค์ไม่ให้นักท่องเที่ยวในอังกฤษเดินทางบินเข้ามาชมหมูเด้งในไทยออกมาเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์ไปทั่ว • แถลงการณ์ PETA ที่ออกมาในวันเดียวกัน (25) กับการแถลงของรัฐมนตรีเฉลิมชัย โดยทางกลุ่มแถลงยังคงโจมตีไปที่กระแสความโด่งดังหมูเด้งที่มาจากการกักขังในสวนสัตว์เป็นสำคัญ PETA จุดยืนการรณรงค์หมูเด้งเนื่องมาจากทางกลุ่มต้องการให้ข้อมูลว่า สัตว์ที่ถูกกักกันนั้นแท้จริงเป็นสิ่งที่มีความรู้สึกเหมือนเช่นมนุษย์ และไม่ใช่สิ่งที่จะนำมาจัดแสดงได้ตามข้ออ้างของรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/around/detail/9680000020286 • #MGROnline #กลุ่มอนุรักษ์สิทธิสัตว์ #PETA #หมูเด้ง
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 599 Views 0 Reviews
  • จากการสำรวจนิด้าโพลเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก ด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก สำหรับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในการแก้ไขปัญหาของประเทศ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 36.41 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อมั่น รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ไม่เชื่อมั่นเลย ร้อยละ 25.04 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อมั่น และร้อยละ 12.29 ระบุว่า เชื่อมั่นมาก ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานในแต่ละกระทรวงของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่าง ร้อยละ 32.45 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.16 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 17.02 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.29 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ตัวอย่าง ร้อยละ 32.14 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.25 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 15.04 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพลังงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 32.98 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.31 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.11 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.76 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการคลัง ตัวอย่าง ร้อยละ 33.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.79 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.75 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.59 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.38 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 21.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.44 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.57 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.29 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.39 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.70 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.21 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 6.41 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการต่างประเทศ ตัวอย่าง ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.48 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.46 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.24 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 29.92 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.55 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 18.09 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.52 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 10.92 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลสำนักนายกรัฐมนตรี ตัวอย่าง ร้อยละ 34.35 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.70 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.52 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงวัฒนธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 31.53 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.54 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.94 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.70 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงศึกษาธิการ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.04 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.51 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 24.27 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.53 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.00 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.99 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.28 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.01 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.68 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงยุติธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 32.90 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 24.50 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 11.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 4.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงคมนาคม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.37 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.92 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.21 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง ร้อยละ 33.44 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.00 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.69 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.76 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.11 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงแรงงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 35.80 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 25.65 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 25.42 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.60 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงกลาโหม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.56 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.63 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.31 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.90 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.95 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.49 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 25.80 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 9.39 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.37 ระบุว่า ไม่มีข้อมูล
    จากการสำรวจนิด้าโพลเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก ด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก สำหรับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในการแก้ไขปัญหาของประเทศ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 36.41 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อมั่น รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ไม่เชื่อมั่นเลย ร้อยละ 25.04 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อมั่น และร้อยละ 12.29 ระบุว่า เชื่อมั่นมาก ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานในแต่ละกระทรวงของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่าง ร้อยละ 32.45 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.16 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 17.02 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.29 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ตัวอย่าง ร้อยละ 32.14 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.25 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 15.04 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพลังงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 32.98 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.31 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.11 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.76 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการคลัง ตัวอย่าง ร้อยละ 33.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.79 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.75 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.59 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.38 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 21.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.44 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.57 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.29 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.39 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.70 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.21 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 6.41 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการต่างประเทศ ตัวอย่าง ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.48 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.46 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.24 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 29.92 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.55 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 18.09 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.52 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 10.92 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลสำนักนายกรัฐมนตรี ตัวอย่าง ร้อยละ 34.35 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.70 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.52 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงวัฒนธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 31.53 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.54 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.94 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.70 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงศึกษาธิการ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.04 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.51 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 24.27 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.53 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.00 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.99 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.28 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.01 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.68 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงยุติธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 32.90 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 24.50 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 11.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 4.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงคมนาคม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.37 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.92 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.21 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง ร้อยละ 33.44 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.00 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.69 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.76 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.11 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงแรงงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 35.80 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 25.65 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 25.42 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.60 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงกลาโหม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.56 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.63 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.31 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.90 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.95 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.49 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 25.80 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 9.39 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.37 ระบุว่า ไม่มีข้อมูล
    0 Comments 0 Shares 553 Views 0 Reviews
  • การเก็บมุกในจีนโบราณ

    สวัสดีค่ะ ผ่านบทความยาวๆ กันมาหลายสัปดาห์ วันนี้มาคุยกันสั้นหน่อยเกี่ยวกับการเก็บมุก เพื่อนเพจที่ได้ดู <ม่านมุกม่านหยก> คงจะจำได้ถึงเรื่องราวตอนเปิดเรื่องที่นางเอกเป็นทาสเก็บมุก และในฉากดำน้ำเก็บมุกจะเห็นว่าทาสเก็บมุกทุกคนมีถุงทรายช่วยถ่วงให้ลงน้ำได้เร็วขึ้น แต่ทุกคนดำน้ำได้ลึกมากและอึดมากจนอดไม่ได้ที่จะสงสัยว่าในสมัยก่อนเขาดำน้ำเก็บมุกกันอย่างนี้จริงๆ หรือ

    การดำน้ำเก็บมุกมีมาแต่สมัยใดไม่ปรากฏชัด แต่ไข่มุกเป็นของบรรณาการที่ต้องส่งเข้าวังมาแต่โบราณโดยในสมัยฉินมีการกล่าวถึงอย่างชัดเจน และในเอกสารสมัยราชวงศ์ฮั่นก็มีการกล่าวถึงการเก็บมุกในฝั่งทะเลตอนใต้ในเขตการปกครองที่เรียกว่า ‘เหอผู่’ ปัจจุบันคือแถบตอนใต้ของมณฑลก่วงซี ว่ากันว่าชาวบ้านในแถบพื้นที่นั้นไม่มีอาชีพอื่นเลยนอกจากเก็บมุก และเด็กเริ่มฝึกลงทะเลดำน้ำตั้งแต่อายุสิบขวบ

    การเก็บมุกในทะเลมีมาเรื่อยตลอดทุกยุคสมัย ยกเว้นในสมัยซ่งที่มีการประกาศห้ามลงทะเลเก็บมุกเพราะอันตรายเกินไปและมีการพัฒนามุกน้ำจืดและเรือเก็บหอยมุก แต่เมื่อพ้นสมัยซ่งก็กลับมาใช้คนลงทะเลเก็บมุกกันอีก โดยเฉพาะในสมัยหมิงการเก็บมุกทำกันอย่างขยันขันแข็ง มีคนเก็บมุกกว่าแปดพันคน จนทำให้จำนวนมุกที่เก็บได้มากสุดและจำนวนคนเก็บมุกตายมากสุดในประวัติศาสตร์จีน ทำเอามุกทะเลธรรมชาติร่อยหรอจนในสมัยชิงหันมาใช้ ‘มุกตะวันออก’ ซึ่งก็คือมุกน้ำจืดที่เก็บจากบริเวณแม่น้ำซงหัวทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน

    ว่ากันว่ากรรมวิธีการดำน้ำเก็บมุกในทะเลไม่ได้เปลี่ยนไปมากตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของมัน แต่เอกสารบรรยายเกี่ยวกับวิธีการเก็บมุกมีน้อยมาก และเอกสารที่คนมักใช้อ้างอิงคือบันทึก ‘เทียนกงคายอู้’ (天工开物 /The Exploitation of the Works of Nature) ซึ่งเป็นหนังสือสมัยหมิงจัดทำขึ้นโดยซ่งอิงซิงเมื่อปีค.ศ. 1637 หนังสือเล่มนี้บรรยายถึงกว่า 300 อาชีพที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงการเก็บมุกด้วย

    จริงๆ แล้ว ‘เทียนกงคายอู้’ เป็นเอกสารบรรยาย แต่ต่อมามีคนอิงเอกสารนี้จัดวาดเป็นภาพขึ้นในหลากหลายเวอร์ชั่น Storyฯ เอาเวอร์ชั่นที่คนส่วนใหญ่อ้างอิงเพราะใกล้เคียงกับคำบรรยายมากที่สุดมาให้ดู (รูปประกอบ 2)

