• ตำรวจกองปราบบุกรวบแก๊งเงินกู้ดอกโหด “โต๊ะแฟลช & ฟลุ๊ค”คากระทรวงวัฒนธรรม สุดเหิมข่มขู่-ทำร้ายลูกหนี้ผิดนัดชำระ ซ้ำประกาศศักดาไม่เกรงกลัวตำรวจ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000120340

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ตำรวจกองปราบบุกรวบแก๊งเงินกู้ดอกโหด “โต๊ะแฟลช & ฟลุ๊ค”คากระทรวงวัฒนธรรม สุดเหิมข่มขู่-ทำร้ายลูกหนี้ผิดนัดชำระ ซ้ำประกาศศักดาไม่เกรงกลัวตำรวจ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000120340 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    11
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 762 มุมมอง 0 รีวิว
  • เมื่อวันพุธ (4 ธ.ค.) องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก (UNESCO) ได้ขึ้นทะเบียนเทศกาลฤดูใบไม้ผลิหรือเทศกาลตรุษจีนของประชาชนชาวจีนเข้าสู่รายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ.มติข้างต้นมีขึ้นที่การประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลด้านการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ สมัยที่ 19 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2-7 ธ.ค. ในปารากวัย โดยคณะกรรมการฯ ให้การรับรองเทศกาลตรุษจีน เนื่องด้วยมีพิธีกรรมและองค์ประกอบทางวัฒนธรรมเฉพาะตัวอันเกี่ยวพันกับทั้งสังคมจีน.ยูเนสโกเน้นย้ำว่าเทศกาลตรุษจีนที่เป็นหมุดหมายการเริ่มต้นปีใหม่ตามปฏิทินจันทรคติจีนมีความเกี่ยวข้องกับพิธีปฏิบัติทางสังคมที่หลากหลาย ทั้งการกราบไหว้ขอพรและการกลับมารวมตัวกันของสมาชิกครอบครัว รวมถึงมีกิจกรรมต่างๆ ที่จัดแจงโดยผู้สูงอายุและงานสาธารณะตามเทศกาลที่จัดโดยชุมชน.เอกสารของยูเนสโกระบุว่าองค์ความรู้และขนบธรรมเนียมตามประเพณีดั้งเดิมที่เกี่ยวพันกับเทศกาลตรุษจีนถูกส่งต่อภายในครอบครัวและชุมชนอย่างไม่เป็นทางการ รวมถึงส่งต่ออย่างเป็นทางการผ่านระบบการศึกษา ขณะทักษะงานฝีมือและศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเทศกาลนี้ถูกส่งต่อผ่านการฝึกฝน ส่งเสริมคุณค่าของครอบครัว ความสมานฉันท์ในสังคม และสันติภาพ.คณะกรรมการฯ สำทับว่าเทศกาลตรุษจีนที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมนั้นประกอบด้วยความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ และมีส่วนส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านต่างๆ เช่น ความมั่นคงทางอาหารและการศึกษา ตลอดจนมีบทบาทหลักในการเพิ่มความตระหนักรู้ด้านสิ่งแวดล้อม.เหราเฉวียน ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวของจีน ซึ่งนำคณะผู้แทนของจีนเข้าร่วมการประชุมของยูเนสโก กล่าวว่าเทศกาลตรุษจีนเป็นวันหยุดตามประเพณีที่สำคัญที่สุดของจีน เป็นสัญลักษณ์แห่งความหวังมีชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชนชาวจีน สัมพันธ์กับครอบครัวและประเทศ และคุณค่าของความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ.เหราเสริมว่าเทศกาลตรุษจีนถูกส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่นและมอบความแข็งแกร่งทางจิตวิญญาณแก่ประชาชนชาวจีนเสมอมา มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมความปรองดองของครอบครัวและสังคม ขับเคลื่อนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปกป้องสิ่งแวดล้อม และบ่มเพาะการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมทั่วโลก.เหรากล่าวว่าการขึ้นทะเบียนเทศกาลตรุษจีนเข้าสู่รายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติจะช่วยส่งเสริมคุณค่าสากลของสันติภาพและความสามัคคีปรองดอง และเน้นย้ำบทบาทสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ในการพัฒนาที่ยั่งยืน.ปัจจุบันจีนมีองค์ประกอบหรือพิธีปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ยูเนสโกให้การรับรองเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จำนวน 44 รายการแล้ว
    เมื่อวันพุธ (4 ธ.ค.) องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก (UNESCO) ได้ขึ้นทะเบียนเทศกาลฤดูใบไม้ผลิหรือเทศกาลตรุษจีนของประชาชนชาวจีนเข้าสู่รายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ.มติข้างต้นมีขึ้นที่การประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลด้านการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ สมัยที่ 19 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2-7 ธ.ค. ในปารากวัย โดยคณะกรรมการฯ ให้การรับรองเทศกาลตรุษจีน เนื่องด้วยมีพิธีกรรมและองค์ประกอบทางวัฒนธรรมเฉพาะตัวอันเกี่ยวพันกับทั้งสังคมจีน.ยูเนสโกเน้นย้ำว่าเทศกาลตรุษจีนที่เป็นหมุดหมายการเริ่มต้นปีใหม่ตามปฏิทินจันทรคติจีนมีความเกี่ยวข้องกับพิธีปฏิบัติทางสังคมที่หลากหลาย ทั้งการกราบไหว้ขอพรและการกลับมารวมตัวกันของสมาชิกครอบครัว รวมถึงมีกิจกรรมต่างๆ ที่จัดแจงโดยผู้สูงอายุและงานสาธารณะตามเทศกาลที่จัดโดยชุมชน.เอกสารของยูเนสโกระบุว่าองค์ความรู้และขนบธรรมเนียมตามประเพณีดั้งเดิมที่เกี่ยวพันกับเทศกาลตรุษจีนถูกส่งต่อภายในครอบครัวและชุมชนอย่างไม่เป็นทางการ รวมถึงส่งต่ออย่างเป็นทางการผ่านระบบการศึกษา ขณะทักษะงานฝีมือและศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเทศกาลนี้ถูกส่งต่อผ่านการฝึกฝน ส่งเสริมคุณค่าของครอบครัว ความสมานฉันท์ในสังคม และสันติภาพ.คณะกรรมการฯ สำทับว่าเทศกาลตรุษจีนที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมนั้นประกอบด้วยความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ และมีส่วนส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านต่างๆ เช่น ความมั่นคงทางอาหารและการศึกษา ตลอดจนมีบทบาทหลักในการเพิ่มความตระหนักรู้ด้านสิ่งแวดล้อม.เหราเฉวียน ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวของจีน ซึ่งนำคณะผู้แทนของจีนเข้าร่วมการประชุมของยูเนสโก กล่าวว่าเทศกาลตรุษจีนเป็นวันหยุดตามประเพณีที่สำคัญที่สุดของจีน เป็นสัญลักษณ์แห่งความหวังมีชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชนชาวจีน สัมพันธ์กับครอบครัวและประเทศ และคุณค่าของความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ.เหราเสริมว่าเทศกาลตรุษจีนถูกส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่นและมอบความแข็งแกร่งทางจิตวิญญาณแก่ประชาชนชาวจีนเสมอมา มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมความปรองดองของครอบครัวและสังคม ขับเคลื่อนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปกป้องสิ่งแวดล้อม และบ่มเพาะการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมทั่วโลก.เหรากล่าวว่าการขึ้นทะเบียนเทศกาลตรุษจีนเข้าสู่รายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติจะช่วยส่งเสริมคุณค่าสากลของสันติภาพและความสามัคคีปรองดอง และเน้นย้ำบทบาทสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ในการพัฒนาที่ยั่งยืน.ปัจจุบันจีนมีองค์ประกอบหรือพิธีปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ยูเนสโกให้การรับรองเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จำนวน 44 รายการแล้ว
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 389 มุมมอง 0 รีวิว
  • 10/12/668

