• ศาสนาไม่เคยฝากไว้ที่วัด...

    แต่ฝากไว้ในใจ "ชาวบ้าน"

    ไม่มีใครเกิดมาเป็นพระ
    ทุกคนเริ่มจาก “ฆราวาส”
    และ “พระจะเป็นอย่างไร”
    ก็ขึ้นอยู่กับ “ฆราวาสแบบไหน” ที่เขาเคยเป็นมา

    ในยุคที่ เราฝากความดีไว้กับพระไม่ได้
    เพราะมีชาวบ้านใจร้ายไปบวชเป็นพระ
    เราจึงต้องเริ่มฝากความดีไว้กับฆราวาส...ก่อน

    อยากให้พระมีวินัย
    อย่าถวายกิเลสให้ท่าน

    อยากให้พระสอนธรรม
    จงเลิกไถ่ถามเลขเด็ด

    อยากให้วัดร่มเย็น
    จงอย่าหอบเรื่องโลกไปวางในวัด

    อยากให้พระมีธรรม
    จงเป็นฆราวาสที่ฝึกธรรมไว้ในใจ

    เพราะพระพุทธเจ้าฝากพระศาสนา
    ไว้กับคนทั้งสี่ประเภท — ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
    ไม่ใช่แค่ “ผ้าเหลือง”

    ถ้าอยากเห็นพระในอนาคต
    เป็นพระที่ดี...
    เราต้องเป็นฆราวาสที่ดี วันนี้

    ธรรมะไม่ใช่ของสูงบนหิ้ง
    แต่คือเครื่องมือประจำบ้าน
    ไว้แก้ทุกข์ เติมสุข
    ให้ชีวิตทุกวัน...ดีขึ้นเรื่อย ๆ

    วันนี้…คุณเลือกอยู่ใน “บริษัทพุทธ”

    เพื่อ “สร้างศาสนา” หรือ “ทำลายศาสนา”?
    หลักฐานมีอยู่ในมือถือคุณแล้วทั้งหมด...

    🪷 เพราะถ้าคุณไม่ดูแลศาสนา
    อย่าแปลกใจ…
    ถ้าต้องเผชิญวันตาย
    โดยไม่มี “หลัก” ให้ยึด
    ไม่มี “ธรรม” ให้เกาะ
    ไม่มีแม้แต่ “ฟางเส้นสุดท้าย” ให้ใจจับ!

    #ศาสนาในมือฆราวาส
    #ธรรมะในบ้าน
    #สร้างไม่ใช่แค่ด่า
    #ธรรมะไม่ใช่แค่ผ้าเหลือง
    #ชาวพุทธต้องมีส่วนร่วม
    🌿 ศาสนาไม่เคยฝากไว้ที่วัด... แต่ฝากไว้ในใจ "ชาวบ้าน" ไม่มีใครเกิดมาเป็นพระ ทุกคนเริ่มจาก “ฆราวาส” และ “พระจะเป็นอย่างไร” ก็ขึ้นอยู่กับ “ฆราวาสแบบไหน” ที่เขาเคยเป็นมา ในยุคที่ เราฝากความดีไว้กับพระไม่ได้ เพราะมีชาวบ้านใจร้ายไปบวชเป็นพระ เราจึงต้องเริ่มฝากความดีไว้กับฆราวาส...ก่อน อยากให้พระมีวินัย อย่าถวายกิเลสให้ท่าน อยากให้พระสอนธรรม จงเลิกไถ่ถามเลขเด็ด อยากให้วัดร่มเย็น จงอย่าหอบเรื่องโลกไปวางในวัด อยากให้พระมีธรรม จงเป็นฆราวาสที่ฝึกธรรมไว้ในใจ เพราะพระพุทธเจ้าฝากพระศาสนา ไว้กับคนทั้งสี่ประเภท — ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ไม่ใช่แค่ “ผ้าเหลือง” ✨ ถ้าอยากเห็นพระในอนาคต เป็นพระที่ดี... เราต้องเป็นฆราวาสที่ดี วันนี้ ธรรมะไม่ใช่ของสูงบนหิ้ง แต่คือเครื่องมือประจำบ้าน ไว้แก้ทุกข์ เติมสุข ให้ชีวิตทุกวัน...ดีขึ้นเรื่อย ๆ วันนี้…คุณเลือกอยู่ใน “บริษัทพุทธ” เพื่อ “สร้างศาสนา” หรือ “ทำลายศาสนา”? หลักฐานมีอยู่ในมือถือคุณแล้วทั้งหมด... 🪷 เพราะถ้าคุณไม่ดูแลศาสนา อย่าแปลกใจ… ถ้าต้องเผชิญวันตาย โดยไม่มี “หลัก” ให้ยึด ไม่มี “ธรรม” ให้เกาะ ไม่มีแม้แต่ “ฟางเส้นสุดท้าย” ให้ใจจับ! #ศาสนาในมือฆราวาส #ธรรมะในบ้าน #สร้างไม่ใช่แค่ด่า #ธรรมะไม่ใช่แค่ผ้าเหลือง #ชาวพุทธต้องมีส่วนร่วม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • กิเลสในชาตินี้ภพนี้แรงนะ ใครแพ้มันตายทั้งเป็น ป้องกันภัยจากกิเลสก็มีแต่ธรรมะ ศิล ภาวนา
    กิเลสในชาตินี้ภพนี้แรงนะ ใครแพ้มันตายทั้งเป็น ป้องกันภัยจากกิเลสก็มีแต่ธรรมะ ศิล ภาวนา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม (แรม 8 ค่ำ) วันพระ หรือวันธรรมสวนะ

    รู้จักฝึกฝนจิตให้ชนะกิเลส เราเป็นตัวกู-ของกู มานานแล้ว ต้องตีตัวออกห่างจากตัวกู-ของกูเสียบ้าง เป็นขบถต่อตัวกู-ของกู คือไม่ยอมเป็นทาสของกิเลสประเภท ตัวกู-ของกู อีกต่อไป
    --พระพุทธทาสภิกขุ--
    วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม (แรม 8 ค่ำ) วันพระ หรือวันธรรมสวนะ รู้จักฝึกฝนจิตให้ชนะกิเลส เราเป็นตัวกู-ของกู มานานแล้ว ต้องตีตัวออกห่างจากตัวกู-ของกูเสียบ้าง เป็นขบถต่อตัวกู-ของกู คือไม่ยอมเป็นทาสของกิเลสประเภท ตัวกู-ของกู อีกต่อไป --พระพุทธทาสภิกขุ--
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • Newsstory : มีแต่พระกิเลสหนา พอได้ยศตำแหน่งมากแล้วจะทำแบบนี้

    #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    #นิวส์สตอรี่ #สนธิ #สนธิลิ้มทองกุล
    #พระ
    Newsstory : มีแต่พระกิเลสหนา พอได้ยศตำแหน่งมากแล้วจะทำแบบนี้ #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่ #สนธิ #สนธิลิ้มทองกุล #พระ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 100 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • เข้าวัดรับศีลรับธรรม
    นำไปปฏิบัติ
    สติได้ฝึกหัด
    บำบัดจิตใจ

    เข้าวัดไม่รับศีลธรรม
    นำเอากิเลสมาไว้
    ขาดสติปัญญาใช้
    ได้แต่ขัดข้องหมองใจ

    พุทธสถานที่ทางอาศัย
    ใช้ปฏิบัติมุ่งหมาย
    มรดกธรรมให้ไว้
    ได้มีทายาทศรัทธา

    คุณงามพุทธานุภาพ
    อำนาจธรรมคุ้มรักษา
    ไม่แห้งแล้วศรัทธา
    พาเพียรสติสมาธิ

    ปัญญาธรรมนำพาวิจัย
    ให้มีพลังกายจิต
    มารมีก่อกวนข้องติด
    คิดได้ให้ดับสิ้นสงสัย

    กรรมดีปรุงแต่งจิตให้ดี
    มีสุขเสพติดทุกข์ได้
    ปรุงแต่งกรรมชั่วพัวพันไว้
    ให้ทุกข์ยิ่งยึดทุกข์วิบาก

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลขัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    เข้าวัดรับศีลรับธรรม นำไปปฏิบัติ สติได้ฝึกหัด บำบัดจิตใจ เข้าวัดไม่รับศีลธรรม นำเอากิเลสมาไว้ ขาดสติปัญญาใช้ ได้แต่ขัดข้องหมองใจ พุทธสถานที่ทางอาศัย ใช้ปฏิบัติมุ่งหมาย มรดกธรรมให้ไว้ ได้มีทายาทศรัทธา คุณงามพุทธานุภาพ อำนาจธรรมคุ้มรักษา ไม่แห้งแล้วศรัทธา พาเพียรสติสมาธิ ปัญญาธรรมนำพาวิจัย ให้มีพลังกายจิต มารมีก่อกวนข้องติด คิดได้ให้ดับสิ้นสงสัย กรรมดีปรุงแต่งจิตให้ดี มีสุขเสพติดทุกข์ได้ ปรุงแต่งกรรมชั่วพัวพันไว้ ให้ทุกข์ยิ่งยึดทุกข์วิบาก ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลขัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 58 มุมมอง 0 รีวิว
  • หลง.จิตหลงสนุกไปกับกิเลส ตัณหาราคะ ความอยากต่างๆ ดิ้นร้นใส่ หมดยางอาย.
    หลง.จิตหลงสนุกไปกับกิเลส ตัณหาราคะ ความอยากต่างๆ ดิ้นร้นใส่ หมดยางอาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1054
    ชื่อบทธรรม :- การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    --เกวัฏฏะ ! นี่ปาฏิหาริย์สามอย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
    แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้.
    สามอย่างอะไรเล่า ? สามอย่างคือ
    อิทธปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริ

    (๑) เกวัฎฎะ ! อิทธิปาฏิหาริย์นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำอิทธิวิธีมีอย่างต่างๆ
    : ผู้เดียวแปลงรูปเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว,
    ทำที่กำบังให้เป็นที่แจ้ง ทำที่แจ้งให้เป็นที่กำบัง,
    ไปได้ไม่ขัดข้อง ผ่านทะลุฝา ทะลุกำแพง ทะลุภูเขา ดุจไปในอากาศว่างๆ,
    ผุดขึ้นและดำรงอยู่ในแผ่นดินได้เหมือนในน้ำ,
    เดินไปได้เหนือน้ำ เหมือนเดินบนแผ่นดิน,
    ไปได้ในอากาศเหมือนนกมีปีก ทั้งที่ยังนั่งสมาธิคู้บัลลังก์.
    ลูบคลำดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์อานุภาพมาก ได้ด้วยฝ่ามือ.
    และแสดงอำนาจทางกายเป็นไปตลอดถึงพรหมโลกได้.
    --เกวัฏฏะ ! กุลบุตรผู้มีศรัทธาเลื่อมใสได้เห็นการแสดงนั้นแล้ว
    เขาบอกเล่าแก่กุลบุตรอื่นบางคน ที่ไม่ศรัทธาเลื่อมใสว่าน่าอัศจรรย์นัก.
    กุลบุตรผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น ก็จะพึงตอบว่า วิชา ชื่อ คันธารี*--๑ มีอยู่
    ภิกษุนั้นแสดงอิทธิวิธีด้วยวิชานั่นเท่านั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่),
    --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร
    : ก็คนไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้อย่างนั้น มิใช่หรือ ?
    “พึงตอบได้ , พระองค์ !”
    --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ดังนี้แล
    จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออิทธิปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=อิทฺธิปาฏิหาริ
    *--๑. คันธารี ชื่อมนต์ แต่งโดยฤษีมีนามคันธาระ, อีกอย่างหนึ่งว่าในแคว้นคันธาระ.