    ‘เทียนกงคายอู้’ อธิบายไว้ว่า... เรือเก็บมุกจะรูปทรงอ้วนกว่าเรืออื่นและหัวมน บนเรือมีฟางมัดเป็นแผ่น เมื่อผ่านน้ำวนให้โยนแผ่นฟางลงไป เรือก็จะผ่านไปได้อย่างปลอดภัย... คนเก็บมุกลงน้ำพร้อมตะกร้าไผ่ เอวถูกมัดไว้กับเชือกยาวที่ถูกยึดไว้บนเรือ... คนเก็บมุกมีหลอดโค้งทำจากดีบุก ปลายหลอดเสียบเข้าที่จมูกและใช้ถุงหนังนิ่มพันรอบคอและซอกหูเพื่อช่วยหายใจ... คนที่ดำลงได้ลึกจริงๆ สามารถลงไปถึงสี่ห้าร้อยฉื่อ (ประมาณ 90-115 เมตร) เพื่อเก็บหอยมุกใส่ตะกร้า เมื่ออากาศใกล้หมดก็จะกระตุกเชือกให้คนข้างบนดึงขึ้นไป เมื่อขึ้นไปแล้วต้องรีบเอาผืนหนังต้มร้อนมาห่อตัวให้อุ่นเพื่อจะได้ไม่แข็งตาย

    ในหนังสือ ‘เทียนคายกงอู้’ ไม่ได้บรรยายไว้ว่าคนเก็บมุกแต่งกายอย่างไร แต่ข้อมูลอื่นรวมถึงภาพวาดหลายเวอร์ชั่นแสดงให้เห็นว่าในสมัยโบราณนั้น คนเก็บมุกใช้หินมัดไว้ที่เอวเพื่อถ่วงให้จมเร็วขึ้นและลงน้ำโดยไม่ใส่เสื้อผ้าเลย โดยปกติแล้วคนเก็บมุกออกเรือด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กและจับคู่กันเช่นพ่อลูกหรือพี่น้องชายผลัดกันดึงเชือกผลัดกันดำลงไป

    แม้ว่าการบรรยายข้างต้นจะพอให้เราเห็นภาพชัดเจนขึ้น แต่อย่างไรก็ดี เพื่อนเพจหลายท่านคงรู้สึกเหมือน Storyฯ ว่าคำบรรยายในหนังสือยังมีประเด็นชวนสงสัยอีก เป็นต้นว่า ท่อหายใจกับถุงหนังต่อเข้ากันอย่างไร? กันน้ำได้อย่างไร? อากาศในถุงหนังคือคนเป่าเข้าไป? ฯลฯ แต่จนใจที่ Storyฯ หาข้อมูลเพิ่มเติมไม่พบ เพื่อนเพจท่านใดมีข้อมูลเพิ่มเติมก็รบกวนมาเล่าสู่กันฟังนะคะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g62771163/the-story-of-pearl-girl/
    https://www.epochtimes.com/gb/18/3/14/n10216310.htm
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.epochtimes.com/gb/18/3/14/n10216310.htm
    https://news.bjd.com.cn/read/2021/07/23/134795t172.html
    https://baike.baidu.com/item/天工开物/29312
    https://core.ac.uk/download/pdf/323959493.pdf

    #ม่านมุกม่านหยก #มุกทะเลใต้ #การเก็บมุก #คนเก็บมุก #ไฉ่จู #สาระจีน
    การเก็บมุกในจีนโบราณ สวัสดีค่ะ ผ่านบทความยาวๆ กันมาหลายสัปดาห์ วันนี้มาคุยกันสั้นหน่อยเกี่ยวกับการเก็บมุก เพื่อนเพจที่ได้ดู <ม่านมุกม่านหยก> คงจะจำได้ถึงเรื่องราวตอนเปิดเรื่องที่นางเอกเป็นทาสเก็บมุก และในฉากดำน้ำเก็บมุกจะเห็นว่าทาสเก็บมุกทุกคนมีถุงทรายช่วยถ่วงให้ลงน้ำได้เร็วขึ้น แต่ทุกคนดำน้ำได้ลึกมากและอึดมากจนอดไม่ได้ที่จะสงสัยว่าในสมัยก่อนเขาดำน้ำเก็บมุกกันอย่างนี้จริงๆ หรือ การดำน้ำเก็บมุกมีมาแต่สมัยใดไม่ปรากฏชัด แต่ไข่มุกเป็นของบรรณาการที่ต้องส่งเข้าวังมาแต่โบราณโดยในสมัยฉินมีการกล่าวถึงอย่างชัดเจน และในเอกสารสมัยราชวงศ์ฮั่นก็มีการกล่าวถึงการเก็บมุกในฝั่งทะเลตอนใต้ในเขตการปกครองที่เรียกว่า ‘เหอผู่’ ปัจจุบันคือแถบตอนใต้ของมณฑลก่วงซี ว่ากันว่าชาวบ้านในแถบพื้นที่นั้นไม่มีอาชีพอื่นเลยนอกจากเก็บมุก และเด็กเริ่มฝึกลงทะเลดำน้ำตั้งแต่อายุสิบขวบ การเก็บมุกในทะเลมีมาเรื่อยตลอดทุกยุคสมัย ยกเว้นในสมัยซ่งที่มีการประกาศห้ามลงทะเลเก็บมุกเพราะอันตรายเกินไปและมีการพัฒนามุกน้ำจืดและเรือเก็บหอยมุก แต่เมื่อพ้นสมัยซ่งก็กลับมาใช้คนลงทะเลเก็บมุกกันอีก โดยเฉพาะในสมัยหมิงการเก็บมุกทำกันอย่างขยันขันแข็ง มีคนเก็บมุกกว่าแปดพันคน จนทำให้จำนวนมุกที่เก็บได้มากสุดและจำนวนคนเก็บมุกตายมากสุดในประวัติศาสตร์จีน ทำเอามุกทะเลธรรมชาติร่อยหรอจนในสมัยชิงหันมาใช้ ‘มุกตะวันออก’ ซึ่งก็คือมุกน้ำจืดที่เก็บจากบริเวณแม่น้ำซงหัวทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ว่ากันว่ากรรมวิธีการดำน้ำเก็บมุกในทะเลไม่ได้เปลี่ยนไปมากตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของมัน แต่เอกสารบรรยายเกี่ยวกับวิธีการเก็บมุกมีน้อยมาก และเอกสารที่คนมักใช้อ้างอิงคือบันทึก ‘เทียนกงคายอู้’ (天工开物 /The Exploitation of the Works of Nature) ซึ่งเป็นหนังสือสมัยหมิงจัดทำขึ้นโดยซ่งอิงซิงเมื่อปีค.ศ. 1637 หนังสือเล่มนี้บรรยายถึงกว่า 300 อาชีพที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงการเก็บมุกด้วย จริงๆ แล้ว ‘เทียนกงคายอู้’ เป็นเอกสารบรรยาย แต่ต่อมามีคนอิงเอกสารนี้จัดวาดเป็นภาพขึ้นในหลากหลายเวอร์ชั่น Storyฯ เอาเวอร์ชั่นที่คนส่วนใหญ่อ้างอิงเพราะใกล้เคียงกับคำบรรยายมากที่สุดมาให้ดู (รูปประกอบ 2) ‘เทียนกงคายอู้’ อธิบายไว้ว่า... เรือเก็บมุกจะรูปทรงอ้วนกว่าเรืออื่นและหัวมน บนเรือมีฟางมัดเป็นแผ่น เมื่อผ่านน้ำวนให้โยนแผ่นฟางลงไป เรือก็จะผ่านไปได้อย่างปลอดภัย... คนเก็บมุกลงน้ำพร้อมตะกร้าไผ่ เอวถูกมัดไว้กับเชือกยาวที่ถูกยึดไว้บนเรือ... คนเก็บมุกมีหลอดโค้งทำจากดีบุก ปลายหลอดเสียบเข้าที่จมูกและใช้ถุงหนังนิ่มพันรอบคอและซอกหูเพื่อช่วยหายใจ... คนที่ดำลงได้ลึกจริงๆ สามารถลงไปถึงสี่ห้าร้อยฉื่อ (ประมาณ 90-115 เมตร) เพื่อเก็บหอยมุกใส่ตะกร้า เมื่ออากาศใกล้หมดก็จะกระตุกเชือกให้คนข้างบนดึงขึ้นไป เมื่อขึ้นไปแล้วต้องรีบเอาผืนหนังต้มร้อนมาห่อตัวให้อุ่นเพื่อจะได้ไม่แข็งตาย ในหนังสือ ‘เทียนคายกงอู้’ ไม่ได้บรรยายไว้ว่าคนเก็บมุกแต่งกายอย่างไร แต่ข้อมูลอื่นรวมถึงภาพวาดหลายเวอร์ชั่นแสดงให้เห็นว่าในสมัยโบราณนั้น คนเก็บมุกใช้หินมัดไว้ที่เอวเพื่อถ่วงให้จมเร็วขึ้นและลงน้ำโดยไม่ใส่เสื้อผ้าเลย โดยปกติแล้วคนเก็บมุกออกเรือด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กและจับคู่กันเช่นพ่อลูกหรือพี่น้องชายผลัดกันดึงเชือกผลัดกันดำลงไป แม้ว่าการบรรยายข้างต้นจะพอให้เราเห็นภาพชัดเจนขึ้น แต่อย่างไรก็ดี เพื่อนเพจหลายท่านคงรู้สึกเหมือน Storyฯ ว่าคำบรรยายในหนังสือยังมีประเด็นชวนสงสัยอีก เป็นต้นว่า ท่อหายใจกับถุงหนังต่อเข้ากันอย่างไร? กันน้ำได้อย่างไร? อากาศในถุงหนังคือคนเป่าเข้าไป? ฯลฯ แต่จนใจที่ Storyฯ หาข้อมูลเพิ่มเติมไม่พบ เพื่อนเพจท่านใดมีข้อมูลเพิ่มเติมก็รบกวนมาเล่าสู่กันฟังนะคะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g62771163/the-story-of-pearl-girl/ https://www.epochtimes.com/gb/18/3/14/n10216310.htm Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.epochtimes.com/gb/18/3/14/n10216310.htm https://news.bjd.com.cn/read/2021/07/23/134795t172.html https://baike.baidu.com/item/天工开物/29312 https://core.ac.uk/download/pdf/323959493.pdf #ม่านมุกม่านหยก #มุกทะเลใต้ #การเก็บมุก #คนเก็บมุก #ไฉ่จู #สาระจีน
    0 Comments 0 Shares 709 Views 0 Reviews
  • เซเลนสกีกำลังออกเดินทางจากสนามบิน Rzeszów-Jasionka ประเทศโปแลนด์ และกำลังมุ่งหน้าไปยังวอชิงตันไปวอชิงตันเพื่อลงนามใน “ข้อตกลง” แร่ธาตุกับโดนัลด์ ทรัมป์