    10/12/67

    สันติ ลุนเผ่" ศิลปินแห่งชาติถึงแก่กรรมแล้ว สิริอายุ 88 ปี

    ร.ต.สันติ ลุนเผ่ ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล-ขับร้อง) ประจำปี 2558 ถึงแก่กรรมเมื่อเวลาประมาณ 01.01 น. วันนี้(10 ธ.ค.) ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สิริอายุ 88 ปี
    .
    ร.ต.สันติ ลุนเผ่ นักร้องเสียงเทเนอร์ หรือเสียงโทนสูงของนักร้องชายระดับตำนานของไทย ฝากผลงานเพลงแนวรักชาติ เพลงคลาสสิกและเพลงประกอบภาพยนตร์ไว้มากมาย เช่น เพลง "หนักแผ่นดิน", "ทหารพระนเรศวร", "ดุจบิดามารดร", "เกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย" รวมถึงบทเพลงพระราชนิพนธ์ "ความฝันอันสูงสุด"

    เรือตรี สันติ ลุนเผ่ มีชื่อเดิมว่า ไพศาล ลุนเผ่ มีชื่อเสียงในฐานะเป็นนักร้องประจำคณะดุริยางค์แห่งกองทัพไทย และมีน้ำเสียงอันเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในผลงานด้านเพลงปลุกใจ, เพลงคลาสสิก และเพลงประกอบภาพยนตร์

    ร.ต.สันติ ได้บันทึกแผ่นเสียงเพลงแรกโดยวงดนตรีวายุบุตรคือเพลง "คมแสนคม" ผลงานของ เชาว์ แคล่วคล่อง เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเรื่อง "คมแสนคม" ในปี พ.ศ. 2507 ต่อมามีผลงานอีกมากมายจนได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล - ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2558

    cr:New 1
    10/12/668 10/12/67 สันติ ลุนเผ่" ศิลปินแห่งชาติถึงแก่กรรมแล้ว สิริอายุ 88 ปี ร.ต.สันติ ลุนเผ่ ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล-ขับร้อง) ประจำปี 2558 ถึงแก่กรรมเมื่อเวลาประมาณ 01.01 น. วันนี้(10 ธ.ค.) ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สิริอายุ 88 ปี . ร.ต.สันติ ลุนเผ่ นักร้องเสียงเทเนอร์ หรือเสียงโทนสูงของนักร้องชายระดับตำนานของไทย ฝากผลงานเพลงแนวรักชาติ เพลงคลาสสิกและเพลงประกอบภาพยนตร์ไว้มากมาย เช่น เพลง "หนักแผ่นดิน", "ทหารพระนเรศวร", "ดุจบิดามารดร", "เกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย" รวมถึงบทเพลงพระราชนิพนธ์ "ความฝันอันสูงสุด" เรือตรี สันติ ลุนเผ่ มีชื่อเดิมว่า ไพศาล ลุนเผ่ มีชื่อเสียงในฐานะเป็นนักร้องประจำคณะดุริยางค์แห่งกองทัพไทย และมีน้ำเสียงอันเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในผลงานด้านเพลงปลุกใจ, เพลงคลาสสิก และเพลงประกอบภาพยนตร์ ร.ต.สันติ ได้บันทึกแผ่นเสียงเพลงแรกโดยวงดนตรีวายุบุตรคือเพลง "คมแสนคม" ผลงานของ เชาว์ แคล่วคล่อง เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเรื่อง "คมแสนคม" ในปี พ.ศ. 2507 ต่อมามีผลงานอีกมากมายจนได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล - ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2558 cr:New 1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 250 มุมมอง 0 รีวิว
  • อีกหนึ่งข่าวดีของคนไทยและอาหารไทย ที่ล่าสุดนี้ ยูเนสโก ประกาศขึ้นทะเบียน “ต้มยำกุ้ง” เป็นมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ ประจำปี 2567 ต่อจากรายการ โขน นวดไทย โนรา และ สงกรานต์ ในปีที่ผ่านมานางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (รมว.วธ.) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลเพื่อการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ครั้งที่ 19 (The nineteenth session of the Intergovernmental Committee for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage: IGC-ICH) ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ UNESCO เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เวลา 16.10 น. (เวลาท้องถิ่น) ณ นครอซุนซิออน (Asuncion) สาธารณรัฐปารากวัย หรือตรงกับ วันที่ 4 ธันวาคม 2567 เวลาประมาณ 02.10 น. (ประเทศไทย เร็วกว่า 10 ชั่วโมง) มีมติรับรองให้ “ต้มยำกุ้ง” (Tomyum Kung) ขึ้นทะเบียนเป็นรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (Representative List of the Intangible Cultural Heritage of Humanity : RL) ประจำปี 2567 ต่อจากรายการ โขน นวดไทย โนรา และ สงกรานต์ ในปีที่ผ่านมา
    อีกหนึ่งข่าวดีของคนไทยและอาหารไทย ที่ล่าสุดนี้ ยูเนสโก ประกาศขึ้นทะเบียน “ต้มยำกุ้ง” เป็นมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ ประจำปี 2567 ต่อจากรายการ โขน นวดไทย โนรา และ สงกรานต์ ในปีที่ผ่านมานางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (รมว.วธ.) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลเพื่อการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ครั้งที่ 19 (The nineteenth session of the Intergovernmental Committee for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage: IGC-ICH) ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ UNESCO เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เวลา 16.10 น. (เวลาท้องถิ่น) ณ นครอซุนซิออน (Asuncion) สาธารณรัฐปารากวัย หรือตรงกับ วันที่ 4 ธันวาคม 2567 เวลาประมาณ 02.10 น. (ประเทศไทย เร็วกว่า 10 ชั่วโมง) มีมติรับรองให้ “ต้มยำกุ้ง” (Tomyum Kung) ขึ้นทะเบียนเป็นรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (Representative List of the Intangible Cultural Heritage of Humanity : RL) ประจำปี 2567 ต่อจากรายการ โขน นวดไทย โนรา และ สงกรานต์ ในปีที่ผ่านมา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 269 มุมมอง 0 รีวิว
  • เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา
    กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ได้มอบหมายให้ #สภาวัฒนธรรมเขตคลองสาน จัดงานลอยกระทง ประจำปี 2567
    ในชื่องานว่า "ลอยกระทงคลองสาน สำราญใจ"