    (๒) เกวัฏฏะ ! อาเทสนาปาฏิหาริย์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทายจิต ทายความรู้สึกของจิต
    ทายความตรึก ทายความตรอง ของสัตว์เหล่าอื่น ของบุคคลเหล่าอื่นได้ ว่า
    ใจของท่านเช่นนี้ ใจของท่านมีประการนี้ ใจของท่านมีด้วยอาการอย่างนี้.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    กุลบุตรผู้ไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมค้านกุลบุตรผู้เชื่อผู้เลื่อมใส ว่า วิชา ชื่อ มณิกา มีอยู่
    ภิกษุนั้น กล่าวทายใจได้เช่นนั้นๆ ก็ด้วยวิชานั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่),
    --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร
    : ก็คนไม่เชื่อไม่ เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้ อย่างนั้น มิใช่หรือ ?
    “พึงตอบได้ , พระองค์ !”
    --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนาปาฏิหาริย์ดังนี้แล
    จึง อึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออาเทสนาปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/275/?keywords=อาเทสนาปาฏิหาริ

    (๓) เกวัฏฏะ ! อนุศาสนีปาฏิหาริย์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมสั่งสอนว่า
    “ท่านจงตรึกอย่างนี้ๆ อย่าตรึกอย่างนั้นๆ,
    จงทำไว้ในใจอย่างนี้ๆ อย่าทำไว้ในใจอย่างนั้นๆ,
    จงละสิ่งนี้ๆ เสีย. จงเข้าถึง สิ่งนี้ๆ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า #อนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ

    --เกวัฏฏะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง
    สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก
    เป็นสารถีฝึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์
    เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์.
    ตถาคตนั้น ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์
    พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว
    สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม.
    ตถาคตนั้นแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น – ท่ามกลาง – ที่สุด,
    ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=ตถาคโต
    : คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต.
    เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธา ย่อมพิจารณาเห็นว่า
    “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาสว่าง;
    การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียวเหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย.
    ถ้ากระไร เราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวช
    เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้.
    โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว.
    ภิกษุนั้น ผู้บวชแล้วอย่างนี้ สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในปาติโมกข์
    ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร,
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย
    สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย,
    ประกอบแล้วด้วยกายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล,
    มีอาชีวะบริสุทธิ์, ถึงพร้อมด้วยศีล, มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย,
    ประกอบด้วยสติสัมปปัญญะ, มีความสันโดษ.
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ละการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป
    เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศาสตราเสียแล้ว
    มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงอยู่.
    --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ

    --(ต่อไปนี้ ทรงแสดงด้วย
    จุลศีล – มัชฌิมศีล – มหาศีล – อินทรียสังวร –
    สติสัมปชัญญะ - การสันโดษด้วยปัจจัยสี่ –
    การชำระจิตจากนิวรณ์ในที่สงัดแล้วได้
    ปฐมฌาน – ทุติยฌาน – ตติยฌาน -- จตุตถฌาน –
    ญาณทัสสนะ – มโนมยิทธิ – อิทธิวิธี – ทิพพโสต –
    เจโตปริยญาณ – ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ – จุตูปปาตญาณ
    และตรัสเรียกความสำเร็จในการสอนแต่ละขั้นว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์
    อย่างหนึ่งๆ จนกระทั่งถึง
    #อาสวักขยญาณ ซึ่งมีข้อความว่า :- )​
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้น
    ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว,
    เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่ออาสวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์,
    นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์,
    นี้ความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์,
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”;
    และรู้ชัดตามที่ เป็นจริงว่า
    “เหล่านี้อาสวะ,
    นี้เหตุเกิดขึ้นแห่งอาสวะ,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”.
    เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.
    ครั้นจิต หลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตพ้นแล้ว”.
    เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    --เกวัฏฏะ ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว,
    คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น,
    เขาเห็นหอยต่างๆ บ้าง กรวด และหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น,
    เขาจะสำเหนียก ใจอย่างนี้ว่า
    “ห้วงน้ำนี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลายเหล่านี้
    หยุดอยู่บ้าง ว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”
    ดังนี้;
    ฉันใดก็ฉันนั้น.
    --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    --เกวัฏฏะ ! เหล่านี้แล ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วย ปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริยา

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/306 - 309/339 - 242.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๗๓ - ๒๗๖/๓๓๙ - ๒๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1054
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1054 ชื่อบทธรรม :- การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054 เนื้อความทั้งหมด :- --การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ --เกวัฏฏะ ! นี่ปาฏิหาริย์สามอย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้. สามอย่างอะไรเล่า ? สามอย่างคือ อิทธปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุศาสนีปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริ (๑) เกวัฎฎะ ! อิทธิปาฏิหาริย์นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำอิทธิวิธีมีอย่างต่างๆ : ผู้เดียวแปลงรูปเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว, ทำที่กำบังให้เป็นที่แจ้ง ทำที่แจ้งให้เป็นที่กำบัง, ไปได้ไม่ขัดข้อง ผ่านทะลุฝา ทะลุกำแพง ทะลุภูเขา ดุจไปในอากาศว่างๆ, ผุดขึ้นและดำรงอยู่ในแผ่นดินได้เหมือนในน้ำ, เดินไปได้เหนือน้ำ เหมือนเดินบนแผ่นดิน, ไปได้ในอากาศเหมือนนกมีปีก ทั้งที่ยังนั่งสมาธิคู้บัลลังก์. ลูบคลำดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์อานุภาพมาก ได้ด้วยฝ่ามือ. และแสดงอำนาจทางกายเป็นไปตลอดถึงพรหมโลกได้. --เกวัฏฏะ ! กุลบุตรผู้มีศรัทธาเลื่อมใสได้เห็นการแสดงนั้นแล้ว เขาบอกเล่าแก่กุลบุตรอื่นบางคน ที่ไม่ศรัทธาเลื่อมใสว่าน่าอัศจรรย์นัก. กุลบุตรผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น ก็จะพึงตอบว่า วิชา ชื่อ คันธารี*--๑ มีอยู่ ภิกษุนั้นแสดงอิทธิวิธีด้วยวิชานั่นเท่านั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออิทธิปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=อิทฺธิปาฏิหาริ *--๑. คันธารี ชื่อมนต์ แต่งโดยฤษีมีนามคันธาระ, อีกอย่างหนึ่งว่าในแคว้นคันธาระ. (๒) เกวัฏฏะ ! อาเทสนาปาฏิหาริย์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทายจิต ทายความรู้สึกของจิต ทายความตรึก ทายความตรอง ของสัตว์เหล่าอื่น ของบุคคลเหล่าอื่นได้ ว่า ใจของท่านเช่นนี้ ใจของท่านมีประการนี้ ใจของท่านมีด้วยอาการอย่างนี้. . . . . ฯลฯ . . . . กุลบุตรผู้ไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมค้านกุลบุตรผู้เชื่อผู้เลื่อมใส ว่า วิชา ชื่อ มณิกา มีอยู่ ภิกษุนั้น กล่าวทายใจได้เช่นนั้นๆ ก็ด้วยวิชานั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อไม่ เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้ อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนาปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึง อึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออาเทสนาปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/275/?keywords=อาเทสนาปาฏิหาริ (๓) เกวัฏฏะ ! อนุศาสนีปาฏิหาริย์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมสั่งสอนว่า “ท่านจงตรึกอย่างนี้ๆ อย่าตรึกอย่างนั้นๆ, จงทำไว้ในใจอย่างนี้ๆ อย่าทำไว้ในใจอย่างนั้นๆ, จงละสิ่งนี้ๆ เสีย. จงเข้าถึง สิ่งนี้ๆ แล้วแลอยู่” ดังนี้. --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า #อนุศาสนีปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ --เกวัฏฏะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์. ตถาคตนั้น ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ตถาคตนั้นแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น – ท่ามกลาง – ที่สุด, ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง. http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=ตถาคโต : คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธา ย่อมพิจารณาเห็นว่า “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาสว่าง; การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียวเหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย. ถ้ากระไร เราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้. โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว. ภิกษุนั้น ผู้บวชแล้วอย่างนี้ สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร, มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย, ประกอบแล้วด้วยกายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล, มีอาชีวะบริสุทธิ์, ถึงพร้อมด้วยศีล, มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย, ประกอบด้วยสติสัมปปัญญะ, มีความสันโดษ. --เกวัฏฏะ ! ภิกษุถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ละการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศาสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงอยู่. --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ --(ต่อไปนี้ ทรงแสดงด้วย จุลศีล – มัชฌิมศีล – มหาศีล – อินทรียสังวร – สติสัมปชัญญะ - การสันโดษด้วยปัจจัยสี่ – การชำระจิตจากนิวรณ์ในที่สงัดแล้วได้ ปฐมฌาน – ทุติยฌาน – ตติยฌาน -- จตุตถฌาน – ญาณทัสสนะ – มโนมยิทธิ – อิทธิวิธี – ทิพพโสต – เจโตปริยญาณ – ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ – จุตูปปาตญาณ และตรัสเรียกความสำเร็จในการสอนแต่ละขั้นว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์ อย่างหนึ่งๆ จนกระทั่งถึง #อาสวักขยญาณ ซึ่งมีข้อความว่า :- )​ --เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่ออาสวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”; และรู้ชัดตามที่ เป็นจริงว่า “เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุเกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิต หลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้. --เกวัฏฏะ ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาเห็นหอยต่างๆ บ้าง กรวด และหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียก ใจอย่างนี้ว่า “ห้วงน้ำนี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลายเหล่านี้ หยุดอยู่บ้าง ว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น” ดังนี้; ฉันใดก็ฉันนั้น. --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. --เกวัฏฏะ ! เหล่านี้แล ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วย ปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย.- http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริยา #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/306 - 309/339 - 242. http://etipitaka.com/read/thai/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๗๓ - ๒๗๖/๓๓๙ - ๒๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1054 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    -การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ เกวัฏฏะ ! นี่ปาฏิหาริย์สามอย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้. สามอย่างอะไรเล่า ? สามอย่างคือ อิทธปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุศาสนีปาฏิหาริย์. (๑) เกวัฎฎะ ! อิทธิปาฏิหาริย์นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำอิทธิวิธีมีอย่างต่างๆ : ผู้เดียวแปลงรูปเป็นหลายคน, หลายคนเป็นคนเดียว, ทำที่กำบังให้เป็นที่แจ้ง ทำที่แจ้งให้เป็นที่กำบัง, ไปได้ไม่ขัดข้อง ผ่านทะลุฝา ทะลุกำแพง ทะลุภูเขา ดุจไปในอากาศว่างๆ, ผุดขึ้นและดำรงอยู่ในแผ่นดินได้เหมือนในน้ำ, เดินไปได้เหนือน้ำ เหมือนเดินบนแผ่นดิน, ไปได้ในอากาศเหมือนนกมีปีก ทั้งที่ยังนั่งสมาธิคู้บัลลังก์. ลูบคลำดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์อานุภาพมาก ได้ด้วยฝ่ามือ. และแสดงอำนาจทางกายเป็นไปตลอดถึงพรหมโลกได้. เกวัฏฏะ ! กุลบุตรผู้มีศรัทธาเลื่อมใสได้เห็นการแสดงนั้นแล้ว เขาบอกเล่าแก่กุลบุตรอื่นบางคน ที่ไม่ศรัทธาเลื่อมใสว่าน่าอัศจรรย์นัก. กุลบุตรผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น ก็จะพึงตอบว่า วิชา ชื่อ คันธารี๑ มีอยู่ ภิกษุนั้นแสดงอิทธิวิธีด้วยวิชานั่นเท่านั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออิทธิปาฏิหาริย์. (๒) เกวัฏฏะ ! อาเทสนาปาฏิหาริย์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทายจิต ทายความรู้สึกของจิต ทายความตรึก ทายความตรอง ของสัตว์เหล่าอื่น ของบุคคลเหล่าอื่นได้ ว่า ใจของท่านเช่นนี้ ใจของท่านมีประการนี้ ใจของท่านมีด้วยอาการอย่างนี้. . . . . ฯลฯ . . . . กุลบุตรผู้ไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมค้านกุลบุตรผู้เชื่อผู้เลื่อมใส ว่า วิชา ชื่อ มณิกา มีอยู่ ภิกษุนั้น กล่าวทายใจได้เช่นนั้นๆ ก็ด้วยวิชานั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), เกวัฏฏะ ! ท่าน ๑. คันธารี ชื่อมนต์ แต่งโดยฤษีมีนามคันธาระ, อีกอย่างหนึ่งว่าในแคว้นคันธาระ. จะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อไม่ เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้ อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนาปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึง อึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออาเทสนาปาฏิหาริย์. (๓) เกวัฏฏะ ! อนุศาสนีปาฏิหาริย์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมสั่งสอนว่า “ท่านจงตรึกอย่างนี้ๆ อย่าตรึกอย่างนั้นๆ, จงทำไว้ในใจอย่างนี้ๆ อย่าทำไว้ในใจอย่างนั้นๆ, จงละสิ่งนี้ๆ เสีย. จงเข้าถึง สิ่งนี้ๆ แล้วแลอยู่” ดังนี้. เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. เกวัฏฏะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์. ตถาคตนั้น ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ตถาคตนั้นแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น – ท่ามกลาง – ที่สุด, ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง. คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธา ย่อมพิจารณาเห็นว่า “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาสว่าง; การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียวเหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย. ถ้า กระไร เราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้. โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว. ภิกษุนั้น ผู้บวชแล้วอย่างนี้ สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร, มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย, ประกอบแล้วด้วยกายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล, มีอาชีวะบริสุทธิ์, ถึงพร้อมด้วยศีล, มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย, ประกอบด้วยสติสัมปปัญญะ, มีความสันโดษ. เกวัฏฏะ ! ภิกษุถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ละการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศาสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงอยู่. เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. (ต่อไปนี้ ทรงแสดงด้วยจุลศีล – มัชฌิมศีล – มหาศีล – อินทรียสังวร – สติสัมปชัญญะ - การสันโดษด้วยปัจจัยสี่ – การชำระจิตจากนิวรณ์ในที่สงัดแล้วได้ปฐมฌาน – ทุติยฌาน – ตติยฌาน - จตุตถฌาน – ญาณทัสสนะ – มโนมยิทธิ – อิทธิวิธี – ทิพพโสต – เจโตปริยญาณ – ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ – จุตูปปาตญาณ และตรัสเรียกความสำเร็จในการสอนแต่ละขั้นว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์ อย่างหนึ่งๆ จนกระทั่งถึงอาสวักขยญาณซึ่งมีข้อความว่า :-) เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่น ไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่ออาสวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”; และรู้ชัดตามที่ เป็นจริงว่า “เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุเกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิต หลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้. เกวัฏฏะ ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาเห็นหอยต่างๆ บ้าง กรวด และหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียก ใจอย่างนี้ว่า “ห้วงน้ำนี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลายเหล่านี้ หยุดอยู่บ้าง ว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น” ดังนี้; ฉันใดก็ฉันนั้น. เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. เกวัฏฏะ ! เหล่านี้แล ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วย ปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปี 2550 ภาพจิตรกรรม “ภิกษุสันดานกา” เคยตกเป็นข่าวถกเถียงมาแล้วครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นผลงานของ “อนุพงษ์ จันทร “ใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยสีอะคริลิกลงบนจีวรพระ ได้แรงบันดาลใจจากคติความเชื่อของไทยเรื่อง "เปรตภูมิ” และภาพ ”บรรพชิตทุศีล” ในสมุดภาพไตรภูมิ มีข้อความปรากฏเอาไว้ด้านล่างภาพว่า "บาปเป็นบรรพชิตทุศีลแลเลี้ยงชีพผิดมิชอบด้วยธรรม ตายไปต้องกลายเป็นเปรต มีไฟไหม้ลุกจีวรไหม้กาย"อนุพงษ์ ยืนยันว่า ”ภิกษุสันดานกา” ไม่ใช่ชื่อที่ตนตั้งขึ้นมาเอง แต่มีระบุในพระไตรปิฎก ในหนังสือคำพยากรณ์ของพระพุทธเจ้า ตำราดูพระภิกษุ และตนขอยืนยันว่า ภาพที่ตนเขียนขึ้นมา ไม่ใช่ภาพพระดีดีในสังคม แต่ตนเขียนเปรตที่แอบแฝงอยู่ในผ้ากาสาวพัสตร์ เพื่อเตือนสติคนในสังคม โดยสื่อภาพออกมาในเชิงสัญลักษณ์ ตามที่พระพุทธเจ้าได้ทรงเปรียบเทียบพระภิกษุลามกว่า มีนิสัยเหมือนกา 10 อย่าง“ภิกษุทั้งหลาย กาเป็นสัตว์ประกอบด้วยความเลวสิบประการ” สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. กาเป็นสัตว์ทำลายความดี 2. กาเป็นสัตว์คะนอง 3. กาเป็นสัตว์ทะเยอทะยาน 4. กาเป็นสัตว์กินจุ 5. กาเป็นสัตว์หยาบคาย 6. กาเป็นสัตว์ไม่กรุณาปรานี 7. กาเป็นสัตว์ทุรพล 8. กาเป็นสัตว์เสียงอึง 9. กาเป็นสัตว์ปล่อยสติ 10. กาเป็นสัตว์สะสมของกินภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุลามกก็เป็นเช่นเดียวกับกานั่นแหละ เป็นคนประกอบด้วยอสัทธรรมสิบประการ สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. ภิกษุลามกเป็นคนทำลายความดี 2. ภิกษุลามกเป็นคนคะนอง 3. ภิกษุลามกเป็นคนทะเยอทะยาน 4. ภิกษุลามกเป็นคนกินจุ 5. ภิกษุลามกเป็นคนหยาบคาย 6. ภิกษุลามกเป็นคนไม่กรุณาปรานี 7. ภิกษุลามกเป็นคนทุรพล 8. ภิกษุลามกเป็นคนร้องเสียงอึง 9. ภิกษุลามกเป็นคนปล่อยสติ 10. ภิกษุลามกเป็นคนสะสมของกินโดยนัยแห่งพฤติกรรมของนกกา สิบประการดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าล้วนแล้วแต่เป็นความเลวที่ไม่เหมาะไม่ควรที่คนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คนมีศีล เช่น ภิกษุในพระพุทธศาสนาไม่ควรประพฤติ ไม่ควรปฏิบัติแต่ในความเป็นจริง ความเป็นปุถุชนคนมีกิเลส ถึงแม้ว่าจะมาบวชถือศีล 227 ข้อแล้วก็ยังมีภิกษุบางรูปในครั้งพุทธกาลมีพฤติกรรมเยี่ยงนี้ พระพุทธองค์จึงได้ตรัสสอนด้วยข้อวัตรปฏิบัติที่พระภิกษุที่เข้ามาบวชเพื่อการทำความดี โดยมุ่งความหลุดพ้น ควรงดเว้นอสัทธรรม 10 ประการ อันเป็นพฤติกรรมของกาดังกล่าวอ.สามารถ มังสัง เคยเสนอแนวทางแก้ปัญหาภิกษุสันดานกาไว้ว่า “แต่ในความเป็นจริงที่ปรากฏพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรในวงการสงฆ์ยังไม่ได้รับการแก้ไขจากสงฆ์ด้วยกันเท่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มหาเถรสมาคม และสำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรจะได้หยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมา และกำหนดมาตรการแก้ไขและป้องกันดังต่อไปนี้1. ทำการสำรวจสำมโนประชากรพระสงฆ์ในประเทศไทยให้แน่ชัดว่ามีอยู่เท่าใด และมีรายละเอียดลงลึกถึงเรื่องการศึกษา อายุพรรษา และภาระหน้าที่ต่อสังคมเท่าที่พระจะพึงกระทำได้ เช่น เป็นครูสอนศีลธรรม อบรมประชาชน และให้ความรู้แก่พระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น2. เมื่อได้ข้อมูลแล้วให้จัดทำแผนฟื้นฟูพฤติกรรมพระสงฆ์ที่ไม่ได้รับการศึกษา และการอบรมอย่างทั่วถึง3. ให้นำพระภิกษุสงฆ์ที่มีความรู้ความสามารถในการสอนมาประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ แนวทางการปรับองค์กรสงฆ์ แล้วมอบหมายให้แต่ละท่านกลับไปดำเนินการในถิ่นของตนเองเป็นระยะเวลา 1-3 ปี แล้วส่งคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานออกไปทำการประเมินในการดำเนินการ 3 ประการนี้ ทางรัฐบาลจะต้องให้การสนับสนุนทางด้านการเงิน และบุคลากรให้เพียงพอแก่การดำเนินงานในขณะเดียวกัน ถ้าพบว่าในท้องถิ่นใดดำเนินการไม่ได้ผล ก็ควรอย่างยิ่งที่ทางการปกครองจะต้องเข้ามาดูแลแก้ไขโดยใช้อำนาจบริหาร เช่น การโยกย้ายหรือปลดออกจากตำแหน่ง เป็นการลงโทษผู้รับผิดชอบในระดับเจ้าคณะจังหวัด อำเภอ และตำบลลงไปตามลำดับชั้นยิ่งกว่านี้ ทางมหาเถรสมาคมจะต้องไม่ปล่อยให้พระสงฆ์ในระดับปกครองเข้าไปมีส่วนได้เสียกับกิจกรรมใดๆ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการช่วยกันปกปิดความผิดของผู้อยู่ใต้ปกครอง เพื่อแลกกับลาภสักการะที่ผู้กระทำผิดมอบให้ถ้าทุกหน่วยงานดำเนินการได้เยี่ยงนี้ เชื่อว่าพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรของพระสงฆ์จะลดลง และหมดไปในที่สุด”https://www.facebook.com/share/1Cj37basD6/?mibextid=wwXIfr
    ปี 2550 ภาพจิตรกรรม “ภิกษุสันดานกา” เคยตกเป็นข่าวถกเถียงมาแล้วครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นผลงานของ “อนุพงษ์ จันทร “ใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยสีอะคริลิกลงบนจีวรพระ ได้แรงบันดาลใจจากคติความเชื่อของไทยเรื่อง "เปรตภูมิ” และภาพ ”บรรพชิตทุศีล” ในสมุดภาพไตรภูมิ มีข้อความปรากฏเอาไว้ด้านล่างภาพว่า "บาปเป็นบรรพชิตทุศีลแลเลี้ยงชีพผิดมิชอบด้วยธรรม ตายไปต้องกลายเป็นเปรต มีไฟไหม้ลุกจีวรไหม้กาย"อนุพงษ์ ยืนยันว่า ”ภิกษุสันดานกา” ไม่ใช่ชื่อที่ตนตั้งขึ้นมาเอง แต่มีระบุในพระไตรปิฎก ในหนังสือคำพยากรณ์ของพระพุทธเจ้า ตำราดูพระภิกษุ และตนขอยืนยันว่า ภาพที่ตนเขียนขึ้นมา ไม่ใช่ภาพพระดีดีในสังคม แต่ตนเขียนเปรตที่แอบแฝงอยู่ในผ้ากาสาวพัสตร์ เพื่อเตือนสติคนในสังคม โดยสื่อภาพออกมาในเชิงสัญลักษณ์ ตามที่พระพุทธเจ้าได้ทรงเปรียบเทียบพระภิกษุลามกว่า มีนิสัยเหมือนกา 10 อย่าง“ภิกษุทั้งหลาย กาเป็นสัตว์ประกอบด้วยความเลวสิบประการ” สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. กาเป็นสัตว์ทำลายความดี 2. กาเป็นสัตว์คะนอง 3. กาเป็นสัตว์ทะเยอทะยาน 4. กาเป็นสัตว์กินจุ 5. กาเป็นสัตว์หยาบคาย 6. กาเป็นสัตว์ไม่กรุณาปรานี 7. กาเป็นสัตว์ทุรพล 8. กาเป็นสัตว์เสียงอึง 9. กาเป็นสัตว์ปล่อยสติ 10. กาเป็นสัตว์สะสมของกินภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุลามกก็เป็นเช่นเดียวกับกานั่นแหละ เป็นคนประกอบด้วยอสัทธรรมสิบประการ สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. ภิกษุลามกเป็นคนทำลายความดี 2. ภิกษุลามกเป็นคนคะนอง 3. ภิกษุลามกเป็นคนทะเยอทะยาน 4. ภิกษุลามกเป็นคนกินจุ 5. ภิกษุลามกเป็นคนหยาบคาย 6. ภิกษุลามกเป็นคนไม่กรุณาปรานี 7. ภิกษุลามกเป็นคนทุรพล 8. ภิกษุลามกเป็นคนร้องเสียงอึง 9. ภิกษุลามกเป็นคนปล่อยสติ 10. ภิกษุลามกเป็นคนสะสมของกินโดยนัยแห่งพฤติกรรมของนกกา สิบประการดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าล้วนแล้วแต่เป็นความเลวที่ไม่เหมาะไม่ควรที่คนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คนมีศีล เช่น ภิกษุในพระพุทธศาสนาไม่ควรประพฤติ ไม่ควรปฏิบัติแต่ในความเป็นจริง ความเป็นปุถุชนคนมีกิเลส ถึงแม้ว่าจะมาบวชถือศีล 227 ข้อแล้วก็ยังมีภิกษุบางรูปในครั้งพุทธกาลมีพฤติกรรมเยี่ยงนี้ พระพุทธองค์จึงได้ตรัสสอนด้วยข้อวัตรปฏิบัติที่พระภิกษุที่เข้ามาบวชเพื่อการทำความดี โดยมุ่งความหลุดพ้น ควรงดเว้นอสัทธรรม 10 ประการ อันเป็นพฤติกรรมของกาดังกล่าวอ.สามารถ มังสัง เคยเสนอแนวทางแก้ปัญหาภิกษุสันดานกาไว้ว่า “แต่ในความเป็นจริงที่ปรากฏพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรในวงการสงฆ์ยังไม่ได้รับการแก้ไขจากสงฆ์ด้วยกันเท่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มหาเถรสมาคม และสำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรจะได้หยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมา และกำหนดมาตรการแก้ไขและป้องกันดังต่อไปนี้1. ทำการสำรวจสำมโนประชากรพระสงฆ์ในประเทศไทยให้แน่ชัดว่ามีอยู่เท่าใด และมีรายละเอียดลงลึกถึงเรื่องการศึกษา อายุพรรษา และภาระหน้าที่ต่อสังคมเท่าที่พระจะพึงกระทำได้ เช่น เป็นครูสอนศีลธรรม อบรมประชาชน และให้ความรู้แก่พระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น2. เมื่อได้ข้อมูลแล้วให้จัดทำแผนฟื้นฟูพฤติกรรมพระสงฆ์ที่ไม่ได้รับการศึกษา และการอบรมอย่างทั่วถึง3. ให้นำพระภิกษุสงฆ์ที่มีความรู้ความสามารถในการสอนมาประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ แนวทางการปรับองค์กรสงฆ์ แล้วมอบหมายให้แต่ละท่านกลับไปดำเนินการในถิ่นของตนเองเป็นระยะเวลา 1-3 ปี แล้วส่งคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานออกไปทำการประเมินในการดำเนินการ 3 ประการนี้ ทางรัฐบาลจะต้องให้การสนับสนุนทางด้านการเงิน และบุคลากรให้เพียงพอแก่การดำเนินงานในขณะเดียวกัน ถ้าพบว่าในท้องถิ่นใดดำเนินการไม่ได้ผล ก็ควรอย่างยิ่งที่ทางการปกครองจะต้องเข้ามาดูแลแก้ไขโดยใช้อำนาจบริหาร เช่น การโยกย้ายหรือปลดออกจากตำแหน่ง เป็นการลงโทษผู้รับผิดชอบในระดับเจ้าคณะจังหวัด อำเภอ และตำบลลงไปตามลำดับชั้นยิ่งกว่านี้ ทางมหาเถรสมาคมจะต้องไม่ปล่อยให้พระสงฆ์ในระดับปกครองเข้าไปมีส่วนได้เสียกับกิจกรรมใดๆ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการช่วยกันปกปิดความผิดของผู้อยู่ใต้ปกครอง เพื่อแลกกับลาภสักการะที่ผู้กระทำผิดมอบให้ถ้าทุกหน่วยงานดำเนินการได้เยี่ยงนี้ เชื่อว่าพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรของพระสงฆ์จะลดลง และหมดไปในที่สุด”https://www.facebook.com/share/1Cj37basD6/?mibextid=wwXIfr
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 244 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปรากฎการณ์พระร่วง กิเลสหนา-ไม่ทันโลก สีกากอล์ฟป่วนวงการสงฆ์ ตำรวจสอบเส้นทางเงิน 4 วัดดัง พบโอนกว่า 11 ล้านบาท ชี้ช่องโหว่ กม.เปิดทางพระรวยผิดปกติ แนะปฏิรูปการเรียนสงฆ์ เน้นปฏิบัติควบคู่ปริยัติ สกัดกิเลส-ทันโลกยุคใหม่