    - เซเลนสกีจะแวะที่ไอร์แลนด์ เพื่อพบกับนายกรัฐมนตรี ไมเคิล มาร์ติน หลังจากนั้นจะมุ่งหน้าสู่กรุงวอชิงตันในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ เพื่อลงนามในข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐฯต่อไป

    - ยูเครนแทบไม่เหลืออะไรนอกจากคนหนุ่มสาวและทรัพยากรธรรมชาติเท่านั้น เพื่อใช้ในการต่อรองกับอเมริกา ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นเพียงเพราะการตัดสินใจที่ "ผิดพลาด" ของเขา จนทำลายรัฐของตนเองจนสิ้นซาก

    - หากเซเลนสกีดำเนินแนวทางตามข้อตกลงมินสค์อย่างเคร่งครัด ยูเครนอาจกลายเป็นรัฐที่มีอำนาจควบคุมทรัพยากร ก๊าซราคาถูก น้ำมัน และที่สำคัญที่สุดคือ ประชาชนจำนวนมากยังคงมีชีวิตอยู่

    - การลงนามข้อตกลงแร่ธาตุของเซเลนสกีในครั้งนี้ เกือบล้มเหลว เมื่อสถานีโทรทัศน์บีเอฟเอ็มทีวี (BFMTV) ของฝรั่งเศส รายงานว่า ทรัมป์ตัดสินใจยกเลิกการเยือนสหรัฐฯ ของเซเลนสกีไปแล้ว แต่เมื่อเซเลนสกีทราบข่าว ทำให้เกิดความตื่นตระหนกในเคียฟอย่างมาก

    - หลังจากนั้น เซเลนสกี้ได้โทรศัพท์ไปหาประธานาธิบดีมาครง เพื่อขอให้โน้มน้าวให้ทรัมป์เปลี่ยนใจ ซึ่งต่อมา "มาครง" ได้ติดต่อผู้นำสหรัฐฯ และโน้มน้าวให้เขาเปลี่ยนใจในที่สุด

    - สื่อฝรั่งเศสยังรายงานว่า มาครงก็ให้ความสนใจในแร่หายากของยูเครนอยู่ด้วยเช่นกัน ตามที่มาครงกล่าวระหว่างการเยือนทรัมป์ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อวันก่อน ซึ่งฝรั่งเศสต้องการใช้ในการผลิตอาวุธที่ครอบคลุมระยะเวลาสำหรับ 30 หรือ 40 ปีข้างหน้า
    เซเลนสกีกำลังออกเดินทางจากสนามบิน Rzeszów-Jasionka ประเทศโปแลนด์ และกำลังมุ่งหน้าไปยังวอชิงตันไปวอชิงตันเพื่อลงนามใน “ข้อตกลง” แร่ธาตุกับโดนัลด์ ทรัมป์ - เซเลนสกีจะแวะที่ไอร์แลนด์ เพื่อพบกับนายกรัฐมนตรี ไมเคิล มาร์ติน หลังจากนั้นจะมุ่งหน้าสู่กรุงวอชิงตันในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ เพื่อลงนามในข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐฯต่อไป - ยูเครนแทบไม่เหลืออะไรนอกจากคนหนุ่มสาวและทรัพยากรธรรมชาติเท่านั้น เพื่อใช้ในการต่อรองกับอเมริกา ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นเพียงเพราะการตัดสินใจที่ "ผิดพลาด" ของเขา จนทำลายรัฐของตนเองจนสิ้นซาก - หากเซเลนสกีดำเนินแนวทางตามข้อตกลงมินสค์อย่างเคร่งครัด ยูเครนอาจกลายเป็นรัฐที่มีอำนาจควบคุมทรัพยากร ก๊าซราคาถูก น้ำมัน และที่สำคัญที่สุดคือ ประชาชนจำนวนมากยังคงมีชีวิตอยู่ - การลงนามข้อตกลงแร่ธาตุของเซเลนสกีในครั้งนี้ เกือบล้มเหลว เมื่อสถานีโทรทัศน์บีเอฟเอ็มทีวี (BFMTV) ของฝรั่งเศส รายงานว่า ทรัมป์ตัดสินใจยกเลิกการเยือนสหรัฐฯ ของเซเลนสกีไปแล้ว แต่เมื่อเซเลนสกีทราบข่าว ทำให้เกิดความตื่นตระหนกในเคียฟอย่างมาก - หลังจากนั้น เซเลนสกี้ได้โทรศัพท์ไปหาประธานาธิบดีมาครง เพื่อขอให้โน้มน้าวให้ทรัมป์เปลี่ยนใจ ซึ่งต่อมา "มาครง" ได้ติดต่อผู้นำสหรัฐฯ และโน้มน้าวให้เขาเปลี่ยนใจในที่สุด - สื่อฝรั่งเศสยังรายงานว่า มาครงก็ให้ความสนใจในแร่หายากของยูเครนอยู่ด้วยเช่นกัน ตามที่มาครงกล่าวระหว่างการเยือนทรัมป์ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อวันก่อน ซึ่งฝรั่งเศสต้องการใช้ในการผลิตอาวุธที่ครอบคลุมระยะเวลาสำหรับ 30 หรือ 40 ปีข้างหน้า
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 533 Views 0 Reviews
  • ทรัมป์-เซนเลนสกีจ่อลงนามข้อตกลง 'แรร์เอิร์ธ' พรุ่งนี้! : คนเคาะข่าว 27-02-68
    : อ.สุดาทิพย์ จารุจินดา อินทร ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย อุษณีย์ เอกอุษณีย์