    โดยมีแนวคิด สืบสานความเป็นไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
    ซึ่งเริ่มจัดงานในพื้นที่สวนสารพัด ถนนเชียงใหม่ เขตคลองสาน ครั้งนี้เป็นครั้งแรก เพื่อให้สมาชิกในชุมชนเขตคลองสานได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกัน สร้างสัมพันธ์ และเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป

    ซึ่งงาน "ลอยกระทงคลองสาน สำราญใจ" ในปีนี้ ได้รับความอนุเคราะห์จากหลายหน่วยงานที่ได้ร่วมกันสนับสนุนให้เกิดงานในครั้งนี้ขึ้น ได้แก่
    สำนักงานเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร ที่ได้นำเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆมาร่วมจัดงาน และดูแลความเรียบร้อยตลอดการจัดงาน
    ร่วมกับ สำนักงานวัดทองธรรมชาติ วรวิหาร ที่อนุเคราะห์พื้นที่บริเวณทางเดินท่าเรือให้เราได้ร่วมกันลอยกระทง
    โรงเรียนวัดทองธรรมชาติ ได้นำนักเรียนตัวน้อยๆ มาร่วมกิจกรรม
    วิทยาลัยสารพัดช่างธนบุรี นำบุคคลากรมาร่วมจัดกิจรรมสาธิตงานฝีมือ และให้คำแนะนำสำหรับผู้ที่สนใจเรียนฝึกอาชีพระยะสั้น เพื่อที่จะนำวิชาความรู้ไปประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้
    โรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม ก็ได้มาร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรม สร้างความคึกครื้นแบบไทยผ่านการแสดงพื้นบ้าน และการแสดงนาฏรศิลป์ โดยเด็กๆนักเรียน ซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ที่จะสืบสานและต่อยอดศิลปะการแสดงพื้นบ้านไทยให้คงอยู่ต่อไป

    และที่สำคัญ คือทุกท่านที่มาร่วมงานในครั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็น #คนคลองสาน #คนพื้นที่บ้านใกล้เรือนเคียง หรือ #คนต่างถิ่นต่างแดน ที่มาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ทุกคนก็มีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้ประเพณีลอยกระทงอันดีงาม ให้คงอยู่ คู่กับเมืองไทยของเราต่อไป

    ซึ่งทาง #สภาวัฒนธรรมเขตคลองสาน โดย #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #กระทรวงวัฒนธรรม มีเป้าหมายในการส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมทางวัฒนธรรม และองค์ความรู้พื้นบ้านที่สืบต่อกันมาของชาวคลองสาน ให้คงอยู่ และเผยแพร่วัฒนธรรมที่ดีงามในแบบชาวคลองสาน ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น
    #ลอยกระทง #คลองสาน #สยามโสภา
    เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ได้มอบหมายให้ #สภาวัฒนธรรมเขตคลองสาน จัดงานลอยกระทง ประจำปี 2567 ในชื่องานว่า "ลอยกระทงคลองสาน สำราญใจ" โดยมีแนวคิด สืบสานความเป็นไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ซึ่งเริ่มจัดงานในพื้นที่สวนสารพัด ถนนเชียงใหม่ เขตคลองสาน ครั้งนี้เป็นครั้งแรก เพื่อให้สมาชิกในชุมชนเขตคลองสานได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกัน สร้างสัมพันธ์ และเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป ซึ่งงาน "ลอยกระทงคลองสาน สำราญใจ" ในปีนี้ ได้รับความอนุเคราะห์จากหลายหน่วยงานที่ได้ร่วมกันสนับสนุนให้เกิดงานในครั้งนี้ขึ้น ได้แก่ สำนักงานเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร ที่ได้นำเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆมาร่วมจัดงาน และดูแลความเรียบร้อยตลอดการจัดงาน ร่วมกับ สำนักงานวัดทองธรรมชาติ วรวิหาร ที่อนุเคราะห์พื้นที่บริเวณทางเดินท่าเรือให้เราได้ร่วมกันลอยกระทง โรงเรียนวัดทองธรรมชาติ ได้นำนักเรียนตัวน้อยๆ มาร่วมกิจกรรม วิทยาลัยสารพัดช่างธนบุรี นำบุคคลากรมาร่วมจัดกิจรรมสาธิตงานฝีมือ และให้คำแนะนำสำหรับผู้ที่สนใจเรียนฝึกอาชีพระยะสั้น เพื่อที่จะนำวิชาความรู้ไปประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ โรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม ก็ได้มาร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรม สร้างความคึกครื้นแบบไทยผ่านการแสดงพื้นบ้าน และการแสดงนาฏรศิลป์ โดยเด็กๆนักเรียน ซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ที่จะสืบสานและต่อยอดศิลปะการแสดงพื้นบ้านไทยให้คงอยู่ต่อไป และที่สำคัญ คือทุกท่านที่มาร่วมงานในครั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็น #คนคลองสาน #คนพื้นที่บ้านใกล้เรือนเคียง หรือ #คนต่างถิ่นต่างแดน ที่มาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ทุกคนก็มีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้ประเพณีลอยกระทงอันดีงาม ให้คงอยู่ คู่กับเมืองไทยของเราต่อไป ซึ่งทาง #สภาวัฒนธรรมเขตคลองสาน โดย #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #กระทรวงวัฒนธรรม มีเป้าหมายในการส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมทางวัฒนธรรม และองค์ความรู้พื้นบ้านที่สืบต่อกันมาของชาวคลองสาน ให้คงอยู่ และเผยแพร่วัฒนธรรมที่ดีงามในแบบชาวคลองสาน ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น #ลอยกระทง #คลองสาน #สยามโสภา
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1159 มุมมอง 8 0 รีวิว
  • "ท่องเที่ยวชุมชนยลวิถี" บ้านฟ้าหยาด ตำบลฟ้าหยาด อำเภอมหาชัยชนะ จังหวัดยโสธร
    ประเพณีที่สำคัญ คือ งานประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก จัดอย่างยิ่งใหญ่หนึ่งเดียวในโลก
    นับเป็นอีกงานประเพณีประจำปี ที่น่าสนใจและมีเอกลักษณ์ ซึ่งกระทรวงวัฒนธรรม ได้ประกาศขึ้นทะเบียน "ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ในเทศกาลวันมาฆบูชา จังหวัดยโสธร" สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำปี พ.ศ. 2558 ประกาศ ณ วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 และในปี พ.ศ. 2566 มีการคัดเลือกงานประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก “มาฆบูชา อารยธรรมอีสาน” เป็น 1 ใน 16 เทศกาลประเพณีเพื่อยกระดับไปสู่ระดับชาติและนานาชาติ