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000065962

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    ปรากฎการณ์พระร่วง กิเลสหนา-ไม่ทันโลก สีกากอล์ฟป่วนวงการสงฆ์ ตำรวจสอบเส้นทางเงิน 4 วัดดัง พบโอนกว่า 11 ล้านบาท ชี้ช่องโหว่ กม.เปิดทางพระรวยผิดปกติ แนะปฏิรูปการเรียนสงฆ์ เน้นปฏิบัติควบคู่ปริยัติ สกัดกิเลส-ทันโลกยุคใหม่ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000065962 #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 330 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1051
    ชื่อบทธรรม :- อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    --ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ เป็นอย่างไรเล่า?
    ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้มีปัญญา
    ประกอบพร้อมแล้วด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงซึ่ง #สัจจะแห่งการเกิดดับอันเป็นอริยะ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=อริย+ปญฺญวา
    เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบ.
    อริยสาวกนั้น รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง ทุกข์ เป็นอย่างนี้”
    ดังนี้.
    ภิกษุ ท. ! การรู้นี้ เรากล่าวว่า #ปัญญินทรีย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=ปญฺญินฺทฺริยํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/216/869.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/216/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๖๓/๘๖๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1051
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1051 ชื่อบทธรรม :- อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ --ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ เป็นอย่างไรเล่า? ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้มีปัญญา ประกอบพร้อมแล้วด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงซึ่ง #สัจจะแห่งการเกิดดับอันเป็นอริยะ http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=อริย+ปญฺญวา เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบ. อริยสาวกนั้น รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง ทุกข์ เป็นอย่างนี้” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! การรู้นี้ เรากล่าวว่า #ปัญญินทรีย์. http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=ปญฺญินฺทฺริยํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/216/869. http://etipitaka.com/read/thai/19/216/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๖๓/๘๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1051 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    -อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ เป็นอย่างไรเล่า? ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้มีปัญญา ประกอบพร้อมแล้วด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงซึ่งสัจจะแห่งการเกิดดับอันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบ. อริยสาวกนั้น รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง ทุกข์ เป็นอย่างนี้” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! การรู้นี้ เรากล่าวว่าปัญญินทรีย์.๑-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 315
    ชื่อบทธรรม :- เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    --ภิกษุ ท. ! ทิฏฐิสองอย่างนี้มีอยู่ คือ
    ๑.ภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายบวก).
    http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=ภวทิฏฺฐิ
    ๒.วิภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายลบ).
    http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=วิภวทิฏฺฐิ

    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงภวทิฏฐิ
    เข้าถึง ภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่ภวทิฏฐิ ;
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ วิภวทิฏฐิ.
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิง วิภวทิฏฐิ
    เข้าถึง วิภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่วิภวทิฏฐิ ;
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ ภวทิฏฐิ.
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
    ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง
    ซึ่งความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษต่ำทราม
    และอุบายเครื่องออกแห่งทิฏฐิทั้งสองนี้ ;
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่า ผู้
    มีราคะ มีโทสะ มีโมหะ มีตัณหา มีอุปาทาน
    เป็นผู้ไม่รู้แจ้ง ประเดี๋ยวยอมรับ ประเดี๋ยวคัดค้าน มีความเนิ่นช้าเป็นที่มายินดี
    มักยินดีในความเนิ่นช้า.
    เขาเหล่านั้น ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส,
    เรากล่าวว่า เขาเหล่านั้น #ไม่พ้นจากทุกข์.