    #ทรัมป์ #เซเลนสกี #แรร์เอิร์ธ #ข้อตกลงแร่หายาก #คนเคาะข่าว #ข่าวต่างประเทศ #เศรษฐกิจโลก #ความมั่นคง #วิเคราะห์การเมือง #Geopolitics #USA #ยูเครน #พลังงาน #ทรัพยากรธรรมชาติ #ไทยTimes
    ทรัมป์-เซนเลนสกีจ่อลงนามข้อตกลง 'แรร์เอิร์ธ' พรุ่งนี้! : คนเคาะข่าว 27-02-68 : อ.สุดาทิพย์ จารุจินดา อินทร ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการโดย อุษณีย์ เอกอุษณีย์ #ทรัมป์ #เซเลนสกี #แรร์เอิร์ธ #ข้อตกลงแร่หายาก #คนเคาะข่าว #ข่าวต่างประเทศ #เศรษฐกิจโลก #ความมั่นคง #วิเคราะห์การเมือง #Geopolitics #USA #ยูเครน #พลังงาน #ทรัพยากรธรรมชาติ #ไทยTimes
    Like
    Love
    3
    1 Comments 1 Shares 914 Views 10 0 Reviews
  • สโลวะเกีย มีสิทธิเรียกร้องให้ยูเครนชำระคืนเงินช่วยเหลือที่พวกเขามอบให้เคียฟในระหว่างทำศึกสงครามกับมอสโก หากว่าบรรดาชาติตะวันตกอย่างสหรัฐฯ เยอรมนีและฝรั่งเศส ดำเนินการแบบเดียวกัน สมาชิกรัฐสภาระดับอาวุโสรายหนึ่งของสโลวะเกียเน้นย้ำ
    .
    อันเดรจ ดันโก ประธานภรรคสโลวัค เนชันแนล ปาร์ตี และบุคคลสำคัญในรัฐบาลผสม แสดงความคิดเห็นในวิดีโอที่โพสต์บนเฟซบุ๊กเมื่อวันจันทร์ (24 ก.พ.) ว่าสโลวะเกียมีสิทธิเรียกร้องขอยูเครนจ่ายคืนเงินช่วยเหลือที่มอบให้ไปกว่า 3,500 ล้านยูโร (ราว 1.2 แสนล้านบาท)
    .
    ความเห็นนี้มีขึ้นตามหลังรายงานข่าวที่ระบุว่าวอชิงตันกำลังเจรจาข้อตกลงหนึ่งกับยูเครน ที่ทางเคียฟอาจมอบแร่ธาตุสำคัญๆ ในสัดส่วน 50% เป็นค่าชดเชยสำหรับเงินช่วยเหลือจากสหรัฐฯ ซึ่งในเรื่องนี้ ดันโก ตั้งคำถามว่าแล้วสหภาพยุโรป (อียู) จะได้อะไรกลับคืนมาบ้าง สำหรับความช่วยเหลือที่พวกเขามอบให้แก่ยูเครนเช่นกัน
    .
    ข้อเสนอข้อตกลง ซึ่งมีข่าวว่าเป็นการอนุมัติให้สิทธิอย่างครอบคลุมแก่สหรัฐฯ เข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติของยูเครน เป็นความพยายามหาทางชดเชยสิ่งที่อเมริกากล่าวอ้างว่าได้มอบความช่วยเหลือทั้งด้านการทหารและทางเศรษฐกิจแก่เคียฟ ไปกว่า 500,000 ล้านดอลลาร์
    .
    "และผมจะถามเกี่ยวกับสโลวะเกีย" ดันโกเน้นย้ำ "แล้วสโลวะเกียจะได้คืนเงิน 3,500 ล้านยูโรที่ส่งไปหรือไม่" เขาตั้งคำถาม พร้อมเน้นย้ำว่าเงินจำนวนดังกล่าวเป็นถือจำนวนที่มากสำหรับชาติหนึ่งของอียู "และผมอยากบอกว่า ถ้าเยอรมนี ฝรั่งเศส และอเมริการ้องขอเงินพวกเขาคืน สโลวะเกียก็ไม่อาจปิดปากเงียบ"
    .
    เมื่อวันจันทร์ (24 ก.พ.) อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานคณะกรรมการยุโรป เดินทางไปยังกรุงเคียฟ ในวาระครบรอบ 3 ปี ความขัดแย้งยูเครน เปิดตัวแพกเกจความช่วยเหลือทางการเงินของอียูรอบใหม่ 3,500 ล้านยูโร อัดฉีดสภาพคล่องเพิ่มเติมเข้าสู่งบประมาณที่แห้งเหือดของยูเครน
    .
    ขณะเดียวกัน คาจา คัลลาส หัวหน้าฝ่ายนโยบายต่างประเทศของอียู ในวันจันทร์ (24 ก.พ.) แสดงมุมมองในแง่บวก ว่าพวกผู้นำของกลุ่มจะเห็นชอบอย่างรวดเร็วในเงินทุนทางทหารก้อนใหม่ที่มอบแก่เคียฟ ข้อเสนอของเขาเป็นการขยายขอบเขตการส่งมอบอาวุธเข้าสู่ปี 2025 แต่มันเผชิญเสียงคัดค้านจากรัฐสมาชิกบางประเทศ
    .
    อิตาลี โปรตุเกส และสเปน แสดงจุดยืนคัดค้านอย่างเปิดเผยต่อแผนดังกล่าว ในขณะที่ฝรั่งเศสและเยอรมนียังไม่ตัดสินใจ อ้างอิงจากรายงานของโพลิติโก เว็บไซต์ข่าวสัญชาติสหรัฐฯ แพกเกจข้อเสนอนี้ ซึ่งมีมูลค่า 10,000 ล้านยูโร มีกำหนดหยิบยกหารือกัน ณ ที่ประชุมซัมมิตอียูในวันที่ 6 มีนาคม และในนั้นจะรวมถึงการมอบอาวุธ กระสุน ระบบป้องกันภัยทางอากาศ และยกระดับการช่วยฝึกฝนทางทหารแก่กองกำลังยูเครน
    .
    ก่อนหน้านี้ โรเบิร์ต ฟิโก นายกรัฐมนตรีสโลวะเกีย วิพากษ์วิจารณ์แนวทางของอียู ชี้มันเท่ากับว่า อียู แบนคำว่า "สันติภาพ" ออกจากการพูดคุยเกี่ยวกับยูเครนโดยสิ้นเชิง
    .
    มอสโก ส่งเสียงเตือนซ้ำๆ ว่าการป้อนอาวุธแก่ยูเครนของตะวันตก รังแต่จะทำให้ความขัดแย้งลากยาวออกไป โดยไม่อาจเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ใดๆ ในขณะเดียวกันมันก็เสี่ยงเกิดการเผชิญหน้าโดยตรงระหว่างรัสเซียกับนาโต ทั้งนี้ อเล็กซานด์ร กรุสโก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศรัสเซีย ชี้แนะว่าอียูสามารถมีส่วนส่งเสริมการคลี่คลายวิกฤต ด้วยการหยุดให้แรงสนับสนุนด้านการทหารและโลจิสติกส์แก่เคียฟ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000018796
    ..............
    Sondhi X
    สโลวะเกีย มีสิทธิเรียกร้องให้ยูเครนชำระคืนเงินช่วยเหลือที่พวกเขามอบให้เคียฟในระหว่างทำศึกสงครามกับมอสโก หากว่าบรรดาชาติตะวันตกอย่างสหรัฐฯ เยอรมนีและฝรั่งเศส ดำเนินการแบบเดียวกัน สมาชิกรัฐสภาระดับอาวุโสรายหนึ่งของสโลวะเกียเน้นย้ำ . อันเดรจ ดันโก ประธานภรรคสโลวัค เนชันแนล ปาร์ตี และบุคคลสำคัญในรัฐบาลผสม แสดงความคิดเห็นในวิดีโอที่โพสต์บนเฟซบุ๊กเมื่อวันจันทร์ (24 ก.พ.) ว่าสโลวะเกียมีสิทธิเรียกร้องขอยูเครนจ่ายคืนเงินช่วยเหลือที่มอบให้ไปกว่า 3,500 ล้านยูโร (ราว 1.2 แสนล้านบาท) . ความเห็นนี้มีขึ้นตามหลังรายงานข่าวที่ระบุว่าวอชิงตันกำลังเจรจาข้อตกลงหนึ่งกับยูเครน ที่ทางเคียฟอาจมอบแร่ธาตุสำคัญๆ ในสัดส่วน 50% เป็นค่าชดเชยสำหรับเงินช่วยเหลือจากสหรัฐฯ ซึ่งในเรื่องนี้ ดันโก ตั้งคำถามว่าแล้วสหภาพยุโรป (อียู) จะได้อะไรกลับคืนมาบ้าง สำหรับความช่วยเหลือที่พวกเขามอบให้แก่ยูเครนเช่นกัน . ข้อเสนอข้อตกลง ซึ่งมีข่าวว่าเป็นการอนุมัติให้สิทธิอย่างครอบคลุมแก่สหรัฐฯ เข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติของยูเครน เป็นความพยายามหาทางชดเชยสิ่งที่อเมริกากล่าวอ้างว่าได้มอบความช่วยเหลือทั้งด้านการทหารและทางเศรษฐกิจแก่เคียฟ ไปกว่า 500,000 ล้านดอลลาร์ . "และผมจะถามเกี่ยวกับสโลวะเกีย" ดันโกเน้นย้ำ "แล้วสโลวะเกียจะได้คืนเงิน 3,500 ล้านยูโรที่ส่งไปหรือไม่" เขาตั้งคำถาม พร้อมเน้นย้ำว่าเงินจำนวนดังกล่าวเป็นถือจำนวนที่มากสำหรับชาติหนึ่งของอียู "และผมอยากบอกว่า ถ้าเยอรมนี ฝรั่งเศส และอเมริการ้องขอเงินพวกเขาคืน สโลวะเกียก็ไม่อาจปิดปากเงียบ" . เมื่อวันจันทร์ (24 ก.พ.) อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานคณะกรรมการยุโรป เดินทางไปยังกรุงเคียฟ ในวาระครบรอบ 3 ปี ความขัดแย้งยูเครน เปิดตัวแพกเกจความช่วยเหลือทางการเงินของอียูรอบใหม่ 3,500 ล้านยูโร อัดฉีดสภาพคล่องเพิ่มเติมเข้าสู่งบประมาณที่แห้งเหือดของยูเครน . ขณะเดียวกัน คาจา คัลลาส หัวหน้าฝ่ายนโยบายต่างประเทศของอียู ในวันจันทร์ (24 ก.พ.) แสดงมุมมองในแง่บวก ว่าพวกผู้นำของกลุ่มจะเห็นชอบอย่างรวดเร็วในเงินทุนทางทหารก้อนใหม่ที่มอบแก่เคียฟ ข้อเสนอของเขาเป็นการขยายขอบเขตการส่งมอบอาวุธเข้าสู่ปี 2025 แต่มันเผชิญเสียงคัดค้านจากรัฐสมาชิกบางประเทศ . อิตาลี โปรตุเกส และสเปน แสดงจุดยืนคัดค้านอย่างเปิดเผยต่อแผนดังกล่าว ในขณะที่ฝรั่งเศสและเยอรมนียังไม่ตัดสินใจ อ้างอิงจากรายงานของโพลิติโก เว็บไซต์ข่าวสัญชาติสหรัฐฯ แพกเกจข้อเสนอนี้ ซึ่งมีมูลค่า 10,000 ล้านยูโร มีกำหนดหยิบยกหารือกัน ณ ที่ประชุมซัมมิตอียูในวันที่ 6 มีนาคม และในนั้นจะรวมถึงการมอบอาวุธ กระสุน ระบบป้องกันภัยทางอากาศ และยกระดับการช่วยฝึกฝนทางทหารแก่กองกำลังยูเครน . ก่อนหน้านี้ โรเบิร์ต ฟิโก นายกรัฐมนตรีสโลวะเกีย วิพากษ์วิจารณ์แนวทางของอียู ชี้มันเท่ากับว่า อียู แบนคำว่า "สันติภาพ" ออกจากการพูดคุยเกี่ยวกับยูเครนโดยสิ้นเชิง . มอสโก ส่งเสียงเตือนซ้ำๆ ว่าการป้อนอาวุธแก่ยูเครนของตะวันตก รังแต่จะทำให้ความขัดแย้งลากยาวออกไป โดยไม่อาจเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ใดๆ ในขณะเดียวกันมันก็เสี่ยงเกิดการเผชิญหน้าโดยตรงระหว่างรัสเซียกับนาโต ทั้งนี้ อเล็กซานด์ร กรุสโก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศรัสเซีย ชี้แนะว่าอียูสามารถมีส่วนส่งเสริมการคลี่คลายวิกฤต ด้วยการหยุดให้แรงสนับสนุนด้านการทหารและโลจิสติกส์แก่เคียฟ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000018796 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    Haha
    12
    0 Comments 0 Shares 2461 Views 1 Reviews
  • ประเทศไหนมีทรัพยากรธรรมชาติ สหรัฐพร้อมเข้าช่วยเสมอ