    #สุขนิยามสยามโสภา #สยามโสภา #บ้านฟ้าหยาด #จังหวัดยโสธร #อำเภอมหาชัยชนะ #งานประเพณี #มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ #แห่มาลัยข้าวตอก #ท่องเที่ยวชุมชน
    "ท่องเที่ยวชุมชนยลวิถี" บ้านฟ้าหยาด ตำบลฟ้าหยาด อำเภอมหาชัยชนะ จังหวัดยโสธร ประเพณีที่สำคัญ คือ งานประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก จัดอย่างยิ่งใหญ่หนึ่งเดียวในโลก นับเป็นอีกงานประเพณีประจำปี ที่น่าสนใจและมีเอกลักษณ์ ซึ่งกระทรวงวัฒนธรรม ได้ประกาศขึ้นทะเบียน "ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ในเทศกาลวันมาฆบูชา จังหวัดยโสธร" สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำปี พ.ศ. 2558 ประกาศ ณ วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 และในปี พ.ศ. 2566 มีการคัดเลือกงานประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก “มาฆบูชา อารยธรรมอีสาน” เป็น 1 ใน 16 เทศกาลประเพณีเพื่อยกระดับไปสู่ระดับชาติและนานาชาติ #สุขนิยามสยามโสภา #สยามโสภา #บ้านฟ้าหยาด #จังหวัดยโสธร #อำเภอมหาชัยชนะ #งานประเพณี #มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ #แห่มาลัยข้าวตอก #ท่องเที่ยวชุมชน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 532 มุมมอง 19 0 รีวิว
  • พิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เนื่องในโอกาสครบรอบ 37 ปี ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    โดยมี คุณสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานพิธี
    ทั้งนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ดำเนินการจัดตั้งเมื่อ วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุ่น และเปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2530 ปัจจุบันให้เป็นหน่วยงานในสังกัดสถาบันวัฒนธรรมศึกษา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภายในศูนย์ฯ ประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ เช่น หอประชุมใหญ่และเล็ก โรงละคร ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการภาษา และห้องโสตทัศนูปกรณ์ เป็นต้น ส่วน "หอไทยนิทัศน์" ตั้งอยู่บนชั้น 2 ของอาคารนิทรรศการและการศึกษา นอกจากนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยยังสามารถรองรับการจัดแสดงนิทรรศการ และการแสดงต่าง ๆ ได้อีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นคอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่รองรับการจัดประชุมสัมมนาทั้งระดับชาติ และนานาชาติอีกด้วย

    #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #ครบรอบ #ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #ศรีวัฒนธรรม #สยามโสภา #thaitimes #วัฒนธรรม
    พิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เนื่องในโอกาสครบรอบ 37 ปี ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยมี คุณสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานพิธี ทั้งนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ดำเนินการจัดตั้งเมื่อ วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุ่น และเปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2530 ปัจจุบันให้เป็นหน่วยงานในสังกัดสถาบันวัฒนธรรมศึกษา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภายในศูนย์ฯ ประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ เช่น หอประชุมใหญ่และเล็ก โรงละคร ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการภาษา และห้องโสตทัศนูปกรณ์ เป็นต้น ส่วน "หอไทยนิทัศน์" ตั้งอยู่บนชั้น 2 ของอาคารนิทรรศการและการศึกษา นอกจากนี้ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยยังสามารถรองรับการจัดแสดงนิทรรศการ และการแสดงต่าง ๆ ได้อีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นคอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่รองรับการจัดประชุมสัมมนาทั้งระดับชาติ และนานาชาติอีกด้วย #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #ครบรอบ #ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย #ศรีวัฒนธรรม #สยามโสภา #thaitimes #วัฒนธรรม
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 514 มุมมอง 68 0 รีวิว
  • รมว.วธ. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 22 ปี กระทรวงวัฒนธรรม https://www.pradenrath.com/?p=4048
    รมว.วธ. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 22 ปี กระทรวงวัฒนธรรม https://www.pradenrath.com/?p=4048
    WWW.PRADENRATH.COM
    รมว.วธ. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 22 ปี กระทรวงวัฒนธรรม - หนังสือพิมพ์ประเด็นรัฐ
    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ได้เป็นประธานในพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในโอกาสวันครบรอบ 22 ปี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 0 รีวิว
  • รมว.วธ. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 22 ปี กระทรวงวัฒนธรรม

    วันที่ 3 ตุลาคม 2567 เวลา 07.30 น. นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ได้เป็นประธานในพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในโอกาสวันครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม โดยมี ดร.ยุพา ทวีวัฒนกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของกระทรวงร่วมพิธีบวงสรวงในช่วงเช้าที่ผ่านมา บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความสงบและศรัทธา มีการจัดเตรียมสถานที่และสิ่งของบวงสรวงอย่างเป็นระเบียบ

    ในการเริ่มต้นพิธีในช่วงเช้า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้สักการะพระพุทธสิริวัฒนธรรโมภาส พระสยามเทวาธิราช และศาลตา-ยาย ประจำกระทรวงวัฒนธรรม เพื่อขอพรให้กระทรวงและบุคลากรมีความเจริญก้าวหน้า ปลอดภัย และประสบความสำเร็จในการทำงานเพื่อประโยชน์ของประชาชน ทั้งนี้ การบวงสรวงยังได้รับการประกอบพิธีโดยพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ ประธานพระครูพราหมณ์ เพื่อเสริมสร้างสิริมงคลให้กับกระทรวงวัฒนธรรม และเพื่อระลึกถึงบทบาทที่สำคัญของการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและส่งเสริมค่านิยมที่ดีงามให้คงอยู่สืบไป

    ต่อมาในเวลา 09.20 น. ได้มีพิธีสวดพุทธชัยมงคลคาถา โดยพระสงฆ์จำนวน 10 รูป เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ภายในกระทรวงวัฒนธรรม การสวดพุทธชัยมงคลคาถาเป็นพิธีที่สำคัญและเป็นมงคลในการเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ โดยเฉพาะในวาระพิเศษเช่นนี้ เพื่อให้เกิดความสบายใจและเป็นกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรที่ร่วมกันสร้างสรรค์และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในพิธีทางศาสนายังได้มีการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ล่วงลับอีกด้วย

    นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล และผู้บริหารกระทรวงฯ ได้ร่วมกันทอดผ้าบังสกุล จำนวน 10 ผืน และกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญกุศลให้กับเด็กนักเรียนในจังหวัดอุทัยธานี ที่ประสบอุบัติเหตุจากเหตุการณ์รถบัสทัศนศึกษาที่เกิดเพลิงไหม้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคมที่ผ่านมา การกระทำดังกล่าวเป็นการแสดงถึงความห่วงใยและความเอื้อเฟื้อของกระทรวงวัฒนธรรมต่อประชาชนทั่วไป อีกทั้งยังสะท้อนถึงบทบาทที่กระทรวงต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพชีวิตของประชาชน การทำบุญให้กับเด็กนักเรียนที่เสียชีวิตเป็นการสร้างกำลังใจให้กับครอบครัวและผู้ได้รับผลกระทบ

    หลังจากเสร็จสิ้นพิธีทางศาสนาแล้ว นางสาวสุดาวรรณ และคณะผู้บริหารของกระทรวงวัฒนธรรม ได้ให้การต้อนรับแขกผู้มีเกียรติที่มาร่วมงานในครั้งนี้ ผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ได้เดินทางมาแสดงความยินดีและร่วมเป็นส่วนหนึ่งในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมครั้งที่ 22 ทั้งนี้ การเข้าร่วมพิธีครั้งนี้ไม่เพียงแต่เป็นการเฉลิมฉลองการก่อตั้งกระทรวงเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานราชการและประชาชนที่เข้ามาร่วมงาน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการร่วมมือกันในการส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้กระทรวงวัฒนธรรมสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    การถ่ายรูปร่วมกันและการมอบช่อดอกไม้และของที่ระลึกให้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม นับเป็นอีกหนึ่งช่วงเวลาที่สร้างความประทับใจให้กับผู้ร่วมงาน สื่อถึงความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การแสดงความยินดีต่อการครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมเป็นการยืนยันถึงความสำคัญของงานที่กระทรวงวัฒนธรรมทำเพื่อสังคมและประเทศชาติ โดยมีเป้าหมายในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่และสืบทอดไปสู่คนรุ่นหลัง

    กระทรวงวัฒนธรรมก่อตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาวัฒนธรรมไทยให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและโลก กระทรวงวัฒนธรรมเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในการรักษามรดกทางวัฒนธรรมทั้งที่เป็นวัตถุและไม่เป็นวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ รวมถึงการส่งเสริมงานศิลปะและการแสดงต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอกลักษณ์ไทย นอกจากนี้ กระทรวงยังทำหน้าที่ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การประกวด การอบรม และการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม

    ตลอดระยะเวลา 22 ปีที่ผ่านมา กระทรวงวัฒนธรรมได้สร้างผลงานที่โดดเด่นและเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายในการสร้างสังคมที่มีความสมานฉันท์และภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง ทั้งนี้ กระทรวงได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมค่านิยมที่ดีในสังคมไทย เช่น การเคารพผู้ใหญ่ การช่วยเหลือกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างสังคมที่เข้มแข็งและยั่งยืน

    ในช่วงเวลาปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว กระทรวงวัฒนธรรมยังมีบทบาทในการนำวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโลกยุคใหม่ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแพร่วัฒนธรรมและการสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมระหว่างประเทศถือเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงได้มีการจัดทำเนื้อหาด้านวัฒนธรรมในรูปแบบดิจิทัล เช่น การสร้างพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ การจัดทำฐานข้อมูลวัฒนธรรม และการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อเผยแพร่ความรู้และกิจกรรมด้านวัฒนธรรม

    กระทรวงวัฒนธรรมมีการดำเนินกิจกรรมและโครงการที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาวัฒนธรรมไทย กิจกรรมที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์โบราณสถานทั่วประเทศ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การสนับสนุนศิลปินพื้นบ้านและศิลปินแห่งชาติ รวมถึงการจัดงานเทศกาลทางวัฒนธรรมต่างๆ ที่มีเป้าหมายในการส่งเสริมความเข้าใจและความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย

    อีกทั้งกระทรวงยังมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนธรรมในกลุ่มเยาวชน โดยการนำวัฒนธรรมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้และเข้าใจถึงรากฐาน