    [ต่อจากนี้ได้ตรัสสมณพราหมณ์พวกตรงกันข้าม
    ไม่มีทิฏฐิบวก-ทิฏฐิลบ พ้นจากทุกข์ได้ โดยนัยตรงกันข้าม
    --
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง
    ย่อมรู้ทั่วถึงความเกิด ความดับคุณ โทษ
    และการถ่ายถอนแห่งทิฏฐิ ๒ อย่างเหล่านี้ ตามความเป็นจริง
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น เป็นผู้
    ปราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ ปราศจากตัณหา ปราศจากอุปาทาน
    เป็นผู้รู้แจ้ง เป็นผู้ไม่ยินดีและยินร้าย มีความยินดีในความไม่เนิ่นช้า มีความไม่เนิ่นช้าเป็นที่มายินดี
    พวกเขา ย่อมหลุดพ้นจากชาติ ชรามรณะ ความโศก ความร่ำไร ทุกข์กาย ทุกข์ใจ
    และความคับแค้นทั้งหลาย
    เรากล่าวว่า #ย่อมหลุดพ้นไปจากทุกข์.
    ]​.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/91/155.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๑/๑๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=315
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ สัทธรรมลำดับที่ : 315 ชื่อบทธรรม :- เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315 เนื้อความทั้งหมด :- --เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ --ภิกษุ ท. ! ทิฏฐิสองอย่างนี้มีอยู่ คือ ๑.ภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายบวก). http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=ภวทิฏฺฐิ ๒.วิภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายลบ). http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=วิภวทิฏฺฐิ --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงภวทิฏฐิ เข้าถึง ภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่ภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ วิภวทิฏฐิ. --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิง วิภวทิฏฐิ เข้าถึง วิภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่วิภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ ภวทิฏฐิ. --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษต่ำทราม และอุบายเครื่องออกแห่งทิฏฐิทั้งสองนี้ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่า ผู้ มีราคะ มีโทสะ มีโมหะ มีตัณหา มีอุปาทาน เป็นผู้ไม่รู้แจ้ง ประเดี๋ยวยอมรับ ประเดี๋ยวคัดค้าน มีความเนิ่นช้าเป็นที่มายินดี มักยินดีในความเนิ่นช้า. เขาเหล่านั้น ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส, เรากล่าวว่า เขาเหล่านั้น #ไม่พ้นจากทุกข์. [ต่อจากนี้ได้ตรัสสมณพราหมณ์พวกตรงกันข้าม ไม่มีทิฏฐิบวก-ทิฏฐิลบ พ้นจากทุกข์ได้ โดยนัยตรงกันข้าม -- สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ย่อมรู้ทั่วถึงความเกิด ความดับคุณ โทษ และการถ่ายถอนแห่งทิฏฐิ ๒ อย่างเหล่านี้ ตามความเป็นจริง สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น เป็นผู้ ปราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ ปราศจากตัณหา ปราศจากอุปาทาน เป็นผู้รู้แจ้ง เป็นผู้ไม่ยินดีและยินร้าย มีความยินดีในความไม่เนิ่นช้า มีความไม่เนิ่นช้าเป็นที่มายินดี พวกเขา ย่อมหลุดพ้นจากชาติ ชรามรณะ ความโศก ความร่ำไร ทุกข์กาย ทุกข์ใจ และความคับแค้นทั้งหลาย เรากล่าวว่า #ย่อมหลุดพ้นไปจากทุกข์. ]​.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/91/155. http://etipitaka.com/read/thai/12/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๑/๑๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=315 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    -เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ ภิกษุ ท. ! ทิฏฐิสองอย่างนี้มีอยู่ คือ ภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายบวก). วิภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายลบ). ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงภวทิฏฐิ เข้าถึง ภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่ภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ วิภวทิฏฐิ. ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงวิภวทิฏฐิ เข้าถึง วิภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่วิภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ ภวทิฏฐิ. ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษต่ำทราม และอุบายเครื่องออกแห่งทิฏฐิทั้งสองนี้ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่า ผู้ มีราคะ มีโทสะ มีโมหะ มีตัณหา มีอุปาทาน เป็นผู้ไม่รู้แจ้ง ประเดี๋ยวยอมรับประเดี๋ยวคัดค้าน มีความเนิ่นช้าเป็นที่มายินดี มักยินดีในความเนิ่นช้า. เขาเหล่านั้น ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส, เรากล่าวว่า เขาเหล่านั้น ไม่พ้นจากทุกข์. (ต่อจากนี้ได้ตรัสสมณพราหมณ์พวกตรงกันข้าม ไม่มีทิฏฐิบวก-ทิฏฐิลบ พ้นจากทุกข์ได้ โดยนัยตรงกันข้าม).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1048
    ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า
    “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”)
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา
    ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?”
    ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า
    วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น
    อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า?
    สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า
    “นี้คือทุกข์
    นี้คือทุกขสมุทัย”
    ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ;
    และ
    “นี้คือทุกขนิโรธ
    นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม
    อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่;
    ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง
    คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ
    หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.-
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก สัทธรรมลำดับที่ : 1048 ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”) http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.- http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390. http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    -เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสา๑) ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออก ๑. อุปนิสา คำนี้ ในที่บางแห่ง (ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๕๔๙ บรรทัดที่ ๗) ได้แปลว่า “ประโยชน์” นั้นไม่ถูก, ที่ถูกต้องแปลว่า “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์” ; ขอให้เข้าใจตามนี้ด้วย. จากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ นี้เป็นอนุปัสสนาหมวด ที่สอง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 180 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระผู้ใหญ่ใฝ่ราคะ เย่อกามในผ้าเหลือง

    ยุคเสื่อมพระพุทธศาสนาไทย จากเจ้าคุณแย้ม วัดไร่ขิง นครปฐม ติดพันสาวเว็บพนัน สู่ปรากฎการณ์ที่พิธีกรข่าว วารินทร์ สัจจเดว ตั้งขึ้นว่า "วันอาสาราคะลาสึกบูชา" พระสงฆ์ที่ครองสมณศักดิ์ระดับสูงหลายคณะภาค ร่วมใช้สีกาคนเดียวกันโดยมิได้นัดหมาย พร้อมใจกันลาสิกขาโดยละม่อม หลังตำรวจตรวจยึดโทรศัพท์จากสีกา พบภาพสัมพันธ์ต้องห้ามกว่า 8 หมื่นไฟล์ การันตีด้วยผลงานเจ้าอาวาสวัดดังทั่วไทย ไล่ตั้งแต่วัดตรีทศเทพ วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ วัดพระพุทธฉาย สระบุรี วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก วัดโสธรวรารามวรวิหาร ฉะเชิงเทรา หนังสือพิมพ์หัวสีไทยรัฐถึงกับใช้คำว่า "เย่อกามในผ้าเหลือง"

    ตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) นำโดยหลวงตาเต่า พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ปานแก้ว รอง ผบช.ก. และ พล.ต.ต.ต.ประสงค์ เฉลิมพันธ์ ผบก.ปปป. เช็กหลักฐานความสัมพันธ์ระหว่างสีกากอล์ฟ วัย 35 ปี สาวคนสนิทอดีตพระเทพวชิรปาโมกข์ หรือเจ้าคุณอาชว์ อดีตเจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพวรวิหาร วัย 54 ปี ลาสิกขาสายฟ้าแลบที่ จ.หนองคาย เมื่อวันที่ 29 มิ.ย. แล้วพบว่าสีกากอล์ฟมีเซ็กซ์กับพระชั้นผู้ใหญ่อีกหลายรูป ตรวจค้นบ้านพบจีวรนับสิบผืน เมื่อยึดมือถือ 5 เครื่องไปตรวจสอบเป็นต้องผงะ พบคลิปพระผู้ใหญ่เย่อกามกว่า 8 หมื่นภาพ ชุดสืบสวนต้องดูกันตาแฉะ เพื่อนำไปขยายผลดำเนินคดี

    ปลาเน่าตัวเดียวเหม็นทั้งข้อง แต่เมื่อเป็นปลาตัวใหญ่เลยเหม็นนานกว่า สังคมไทยในฐานะเมืองพุทธถึงกับเสื่อมศรัทธาในพระพุทธศาสนา บางคนถึงกับเลิกเข้าวัด เลิกบริจาคเงินให้กับวัด หันไปบริจาคให้โรงพยาบาลและโรงเรียนแทน ขณะเดียวกัน ยังมีการตั้งคำถามถึงการที่สาธุชนถวายเงินให้กับพระโดยตรง รวมทั้งการจัดงานประจำปีและงานบุญต่างๆ ที่ทำรายได้จากการประมูลร้านค้า และเงินบริจาคที่เป็นเงินสดจำนวนมหาศาล กลายเป็นการสร้างความมั่งคั่งแก่พระชั้นผู้ใหญ่บางรูป ต่อยอดสู่การเป็นพุทธพาณิชย์เต็มตัว ลืมเลือนแม้แต่บทสวดมนต์ "อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส"

    พระไพศาล วิสาโล วัดป่าสุคะโต จ.ชัยภูมิ เตือนใจว่า แม้พระชั้นผู้ใหญ่รู้ธรรมะสูงก็ยังพลั้งเผลอได้ จึงไม่ควรประมาทในชีวิต ความสุขชั่วคราวจากการทุจริต การทำชั่วบางอย่างนำไปสู่ความล่มจม เป็นบทเรียนสอนให้ไม่ประมาท มีสติ เกิดปัญญา จะไม่นับถือพระก็ได้แต่อย่าทิ้งพระรัตนตรัย การบูชาที่แท้จริงคือการปฏิบัติบูชา อย่าเพียงแค่บูชาดอกไม้ธูปเทียน ส่วนพระราชธรรมนิเทศ (พยอม กัลยาโณ) วัดสวนแก้ว จ.นนทบุรี ระบุว่า ถือเป็นเรื่องรุนแรงที่สุดในรอบ 10 ปี ปัจจัยมาจาก 3 ส. คือ สติ สตางค์ และสล็อต พร้อมขอชาวพุทธอย่าทิ้งศาสนาไว้ข้างหลัง อนาคตสังคมอาจวิกฤต

    #Newskit
    พระผู้ใหญ่ใฝ่ราคะ เย่อกามในผ้าเหลือง ยุคเสื่อมพระพุทธศาสนาไทย จากเจ้าคุณแย้ม วัดไร่ขิง นครปฐม ติดพันสาวเว็บพนัน สู่ปรากฎการณ์ที่พิธีกรข่าว วารินทร์ สัจจเดว ตั้งขึ้นว่า "วันอาสาราคะลาสึกบูชา" พระสงฆ์ที่ครองสมณศักดิ์ระดับสูงหลายคณะภาค ร่วมใช้สีกาคนเดียวกันโดยมิได้นัดหมาย พร้อมใจกันลาสิกขาโดยละม่อม หลังตำรวจตรวจยึดโทรศัพท์จากสีกา พบภาพสัมพันธ์ต้องห้ามกว่า 8 หมื่นไฟล์ การันตีด้วยผลงานเจ้าอาวาสวัดดังทั่วไทย ไล่ตั้งแต่วัดตรีทศเทพ วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ วัดพระพุทธฉาย สระบุรี วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก วัดโสธรวรารามวรวิหาร ฉะเชิงเทรา หนังสือพิมพ์หัวสีไทยรัฐถึงกับใช้คำว่า "เย่อกามในผ้าเหลือง" ตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) นำโดยหลวงตาเต่า พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ปานแก้ว รอง ผบช.ก. และ พล.ต.ต.ต.ประสงค์ เฉลิมพันธ์ ผบก.ปปป. เช็กหลักฐานความสัมพันธ์ระหว่างสีกากอล์ฟ วัย 35 ปี สาวคนสนิทอดีตพระเทพวชิรปาโมกข์ หรือเจ้าคุณอาชว์ อดีตเจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพวรวิหาร วัย 54 ปี ลาสิกขาสายฟ้าแลบที่ จ.หนองคาย เมื่อวันที่ 29 มิ.ย. แล้วพบว่าสีกากอล์ฟมีเซ็กซ์กับพระชั้นผู้ใหญ่อีกหลายรูป ตรวจค้นบ้านพบจีวรนับสิบผืน เมื่อยึดมือถือ 5 เครื่องไปตรวจสอบเป็นต้องผงะ พบคลิปพระผู้ใหญ่เย่อกามกว่า 8 หมื่นภาพ ชุดสืบสวนต้องดูกันตาแฉะ เพื่อนำไปขยายผลดำเนินคดี ปลาเน่าตัวเดียวเหม็นทั้งข้อง แต่เมื่อเป็นปลาตัวใหญ่เลยเหม็นนานกว่า สังคมไทยในฐานะเมืองพุทธถึงกับเสื่อมศรัทธาในพระพุทธศาสนา บางคนถึงกับเลิกเข้าวัด เลิกบริจาคเงินให้กับวัด หันไปบริจาคให้โรงพยาบาลและโรงเรียนแทน ขณะเดียวกัน ยังมีการตั้งคำถามถึงการที่สาธุชนถวายเงินให้กับพระโดยตรง รวมทั้งการจัดงานประจำปีและงานบุญต่างๆ ที่ทำรายได้จากการประมูลร้านค้า และเงินบริจาคที่เป็นเงินสดจำนวนมหาศาล กลายเป็นการสร้างความมั่งคั่งแก่พระชั้นผู้ใหญ่บางรูป ต่อยอดสู่การเป็นพุทธพาณิชย์เต็มตัว ลืมเลือนแม้แต่บทสวดมนต์ "อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส" พระไพศาล วิสาโล วัดป่าสุคะโต จ.ชัยภูมิ เตือนใจว่า แม้พระชั้นผู้ใหญ่รู้ธรรมะสูงก็ยังพลั้งเผลอได้ จึงไม่ควรประมาทในชีวิต ความสุขชั่วคราวจากการทุจริต การทำชั่วบางอย่างนำไปสู่ความล่มจม เป็นบทเรียนสอนให้ไม่ประมาท มีสติ เกิดปัญญา จะไม่นับถือพระก็ได้แต่อย่าทิ้งพระรัตนตรัย การบูชาที่แท้จริงคือการปฏิบัติบูชา อย่าเพียงแค่บูชาดอกไม้ธูปเทียน ส่วนพระราชธรรมนิเทศ (พยอม กัลยาโณ) วัดสวนแก้ว จ.นนทบุรี ระบุว่า ถือเป็นเรื่องรุนแรงที่สุดในรอบ 10 ปี ปัจจัยมาจาก 3 ส. คือ สติ สตางค์ และสล็อต พร้อมขอชาวพุทธอย่าทิ้งศาสนาไว้ข้างหลัง อนาคตสังคมอาจวิกฤต #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 352 มุมมอง 0 รีวิว
  • โหนกระแสแฉซ้ำภาพพระชั้นผู้ใหญ่ห่มเหลืองเล่นสนุกเกอร์ ตอกย้ำพฤติกรรมฉาววงการสงฆ์ หลังอดีตพระผู้ใหญ่เอี่ยวคดี "สีกาดอกไม้" แบล็กเมล์ และแชทหลุดบอกรักเมียสุดซึ้ง ชาวพุทธสุดเอือมระอา เสื่อมศรัทธาหนัก