    "ยุให้แตก แล้วเข้าไปแดรกแร่หายาก"
    ประเทศไหนมีทรัพยากรธรรมชาติ สหรัฐพร้อมเข้าช่วยเสมอ "ยุให้แตก แล้วเข้าไปแดรกแร่หายาก"
    Like
    Haha
    Angry
    4
    1 Comments 0 Shares 268 Views 0 Reviews
  • แนวคิดของ lunar economy ที่เคยเป็นเพียงเรื่องในนิยายวิทยาศาสตร์ กำลังกลายเป็นความจริงที่สามารถจับต้องได้ ประเทศต่าง ๆ และบริษัทเอกชนกำลังแข่งขันกันเพื่อสร้างฐานที่มั่นบนดวงจันทร์และใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่นั่นในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และพัฒนาความสามารถในการสำรวจอวกาศในอนาคต

    หนึ่งในบริษัทที่เข้าร่วมการแข่งขันนี้คือ Firefly Aerospace บริษัทที่ตั้งอยู่ในรัฐเท็กซัส เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2025 Firefly ได้ทำการปล่อยภารกิจ Blue Ghost 1 ซึ่งเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาระบบการส่งมอบจากโลกสู่ดวงจันทร์ ขณะนี้ Blue Ghost กำลังมุ่งหน้าสู่พื้นผิวดวงจันทร์และต้องเผชิญกับภารกิจท้าทายหลายอย่าง เช่น การเข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์ การลงจอดอย่างควบคุมในพื้นที่ Mare Crisium และการรับมือกับสภาพแวดล้อมที่รุนแรง การติดตั้งอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อม และการเจาะและสกัดฝุ่นละอองบนดวงจันทร์อย่างอัตโนมัติ

    ภารกิจของ Firefly นี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Commercial Lunar Payload Services (CLPS) ของ NASA ที่มุ่งใช้ความสร้างสรรค์ของภาคเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาการสำรวจอวกาศ ขณะที่ NASA มุ่งเน้นการส่งนักบินอวกาศกลับสู่ดวงจันทร์ผ่านโครงการ Artemis บริษัทเอกชนถูกมอบหมายให้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการส่งมอบสิ่งของและการส่งคืนตัวอย่าง

    Blue Ghost lander บรรทุกอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ 10 ชิ้น รวมถึงคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อตรวจวัดความต้านทานของวงจรต่อรังสีในอวกาศ และกล้องที่ใช้ศึกษาฝุ่นละอองที่ลอยอยู่ นอกจากนี้ lander ยังจะถ่ายภาพปรากฏการณ์ lunar eclipse เพื่อให้มุมมองพิเศษต่อปรากฏการณ์นี้

    ในขณะที่ lunar economy เริ่มเป็นรูปเป็นร่าง ความสนใจจึงหันไปที่การใช้ประโยชน์จากวัสดุบนดวงจันทร์ โดยเฉพาะ Helium-3 ซึ่งเป็นไอโซโทปหายากที่มีประโยชน์ในการฟิวชั่นนิวเคลียร์ คอมพิวเตอร์ควอนตัม และการสร้างภาพทางการแพทย์ Helium-3 นั้นหายากบนโลก แต่เชื่อว่ามีการสะสมอยู่ในดวงจันทร์เนื่องจากลมสุริยะ