    ภาพ/ข่าว​ โย​ ประเด็นรัฐ
    รมว.วธ. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 22 ปี กระทรวงวัฒนธรรม วันที่ 3 ตุลาคม 2567 เวลา 07.30 น. นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ได้เป็นประธานในพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในโอกาสวันครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม โดยมี ดร.ยุพา ทวีวัฒนกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของกระทรวงร่วมพิธีบวงสรวงในช่วงเช้าที่ผ่านมา บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความสงบและศรัทธา มีการจัดเตรียมสถานที่และสิ่งของบวงสรวงอย่างเป็นระเบียบ ในการเริ่มต้นพิธีในช่วงเช้า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้สักการะพระพุทธสิริวัฒนธรรโมภาส พระสยามเทวาธิราช และศาลตา-ยาย ประจำกระทรวงวัฒนธรรม เพื่อขอพรให้กระทรวงและบุคลากรมีความเจริญก้าวหน้า ปลอดภัย และประสบความสำเร็จในการทำงานเพื่อประโยชน์ของประชาชน ทั้งนี้ การบวงสรวงยังได้รับการประกอบพิธีโดยพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ ประธานพระครูพราหมณ์ เพื่อเสริมสร้างสิริมงคลให้กับกระทรวงวัฒนธรรม และเพื่อระลึกถึงบทบาทที่สำคัญของการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและส่งเสริมค่านิยมที่ดีงามให้คงอยู่สืบไป ต่อมาในเวลา 09.20 น. ได้มีพิธีสวดพุทธชัยมงคลคาถา โดยพระสงฆ์จำนวน 10 รูป เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ภายในกระทรวงวัฒนธรรม การสวดพุทธชัยมงคลคาถาเป็นพิธีที่สำคัญและเป็นมงคลในการเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ โดยเฉพาะในวาระพิเศษเช่นนี้ เพื่อให้เกิดความสบายใจและเป็นกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรที่ร่วมกันสร้างสรรค์และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในพิธีทางศาสนายังได้มีการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ล่วงลับอีกด้วย นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล และผู้บริหารกระทรวงฯ ได้ร่วมกันทอดผ้าบังสกุล จำนวน 10 ผืน และกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญกุศลให้กับเด็กนักเรียนในจังหวัดอุทัยธานี ที่ประสบอุบัติเหตุจากเหตุการณ์รถบัสทัศนศึกษาที่เกิดเพลิงไหม้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคมที่ผ่านมา การกระทำดังกล่าวเป็นการแสดงถึงความห่วงใยและความเอื้อเฟื้อของกระทรวงวัฒนธรรมต่อประชาชนทั่วไป อีกทั้งยังสะท้อนถึงบทบาทที่กระทรวงต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพชีวิตของประชาชน การทำบุญให้กับเด็กนักเรียนที่เสียชีวิตเป็นการสร้างกำลังใจให้กับครอบครัวและผู้ได้รับผลกระทบ หลังจากเสร็จสิ้นพิธีทางศาสนาแล้ว นางสาวสุดาวรรณ และคณะผู้บริหารของกระทรวงวัฒนธรรม ได้ให้การต้อนรับแขกผู้มีเกียรติที่มาร่วมงานในครั้งนี้ ผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ได้เดินทางมาแสดงความยินดีและร่วมเป็นส่วนหนึ่งในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมครั้งที่ 22 ทั้งนี้ การเข้าร่วมพิธีครั้งนี้ไม่เพียงแต่เป็นการเฉลิมฉลองการก่อตั้งกระทรวงเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานราชการและประชาชนที่เข้ามาร่วมงาน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการร่วมมือกันในการส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้กระทรวงวัฒนธรรมสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การถ่ายรูปร่วมกันและการมอบช่อดอกไม้และของที่ระลึกให้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม นับเป็นอีกหนึ่งช่วงเวลาที่สร้างความประทับใจให้กับผู้ร่วมงาน สื่อถึงความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การแสดงความยินดีต่อการครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมเป็นการยืนยันถึงความสำคัญของงานที่กระทรวงวัฒนธรรมทำเพื่อสังคมและประเทศชาติ โดยมีเป้าหมายในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่และสืบทอดไปสู่คนรุ่นหลัง กระทรวงวัฒนธรรมก่อตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาวัฒนธรรมไทยให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและโลก กระทรวงวัฒนธรรมเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในการรักษามรดกทางวัฒนธรรมทั้งที่เป็นวัตถุและไม่เป็นวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ รวมถึงการส่งเสริมงานศิลปะและการแสดงต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอกลักษณ์ไทย นอกจากนี้ กระทรวงยังทำหน้าที่ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การประกวด การอบรม และการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ตลอดระยะเวลา 22 ปีที่ผ่านมา กระทรวงวัฒนธรรมได้สร้างผลงานที่โดดเด่นและเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายในการสร้างสังคมที่มีความสมานฉันท์และภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง ทั้งนี้ กระทรวงได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมค่านิยมที่ดีในสังคมไทย เช่น การเคารพผู้ใหญ่ การช่วยเหลือกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างสังคมที่เข้มแข็งและยั่งยืน ในช่วงเวลาปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว กระทรวงวัฒนธรรมยังมีบทบาทในการนำวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโลกยุคใหม่ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแพร่วัฒนธรรมและการสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมระหว่างประเทศถือเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงได้มีการจัดทำเนื้อหาด้านวัฒนธรรมในรูปแบบดิจิทัล เช่น การสร้างพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ การจัดทำฐานข้อมูลวัฒนธรรม และการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อเผยแพร่ความรู้และกิจกรรมด้านวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมมีการดำเนินกิจกรรมและโครงการที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาวัฒนธรรมไทย กิจกรรมที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์โบราณสถานทั่วประเทศ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การสนับสนุนศิลปินพื้นบ้านและศิลปินแห่งชาติ รวมถึงการจัดงานเทศกาลทางวัฒนธรรมต่างๆ ที่มีเป้าหมายในการส่งเสริมความเข้าใจและความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย อีกทั้งกระทรวงยังมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนธรรมในกลุ่มเยาวชน โดยการนำวัฒนธรรมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้และเข้าใจถึงรากฐาน ภาพ/ข่าว​ โย​ ประเด็นรัฐ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 542 มุมมอง 0 รีวิว
  • งานวันคล้ายวันสถาปนา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ปีที่ ๑๔

    กรมส่งเสริมวัฒนธรรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นองค์กรส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนมีค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความภาคภูมิใจ และสืบทอดวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ของตนเองและชุมชน สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการพัฒนาที่ยั่งยืน

    วิสัยทัศน์
    "เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เพื่อนำพาสังคมไทยไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”

    พันธกิจ
    - เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
    - ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนไทยมีความภาคภูมิใจในค่านิยมและวัฒนธรรมความเป็นไทย
    - ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มคุณค่าและมูลค่าทุนทางวัฒนธรรม
    - ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทางวัฒนธรรมทุกภาคส่วนให้มีความเข้มแข็ง
    - ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์เพื่อการให้บริการประชาชน
    - ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมให้มีศักยภาพ
    - สงวนรักษา พัฒนาต่อยอด และเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไทยสู่ระดับนานาชาติ
    - ยกย่องเชิดชูเกียรติ และสนับสนุนการดำเนินงานของศิลปินแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม และศิลปินพื้นบ้าน
    - ส่งเสริมและพัฒนางานภาพยนตร์และวีดิทัศน์ให้มีความทันสมัยและเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย

    #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #สภาวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร #วัฒนธรรม #thaitimes #thaitimesวัฒนธรรม
    งานวันคล้ายวันสถาปนา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ปีที่ ๑๔ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นองค์กรส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนมีค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความภาคภูมิใจ และสืบทอดวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ของตนเองและชุมชน สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการพัฒนาที่ยั่งยืน วิสัยทัศน์ "เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เพื่อนำพาสังคมไทยไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” พันธกิจ - เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนไทยมีความภาคภูมิใจในค่านิยมและวัฒนธรรมความเป็นไทย - ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มคุณค่าและมูลค่าทุนทางวัฒนธรรม - ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทางวัฒนธรรมทุกภาคส่วนให้มีความเข้มแข็ง - ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์เพื่อการให้บริการประชาชน - ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมให้มีศักยภาพ - สงวนรักษา พัฒนาต่อยอด และเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไทยสู่ระดับนานาชาติ - ยกย่องเชิดชูเกียรติ และสนับสนุนการดำเนินงานของศิลปินแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม และศิลปินพื้นบ้าน - ส่งเสริมและพัฒนางานภาพยนตร์และวีดิทัศน์ให้มีความทันสมัยและเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย #กรมส่งเสริมวัฒนธรรม #สภาวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร #วัฒนธรรม #thaitimes #thaitimesวัฒนธรรม
    Like
    Love
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 773 มุมมอง 159 0 รีวิว
  • เหล้าเก่าในขวดใหม่ ฝรั่งเศสได้คณะรัฐบาลชุดใหม่ที่เป็นรัฐมนตรีหน้าเดิมของมาครงเป็นแกนหลักครองอำนาจต่อไป