    จากกรณี สาวใหญ่เมืองชาละวัน เจ้าของฉายา "นารีพิฆาตพระ" หรือ "สีกาดอกไม้" สวมรอยเป็นไฮโซใจบุญสุนทาน ขับรถหรูตระเวนทำบุญกับพระผู้ใหญ่วัดดังมีสตางค์เยอะ ก่อนตีสนิททำทีขอคำปรึกษาปัญหาชีวิต พระรูปไหนศีลไม่มั่นคงยังหลงไหลในกิเลสตัณหาก็จะติดกับไฮโซสาวในคราบสิบแปดมงกุฎจนมีสัมพันธ์ลึกซึ้งเกินเลย

    ขณะมีอะไรกันก็แอบถ่ายภาพและคลิปไว้แบล็กเมล เรียกเงินหลักแสน - ล้าน นำไปเล่นพนันออนไลน์เสียครั้งละเป็นล้าน

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000065068

    #Thaitimes #MGROnline #สีกาดอกไม้
    โหนกระแสแฉซ้ำภาพพระชั้นผู้ใหญ่ห่มเหลืองเล่นสนุกเกอร์ ตอกย้ำพฤติกรรมฉาววงการสงฆ์ หลังอดีตพระผู้ใหญ่เอี่ยวคดี "สีกาดอกไม้" แบล็กเมล์ และแชทหลุดบอกรักเมียสุดซึ้ง ชาวพุทธสุดเอือมระอา เสื่อมศรัทธาหนัก • จากกรณี สาวใหญ่เมืองชาละวัน เจ้าของฉายา "นารีพิฆาตพระ" หรือ "สีกาดอกไม้" สวมรอยเป็นไฮโซใจบุญสุนทาน ขับรถหรูตระเวนทำบุญกับพระผู้ใหญ่วัดดังมีสตางค์เยอะ ก่อนตีสนิททำทีขอคำปรึกษาปัญหาชีวิต พระรูปไหนศีลไม่มั่นคงยังหลงไหลในกิเลสตัณหาก็จะติดกับไฮโซสาวในคราบสิบแปดมงกุฎจนมีสัมพันธ์ลึกซึ้งเกินเลย • ขณะมีอะไรกันก็แอบถ่ายภาพและคลิปไว้แบล็กเมล เรียกเงินหลักแสน - ล้าน นำไปเล่นพนันออนไลน์เสียครั้งละเป็นล้าน • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000065068 • #Thaitimes #MGROnline #สีกาดอกไม้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 178 มุมมอง 0 รีวิว
  • วงการสงฆ์ร้อน กิเลสแทรกผ่านผ้าเหลือง : คนเคาะข่าว 9-07-68

    ร่วมสนทนา
    อ.จตุรงค์ จงอาษา นักวิชาการอิสระด้านพระพุทธศาสนา
    พระพยอม กัลยาโณ เจ้าอาวาสวัดสวนแก้ว
    ดำเนินรายการโดย กรองทอง เศรษฐสุทธิ์

    คลิกชม https://www.youtube.com/watch?v=LQx9dYGoo3k
    วงการสงฆ์ร้อน กิเลสแทรกผ่านผ้าเหลือง : คนเคาะข่าว 9-07-68 ร่วมสนทนา อ.จตุรงค์ จงอาษา นักวิชาการอิสระด้านพระพุทธศาสนา พระพยอม กัลยาโณ เจ้าอาวาสวัดสวนแก้ว ดำเนินรายการโดย กรองทอง เศรษฐสุทธิ์ คลิกชม https://www.youtube.com/watch?v=LQx9dYGoo3k
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • สัปดาห์ที่แล้วเราคุยกันถึงสัตว์เทพในคัมภีร์ซานไห่จิง (คัมภีร์ขุนเขาและท้องทะเล) ซึ่งเป็นหนังสือโบราณสมัยก่อนราชวงศ์ฉินที่บันทึกเรื่องราวของเทพนิยาย ปีศาจ สัตว์ประหลาด นิทานปรัมปรา และวัฒนธรรม ฯลฯ ในยุคโบราณของจีน วันนี้เรามาคุยกันถึงจิ้งจอกเก้าหาง

    ความมีอยู่ว่า
    ... “ที่เสวียนหนี่ว์กล่าวมา ท่านราชาปีศาจฟังเข้าใจแล้วหรือไม่ ป๋ายเฉี่ยนแห่งชิงชิวเป็นจิ้งจอกขาวเก้าหาง เลือดหัวใจของจิ้งจอกขาวเก้าหางมีสรรพคุณเยี่ยงไร ท่านถามถามชายาของท่านดู”...
    - จากเรื่อง <สามชาติสามภพ ป่าท้อสิบหลี่> ผู้แต่ง ถังชีกงจื่อ

    ตำนานเกี่ยวกับจิ้งจอกเก้าหางมีไม่น้อย ส่วนใหญ่ผูกโยงกับปีศาจจิ้งจอกที่ทำให้คนลุ่มหลง แต่แฟนคลับจากเรื่องชุดสามชาติสามภพฯ จะรู้ว่า ในเรื่องนี้จิ้งจอกเก้าหางเป็นเทพขั้นสูงปกครองดินแดนชิงชิว ไม่ใช่ปีศาจร้ายที่คอยยั่วราคะใคร

    ที่ Storyฯ คิดว่าน่าสนใจคือ ในบรรดาเอกสารโบราณหรือวรรณคดีที่พูดถึงจิ้งจอกเก้าหางนั้น ดูจะมีในคัมภีร์ซานไห่จิงที่เดียวที่กล่าวถึงจิ้งจอกเก้าหางและดินแดนชิงชิวไปพร้อมๆ กัน โดยมีการบรรยายไว้ว่า เขาชิงชิวอยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันออกอีกสามร้อยหลี่ ด้านที่เจอแสงอาทิตย์ของเขานั้นอุดมด้วยหยก ด้านที่มืดมีแร่ธาตุที่ใช้ผลิตสีเขียวได้ บนเขามีสัตว์ป่าชนิดหนึ่ง รูปร่างเป็นจิ้งจอก มีเก้าหาง เสียงของมันเหมือนเสียงร้องไห้ของทารก มันกินมนุษย์ได้ และหากมนุษย์ใดกินเนื้อมันเข้าไปจะมีภูมิต้านทานมนต์ดำของปีศาจ

    จิ้งจอกเก้าหางเดิมได้รับการยกย่องเป็นสัตว์มงคล ในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่นนั้น ในรูปภาพของพระแม่ตะวันตก(ซีหวางหมู่) มักปรากฎสัตว์เทพสี่ตัวอยู่แทบพระบาท หนึ่งในนั้นคือจิ้งจอกเก้าหาง ว่ากันว่า มันเป็นสัญลักษณ์ของการมีบุตรหลานมากมาย

    แต่ภาพลักษณ์ของจิ้งจอกเก้าหางเริ่มตกต่ำลงเมื่อพ้นยุคสมัยราชวงศ์ฮั่นเมื่อความนับถือในพระแม่ซีหวางหมู่ลดลง และเริ่มพูดถึงจิ้งจอกแปลงกายเป็นคนได้เมื่อเข้าสู่ยุคสมัยราชวงศ์เหนือใต้ พร้อมๆ กับความเป็น “สัตว์เทพ” แปรเปลี่ยนไปเป็น “ปีศาจ” มีนิทานปรัมปราเรื่องปีศาจจิ้งจอกเก้าหางมาสิงร่างของต๋าจีผู้เป็นพระสนมขององค์โจ้วหวางแห่งราชวงศ์ซาง แล้วทำให้พระองค์ทรงลุ่มหลงจนทำแต่เรื่องร้ายๆ อย่างไม่ลืมหูลืมตา ตอกย้ำภาพลักษณ์ปีศาจเพศหญิงที่งามสะคราญยั่วยวนให้ชายลุ่มหลงมัวเมาในกิเลสตัณหา เป็นภาพลักษณ์ที่คงอยู่มาจนปัจจุบัน

    แต่สำหรับ Storyฯ แล้ว จิ้งจอกเก้าหางตัวไหนก็ไม่ประทับใจเท่าป๋ายเฉี่ยนแห่งชิงชิว เพื่อนเพจล่ะคะ?

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_1636558
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/7367050
    https://3g.163.com/dy/article_cambrian/EJB4QI9105418R2V.html
    https://zhidao.baidu.com/question/175130842.html