    บริษัทอย่าง Interlune กำลังวางแผนภารกิจการขุดเพื่อสกัด Helium-3 จากดวงจันทร์ นักวิจัยยังสำรวจการใช้แร่ธาตุและน้ำบนดวงจันทร์เพื่อผลิตออกซิเจนและไฮโดรเจนสำหรับเชื้อเพลิงจรวด ซึ่งอาจเปิดทางให้มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์บนดวงจันทร์อย่างยั่งยืนในอนาคต รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานบนดวงจันทร์ เช่น ถนน ทางรถไฟ และสิ่งก่อสร้างจากคอนกรีต

    ในอนาคต ภาพของ lander ที่เข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์และการสร้างระบบการส่งมอบในอวกาศจะเป็นเรื่องปกติทั่วไป เปิดฉากยุคใหม่ของการสำรวจและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นอกเหนือจากชั้นบรรยากาศของโลก

    https://www.techspot.com/news/106885-new-space-race-building-sustainable-economy-moon.html
    แนวคิดของ lunar economy ที่เคยเป็นเพียงเรื่องในนิยายวิทยาศาสตร์ กำลังกลายเป็นความจริงที่สามารถจับต้องได้ ประเทศต่าง ๆ และบริษัทเอกชนกำลังแข่งขันกันเพื่อสร้างฐานที่มั่นบนดวงจันทร์และใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่นั่นในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และพัฒนาความสามารถในการสำรวจอวกาศในอนาคต หนึ่งในบริษัทที่เข้าร่วมการแข่งขันนี้คือ Firefly Aerospace บริษัทที่ตั้งอยู่ในรัฐเท็กซัส เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2025 Firefly ได้ทำการปล่อยภารกิจ Blue Ghost 1 ซึ่งเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาระบบการส่งมอบจากโลกสู่ดวงจันทร์ ขณะนี้ Blue Ghost กำลังมุ่งหน้าสู่พื้นผิวดวงจันทร์และต้องเผชิญกับภารกิจท้าทายหลายอย่าง เช่น การเข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์ การลงจอดอย่างควบคุมในพื้นที่ Mare Crisium และการรับมือกับสภาพแวดล้อมที่รุนแรง การติดตั้งอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อม และการเจาะและสกัดฝุ่นละอองบนดวงจันทร์อย่างอัตโนมัติ ภารกิจของ Firefly นี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Commercial Lunar Payload Services (CLPS) ของ NASA ที่มุ่งใช้ความสร้างสรรค์ของภาคเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาการสำรวจอวกาศ ขณะที่ NASA มุ่งเน้นการส่งนักบินอวกาศกลับสู่ดวงจันทร์ผ่านโครงการ Artemis บริษัทเอกชนถูกมอบหมายให้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการส่งมอบสิ่งของและการส่งคืนตัวอย่าง Blue Ghost lander บรรทุกอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ 10 ชิ้น รวมถึงคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อตรวจวัดความต้านทานของวงจรต่อรังสีในอวกาศ และกล้องที่ใช้ศึกษาฝุ่นละอองที่ลอยอยู่ นอกจากนี้ lander ยังจะถ่ายภาพปรากฏการณ์ lunar eclipse เพื่อให้มุมมองพิเศษต่อปรากฏการณ์นี้ ในขณะที่ lunar economy เริ่มเป็นรูปเป็นร่าง ความสนใจจึงหันไปที่การใช้ประโยชน์จากวัสดุบนดวงจันทร์ โดยเฉพาะ Helium-3 ซึ่งเป็นไอโซโทปหายากที่มีประโยชน์ในการฟิวชั่นนิวเคลียร์ คอมพิวเตอร์ควอนตัม และการสร้างภาพทางการแพทย์ Helium-3 นั้นหายากบนโลก แต่เชื่อว่ามีการสะสมอยู่ในดวงจันทร์เนื่องจากลมสุริยะ บริษัทอย่าง Interlune กำลังวางแผนภารกิจการขุดเพื่อสกัด Helium-3 จากดวงจันทร์ นักวิจัยยังสำรวจการใช้แร่ธาตุและน้ำบนดวงจันทร์เพื่อผลิตออกซิเจนและไฮโดรเจนสำหรับเชื้อเพลิงจรวด ซึ่งอาจเปิดทางให้มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์บนดวงจันทร์อย่างยั่งยืนในอนาคต รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานบนดวงจันทร์ เช่น ถนน ทางรถไฟ และสิ่งก่อสร้างจากคอนกรีต ในอนาคต ภาพของ lander ที่เข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์และการสร้างระบบการส่งมอบในอวกาศจะเป็นเรื่องปกติทั่วไป เปิดฉากยุคใหม่ของการสำรวจและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นอกเหนือจากชั้นบรรยากาศของโลก https://www.techspot.com/news/106885-new-space-race-building-sustainable-economy-moon.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    The new space race: building a sustainable economy on the moon
    This modern-day lunar gold rush has attracted diverse participants, from established space agencies to innovative private firms. One such company in this space race is the Texas-based...
    0 Comments 0 Shares 486 Views 0 Reviews
  • ภูมิปัญญาดั้งเดิมและการพัฒนาคนรุ่นใหม่เป็นสองสิ่งที่สามารถผสมผสานกันได้อย่างลงตัว เพื่อสร้างสังคมที่ก้าวหน้าและยั่งยืน ภูมิปัญญาดั้งเดิมเป็นความรู้และประสบการณ์ที่สั่งสมมาอย่างยาวนานจากบรรพบุรุษ ซึ่งมักสะท้อนถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม และค่านิยมของชุมชน ในขณะที่การพัฒนาคนรุ่นใหม่มุ่งเน้นไปที่การเตรียมความพร้อมให้กับเยาวชนเพื่อรับมือกับความท้าทายในยุคปัจจุบันและอนาคต

    ### วิธีที่ภูมิปัญญาดั้งเดิมสามารถสนับสนุนการพัฒนาคนรุ่นใหม่:
    1. **การส่งเสริมคุณค่าและจริยธรรม**: ภูมิปัญญาดั้งเดิมมักเน้นเรื่องความเอื้ออาทร ความเคารพต่อธรรมชาติ และความสัมพันธ์ในชุมชน ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

    2. **การเรียนรู้จากประสบการณ์**: การนำความรู้เดิมมาประยุกต์ใช้ เช่น การเกษตรแบบดั้งเดิม การแพทย์แผนโบราณ หรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน สามารถช่วยให้คนรุ่นใหม่เข้าใจและแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    3. **การรักษาวัฒนธรรมและอัตลักษณ์**: การเรียนรู้และสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นช่วยให้คนรุ่นใหม่รู้จักรากเหง้าของตนเอง และสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

    4. **การสร้างสมดุลระหว่างเก่าและใหม่**: การผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาดั้งเดิมกับเทคโนโลยีสมัยใหม่สามารถสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์สังคมได้ เช่น การใช้เทคโนโลยีเพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรม หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ทันสมัย