    22 กันยายน 2567-รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า ฝรั่งเศสได้รัฐบาลชุดใหม่แล้ว หลังจากยืดเยื้อมานานตั้งแต่การเลือกตั้งที่ไม่มีผู้ชนะเด็ดขาด หลังจากประธานาธิบดีมาครงได้ประกาศยุบสมัชชาแห่งชาติ (Assemblée nationale) หรือสภาผู้แทนราษฎรของฝรั่งเศส และประกาศให้มีการเลือกตั้งใหม่ชนิดที่ไม่ทันตั้งตัว (snap election) ในวันที่ 30 มิถุนายน 2024 และวันที่ 7 กรกฎาคม 2024

    โดยคณะรัฐบาลชุดใหม่ส่วนใหญ่เป็นรัฐมนตรีหน้าเดิมที่ทำงานให้กับมาครงเป็นแกนหลัก ขณะที่ผู้ประท้วงฝ่ายซ้ายออกมาเดินขบวนบนท้องถนนเพื่อประณามสิ่งที่พวกเขากล่าวว่าเป็นการปฏิเสธผลการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคม ที่ต้องไม่มีมาครง

    สำหรับคณะรัฐบาลใหม่ที่นำโดย มีแชล บาร์นีเย อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศวัย 73 ปี เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆอีก 19 คน อันได้แก่

    -รัฐมนตรีต่างประเทศ : ฌอง-โนเอล บาร์โรต์ พันธมิตรของมาครงมายาวนานและรัฐมนตรีกระทรวงยุโรปในรัฐบาลชุดก่อน
    - รัฐมนตรีกระทรวงยุโรป: เบนจามิน ฮัดดาด อดีตโฆษกพรรคของมาครง
    - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ: แอนน์ เจเนเตต์ อดีตวุฒิสมาชิกพรรคของมาครง (เธอใช้ชีวิตทางการเมืองทั้งหมดอยู่ฝ่ายของมาครง)
    - รัฐมนตรีกลาโหม: เซบาสเตียน เลอกอร์นู ไม่เปลี่ยนแปลงตำแหน่ง เขาเคยเป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาลชุดก่อน...
    -รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: อักเนส ปานเนียร์-รูนาเชร์ เธอเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรในรัฐบาลชุดก่อน
    - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม: ราชิดา ดาติ เหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เธอเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมในรัฐบาลชุดก่อน
    - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและเศรษฐกิจ: อองตวน อาร์ม็อง พันธมิตรเก่าแก่ของมาครงอีกคนหนึ่ง เขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าคณะกรรมการคัดเลือกผู้สมัครของมาครงในช่วงหาเสียงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี 2022
    - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม: มาร์ก เฟอร์ราซี นี่อาจเป็นเรื่องที่น่าตกตะลึงที่สุด เพราะเขาคือเพื่อนเจ้าบ่าวของมาครงในงานแต่งงานของเขา
    - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงราชการ: กีโยม คาสบาเรียน เขาเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงที่อยู่อาศัยในรัฐบาลชุดก่อน
    - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงงบประมาณ: Laurent Saint-Martin พันธมิตรอีกคนหนึ่งของ Macron ซึ่งเคยเป็นหัวหน้าหน่วยงาน "Business France" ในรัฐบาลก่อน
    - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยว: มาริน่า เฟอร์รารี เธอเป็นรัฐมนตรีกระทรวงดิจิทัลในรัฐบาลชุดก่อน
    - โฆษกของรัฐบาล: Maud Bregeon เธอเป็น ส.ส. จากพรรคของ Macron ก่อนที่จะได้รับการแต่งตั้ง

    อย่างไรก็ตาม รัฐบาลมีรัฐมนตรีที่ไม่ใช่คนของมาครงอยู่บ้าง เช่น บรูโน รีเทลโล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แต่ส่วนใหญ่มาจากพรรค Les Républicains ของนายกรัฐมนตรีบาร์นิเยร์ ซึ่งได้คะแนนเสียงเพียง 5% ในการเลือกตั้ง ดังนั้น พวกเขาจึงยิ่งมีความชอบธรรมน้อยลงไปอีก

    "นี่เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสาธารณรัฐของเราที่มีรัฐบาลที่ไม่มีความชอบธรรมทางประชาธิปไตยเลย"อดีตเจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสกล่าว
    #Thaitimes
    เหล้าเก่าในขวดใหม่ ฝรั่งเศสได้คณะรัฐบาลชุดใหม่ที่เป็นรัฐมนตรีหน้าเดิมของมาครงเป็นแกนหลักครองอำนาจต่อไป 22 กันยายน 2567-รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า ฝรั่งเศสได้รัฐบาลชุดใหม่แล้ว หลังจากยืดเยื้อมานานตั้งแต่การเลือกตั้งที่ไม่มีผู้ชนะเด็ดขาด หลังจากประธานาธิบดีมาครงได้ประกาศยุบสมัชชาแห่งชาติ (Assemblée nationale) หรือสภาผู้แทนราษฎรของฝรั่งเศส และประกาศให้มีการเลือกตั้งใหม่ชนิดที่ไม่ทันตั้งตัว (snap election) ในวันที่ 30 มิถุนายน 2024 และวันที่ 7 กรกฎาคม 2024 โดยคณะรัฐบาลชุดใหม่ส่วนใหญ่เป็นรัฐมนตรีหน้าเดิมที่ทำงานให้กับมาครงเป็นแกนหลัก ขณะที่ผู้ประท้วงฝ่ายซ้ายออกมาเดินขบวนบนท้องถนนเพื่อประณามสิ่งที่พวกเขากล่าวว่าเป็นการปฏิเสธผลการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคม ที่ต้องไม่มีมาครง สำหรับคณะรัฐบาลใหม่ที่นำโดย มีแชล บาร์นีเย อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศวัย 73 ปี เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆอีก 19 คน อันได้แก่ -รัฐมนตรีต่างประเทศ : ฌอง-โนเอล บาร์โรต์ พันธมิตรของมาครงมายาวนานและรัฐมนตรีกระทรวงยุโรปในรัฐบาลชุดก่อน - รัฐมนตรีกระทรวงยุโรป: เบนจามิน ฮัดดาด อดีตโฆษกพรรคของมาครง - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ: แอนน์ เจเนเตต์ อดีตวุฒิสมาชิกพรรคของมาครง (เธอใช้ชีวิตทางการเมืองทั้งหมดอยู่ฝ่ายของมาครง) - รัฐมนตรีกลาโหม: เซบาสเตียน เลอกอร์นู ไม่เปลี่ยนแปลงตำแหน่ง เขาเคยเป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาลชุดก่อน... -รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: อักเนส ปานเนียร์-รูนาเชร์ เธอเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรในรัฐบาลชุดก่อน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม: ราชิดา ดาติ เหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เธอเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมในรัฐบาลชุดก่อน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและเศรษฐกิจ: อองตวน อาร์ม็อง พันธมิตรเก่าแก่ของมาครงอีกคนหนึ่ง เขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าคณะกรรมการคัดเลือกผู้สมัครของมาครงในช่วงหาเสียงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี 2022 - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม: มาร์ก เฟอร์ราซี นี่อาจเป็นเรื่องที่น่าตกตะลึงที่สุด เพราะเขาคือเพื่อนเจ้าบ่าวของมาครงในงานแต่งงานของเขา - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงราชการ: กีโยม คาสบาเรียน เขาเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงที่อยู่อาศัยในรัฐบาลชุดก่อน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงงบประมาณ: Laurent Saint-Martin พันธมิตรอีกคนหนึ่งของ Macron ซึ่งเคยเป็นหัวหน้าหน่วยงาน "Business France" ในรัฐบาลก่อน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยว: มาริน่า เฟอร์รารี เธอเป็นรัฐมนตรีกระทรวงดิจิทัลในรัฐบาลชุดก่อน - โฆษกของรัฐบาล: Maud Bregeon เธอเป็น ส.ส. จากพรรคของ Macron ก่อนที่จะได้รับการแต่งตั้ง อย่างไรก็ตาม รัฐบาลมีรัฐมนตรีที่ไม่ใช่คนของมาครงอยู่บ้าง เช่น บรูโน รีเทลโล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แต่ส่วนใหญ่มาจากพรรค Les Républicains ของนายกรัฐมนตรีบาร์นิเยร์ ซึ่งได้คะแนนเสียงเพียง 5% ในการเลือกตั้ง ดังนั้น พวกเขาจึงยิ่งมีความชอบธรรมน้อยลงไปอีก "นี่เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสาธารณรัฐของเราที่มีรัฐบาลที่ไม่มีความชอบธรรมทางประชาธิปไตยเลย"อดีตเจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสกล่าว #Thaitimes
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 920 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กางเขนแดงหัวใจขาว"
    ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล
    ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม
    ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก
    - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    - โรงพยาบาลยันฮี
    - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
    .
    "กางเขนแดงหัวใจขาว" ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - โรงพยาบาลยันฮี - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1078 มุมมอง 126 0 รีวิว
  • "ศิลปาชีพ"
    ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล
    ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์
    ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร
    ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ศิลปาชีพ" ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์ ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1013 มุมมอง 138 0 รีวิว
  • "กายเราคือเสาหลัก"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี
    ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "กายเราคือเสาหลัก" ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 980 มุมมอง 119 0 รีวิว
  • "คนโขน"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย
    ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่
    ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "คนโขน" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 972 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ภาพพันปี"
    ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม
    ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล
    ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ
    ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "ภาพพันปี" ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 999 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ
    ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า
    .
    ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย..
    .
    คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า)
    น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ)
    น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง)
    ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ)
    น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่)
    คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่
    เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง
    โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย
    ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่
    คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า
    ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา
    .
    "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า . ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย.. . คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า) น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ) น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง) ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ) น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่) คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่ เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่ คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1144 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "โพธิ์ทองของปวงไทย"
    ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์)
    ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย
    ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้
    ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej
    และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ
    .
    "โพธิ์ทองของปวงไทย" ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์) ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้ ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ .
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1014 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ"
    ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช
    ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1016 มุมมอง 80 0 รีวิว
  • "สุดหัวใจ"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล,
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล,
    ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "สุดหัวใจ" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล, เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล, ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 923 มุมมอง 81 0 รีวิว
  • "เพลงไหมแพรวา"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ,
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช
    ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน
    ปรัชญา นันธะชัย : แคน
    ==========================
    .
    ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "เพลงไหมแพรวา" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ, เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน ปรัชญา นันธะชัย : แคน ========================== . ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 930 มุมมอง 58 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1389 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1281 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ก่อแก้ว พิกุลทอง”อดีตแกนนำ นปช. ได้เลื่อนขึ้นมาป็น สส. บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย หลังจาก“สุดาวรรณ” ยื่นขอลาออกจาก สส.ปาร์ตี้ลิสต์มุ่งทำงานเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมอย่างเดียว

    3 สิงหาคม 2567-เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง

    ตามที่ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลงวันที่ 19 มิ.ย.ประกาศให้ น.ส.สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล ผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทย ลำดับที่ 21 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นั้น บัดนี้ น.ส.สุดาวรรณ ได้มีหนังสือขอลาออกจากการเป็น สส.ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค. เป็นเหตุให้สมาชิกภาพของ น.ส.สุดาวรรณ สิ้นสุดลง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 105 (2) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงประกาศให้ผู้มีชื่อในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทยลำดับที่ 36 เลื่อนขึ้นมาเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทน คือ นายก่อแก้ว พิกุลทอง ประกาศ ณ วันที่ 1 ส.ค. ลงนามโดย นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาฯ

    สำหรับ น.ส.สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ต้องลาออกจากการเป็นสส.บัญชีรายชื่อให้นายก่อแก้ว ที่ได้เลื่อนเป็นสส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย นายก่อแก้วเคยมีบทบาทเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และอดีตรักษาการผู้อำนวยการองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ. )

    #Thaitimes
    “ก่อแก้ว พิกุลทอง”อดีตแกนนำ นปช. ได้เลื่อนขึ้นมาป็น สส. บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย หลังจาก“สุดาวรรณ” ยื่นขอลาออกจาก สส.ปาร์ตี้ลิสต์มุ่งทำงานเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมอย่างเดียว 3 สิงหาคม 2567-เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ตามที่ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลงวันที่ 19 มิ.ย.ประกาศให้ น.ส.สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล ผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทย ลำดับที่ 21 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นั้น บัดนี้ น.ส.สุดาวรรณ ได้มีหนังสือขอลาออกจากการเป็น สส.ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค. เป็นเหตุให้สมาชิกภาพของ น.ส.สุดาวรรณ สิ้นสุดลง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 105 (2) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงประกาศให้ผู้มีชื่อในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทยลำดับที่ 36 เลื่อนขึ้นมาเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทน คือ นายก่อแก้ว พิกุลทอง ประกาศ ณ วันที่ 1 ส.ค. ลงนามโดย นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาฯ สำหรับ น.ส.สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ต้องลาออกจากการเป็นสส.บัญชีรายชื่อให้นายก่อแก้ว ที่ได้เลื่อนเป็นสส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย นายก่อแก้วเคยมีบทบาทเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และอดีตรักษาการผู้อำนวยการองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ. ) #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 493 มุมมอง 0 รีวิว