    #สามชาติสามภพ #จิ้งจอกเก้าหาง #ป๋ายเฉี่ยน #ต๋าจี #ซานไห่จิง #ชิงชิว #ตำนานจีน #StoryfromStory
    สัปดาห์ที่แล้วเราคุยกันถึงสัตว์เทพในคัมภีร์ซานไห่จิง (คัมภีร์ขุนเขาและท้องทะเล) ซึ่งเป็นหนังสือโบราณสมัยก่อนราชวงศ์ฉินที่บันทึกเรื่องราวของเทพนิยาย ปีศาจ สัตว์ประหลาด นิทานปรัมปรา และวัฒนธรรม ฯลฯ ในยุคโบราณของจีน วันนี้เรามาคุยกันถึงจิ้งจอกเก้าหาง ความมีอยู่ว่า ... “ที่เสวียนหนี่ว์กล่าวมา ท่านราชาปีศาจฟังเข้าใจแล้วหรือไม่ ป๋ายเฉี่ยนแห่งชิงชิวเป็นจิ้งจอกขาวเก้าหาง เลือดหัวใจของจิ้งจอกขาวเก้าหางมีสรรพคุณเยี่ยงไร ท่านถามถามชายาของท่านดู”... - จากเรื่อง <สามชาติสามภพ ป่าท้อสิบหลี่> ผู้แต่ง ถังชีกงจื่อ ตำนานเกี่ยวกับจิ้งจอกเก้าหางมีไม่น้อย ส่วนใหญ่ผูกโยงกับปีศาจจิ้งจอกที่ทำให้คนลุ่มหลง แต่แฟนคลับจากเรื่องชุดสามชาติสามภพฯ จะรู้ว่า ในเรื่องนี้จิ้งจอกเก้าหางเป็นเทพขั้นสูงปกครองดินแดนชิงชิว ไม่ใช่ปีศาจร้ายที่คอยยั่วราคะใคร ที่ Storyฯ คิดว่าน่าสนใจคือ ในบรรดาเอกสารโบราณหรือวรรณคดีที่พูดถึงจิ้งจอกเก้าหางนั้น ดูจะมีในคัมภีร์ซานไห่จิงที่เดียวที่กล่าวถึงจิ้งจอกเก้าหางและดินแดนชิงชิวไปพร้อมๆ กัน โดยมีการบรรยายไว้ว่า เขาชิงชิวอยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันออกอีกสามร้อยหลี่ ด้านที่เจอแสงอาทิตย์ของเขานั้นอุดมด้วยหยก ด้านที่มืดมีแร่ธาตุที่ใช้ผลิตสีเขียวได้ บนเขามีสัตว์ป่าชนิดหนึ่ง รูปร่างเป็นจิ้งจอก มีเก้าหาง เสียงของมันเหมือนเสียงร้องไห้ของทารก มันกินมนุษย์ได้ และหากมนุษย์ใดกินเนื้อมันเข้าไปจะมีภูมิต้านทานมนต์ดำของปีศาจ จิ้งจอกเก้าหางเดิมได้รับการยกย่องเป็นสัตว์มงคล ในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่นนั้น ในรูปภาพของพระแม่ตะวันตก(ซีหวางหมู่) มักปรากฎสัตว์เทพสี่ตัวอยู่แทบพระบาท หนึ่งในนั้นคือจิ้งจอกเก้าหาง ว่ากันว่า มันเป็นสัญลักษณ์ของการมีบุตรหลานมากมาย แต่ภาพลักษณ์ของจิ้งจอกเก้าหางเริ่มตกต่ำลงเมื่อพ้นยุคสมัยราชวงศ์ฮั่นเมื่อความนับถือในพระแม่ซีหวางหมู่ลดลง และเริ่มพูดถึงจิ้งจอกแปลงกายเป็นคนได้เมื่อเข้าสู่ยุคสมัยราชวงศ์เหนือใต้ พร้อมๆ กับความเป็น “สัตว์เทพ” แปรเปลี่ยนไปเป็น “ปีศาจ” มีนิทานปรัมปราเรื่องปีศาจจิ้งจอกเก้าหางมาสิงร่างของต๋าจีผู้เป็นพระสนมขององค์โจ้วหวางแห่งราชวงศ์ซาง แล้วทำให้พระองค์ทรงลุ่มหลงจนทำแต่เรื่องร้ายๆ อย่างไม่ลืมหูลืมตา ตอกย้ำภาพลักษณ์ปีศาจเพศหญิงที่งามสะคราญยั่วยวนให้ชายลุ่มหลงมัวเมาในกิเลสตัณหา เป็นภาพลักษณ์ที่คงอยู่มาจนปัจจุบัน แต่สำหรับ Storyฯ แล้ว จิ้งจอกเก้าหางตัวไหนก็ไม่ประทับใจเท่าป๋ายเฉี่ยนแห่งชิงชิว เพื่อนเพจล่ะคะ? (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ) Credit รูปภาพจาก: https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_1636558 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://zhuanlan.zhihu.com/p/7367050 https://3g.163.com/dy/article_cambrian/EJB4QI9105418R2V.html https://zhidao.baidu.com/question/175130842.html #สามชาติสามภพ #จิ้งจอกเก้าหาง #ป๋ายเฉี่ยน #ต๋าจี #ซานไห่จิง #ชิงชิว #ตำนานจีน #StoryfromStory
    《三生三世十里桃花》里的青丘到底在四海八荒的哪里_翻书党_澎湃新闻-The Paper
    随着《三生三世十里桃花》的热播,“青丘”、“帝君”等热门词的流行唤起了广大观众对神仙世界、对中国古代神话的求知兴趣。那么青丘国究竟坐落于四海八荒的何处?
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 307 มุมมอง 0 รีวิว
  • ท่านชอบพุทธศาสนา ในเหลี่ยมไหน

    ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า "ศาสนา" เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น

    พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า "อะไร" อะไร" เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา

    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค" ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย

    พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ

    เรื่อง "กฐิน" ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ " คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง

    สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน .com
    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%8a%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%9e%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%99%e0%b8%b2-%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a5%e0%b8%b5/
    ท่านชอบพุทธศาสนา ในเหลี่ยมไหน ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า "ศาสนา" เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า "อะไร" อะไร" เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค" ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ เรื่อง "กฐิน" ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ " คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน .com https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%8a%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%9e%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%99%e0%b8%b2-%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a5%e0%b8%b5/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน
    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 รีวิว
  • จิตใจอยู่ทางโลกมันต้องมีเรื่องทางโลกเข้ามาทับถม เรื่ององทางโลกมันมากมาย กิเลส ตัณหาราคะ อุปทานต่างๆ จิตมันตกต่ำไปตามกระแสทางโลก
    จิตใจอยู่ทางโลกมันต้องมีเรื่องทางโลกเข้ามาทับถม เรื่ององทางโลกมันมากมาย กิเลส ตัณหาราคะ อุปทานต่างๆ จิตมันตกต่ำไปตามกระแสทางโลก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนิมในจิตใจคน/ ก็กิเลสดีๆนี้เอง ต้องขัดออกเอาออก อย่าให้กัดกินใจเราตัวกิเลสมีฤทธิ์มาก มากขนาดเผาบ้านเมืองได้
    สนิมในจิตใจคน/ ก็กิเลสดีๆนี้เอง ต้องขัดออกเอาออก อย่าให้กัดกินใจเราตัวกิเลสมีฤทธิ์มาก มากขนาดเผาบ้านเมืองได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 87 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1043
    ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่
    ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ
    อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด
    ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
    น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ
    )​
    --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว
    น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย.
    เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า

    “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ;
    เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ”
    ดังนี้

    : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง;
    แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง
    แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ,
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    ดังนี้.
    *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92

    ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า
    ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ
    บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ
    ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้;
    และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น.
    --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ;
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว”
    ดังนี้;

    ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว,
    กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว,
    กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง.
    : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล
    อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง สัทธรรมลำดับที่ : 1043 ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 เนื้อความทั้งหมด :- --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ )​ --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​ http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92 ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น. --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง. : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338. http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง--ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    -(ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓) ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้ ด้วย หม้อสี่ชนิด คือหม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – เปิด คือรู้อริยสัจแต่ไม่มีสมณสารูป ; หม้อเปล่า – เปิด คือไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – ปิด คือรู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔) ตรัสเปรียบด้วย ห้วงน้ำสี่ชนิด คือห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป; ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕) ตรัสเปรียบด้วย มะม่วงสี่ชนิด คือมะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่ได้รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป; มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ ). เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ :-) ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะ ๑. สูตรนี้ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วยช้างมหานาคในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้พบตัวช้างคือพระองค์ ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้วเท่านั้น. งาแห่งตถาคต” บ้าง. พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 211 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 274 มุมมอง 0 รีวิว
  • ที่อโคจร
    ร้อนด้วยกิเลส
    ทุกข์ภัยอาเพศ
    เหตุมีเลวร้าย

    ที่ใดมีธรรม
    นำโคจรได้
    โอภาปราศรัย
    ให้เหตุดีงาม

    ความจริงเป็นธรรม
    กำหนดรู้ตาม
    ชำระเลวทราม
    งามถึงจิตใจ

    ทิฐิมานะ
    ลดละนิ่งได้
    จิตไม่หวั่นไหว
    ได้ปัญญาธรรม

    รู้ธรรมความจริง
    ยิ่งรู้ดื่มด่ำ
    ยิ่งเจริญธรรม
    บำรุงถึงจิต

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ้งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    ที่อโคจร ร้อนด้วยกิเลส ทุกข์ภัยอาเพศ เหตุมีเลวร้าย ที่ใดมีธรรม นำโคจรได้ โอภาปราศรัย ให้เหตุดีงาม ความจริงเป็นธรรม กำหนดรู้ตาม ชำระเลวทราม งามถึงจิตใจ ทิฐิมานะ ลดละนิ่งได้ จิตไม่หวั่นไหว ได้ปัญญาธรรม รู้ธรรมความจริง ยิ่งรู้ดื่มด่ำ ยิ่งเจริญธรรม บำรุงถึงจิต ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ้งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 98 มุมมอง 0 รีวิว
  • กิเลสกรรมชั่ว
    กลัวธรรมความจริง
    กลัวถูกทอดทิ้ง
    ยิ่งพาวุ่นวาย

    ภาษากิเลส
    ก่อเหตุมากมาย
    เดือดร้อนดั่งไฟ
    พิษภัยกระจาย

    ศีลธรรมกรรมดี
    มีหากลัวไม่
    ความจริงยิ่งได้
    ให้คุณมากมาย

    ไม่กลัวธรรมจริง
    ยิ่งดีอาศัย
    ดับทุกข์พิษภัย
    ให้สว่างใจ

    ใจดีสว่าง
    ทางธรรมอาศัย
    พอเพียงพอใจ
    ไร้ทุกข์แผ้วพาน

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    กิเลสกรรมชั่ว กลัวธรรมความจริง กลัวถูกทอดทิ้ง ยิ่งพาวุ่นวาย ภาษากิเลส ก่อเหตุมากมาย เดือดร้อนดั่งไฟ พิษภัยกระจาย ศีลธรรมกรรมดี มีหากลัวไม่ ความจริงยิ่งได้ ให้คุณมากมาย ไม่กลัวธรรมจริง ยิ่งดีอาศัย ดับทุกข์พิษภัย ให้สว่างใจ ใจดีสว่าง ทางธรรมอาศัย พอเพียงพอใจ ไร้ทุกข์แผ้วพาน ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการเจริญโพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 668
    ชื่อบทธรรม :- โพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=668
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --โพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์
    --ภิกษุ ท. ! สติปัฏฐานทั้งสี่
    อันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร
    จึงทำโพชฌงค์ทั้งเจ็ดให้บริบูรณ์ได้ ?
    http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=โพชฺฌงฺเค+ปริปูเรนฺติ

    --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้,
    สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง
    สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    ๑--สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #สติสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    +--ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น
    ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใดภิกษุ เป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ทำการเลือกเฟ้น
    ใคร่ครวญธรรมนั้นอยู่ด้วยปัญญา,
    สมัยนั้น ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    ๒--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    +--ภิกษุนั้น เมื่อเลือกเฟ้น ใคร่ครวญอยู่ซึ่งธรรมนั้น
    ด้วยปัญญาความเพียรอันไม่ย่อหย่อนชื่อว่าเป็นธรรมอันภิกษุนั้นปรารภแล้ว.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ความเพียรไม่ย่อหย่อนอันภิกษุผู้เลือกเฟ้นใคร่ครวญในธรรมนั้น
    ด้วยปัญญาปรารภแล้ว.
    สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว.
    ๓-+สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #วิริยสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    +--ภิกษุนั้น เมื่อมีความเพียรอันปรารภแล้ว ปีติอันเป็นนิรามิสก็เกิดขึ้น.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ปีติอันเป็นนิรามิส เกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว,
    สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    ๔--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #ปีติสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    +--ภิกษุนั้น เมื่อมีใจประกอบด้วยปีติ แม้กายก็รำงับ แม้จิตก็รำงับ.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ทั้งกายและทั้งจิตของภิกษุผู้มีใจประกอบด้วยปีติ ย่อมรำงับ,
    สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    ๕--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    +--ภิกษุนั้น เมื่อมีกายอันรำงับแล้ว มีความสุขอยู่ จิตย่อมตั้งมั่น.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายอันรำงับแล้วมีความสุขอยู่ ย่อมตั้งมั่น,
    สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    ๖--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #สมาธิสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    +--ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิตอันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้นเป็นอย่างดี.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิต อันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้นเป็นอย่างดี,
    สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    ๗--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #อุเบกขาสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.