    ### ความท้าทาย:
    - **การสื่อสารระหว่างรุ่น**: บางครั้งคนรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อาจมีมุมมองที่แตกต่างกัน จึงจำเป็นต้องมีช่องทางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
    - **การปรับตัว**: ภูมิปัญญาดั้งเดิมอาจต้องมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับบริบทสมัยใหม่ เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ### สรุป:
    การพัฒนาคนรุ่นใหม่ควรคำนึงถึงการรักษาและต่อยอดภูมิปัญญาดั้งเดิม เพื่อสร้างสังคมที่แข็งแกร่งทั้งทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ การผสมผสานระหว่างความรู้เดิมและนวัตกรรมใหม่จะช่วยให้คนรุ่นใหม่เติบโตได้อย่างมีคุณภาพและพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
    ภูมิปัญญาดั้งเดิมและการพัฒนาคนรุ่นใหม่เป็นสองสิ่งที่สามารถผสมผสานกันได้อย่างลงตัว เพื่อสร้างสังคมที่ก้าวหน้าและยั่งยืน ภูมิปัญญาดั้งเดิมเป็นความรู้และประสบการณ์ที่สั่งสมมาอย่างยาวนานจากบรรพบุรุษ ซึ่งมักสะท้อนถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม และค่านิยมของชุมชน ในขณะที่การพัฒนาคนรุ่นใหม่มุ่งเน้นไปที่การเตรียมความพร้อมให้กับเยาวชนเพื่อรับมือกับความท้าทายในยุคปัจจุบันและอนาคต ### วิธีที่ภูมิปัญญาดั้งเดิมสามารถสนับสนุนการพัฒนาคนรุ่นใหม่: 1. **การส่งเสริมคุณค่าและจริยธรรม**: ภูมิปัญญาดั้งเดิมมักเน้นเรื่องความเอื้ออาทร ความเคารพต่อธรรมชาติ และความสัมพันธ์ในชุมชน ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. **การเรียนรู้จากประสบการณ์**: การนำความรู้เดิมมาประยุกต์ใช้ เช่น การเกษตรแบบดั้งเดิม การแพทย์แผนโบราณ หรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน สามารถช่วยให้คนรุ่นใหม่เข้าใจและแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. **การรักษาวัฒนธรรมและอัตลักษณ์**: การเรียนรู้และสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นช่วยให้คนรุ่นใหม่รู้จักรากเหง้าของตนเอง และสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม 4. **การสร้างสมดุลระหว่างเก่าและใหม่**: การผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาดั้งเดิมกับเทคโนโลยีสมัยใหม่สามารถสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์สังคมได้ เช่น การใช้เทคโนโลยีเพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรม หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ทันสมัย ### ความท้าทาย: - **การสื่อสารระหว่างรุ่น**: บางครั้งคนรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อาจมีมุมมองที่แตกต่างกัน จึงจำเป็นต้องมีช่องทางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ - **การปรับตัว**: ภูมิปัญญาดั้งเดิมอาจต้องมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับบริบทสมัยใหม่ เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ### สรุป: การพัฒนาคนรุ่นใหม่ควรคำนึงถึงการรักษาและต่อยอดภูมิปัญญาดั้งเดิม เพื่อสร้างสังคมที่แข็งแกร่งทั้งทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ การผสมผสานระหว่างความรู้เดิมและนวัตกรรมใหม่จะช่วยให้คนรุ่นใหม่เติบโตได้อย่างมีคุณภาพและพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
    0 Comments 0 Shares 539 Views 0 Reviews
  • ความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีกับสิ่งมีชีวิตบนโลกเป็นประเด็นสำคัญที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ สิ่งมีชีวิตบนโลก รวมทั้งมนุษย์ พึ่งพาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการดำรงชีวิต ในขณะที่เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต แต่ก็อาจส่งผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศได้หากไม่มีการจัดการที่เหมาะสม

    ### ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับความสมดุลนี้ ได้แก่:
    1. **การใช้นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม**
    - เทคโนโลยีสามารถช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาพลังงานสะอาด (พลังงานแสงอาทิตย์ ลม) การใช้ยานพาหนะไฟฟ้า และการรีไซเคิลขยะ
    - เทคโนโลยีช่วยในการตรวจสอบและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    2. **ผลกระทบเชิงลบของเทคโนโลยี**
    - การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมากเพื่อผลิตเทคโนโลยี เช่น การขุดแร่หายากสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
    - มลพิษจากกระบวนการผลิตและขยะอิเล็กทรอนิกส์
    - การรบกวนระบบนิเวศจากการขยายตัวของเมืองและอุตสาหกรรม

    3. **การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต**
    - สิ่งมีชีวิตหลายชนิดต้องปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เกิดจากเทคโนโลยี เช่น มลพิษทางอากาศและน้ำ
    - การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพเนื่องจากที่อยู่อาศัยถูกทำลาย

    4. **บทบาทของมนุษย์ในการสร้างสมดุล**
    - มนุษย์ต้องรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยีอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
    - การส่งเสริมการบริโภคอย่างยั่งยืนและการลดการใช้ทรัพยากรที่ไม่จำเป็น
    - การสนับสนุนนโยบายและกฎหมายที่ส่งเสริมการปกป้องสิ่งแวดล้อม

    ### สรุป:
    ความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีกับสิ่งมีชีวิตบนโลกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยการจัดการอย่างรอบคอบ มนุษย์ในฐานะผู้ใช้เทคโนโลยีต้องตระหนักถึงผลกระทบและพยายามลดการทำลายสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ทั้งเทคโนโลยีและสิ่งมีชีวิตสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน
    ความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีกับสิ่งมีชีวิตบนโลกเป็นประเด็นสำคัญที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ สิ่งมีชีวิตบนโลก รวมทั้งมนุษย์ พึ่งพาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการดำรงชีวิต ในขณะที่เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต แต่ก็อาจส่งผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศได้หากไม่มีการจัดการที่เหมาะสม ### ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับความสมดุลนี้ ได้แก่: 1. **การใช้นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม** - เทคโนโลยีสามารถช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาพลังงานสะอาด (พลังงานแสงอาทิตย์ ลม) การใช้ยานพาหนะไฟฟ้า และการรีไซเคิลขยะ - เทคโนโลยีช่วยในการตรวจสอบและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2. **ผลกระทบเชิงลบของเทคโนโลยี** - การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมากเพื่อผลิตเทคโนโลยี เช่น การขุดแร่หายากสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ - มลพิษจากกระบวนการผลิตและขยะอิเล็กทรอนิกส์ - การรบกวนระบบนิเวศจากการขยายตัวของเมืองและอุตสาหกรรม 3. **การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต** - สิ่งมีชีวิตหลายชนิดต้องปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เกิดจากเทคโนโลยี เช่น มลพิษทางอากาศและน้ำ - การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพเนื่องจากที่อยู่อาศัยถูกทำลาย 4. **บทบาทของมนุษย์ในการสร้างสมดุล** - มนุษย์ต้องรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยีอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - การส่งเสริมการบริโภคอย่างยั่งยืนและการลดการใช้ทรัพยากรที่ไม่จำเป็น - การสนับสนุนนโยบายและกฎหมายที่ส่งเสริมการปกป้องสิ่งแวดล้อม ### สรุป: ความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีกับสิ่งมีชีวิตบนโลกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยการจัดการอย่างรอบคอบ มนุษย์ในฐานะผู้ใช้เทคโนโลยีต้องตระหนักถึงผลกระทบและพยายามลดการทำลายสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ทั้งเทคโนโลยีและสิ่งมีชีวิตสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน
    0 Comments 0 Shares 472 Views 0 Reviews
  • โปรตีนจากนมพืชดีอย่างไร ?

    โปรตีนจากนมพืช (Plant-based milk protein) เป็นโปรตีนที่ได้จากพืช เช่น ถั่วเหลือง อัลมอนด์ ข้าวโอ๊ต และเมล็ดเจีย ซึ่งกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเนื่องจากมีประโยชน์ต่อสุขภาพและเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่ไม่บริโภคนมสัตว์หรือแพ้นมวัว นี่คือประโยชน์หลักๆ ของโปรตีนจากนมพืช:

    ### 1. **เหมาะสำหรับผู้แพ้นมวัว**
    - ผู้ที่แพ้แลคโตสหรือโปรตีนจากนมวัวสามารถบริโภคโปรตีนจากนมพืชได้โดยไม่มีปัญหา เนื่องจากไม่มีส่วนประกอบของนมสัตว์

    ### 2. **ดีต่อสุขภาพหัวใจ**
    - นมพืชส่วนใหญ่มีไขมันอิ่มตัวต่ำ และไม่มีคอเลสเตอรอล ช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด
    - นมถั่วเหลืองมีไขมันดี (HDL) และกรดไขมันโอเมก้า-3 ที่ช่วยบำรุงหัวใจ

    ### 3. **อุดมด้วยสารอาหาร**
    - นมถั่วเหลืองมีโปรตีนสูงใกล้เคียงกับนมวัว และมีกรดอะมิโนจำเป็นครบถ้วน
    - นมพืชบางชนิดเสริมแคลเซียม วิตามินดี และวิตามินบี 12 เพื่อให้ได้สารอาหารใกล้เคียงนมวัว

    ### 4. **ช่วยควบคุมน้ำหนัก**
    - นมพืชมักมีแคลอรีต่ำกว่านมวัว จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก
    - มีไฟเบอร์สูง โดยเฉพาะนมข้าวโอ๊ตและนมอัลมอนด์ ช่วยให้อิ่มนานขึ้น

    ### 5. **ดีต่อระบบย่อยอาหาร**
    - นมพืชย่อยง่ายกว่านมวัว และไม่มีแลคโตสที่อาจทำให้เกิดอาการท้องอืดหรือท้องเสียในบางคน

    ### 6. **เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม**
    - การผลิตนมพืชใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยกว่า และปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่าการผลิตนมวัว

    ### 7. **เหมาะกับผู้ทานมังสวิรัติ**
    - โปรตีนจากนมพืชเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ที่ทานมังสวิรัติหรือวีแกน

    ### ข้อควรระวัง
    - ควรเลือกนมพืชที่ไม่เติมน้ำตาลหรือสารปรุงแต่งมากเกินไป
    - ตรวจสอบให้แน่ใจว่านมพืชที่เลือกมีโปรตีนเพียงพอ โดยเฉพาะนมถั่วเหลืองที่มีโปรตีนสูงสุด

    สรุปว่าโปรตีนจากนมพืชเป็นทางเลือกที่ดีต่อสุขภาพและเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการหลีกเลี่ยงนมสัตว์หรือมีข้อจำกัดด้านอาหาร
    โปรตีนจากนมพืชดีอย่างไร ? โปรตีนจากนมพืช (Plant-based milk protein) เป็นโปรตีนที่ได้จากพืช เช่น ถั่วเหลือง อัลมอนด์ ข้าวโอ๊ต และเมล็ดเจีย ซึ่งกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเนื่องจากมีประโยชน์ต่อสุขภาพและเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่ไม่บริโภคนมสัตว์หรือแพ้นมวัว นี่คือประโยชน์หลักๆ ของโปรตีนจากนมพืช: ### 1. **เหมาะสำหรับผู้แพ้นมวัว** - ผู้ที่แพ้แลคโตสหรือโปรตีนจากนมวัวสามารถบริโภคโปรตีนจากนมพืชได้โดยไม่มีปัญหา เนื่องจากไม่มีส่วนประกอบของนมสัตว์ ### 2. **ดีต่อสุขภาพหัวใจ** - นมพืชส่วนใหญ่มีไขมันอิ่มตัวต่ำ และไม่มีคอเลสเตอรอล ช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด - นมถั่วเหลืองมีไขมันดี (HDL) และกรดไขมันโอเมก้า-3 ที่ช่วยบำรุงหัวใจ ### 3. **อุดมด้วยสารอาหาร** - นมถั่วเหลืองมีโปรตีนสูงใกล้เคียงกับนมวัว และมีกรดอะมิโนจำเป็นครบถ้วน - นมพืชบางชนิดเสริมแคลเซียม วิตามินดี และวิตามินบี 12 เพื่อให้ได้สารอาหารใกล้เคียงนมวัว ### 4. **ช่วยควบคุมน้ำหนัก** - นมพืชมักมีแคลอรีต่ำกว่านมวัว จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก - มีไฟเบอร์สูง โดยเฉพาะนมข้าวโอ๊ตและนมอัลมอนด์ ช่วยให้อิ่มนานขึ้น ### 5. **ดีต่อระบบย่อยอาหาร** - นมพืชย่อยง่ายกว่านมวัว และไม่มีแลคโตสที่อาจทำให้เกิดอาการท้องอืดหรือท้องเสียในบางคน ### 6. **เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม** - การผลิตนมพืชใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยกว่า และปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่าการผลิตนมวัว ### 7. **เหมาะกับผู้ทานมังสวิรัติ** - โปรตีนจากนมพืชเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ที่ทานมังสวิรัติหรือวีแกน ### ข้อควรระวัง - ควรเลือกนมพืชที่ไม่เติมน้ำตาลหรือสารปรุงแต่งมากเกินไป - ตรวจสอบให้แน่ใจว่านมพืชที่เลือกมีโปรตีนเพียงพอ โดยเฉพาะนมถั่วเหลืองที่มีโปรตีนสูงสุด สรุปว่าโปรตีนจากนมพืชเป็นทางเลือกที่ดีต่อสุขภาพและเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการหลีกเลี่ยงนมสัตว์หรือมีข้อจำกัดด้านอาหาร
    0 Comments 0 Shares 688 Views 0 Reviews
  • Sabri Cheriha วิศวกรชาวตูนีเซียที่ก้าวมาเป็นนักสังคมสงเคราะห์ โดยเขาได้ก่อตั้งธุรกิจสตาร์ทอัพที่ชื่อว่า Wefix ในชานเมืองของเมืองตูนิส เพื่อจัดการกับปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้นในประเทศตูนีเซีย

    ในตูนีเซียมีอุปกรณ์ไฟฟ้าในครัวเรือนประมาณแปดล้านชิ้นและโทรศัพท์มือถือเก้าล้านเครื่องที่ใช้งานอยู่ แต่เมื่ออุปกรณ์เหล่านี้เสียหายหรือถูกทดแทน ไม่มีการบริการใด ๆ ที่จะจัดการกับขยะเหล่านี้อย่างถูกต้อง

    จุดที่น่าสนใจคือการแก้ปัญหานี้เป็นเรื่องที่ท้าทายและจำเป็น เนื่องจากขยะอิเล็กทรอนิกส์มักมีสารอันตรายที่สามารถทำลายสิ่งแวดล้อมได้ถ้าไม่จัดการอย่างถูกวิธี นอกจากนี้การนำขยะอิเล็กทรอนิกส์มารีไซเคิลยังช่วยลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอีกด้วย

    โครงการแบบนี้ไม่เพียงแต่ช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ แต่ยังสร้างงานให้กับชุมชนและส่งเสริมให้คนรู้จักการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น นับว่าเป็นอีกหนึ่งก้าวที่สำคัญในการสร้างอนาคตที่ยั่งยืนค่ะ

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/02/17/tunisian-startup-takes-on-ewaste-challenge
    Sabri Cheriha วิศวกรชาวตูนีเซียที่ก้าวมาเป็นนักสังคมสงเคราะห์ โดยเขาได้ก่อตั้งธุรกิจสตาร์ทอัพที่ชื่อว่า Wefix ในชานเมืองของเมืองตูนิส เพื่อจัดการกับปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้นในประเทศตูนีเซีย ในตูนีเซียมีอุปกรณ์ไฟฟ้าในครัวเรือนประมาณแปดล้านชิ้นและโทรศัพท์มือถือเก้าล้านเครื่องที่ใช้งานอยู่ แต่เมื่ออุปกรณ์เหล่านี้เสียหายหรือถูกทดแทน ไม่มีการบริการใด ๆ ที่จะจัดการกับขยะเหล่านี้อย่างถูกต้อง จุดที่น่าสนใจคือการแก้ปัญหานี้เป็นเรื่องที่ท้าทายและจำเป็น เนื่องจากขยะอิเล็กทรอนิกส์มักมีสารอันตรายที่สามารถทำลายสิ่งแวดล้อมได้ถ้าไม่จัดการอย่างถูกวิธี นอกจากนี้การนำขยะอิเล็กทรอนิกส์มารีไซเคิลยังช่วยลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอีกด้วย โครงการแบบนี้ไม่เพียงแต่ช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ แต่ยังสร้างงานให้กับชุมชนและส่งเสริมให้คนรู้จักการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น นับว่าเป็นอีกหนึ่งก้าวที่สำคัญในการสร้างอนาคตที่ยั่งยืนค่ะ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/02/17/tunisian-startup-takes-on-ewaste-challenge
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Tunisian startup takes on ewaste challenge
    Engineer turned social entrepreneur Sabri Cheriha hunches over a washing machine at a small depot in a suburb of Tunisia's capital, the unassuming home of a startup he launched to tackle the country's mounting electronic waste problem.
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 340 Views 0 Reviews
More Results