    --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดเวทนา ฯ]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้,
    สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง,
    สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา.
    (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ จนจบหมวด).

    --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดจิตตา ฯ]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้,
    สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง,
    สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภมาแล้ว,
    สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    +--ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา.
    (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ จนจบหมวด).

    --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดธัมมา ฯ]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้,
    สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง,
    สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว,
    สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์,
    สมัยนั้นสติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ.
    ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา.
    (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายา ฯ จนจบหมวด).

    --ภิกษุ ท. ! สติปัฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล
    http://etipitaka.com/read/pali/14/201/?keywords=จตฺตาโร+สติปฏฺฐานา
    ชื่อว่า #ทำโพชฌงค์ทั้งเจ็ดให้บริบูรณ์ได้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/157/290.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/157/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๗/๒๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=668
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=668
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47
    ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการเจริญโพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์ สัทธรรมลำดับที่ : 668 ชื่อบทธรรม :- โพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=668 เนื้อความทั้งหมด :- --โพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์ --ภิกษุ ท. ! สติปัฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำโพชฌงค์ทั้งเจ็ดให้บริบูรณ์ได้ ? http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=โพชฺฌงฺเค+ปริปูเรนฺติ --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, ๑--สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #สติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. +--ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. --ภิกษุ ท. ! สมัยใดภิกษุ เป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ทำการเลือกเฟ้น ใคร่ครวญธรรมนั้นอยู่ด้วยปัญญา, สมัยนั้น ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, ๒--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. +--ภิกษุนั้น เมื่อเลือกเฟ้น ใคร่ครวญอยู่ซึ่งธรรมนั้น ด้วยปัญญาความเพียรอันไม่ย่อหย่อนชื่อว่าเป็นธรรมอันภิกษุนั้นปรารภแล้ว. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ความเพียรไม่ย่อหย่อนอันภิกษุผู้เลือกเฟ้นใคร่ครวญในธรรมนั้น ด้วยปัญญาปรารภแล้ว. สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว. ๓-+สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #วิริยสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. +--ภิกษุนั้น เมื่อมีความเพียรอันปรารภแล้ว ปีติอันเป็นนิรามิสก็เกิดขึ้น. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ปีติอันเป็นนิรามิส เกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว, สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, ๔--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #ปีติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. +--ภิกษุนั้น เมื่อมีใจประกอบด้วยปีติ แม้กายก็รำงับ แม้จิตก็รำงับ. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ทั้งกายและทั้งจิตของภิกษุผู้มีใจประกอบด้วยปีติ ย่อมรำงับ, สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, ๕--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. +--ภิกษุนั้น เมื่อมีกายอันรำงับแล้ว มีความสุขอยู่ จิตย่อมตั้งมั่น. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายอันรำงับแล้วมีความสุขอยู่ ย่อมตั้งมั่น, สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, ๖--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #สมาธิสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. +--ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิตอันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้นเป็นอย่างดี. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิต อันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้นเป็นอย่างดี, สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, ๗--สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญ #อุเบกขาสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดเวทนา ฯ] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ จนจบหมวด). --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดจิตตา ฯ] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภมาแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. +--ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ จนจบหมวด). --[โพชฌงค์เจ็ด หมวดธัมมา ฯ] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง --ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายา ฯ จนจบหมวด). --ภิกษุ ท. ! สติปัฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล http://etipitaka.com/read/pali/14/201/?keywords=จตฺตาโร+สติปฏฺฐานา ชื่อว่า #ทำโพชฌงค์ทั้งเจ็ดให้บริบูรณ์ได้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/157/290. http://etipitaka.com/read/thai/14/157/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๗/๒๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=668 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=668 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47 ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - โพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์
    -โพชฌงค์บริบูรณ์เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์ ภิกษุ ท. ! สติปัฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำโพชฌงค์ทั้งเจ็ดให้บริบูรณ์ได้ ? [โพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสีย ได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. ภิกษุ ท. ! สมัยใดภิกษุ เป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ทำการเลือกเฟ้น ใคร่ครวญธรรมนั้นอยู่ด้วยปัญญา, สมัยนั้น ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเลือกเฟ้น ใคร่ครวญอยู่ซึ่งธรรมนั้น ด้วยปัญญาความเพียรอันไม่ย่อหย่อนชื่อว่าเป็นธรรมอันภิกษุนั้นปรารภแล้ว. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ความเพียรไม่ย่อหย่อนอันภิกษุผู้เลือกเฟ้นใคร่ครวญในธรรมนั้นด้วยปัญญาปรารภแล้ว. สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว. สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญวิริยสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นวิริยสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อมีความเพียรอันปรารภแล้ว ปีติอันเป็นนิรามิสก็เกิดขึ้น. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ปีติอันเป็นนิรามิส เกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว, สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปีติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นปีติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อมีใจประกอบด้วยปีติ แม้กายก็รำงับ แม้จิตก็รำงับ. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ทั้งกายและทั้งจิตของภิกษุผู้มีใจประกอบด้วยปีติ ย่อมรำงับ, สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อมีกายอันรำงับแล้ว มีความสุขอยู่ จิตย่อมตั้งมั่น. ภิกษุ ท. ! สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายอันรำงับแล้วมีความสุขอยู่ ย่อมตั้งมั่น, สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นสมาธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิตอันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้นเป็นอย่างดี. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิต อันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้นเป็นอย่างดี, สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นอุเบกขาสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. [โพชฌงค์เจ็ด หมวดเวทนา ฯ] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง. ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ จนจบหมวด). [โพชฌงค์เจ็ด หมวดจิตตา ฯ] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง. ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภมาแล้ว, สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายาฯ จนจบหมวด). [โพชฌงค์เจ็ด หมวดธัมมา ฯ] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้ ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้, สมัยนั้น สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ก็เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ย่อมทำการเลือก ย่อมทำการเฟ้น ย่อมทำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรมนั้นด้วยปัญญา. (ต่อไปนี้ มีข้อความอย่างเดียวกันกับในโพชฌงค์เจ็ด หมวดกายา ฯ จนจบหมวด). ภิกษุ ท. ! สติปัฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าทำโพชฌงค์ทั้งเจ็ดให้บริบูรณ์ได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 282 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่าการ​เจริญสติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 667
    ชื่อบทธรรม :- สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    --ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร
    ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำสติปัฎฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ ?

    [หมวดกายานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้, หรือว่า
    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกยาว ดังนี้ก็ดี;
    [๒] เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้าสั้น ดังนี้, หรือว่า
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกสั้น ดังนี้ก็ดี ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +-ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=กาเย+กายานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและลมหายใจออก
    ว่าเป็นกายอันหนึ่งๆ ในกายทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น.

    [หมวดเวทนานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=เวทนาสุ+เวทนานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวการทำในใจเป็นอย่างดีต่อลมหายใจเข้าและลมหายใจออก
    ทั้งหลาย ว่าเป็นเวทนาอันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้น ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น.

    [หมวดจิตตานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตั้งมั่นอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=จิตฺเต+จิตฺตานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! เราไม่กล่าวอานาปานสติ ว่าเป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว
    ไม่มีสัมปชัญญะ.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น.

    [หมวดธัมมานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยงอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ ตามเห็นซึ่งความจางคลาย อยู่เป็นประจำจักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลืออยู่เป็นประจำ จักหายใจออกดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืน อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้าดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=ธมฺเมสุ+ธมฺมานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสทั้งหลายของเธอนั้นด้วยปัญญา.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้
    ในสมัยนั้น.

    +--ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล
    ชื่อว่าทำ #สติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ ได้.-
    http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=จตฺตาโร+สติปฏฺฐาเน

    #สัมมาวายามะ #สัมมาสติ#สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/195/289.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/156/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/195/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=667
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47
    ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่าการ​เจริญสติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ สัทธรรมลำดับที่ : 667 ชื่อบทธรรม :- สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667 เนื้อความทั้งหมด :- --สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ --ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำสติปัฎฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ ? [หมวดกายานุปัสสนา] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกยาว ดังนี้ก็ดี; [๒] เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้าสั้น ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกสั้น ดังนี้ก็ดี ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; +-ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=กาเย+กายานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ว่าเป็นกายอันหนึ่งๆ ในกายทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดเวทนานุปัสสนา] --ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=เวทนาสุ+เวทนานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวการทำในใจเป็นอย่างดีต่อลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ทั้งหลาย ว่าเป็นเวทนาอันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้น ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดจิตตานุปัสสนา] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตั้งมั่นอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=จิตฺเต+จิตฺตานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! เราไม่กล่าวอานาปานสติ ว่าเป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว ไม่มีสัมปชัญญะ. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดธัมมานุปัสสนา] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยงอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ตามเห็นซึ่งความจางคลาย อยู่เป็นประจำจักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลืออยู่เป็นประจำ จักหายใจออกดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืน อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้าดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=ธมฺเมสุ+ธมฺมานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสทั้งหลายของเธอนั้นด้วยปัญญา. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. +--ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าทำ #สติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ ได้.- http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=จตฺตาโร+สติปฏฺฐาเน #สัมมาวายามะ #สัมมาสติ​ #สัมมาสมาธิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/195/289. http://etipitaka.com/read/thai/14/156/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/14/195/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=667 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47 ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    -(ข้อปฏิบัติระบบนี้ ใช้ได้แม้แก่ผู้ตั้งต้นบำเพ็ญวิมุตติ ; และใช้ได้แก่ผู้บำเพ็ญวิมุตติแล้วแต่ยังไม่สุกรอบ คือเพิ่มข้อปฏิบัติชื่อเดียวกันเหล่านี้ให้ยิ่งขึ้นไป. นับว่าเป็นหลักปฏิบัติที่สำคัญมาก ควรแก่การสนใจอย่างยิ่ง. ธรรมะ ๕ ประการแห่งสูตรนี้เรียกในสูตรนี้ว่า “เครื่องบ่มวิมุตติ” ในสูตรอื่น (นวก. อํ. ๒๓/๓๖๔/๒๐๕) เรียกว่า “ที่ตั้งอาศัยแห่งการเจริญสัมโพธิปักขิยธรรม” ก็มี). สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำสติปัฎฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ ? [หมวดกายานุปัสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกยาว ดังนี้ก็ดี; [๒] เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้าสั้น ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกสั้น ดังนี้ก็ดี ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ว่าเป็นกายอันหนึ่งๆ ในกายทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดเวทนานุปัสสนา] ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวการทำในใจเป็นอย่างดีต่อลมหายใจเข้า และลมหายใจออกทั้งหลาย ว่าเป็นเวทนาอันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้น ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดจิตตานุปัสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็น ผู้ ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตั้งมั่นอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! เราไม่กล่าวอานาปานสติ ว่าเป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว ไม่มีสัมปชัญญะ. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดธัมมานุปัสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยงอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ตามเห็นซึ่งความจางคลาย อยู่เป็นประจำจักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลืออยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืน อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้าดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสทั้งหลายของเธอนั้นด้วยปัญญา. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าทำสติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 277 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts