• ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร

    แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก

    สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท

    มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ

    ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข

    กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน

    ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน

    #Newskit
    ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • “พิชัย”สั่งการคณะทำงานปราบปรามสินค้าและธุรกิจต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ที่มี “ร.ต.จักรา” ลงพื้นที่ตรวจสอบบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด หลังมีข้อสงสัยเป็นนอมินี เผยผลตรวจสอบ สำนักงานปิด ไม่มีเจ้าหน้าที่ ติดต่อทางโทรศัพท์ไม่ได้ ทั้งเบอร์พื้นฐาน เบอร์มือถือ เตรียมลุยตรวจสอบบริษัทอื่นอีก 13 บริษัท ที่มีที่ตั้งที่เดียวกัน และมีกรรมการและผู้ถือหุ้นคนเดียวกันต่อไป

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030709
    “พิชัย”สั่งการคณะทำงานปราบปรามสินค้าและธุรกิจต่างประเทศที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ที่มี “ร.ต.จักรา” ลงพื้นที่ตรวจสอบบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด หลังมีข้อสงสัยเป็นนอมินี เผยผลตรวจสอบ สำนักงานปิด ไม่มีเจ้าหน้าที่ ติดต่อทางโทรศัพท์ไม่ได้ ทั้งเบอร์พื้นฐาน เบอร์มือถือ เตรียมลุยตรวจสอบบริษัทอื่นอีก 13 บริษัท ที่มีที่ตั้งที่เดียวกัน และมีกรรมการและผู้ถือหุ้นคนเดียวกันต่อไป อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030709
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 92 มุมมอง 0 รีวิว
  • อิตาเลียนไทย แจ้งตลาดหลักทรัพย์ แสดงความเสียใจต่อผู้สูญเสียจากเหตุตึก สตง.ถล่ม พร้อมให้ความช่วยเหลือ และชดเชยเยียวยาครอบครัวผู้เสียชีวิต-บาดเจ็บ มั่นใจไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการก่อสร้างอื่นๆ ของบริษัท

    วันนี้ ( 31 มี.ค.) บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) หรือ ITD ส่งเอกสารชี้แจงถึงกรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ลงวันที่ 31 มีนาคม 2568 ความว่า สืบเนื่องจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว เมื่อวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา เป็นเหตุทำให้โครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างดำเนินงานก่อสร้างถล่มเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ผู้สูญหาย และผู้บาดเจ็บ

    บริษัทฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในกิจการร่วมค้า ไอที่ดี-ซีอาร์อีซี ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวผู้สูญเสีย ผู้เสียชีวิต และผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ดังกล่าว

    บริษัทได้ดำเนินการจัดทีมวิศวกร เครื่องจักรกลต่างๆ ร่วมสนับสนุนกับหน่วยงานราชการในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเต็มกำลังความสามารถ พร้อมที่จะให้การสนับสนุนกับทุกภาคส่วน จะดำเนินการแก้ไขในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้สถานการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติโดยเร็ว และจะเร่งให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในการชดเชยเยียวยาให้กับครอบครัวผู้เสียชีวิตและการรักษาพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บต่อไป

    ในการนี้ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) มั่นใจว่าเหตุการณ์นี้จะไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการก่อสร้างโครงการอื่นๆ ของบริษัท หากมีความคืบหน้าบริษัทจะเรียนชี้แจงให้ทราบเป็นระยะต่อไป

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000030527

    #MGROnline #อิตาเลียนไทย #ตลาดหลักทรัพย์ #สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน #สตง.#แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    อิตาเลียนไทย แจ้งตลาดหลักทรัพย์ แสดงความเสียใจต่อผู้สูญเสียจากเหตุตึก สตง.ถล่ม พร้อมให้ความช่วยเหลือ และชดเชยเยียวยาครอบครัวผู้เสียชีวิต-บาดเจ็บ มั่นใจไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการก่อสร้างอื่นๆ ของบริษัท • วันนี้ ( 31 มี.ค.) บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) หรือ ITD ส่งเอกสารชี้แจงถึงกรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ลงวันที่ 31 มีนาคม 2568 ความว่า สืบเนื่องจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว เมื่อวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา เป็นเหตุทำให้โครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างดำเนินงานก่อสร้างถล่มเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ผู้สูญหาย และผู้บาดเจ็บ • บริษัทฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในกิจการร่วมค้า ไอที่ดี-ซีอาร์อีซี ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวผู้สูญเสีย ผู้เสียชีวิต และผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ดังกล่าว • บริษัทได้ดำเนินการจัดทีมวิศวกร เครื่องจักรกลต่างๆ ร่วมสนับสนุนกับหน่วยงานราชการในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเต็มกำลังความสามารถ พร้อมที่จะให้การสนับสนุนกับทุกภาคส่วน จะดำเนินการแก้ไขในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้สถานการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติโดยเร็ว และจะเร่งให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในการชดเชยเยียวยาให้กับครอบครัวผู้เสียชีวิตและการรักษาพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บต่อไป • ในการนี้ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) มั่นใจว่าเหตุการณ์นี้จะไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการก่อสร้างโครงการอื่นๆ ของบริษัท หากมีความคืบหน้าบริษัทจะเรียนชี้แจงให้ทราบเป็นระยะต่อไป • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000030527 • #MGROnline #อิตาเลียนไทย #ตลาดหลักทรัพย์ #สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน #สตง.#แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 100 มุมมอง 0 รีวิว
  • สอบคดีฮั้ว ส.ว. วางสูตรพีรามิด ไล่เส้นเงิน 1 ด.ถึงวันเลือก
    .
    กระบวนการตรวจสอบการเลือกส.ว.ในมือของกรมสอบสวนคดีพิเศษยังเป็นไปอย่างเข้มข้น ภายหลังคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. มีมติแต่งตั้งข้าราชการจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นเจ้าพนักงานตามมาตรา 42 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยกกต. เพื่อเดินหน้าตรวจสอบกรณีนี้อย่างเต็มที่

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030446
    สอบคดีฮั้ว ส.ว. วางสูตรพีรามิด ไล่เส้นเงิน 1 ด.ถึงวันเลือก . กระบวนการตรวจสอบการเลือกส.ว.ในมือของกรมสอบสวนคดีพิเศษยังเป็นไปอย่างเข้มข้น ภายหลังคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. มีมติแต่งตั้งข้าราชการจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นเจ้าพนักงานตามมาตรา 42 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยกกต. เพื่อเดินหน้าตรวจสอบกรณีนี้อย่างเต็มที่ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030446
    Like
    Haha
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 286 มุมมอง 0 รีวิว
  • กรรมการ กสทช.โพสต์อ้างตอนแผ่นดินไหวทำอะไรไม่ได้ เพราะมีหนังสือฯ สั่งการ หากกรรมการ กสทช.จะให้สำนักงานฯ ดำเนินการใดๆ ต้องให้ประธานฯ มอบหมายก่อน เจอชาวเน็ตด่ายับ หนึ่งในปมด่าคือ SMS แจ้งเตือนภัยพิบัติล่าช้า

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030330
    กรรมการ กสทช.โพสต์อ้างตอนแผ่นดินไหวทำอะไรไม่ได้ เพราะมีหนังสือฯ สั่งการ หากกรรมการ กสทช.จะให้สำนักงานฯ ดำเนินการใดๆ ต้องให้ประธานฯ มอบหมายก่อน เจอชาวเน็ตด่ายับ หนึ่งในปมด่าคือ SMS แจ้งเตือนภัยพิบัติล่าช้า อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030330
    Like
    Haha
    3
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 443 มุมมอง 0 รีวิว
  • แถลงปิดโครงการแจกยาฟ้าทะลายโจร แต่ยังคงความเป็น“สนธิ ฟ้าทะลายโจร”อยู่
    .
    ผมพูดเมื่อวันพุธที่ผ่านมา ในรายการ "สนธิเล่าเรื่อง" ว่าขออนุญาตทุกท่านที่บริจาคช่วยเรื่องฟ้าทะลายโจร นำเงินที่เหลือจากที่ท่านผู้ชมบริจาคมาเพื่อซื้อฟ้าทะลายโจรเพื่อแจกพี่น้องในช่วงโรคระบาด ตอนนี้ยังมีเงินเหลืออยู่ ก็เลยจะขอนำเงินนี้มาใช้ในบัญชีของ "มูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดิน" โดยอาจารย์ปานเทพ เป็นประธาน เราสามารถเอาเงินก้อนนี้เอาไปใช้ช่วยเหลือคนที่เดือดร้อน เช่น ใช้จ่ายเพื่อดำรงความยุติธรรม จ้างทนายบ้าง ส่งคนไปค้นคว้าวิจัยในเรื่องต่างๆ บ้าง แล้วเราจะมีเว็บไซต์หรือเพจของมูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดินโดยเฉพาะ เราจะเอาเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมมาลง แล้วจะคอยติดตามความเคลื่อนไหว ติดตามเรื่องที่เกิดขึ้น
    .
    วันนี้ผมขอแถลงตัวเลขทั้งหมดเพื่อปิดโครงการฟ้าทะลายโจร ดังนี้ (อันนี้เป็นหลักฐานนะครับ) โครงการสนับสนุนการใช้ฟ้าทะลายโจรเพื่อช่วยเหลือประชาชน ระหว่างวันที่ 2 กรกฎาคม 2564 ถึง วันที่ 25 มีนาคม 2568 ประมาณสี่ปี ทั้งหมดรวมแล้ว เงินบริจาค 82,928,274.51 บาท เราใช้อะไรบ้าง ? เราใช้ค่าใช้จ่ายในการซื้อฟ้าทะลายโจรทั้งหมด 54,329,300 เม็ด เป็นจำนวนเงิน 69,616,569 บาท ยังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีก 12,522,904.01 บาท เช่น เราซื้อเครื่องให้อากาศผสมออกซิเจน 20 เครื่อง 4 ล้านบาท สมัยนั้นจะมีคนหายใจไม่ออก ต้องใช้เครื่องให้อากาศผสมออกซิเจน ซึ่งหายากมากตอนนั้น เรากว้านซื้อมาได้แค่ 20 เครื่อง เรามี Rapid Antigen Test เครื่องตรวจสอบว่าติดโควิดหรือไม่ 14,000 ชิ้น 4,410,000 บาท แล้วเรายังซื้อขิงผงอีก 575,000 ซอง เป็นเงิน 1,725,000 บาท นอกจากนี้แล้ว ยังมีชุด PPE สำหรับคนที่อยู่แนวหน้าในการทำงานกับคนติดโรคอีก 300 ชุด 160,500 บาท ค่าจัดส่งทั้งหมด 857,387 บาท รวมค่าใช้จ่ายแล้ว 82,139,473.01 บาท เงินคงเหลือปัจจุบัน 788,801.50 บาท ซึ่งเงินก้อนนี้จะโอนไปที่คณะกรรมการมูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดิน เพื่อเอาไปทำประโยชน์ให้กับประชาชนในเรื่องการดำรงความยุติธรรม อย่างที่ได้เรียนให้ทราบแล้ว
    .
    ท่านผู้ชมครับ เงินบริจาคของท่านผู้ชมทุกบาททุกสตางค์ที่เข้ามาที่นี่ ท่านผู้ชมสบายใจได้ เรามีรายละเอียด และเรามั่นใจ นี่ไม่ได้คุยนะครับ เราน่าจะเป็นเจ้าเดียวที่ตีแผ่ค่าใช้จ่ายของเราอย่างละเอียดเลย ไม่เชื่อท่านผู้ชมไปดูสิ เงินบริจาคไปหน่วยงานอื่นๆ หรือองค์กรอื่นๆ นั้น ไม่เคยมีใครออกมาแสดงรายละเอียดแบบนี้ ท่านผู้ชม ความจริงมีหนึ่งเดียว ความซื่อสัตย์มีหนึ่งเดียว อยู่ที่นี่ครับ

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    แถลงปิดโครงการแจกยาฟ้าทะลายโจร แต่ยังคงความเป็น“สนธิ ฟ้าทะลายโจร”อยู่ . ผมพูดเมื่อวันพุธที่ผ่านมา ในรายการ "สนธิเล่าเรื่อง" ว่าขออนุญาตทุกท่านที่บริจาคช่วยเรื่องฟ้าทะลายโจร นำเงินที่เหลือจากที่ท่านผู้ชมบริจาคมาเพื่อซื้อฟ้าทะลายโจรเพื่อแจกพี่น้องในช่วงโรคระบาด ตอนนี้ยังมีเงินเหลืออยู่ ก็เลยจะขอนำเงินนี้มาใช้ในบัญชีของ "มูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดิน" โดยอาจารย์ปานเทพ เป็นประธาน เราสามารถเอาเงินก้อนนี้เอาไปใช้ช่วยเหลือคนที่เดือดร้อน เช่น ใช้จ่ายเพื่อดำรงความยุติธรรม จ้างทนายบ้าง ส่งคนไปค้นคว้าวิจัยในเรื่องต่างๆ บ้าง แล้วเราจะมีเว็บไซต์หรือเพจของมูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดินโดยเฉพาะ เราจะเอาเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมมาลง แล้วจะคอยติดตามความเคลื่อนไหว ติดตามเรื่องที่เกิดขึ้น . วันนี้ผมขอแถลงตัวเลขทั้งหมดเพื่อปิดโครงการฟ้าทะลายโจร ดังนี้ (อันนี้เป็นหลักฐานนะครับ) โครงการสนับสนุนการใช้ฟ้าทะลายโจรเพื่อช่วยเหลือประชาชน ระหว่างวันที่ 2 กรกฎาคม 2564 ถึง วันที่ 25 มีนาคม 2568 ประมาณสี่ปี ทั้งหมดรวมแล้ว เงินบริจาค 82,928,274.51 บาท เราใช้อะไรบ้าง ? เราใช้ค่าใช้จ่ายในการซื้อฟ้าทะลายโจรทั้งหมด 54,329,300 เม็ด เป็นจำนวนเงิน 69,616,569 บาท ยังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีก 12,522,904.01 บาท เช่น เราซื้อเครื่องให้อากาศผสมออกซิเจน 20 เครื่อง 4 ล้านบาท สมัยนั้นจะมีคนหายใจไม่ออก ต้องใช้เครื่องให้อากาศผสมออกซิเจน ซึ่งหายากมากตอนนั้น เรากว้านซื้อมาได้แค่ 20 เครื่อง เรามี Rapid Antigen Test เครื่องตรวจสอบว่าติดโควิดหรือไม่ 14,000 ชิ้น 4,410,000 บาท แล้วเรายังซื้อขิงผงอีก 575,000 ซอง เป็นเงิน 1,725,000 บาท นอกจากนี้แล้ว ยังมีชุด PPE สำหรับคนที่อยู่แนวหน้าในการทำงานกับคนติดโรคอีก 300 ชุด 160,500 บาท ค่าจัดส่งทั้งหมด 857,387 บาท รวมค่าใช้จ่ายแล้ว 82,139,473.01 บาท เงินคงเหลือปัจจุบัน 788,801.50 บาท ซึ่งเงินก้อนนี้จะโอนไปที่คณะกรรมการมูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดิน เพื่อเอาไปทำประโยชน์ให้กับประชาชนในเรื่องการดำรงความยุติธรรม อย่างที่ได้เรียนให้ทราบแล้ว . ท่านผู้ชมครับ เงินบริจาคของท่านผู้ชมทุกบาททุกสตางค์ที่เข้ามาที่นี่ ท่านผู้ชมสบายใจได้ เรามีรายละเอียด และเรามั่นใจ นี่ไม่ได้คุยนะครับ เราน่าจะเป็นเจ้าเดียวที่ตีแผ่ค่าใช้จ่ายของเราอย่างละเอียดเลย ไม่เชื่อท่านผู้ชมไปดูสิ เงินบริจาคไปหน่วยงานอื่นๆ หรือองค์กรอื่นๆ นั้น ไม่เคยมีใครออกมาแสดงรายละเอียดแบบนี้ ท่านผู้ชม ความจริงมีหนึ่งเดียว ความซื่อสัตย์มีหนึ่งเดียว อยู่ที่นี่ครับ #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    25
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 780 มุมมอง 1 รีวิว
  • ผลการศึกษาใหม่ที่เผยว่า การลดเวลาใช้สมาร์ทโฟนลงเหลือไม่เกิน สองชั่วโมงต่อวัน สามารถส่งผลดีต่อสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญ โดยการวิจัยนี้จัดทำโดยทีมงานมหาวิทยาลัย Krems ในเยอรมนี พบว่าในเวลาเพียง สามสัปดาห์ ผู้เข้าร่วมที่จำกัดการใช้สมาร์ทโฟนแสดงอาการซึมเศร้าลดลงถึง 27% ความเครียดลดลง 16% คุณภาพการนอนหลับเพิ่มขึ้น 18% และสุขภาพจิตโดยรวมเพิ่มขึ้น 14% อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่มักกลับมาใช้เวลาบนโทรศัพท์มากขึ้นหลังการทดลอง เนื่องจากความท้าทายในการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้งานในระยะยาว

    ความสำคัญของการกำหนดเวลาใช้งาน:
    - การติดตามและจำกัดเวลาใช้สมาร์ทโฟนสามารถทำได้ง่ายผ่านฟังก์ชัน Screen Time บนอุปกรณ์ iOS หรือ Digital Wellbeing บน Android ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจพฤติกรรมการใช้งานได้ชัดเจนขึ้น.

    ต้นทุนของการใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไป:
    - การใช้มือถือโดยเฉลี่ย 3.5 ชั่วโมงต่อวันตลอดชีวิตนั้นเทียบเท่ากับการเสียเวลาไปถึง 10 ปี ซึ่งสามารถนำไปใช้ทำสิ่งอื่นที่มีคุณค่าได้.

    ข้อเสียจากพฤติกรรมติดโทรศัพท์:
    - สมาร์ทโฟนและแอปต่าง ๆ ถูกออกแบบมาเพื่อดึงดูดความสนใจ ซึ่งทำให้การลดเวลาใช้งานเป็นเรื่องยาก เพราะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนนิสัยและความเคยชินที่ต้องใช้ความพยายามสูง.

    เคล็ดลับลดเวลาใช้สมาร์ทโฟน:
    - ตั้งค่าจำกัดเวลาการใช้งาน, หมั่นตรวจสอบพฤติกรรม และตั้งคำถามกับตัวเองว่าใช้โทรศัพท์เพื่ออะไร หากใช้เพื่อฆ่าเวลา ควรหากิจกรรมอื่นที่เติมเต็มชีวิตได้มากกว่า.

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/29/cutting-time-spent-on-your-smartphone-can-improve-your-mental-health
    ผลการศึกษาใหม่ที่เผยว่า การลดเวลาใช้สมาร์ทโฟนลงเหลือไม่เกิน สองชั่วโมงต่อวัน สามารถส่งผลดีต่อสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญ โดยการวิจัยนี้จัดทำโดยทีมงานมหาวิทยาลัย Krems ในเยอรมนี พบว่าในเวลาเพียง สามสัปดาห์ ผู้เข้าร่วมที่จำกัดการใช้สมาร์ทโฟนแสดงอาการซึมเศร้าลดลงถึง 27% ความเครียดลดลง 16% คุณภาพการนอนหลับเพิ่มขึ้น 18% และสุขภาพจิตโดยรวมเพิ่มขึ้น 14% อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่มักกลับมาใช้เวลาบนโทรศัพท์มากขึ้นหลังการทดลอง เนื่องจากความท้าทายในการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้งานในระยะยาว ความสำคัญของการกำหนดเวลาใช้งาน: - การติดตามและจำกัดเวลาใช้สมาร์ทโฟนสามารถทำได้ง่ายผ่านฟังก์ชัน Screen Time บนอุปกรณ์ iOS หรือ Digital Wellbeing บน Android ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจพฤติกรรมการใช้งานได้ชัดเจนขึ้น. ต้นทุนของการใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไป: - การใช้มือถือโดยเฉลี่ย 3.5 ชั่วโมงต่อวันตลอดชีวิตนั้นเทียบเท่ากับการเสียเวลาไปถึง 10 ปี ซึ่งสามารถนำไปใช้ทำสิ่งอื่นที่มีคุณค่าได้. ข้อเสียจากพฤติกรรมติดโทรศัพท์: - สมาร์ทโฟนและแอปต่าง ๆ ถูกออกแบบมาเพื่อดึงดูดความสนใจ ซึ่งทำให้การลดเวลาใช้งานเป็นเรื่องยาก เพราะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนนิสัยและความเคยชินที่ต้องใช้ความพยายามสูง. เคล็ดลับลดเวลาใช้สมาร์ทโฟน: - ตั้งค่าจำกัดเวลาการใช้งาน, หมั่นตรวจสอบพฤติกรรม และตั้งคำถามกับตัวเองว่าใช้โทรศัพท์เพื่ออะไร หากใช้เพื่อฆ่าเวลา ควรหากิจกรรมอื่นที่เติมเต็มชีวิตได้มากกว่า. https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/29/cutting-time-spent-on-your-smartphone-can-improve-your-mental-health
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Cutting time spent on your smartphone can improve your mental health
    Spending less than two hours on our smartphones could noticeably improve our well-being, according to the latest science.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 0 รีวิว
  • การเมืองไทยมีความซับซ้อนและมีปัญหาหลายด้านที่ต้องแก้ไขเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ปัญหาหลักๆ และแนวทางการแก้ไขอาจรวมถึง以下几个方面:

    ### 1. **ปัญหาความแตกแยกและความขัดแย้งทางการเมือง**
    - **สาเหตุ**: ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ เช่น คณะรัฐประหาร ประชาชน และพรรคการเมือง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ส่งเสริม **การเจรจาและปรองดอง** ระหว่างกลุ่มการเมืองที่ขัดแย้งกัน
    - ลดการใช้อำนาจรัฐเพื่อปราบปรามฝ่ายตรงข้าม
    - สร้างกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่เป็นกลาง เช่น คณะกรรมการอิสระ

    ### 2. **ระบบเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์**
    - **สาเหตุ**: ระบบเลือกตั้งอาจไม่สะท้อนเสียงประชาชนอย่างแท้จริง เช่น การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม หรือกฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้พรรคใหญ่
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ปรับปรุง **ระบบเลือกตั้ง** ให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากขึ้น เช่น ใช้ระบบสัดส่วนผสม (Mixed-Member Proportional: MMP)
    - เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมีส่วนร่วมในสภา
    - ป้องกันการทุจริตเลือกตั้งด้วยเทคโนโลยีและกลไกตรวจสอบ

    ### 3. **ปัญหาอำนาจนอกระบบ (อำนาจนอกการเมือง)**
    - **สาเหตุ**: การแทรกแซงทางการเมืองโดยสถาบันอื่นที่ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - เสริมสร้าง **หลักนิติธรรม** และลดบทบาทของอำนาจนอกระบบในการเมือง
    - ปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้กองทัพและองค์กรอิสระอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน

    ### 4. **การทุจริตและระบบอุปถัมภ์**
    - **สาเหตุ**: การคอร์รัปชันในวงราชการและระบบอุปถัมภ์ที่ทำให้การเมืองไทยไม่โปร่งใส
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - เสริมสร้าง **กลไกตรวจสอบ** เช่น ปรับปรุงสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.)
    - เปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data) เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบได้
    - ส่งเสริมวัฒนธรรมการต่อต้านคอร์รัปชันตั้งแต่ระดับการศึกษา

    ### 5. **การกระจายอำนาจที่ไม่ทั่วถึง**
    - **สาเหตุ**: อำนาจยังรวมศูนย์อยู่ที่กรุงเทพฯ และรัฐบาลกลาง ทำให้ท้องถิ่นขาดอิสระ
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - **กระจายอำนาจการปกครอง** ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น
    - ให้ท้องถิ่นมีอำนาจในการจัดเก็บภาษีและบริหารงบประมาณเอง

    ### 6. **ปัญหาการเซ็นเซอร์และเสรีภาพสื่อ**
    - **สาเหตุ**: การควบคุมสื่อโดยรัฐ และการใช้กฎหมายเช่น พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เพื่อจำกัดเสรีภาพ
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพสื่อ
    - ส่งเสริมสื่ออิสระและปลอดจากการแทรกแซงของรัฐ

    ### 7. **การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม**
    - **สาเหตุ**: กระบวนการยุติธรรมอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ปรับปรุงระบบตุลาการให้เป็นอิสระและเป็นกลาง
    - ตรวจสอบการใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียม

    ### 8. **การมีส่วนร่วมของประชาชน**
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ส่งเสริม **ประชาธิปไตยทางตรง** เช่น การลงประชามติในประเด็นสำคัญ
    - ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อรับฟังความเห็นประชาชน (E-Participation)

    ### **สรุป**
    การเมืองไทยต้องการการปฏิรูปหลายด้าน ทั้งระบบเลือกตั้ง การลดอำนาจนอกระบบ การต่อต้านคอร์รัปชัน การกระจายอำนาจ และการส่งเสริมเสรีภาพ หากแก้ไขได้อย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การเมืองไทยมีความมั่นคงและเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

    คุณคิดว่าประเด็นไหนสำคัญที่สุดหรือควรเริ่มแก้ไขก่อน?
    การเมืองไทยมีความซับซ้อนและมีปัญหาหลายด้านที่ต้องแก้ไขเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ปัญหาหลักๆ และแนวทางการแก้ไขอาจรวมถึง以下几个方面: ### 1. **ปัญหาความแตกแยกและความขัดแย้งทางการเมือง** - **สาเหตุ**: ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ เช่น คณะรัฐประหาร ประชาชน และพรรคการเมือง - **แนวทางแก้ไข**: - ส่งเสริม **การเจรจาและปรองดอง** ระหว่างกลุ่มการเมืองที่ขัดแย้งกัน - ลดการใช้อำนาจรัฐเพื่อปราบปรามฝ่ายตรงข้าม - สร้างกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่เป็นกลาง เช่น คณะกรรมการอิสระ ### 2. **ระบบเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์** - **สาเหตุ**: ระบบเลือกตั้งอาจไม่สะท้อนเสียงประชาชนอย่างแท้จริง เช่น การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม หรือกฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้พรรคใหญ่ - **แนวทางแก้ไข**: - ปรับปรุง **ระบบเลือกตั้ง** ให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากขึ้น เช่น ใช้ระบบสัดส่วนผสม (Mixed-Member Proportional: MMP) - เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมีส่วนร่วมในสภา - ป้องกันการทุจริตเลือกตั้งด้วยเทคโนโลยีและกลไกตรวจสอบ ### 3. **ปัญหาอำนาจนอกระบบ (อำนาจนอกการเมือง)** - **สาเหตุ**: การแทรกแซงทางการเมืองโดยสถาบันอื่นที่ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง - **แนวทางแก้ไข**: - เสริมสร้าง **หลักนิติธรรม** และลดบทบาทของอำนาจนอกระบบในการเมือง - ปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้กองทัพและองค์กรอิสระอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน ### 4. **การทุจริตและระบบอุปถัมภ์** - **สาเหตุ**: การคอร์รัปชันในวงราชการและระบบอุปถัมภ์ที่ทำให้การเมืองไทยไม่โปร่งใส - **แนวทางแก้ไข**: - เสริมสร้าง **กลไกตรวจสอบ** เช่น ปรับปรุงสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.) - เปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data) เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบได้ - ส่งเสริมวัฒนธรรมการต่อต้านคอร์รัปชันตั้งแต่ระดับการศึกษา ### 5. **การกระจายอำนาจที่ไม่ทั่วถึง** - **สาเหตุ**: อำนาจยังรวมศูนย์อยู่ที่กรุงเทพฯ และรัฐบาลกลาง ทำให้ท้องถิ่นขาดอิสระ - **แนวทางแก้ไข**: - **กระจายอำนาจการปกครอง** ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น - ให้ท้องถิ่นมีอำนาจในการจัดเก็บภาษีและบริหารงบประมาณเอง ### 6. **ปัญหาการเซ็นเซอร์และเสรีภาพสื่อ** - **สาเหตุ**: การควบคุมสื่อโดยรัฐ และการใช้กฎหมายเช่น พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เพื่อจำกัดเสรีภาพ - **แนวทางแก้ไข**: - ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพสื่อ - ส่งเสริมสื่ออิสระและปลอดจากการแทรกแซงของรัฐ ### 7. **การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม** - **สาเหตุ**: กระบวนการยุติธรรมอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง - **แนวทางแก้ไข**: - ปรับปรุงระบบตุลาการให้เป็นอิสระและเป็นกลาง - ตรวจสอบการใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียม ### 8. **การมีส่วนร่วมของประชาชน** - **แนวทางแก้ไข**: - ส่งเสริม **ประชาธิปไตยทางตรง** เช่น การลงประชามติในประเด็นสำคัญ - ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อรับฟังความเห็นประชาชน (E-Participation) ### **สรุป** การเมืองไทยต้องการการปฏิรูปหลายด้าน ทั้งระบบเลือกตั้ง การลดอำนาจนอกระบบ การต่อต้านคอร์รัปชัน การกระจายอำนาจ และการส่งเสริมเสรีภาพ หากแก้ไขได้อย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การเมืองไทยมีความมั่นคงและเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น คุณคิดว่าประเด็นไหนสำคัญที่สุดหรือควรเริ่มแก้ไขก่อน?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 194 มุมมอง 0 รีวิว
  • แบตเตอรี่รุ่นใหม่ในปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านความจุ ความเร็วในการชาร์จ ความปลอดภัย และอายุการใช้งาน นี่คือความคืบหน้าล่าสุดและเทคโนโลยีที่น่าจับตามอง:

    ### 1. **แบตเตอรี่ Solid-State**
    - **ความคืบหน้า**: หลายบริษัทเช่น Toyota, QuantumScape และ Samsung SDI กำลังเร่งพัฒนาสู่การผลิตมวลชน คาดว่าจะเริ่มใช้ในรถไฟฟ้า (EV) และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในปี 2025-2030
    - **จุดเด่น**:
    - ความหนาแน่นพลังงานสูงขึ้น (อาจถึง 2-3 เท่าของ Li-ion)
    - ชาร์จเร็วขึ้น ลดความเสี่ยงการระเบิดหรือ overheating
    - อายุการใช้งานยาวนานกว่า

    ### 2. **แบตเตอรี่ Lithium-Sulfur (Li-S)**
    - **ความคืบหน้า**: บริษัทเช่น Oxis Energy และ Sion Power กำลังทดสอบในโดรนและอากาศยาน
    - **จุดเด่น**:
    - ความจุพลังงานสูงกว่าลิเธียม-ไอออนถึง 5 เท่า
    - วัสดุราคาถูกและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมกว่า

    ### 3. **เทคโนโลยี Silicon Anode**
    - **ความคืบหน้า**: Tesla, Panasonic และ Sila Nanotechnologies เริ่มใช้ซิลิกอนแทนกราไฟต์ในแอโนด
    - **จุดเด่น**:
    - เพิ่มความจุพลังงาน 20-40%
    - ชาร์จเร็วขึ้นโดยไม่ลดอายุการใช้งาน

    ### 4. **แบตเตอรี่ Sodium-Ion (แทน Lithium)**
    - **ความคืบหน้า**: CATL (ผู้ผลิตแบตเตอรี่รายใหญ่ของจีน) เริ่มผลิตแล้วในปี 2023
    - **จุดเด่น**:
    - ราคาถูกกว่าเพราะใช้โซเดียม (มีมากในธรรมชาติ)
    - ทำงานได้ดีในอุณหภูมิต่ำ

    ### 5. **นวัตกรรมการชาร์จ**
    - **Ultra-Fast Charging**: แบตเตอรี่รุ่นใหม่บางชนิดชาร์จได้ 80% ใน 15 นาที (เช่นในรถไฟฟ้ารุ่นล่าสุด)
    - **Wireless Charging**: เริ่มใช้ในสมาร์ทโฟนและรถไฟฟ้าแบบไร้สาย

    ### **สรุปการพัฒนา**
    - **ดีขึ้นชัดเจน** ในด้านความจุและความเร็ว แต่ยังมีข้อจำกัดด้านต้นทุนและการผลิตมวลชน
    - **รถไฟฟ้าได้ประโยชน์มากสุด** จากแบตเตอรี่ความจุสูงและปลอดภัยขึ้น
    - **อุปกรณ์พกพา** เช่น สมาร์ทโฟนอาจเห็นการเปลี่ยนแปลงช้ากว่า เน้นการชาร์จเร็วและอายุการใช้งาน

    คาดการณ์ว่าในอีก 5-10 ปีข้างหน้า แบตเตอรี่รุ่นใหม่จะลดราคาและแพร่หลาย ส่งผลให้รถไฟฟ้าราคาถูกลงและเก็บพลังงานสะอาดได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น!
    แบตเตอรี่รุ่นใหม่ในปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านความจุ ความเร็วในการชาร์จ ความปลอดภัย และอายุการใช้งาน นี่คือความคืบหน้าล่าสุดและเทคโนโลยีที่น่าจับตามอง: ### 1. **แบตเตอรี่ Solid-State** - **ความคืบหน้า**: หลายบริษัทเช่น Toyota, QuantumScape และ Samsung SDI กำลังเร่งพัฒนาสู่การผลิตมวลชน คาดว่าจะเริ่มใช้ในรถไฟฟ้า (EV) และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในปี 2025-2030 - **จุดเด่น**: - ความหนาแน่นพลังงานสูงขึ้น (อาจถึง 2-3 เท่าของ Li-ion) - ชาร์จเร็วขึ้น ลดความเสี่ยงการระเบิดหรือ overheating - อายุการใช้งานยาวนานกว่า ### 2. **แบตเตอรี่ Lithium-Sulfur (Li-S)** - **ความคืบหน้า**: บริษัทเช่น Oxis Energy และ Sion Power กำลังทดสอบในโดรนและอากาศยาน - **จุดเด่น**: - ความจุพลังงานสูงกว่าลิเธียม-ไอออนถึง 5 เท่า - วัสดุราคาถูกและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมกว่า ### 3. **เทคโนโลยี Silicon Anode** - **ความคืบหน้า**: Tesla, Panasonic และ Sila Nanotechnologies เริ่มใช้ซิลิกอนแทนกราไฟต์ในแอโนด - **จุดเด่น**: - เพิ่มความจุพลังงาน 20-40% - ชาร์จเร็วขึ้นโดยไม่ลดอายุการใช้งาน ### 4. **แบตเตอรี่ Sodium-Ion (แทน Lithium)** - **ความคืบหน้า**: CATL (ผู้ผลิตแบตเตอรี่รายใหญ่ของจีน) เริ่มผลิตแล้วในปี 2023 - **จุดเด่น**: - ราคาถูกกว่าเพราะใช้โซเดียม (มีมากในธรรมชาติ) - ทำงานได้ดีในอุณหภูมิต่ำ ### 5. **นวัตกรรมการชาร์จ** - **Ultra-Fast Charging**: แบตเตอรี่รุ่นใหม่บางชนิดชาร์จได้ 80% ใน 15 นาที (เช่นในรถไฟฟ้ารุ่นล่าสุด) - **Wireless Charging**: เริ่มใช้ในสมาร์ทโฟนและรถไฟฟ้าแบบไร้สาย ### **สรุปการพัฒนา** - **ดีขึ้นชัดเจน** ในด้านความจุและความเร็ว แต่ยังมีข้อจำกัดด้านต้นทุนและการผลิตมวลชน - **รถไฟฟ้าได้ประโยชน์มากสุด** จากแบตเตอรี่ความจุสูงและปลอดภัยขึ้น - **อุปกรณ์พกพา** เช่น สมาร์ทโฟนอาจเห็นการเปลี่ยนแปลงช้ากว่า เน้นการชาร์จเร็วและอายุการใช้งาน คาดการณ์ว่าในอีก 5-10 ปีข้างหน้า แบตเตอรี่รุ่นใหม่จะลดราคาและแพร่หลาย ส่งผลให้รถไฟฟ้าราคาถูกลงและเก็บพลังงานสะอาดได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 238 มุมมอง 0 รีวิว
  • "เปิดโฉมผู้รับเหมา หลังตึก สตง.ถล่ม! เจาะลึกโครงสร้างหุ้น 'ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10' ไทย-จีน ถือหุ้นสัดส่วนสูงสุดตามกฎหมาย พบกรรมการคนไทยร่วมถือหุ้นหลายบริษัท ด้านงบก่อสร้างพุ่ง 40% ใน 7 ปี ย้อนเกล็ด แม้ใช้ 'ข้อตกลงคุณธรรม'" แต่ความโปร่งใสแท้จริงอยู่ที่ไหน

    ข้อมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้าระบุว่า บริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งร่วมก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินแห่งใหม่ หรือ สตง. ที่ถล่มลงมาจากเหตุการณ์แผนดินไหววานนี้ ( 28 มีนาคม) โดยจดทะเบียนเมื่อ 10 ส.ค. 2561 ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างทั้งอาคารสำนักงาน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้าใต้ดิน โดยมี นายชวนหลิง จาง และ นายโสภณ มีชัย เป็นกรรมการ

    ขณะที่ผู้ถือหุ้นใหญ่สุดคือ ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 เอ็นจิเนียริ่ง กรุ๊ป จากประเทศจีน ถือหุ้นบริษัทในสัดส่วน 49% ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงสุดที่กฎหมายไทยอนุญาตให้ต่างชาติถือ ส่วนผู้ถือหุ้นไทยได้แก่

    1.นายโสภณ มีชัย (กรรมการ) ถือหุ้น 40.80% หรือ 407,997 หุ้น
    2.นายประจวบ ศิริเขตร ถือหุ้นย 10.20% หรือ 102,000 หุ้น
    3.นายมานัส ศรีอนันท์ ถือหุ้นเพียง 3 หุ้น

    นอกจากนี้ยังตรวจสอบพบ นายโสภณ และ นายประจวบ ยังถือหุ้นในบริษัทอื่นอีก 5-6 แห่งขณะที่นายมานัสลงทุนในบริษัทอื่นๆอีกกว่า 11 บริษัท

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000029980

    #MGROnline #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    "เปิดโฉมผู้รับเหมา หลังตึก สตง.ถล่ม! เจาะลึกโครงสร้างหุ้น 'ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10' ไทย-จีน ถือหุ้นสัดส่วนสูงสุดตามกฎหมาย พบกรรมการคนไทยร่วมถือหุ้นหลายบริษัท ด้านงบก่อสร้างพุ่ง 40% ใน 7 ปี ย้อนเกล็ด แม้ใช้ 'ข้อตกลงคุณธรรม'" แต่ความโปร่งใสแท้จริงอยู่ที่ไหน • ข้อมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้าระบุว่า บริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งร่วมก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินแห่งใหม่ หรือ สตง. ที่ถล่มลงมาจากเหตุการณ์แผนดินไหววานนี้ ( 28 มีนาคม) โดยจดทะเบียนเมื่อ 10 ส.ค. 2561 ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างทั้งอาคารสำนักงาน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้าใต้ดิน โดยมี นายชวนหลิง จาง และ นายโสภณ มีชัย เป็นกรรมการ • ขณะที่ผู้ถือหุ้นใหญ่สุดคือ ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 เอ็นจิเนียริ่ง กรุ๊ป จากประเทศจีน ถือหุ้นบริษัทในสัดส่วน 49% ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงสุดที่กฎหมายไทยอนุญาตให้ต่างชาติถือ ส่วนผู้ถือหุ้นไทยได้แก่ • 1.นายโสภณ มีชัย (กรรมการ) ถือหุ้น 40.80% หรือ 407,997 หุ้น 2.นายประจวบ ศิริเขตร ถือหุ้นย 10.20% หรือ 102,000 หุ้น 3.นายมานัส ศรีอนันท์ ถือหุ้นเพียง 3 หุ้น • นอกจากนี้ยังตรวจสอบพบ นายโสภณ และ นายประจวบ ยังถือหุ้นในบริษัทอื่นอีก 5-6 แห่งขณะที่นายมานัสลงทุนในบริษัทอื่นๆอีกกว่า 11 บริษัท • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000029980 • #MGROnline #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 172 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้รายงานว่า Intel ประกาศเปลี่ยนแปลงสำคัญในคณะกรรมการบริหาร โดยมีกรรมการ 3 คนที่ตัดสินใจไม่ลงสมัครเลือกตั้งอีกครั้งในปี 2025 ซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญจากอุตสาหกรรมการแพทย์และสาขาอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงนี้แสดงถึงทิศทางใหม่ที่มุ่งเน้นไปยังอุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเซมิคอนดักเตอร์มากขึ้น เพื่อสนับสนุนการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตของบริษัท

    ผู้เชี่ยวชาญที่ลาออก:
    - Dr. Omar Ishrak อดีตผู้นำบริษัท Medtronic ที่เคยเป็นประธานกรรมการ Intel, Dr. Risa Lavizzo-Mourey อดีตอาจารย์ด้านประชากรศาสตร์การแพทย์ และ Dr. Tsu-Jae King Liu คณบดีวิศวกรรมของ UC Berkeley ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์

    กรรมการใหม่ที่เข้าร่วม:
    - Intel ได้เพิ่มกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เช่น Eric Meurice อดีต CEO ของ ASML และ Steve Sanghi ผู้บริหารชั่วคราวของ Microchip Technology ซึ่งถือเป็นก้าวสำคัญสำหรับบอร์ดในการดึงความรู้เชิงเทคนิคมาใช้.

    เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง:
    - การเพิ่มกรรมการผู้เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีเฉพาะด้าน สะท้อนถึงความพยายามของ Intel ในการคืนความสามารถในการแข่งขันโดยเฉพาะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตให้ทันสมัย.

    แนวโน้มในอนาคต:
    - การปรับคณะกรรมการให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านอุตสาหกรรม ช่วยสนับสนุนแผนของ CEO คนปัจจุบันในการฟื้นฟูความสามารถและนวัตกรรมของ Intel ในตลาดเซมิคอนดักเตอร์

    https://www.tomshardware.com/pc-components/cpus/intels-board-gets-industry-focused-as-three-directors-will-not-seek-re-election-badly-needed-shift-to-deeper-tech-experience
    ข่าวนี้รายงานว่า Intel ประกาศเปลี่ยนแปลงสำคัญในคณะกรรมการบริหาร โดยมีกรรมการ 3 คนที่ตัดสินใจไม่ลงสมัครเลือกตั้งอีกครั้งในปี 2025 ซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญจากอุตสาหกรรมการแพทย์และสาขาอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงนี้แสดงถึงทิศทางใหม่ที่มุ่งเน้นไปยังอุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเซมิคอนดักเตอร์มากขึ้น เพื่อสนับสนุนการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตของบริษัท ผู้เชี่ยวชาญที่ลาออก: - Dr. Omar Ishrak อดีตผู้นำบริษัท Medtronic ที่เคยเป็นประธานกรรมการ Intel, Dr. Risa Lavizzo-Mourey อดีตอาจารย์ด้านประชากรศาสตร์การแพทย์ และ Dr. Tsu-Jae King Liu คณบดีวิศวกรรมของ UC Berkeley ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์ กรรมการใหม่ที่เข้าร่วม: - Intel ได้เพิ่มกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เช่น Eric Meurice อดีต CEO ของ ASML และ Steve Sanghi ผู้บริหารชั่วคราวของ Microchip Technology ซึ่งถือเป็นก้าวสำคัญสำหรับบอร์ดในการดึงความรู้เชิงเทคนิคมาใช้. เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง: - การเพิ่มกรรมการผู้เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีเฉพาะด้าน สะท้อนถึงความพยายามของ Intel ในการคืนความสามารถในการแข่งขันโดยเฉพาะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตให้ทันสมัย. แนวโน้มในอนาคต: - การปรับคณะกรรมการให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านอุตสาหกรรม ช่วยสนับสนุนแผนของ CEO คนปัจจุบันในการฟื้นฟูความสามารถและนวัตกรรมของ Intel ในตลาดเซมิคอนดักเตอร์ https://www.tomshardware.com/pc-components/cpus/intels-board-gets-industry-focused-as-three-directors-will-not-seek-re-election-badly-needed-shift-to-deeper-tech-experience
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 214 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🙏✨พระสังกัจจายน์มหาเศรษฐีวัดหัวกระบือชุดกรรมการ ปีพ.ศ.2521 #หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี เป็นประธานอธิษฐานจิตปลุกเสก ถือเป็นพระที่มีขนาดเล็กแต่สำหรับพุทธคุณได้รับการถ่ายทอดบอกต่อกันมาว่าไม่เล็กเลย.
    🙏✨พระสังกัจจายน์มหาเศรษฐีวัดหัวกระบือชุดกรรมการ ปีพ.ศ.2521 #หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี เป็นประธานอธิษฐานจิตปลุกเสก ถือเป็นพระที่มีขนาดเล็กแต่สำหรับพุทธคุณได้รับการถ่ายทอดบอกต่อกันมาว่าไม่เล็กเลย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 1 0 รีวิว
  • 27 มีนาคม 2568 - รศ.ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ โพสต์เฟซบุ๊ก เรื่อง “นายกสืบสันดาน นิติกรรมอำพราง หลบภาษี?” โดยมีเนื้อหาดังนี้

    ตามที่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า นายกรัฐมนตรีนางสาวแพทองธาร ได้รับการโอนหุ้นจากแม่ พี่ชาย พี่สาว ลุง และป้า จำนวนรวมกันประมาณ 4,434 ล้านบาท ในปีพ.ศ. 2559 โดยได้ทำหนังสือสัญญาใช้เงิน (PN) ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่กำหนดวันครบชำระเงิน เพื่อให้เป็นหลักฐานเสมือนการซื้อหุ้นโดยยังไม่จ่ายเงิน (เป็นหนี้ที่ไม่มีดอกเบี้ย ไม่กำหนดวันชำระคืน)

    มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าทำไม นางสาวแพทองธาร ในปี 2559 ขณะที่อายุเพียงประมาณ 30 ปีจึงอยากซื้อหุ้นจำนวนมากจากบุคคลในครอบครัวและผู้เกี่ยวดอง
    โดยที่ตนไม่มีเงินที่จะจ่าย แต่ไปออกหนังสือสัญญาใช้เงินเป็นการกู้ยืมเงินที่จะจ่ายค่าหุ้นจำนวน 4,434 ล้านบาท

    เรื่องนี้ต้องเข้าใจ พฤติกรรมของคนในตระกูลชินวัตร รู้ที่มาที่ไปของหุ้น จึงพอจะวิเคราะห์และตั้งเป็นสมมุติฐานได้ว่า

    ในปี 2544 เมื่อนายทักษิณจะขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ประสงค์จะไม่แจ้งบัญชีทรัพย์สินให้ครบถ้วนกับสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในบางรายการ จึงได้โอนหุ้นจำนวนหนึ่งซุกไว้ในชื่อของ คนสวน คนรับใช้ คนขับรถ และคนเฝ้ายาม จนเกิดคดีซุกหุ้น ดังที่ปรากฎคดีกับนายทักษิณมาแล้ว

    เวลาต่อมา ได้โอนหุ้นจากชื่อของ “ลูกจ้าง”ในบ้านทั้งสามคน ไปให้กับ “ลูกจริง” ทั้ง 3คน แต่เนื่องจากลูกสาวคนเล็กคือแพทองธาร ขณะนั้นยังไม่บรรลุนิติภาวะยังไม่สามารถบริหารจัดการหุ้นในบริษัทต่างๆได้ จึงอาจจะโอนฝากไว้ที่ แม่ พี่ชาย พี่สาว ลุงและป้า

    ต่อมาในปี 2559 เมื่อแพทองธาร บรรลุนิติภาวะแล้ว ประสงค์ให้ญาติที่ถือหุ้นไว้โอนหุ้นมากลับมาให้ แต่ขณะนั้นมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรในต้นปี 2559 เพื่อให้สอดคล้องกับการเก็บภาษีมรดก ซึ่งระบุให้

    การให้สินทรัพย์ ในระหว่างพ่อ แม่ ลูก ถือเป็นรายได้ของผู้รับ หากมีมูลค่าเกิน 20ล้านบาทส่วนที่เกิน20ล้านจะต้องเสียภาษีเงินได้ 5%
    แต่ หากเป็นพี่ น้อง ลุง ป้า หากมีมูลค่าเกิน 10 ล้านบาท ส่วนที่เกิน 10ล้าน บาท จะต้องเสียภาษีเงินได้ 5%

    วิธีการหลีกเลี่ยงหลบภาษี หรือบริหารภาษี ให้จ่ายน้อยหรือไม่ต้องจ่าย คือทำนิติกรรมอำพรางโดยให้ดูเสมือนเป็นการซื้อขาย

    ผู้รับโอนจึงออกตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งก็คือทำสัญญากู้ยืม แต่ที่น่าสังเกตคือไม่มีดอกเบี้ยและไม่มีการกำหนดวันชำระเงิน
    จึงถูกตั้งข้อสังเกตว่า เหตุใด นางสาวแพทองธาร จึงออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (ที่ไม่กำหนดเวลาชำระเงินและไม่มีดอกเบี้ย) เพื่อให้ดูเป็นเรื่องการซื้อขายไม่ใช่การให้ จะได้ไม่ต้องจ่ายภาษีเงินได้ให้กับรัฐจำนวนมากกว่า 200 ล้านบาท หรือไม่

    น.ส.แพทองธาร ชี้แจงว่า การโอนหุ้นดังกล่าวเป็นการซื้อขายจริงไม่ได้มีพฤติกรรมอำพรางใดๆ ยอดหนี้ (ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน) ก็แสดงว่าชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อ ป.ป.ช. อยู่แล้ว
    “ เรื่องตั๋วพีเอ็นไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นเรื่องที่ทำกันมาเป็นเรื่องปกติ.. การออกตั๋วสัญญาใช้เงินจะทำกับธุรกรรมที่ถูกกฎหมาย ดำเนินการเปิดเผย ฝ่ายผู้ซื้อผู้ขายรับภาระหนี้สินระหว่างกัน ไม่มีการกระทำนอกกฎหมายใดๆ เพราะการกระทำนอกกฎหมายที่ไหนออกหลักฐานเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ระบุที่มาของเงินไม่ได้ ก็ไม่สามารถทำได้..”

    คำอธิบายของนายกรัฐมนตรีที่ว่า ได้แสดงชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อป.ป.ช. แล้วก็ไม่ได้ช่วยอะไร

    อีกทั้งคำอธิบายว่า ตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เป็นเรื่องที่ทำกันเป็นปกติ (ใครใครเขาก็ทำกัน ) ก็ไม่ได้ช่วยอะไร เพราะขึ้นอยู่กับว่าเขาใช้ตั๋วสัญญาใช้เงินโดยสุจริตหรือไม่

    หลายสิ่งที่คนทั่วไปทำได้ แต่การเป็นนายกรัฐมนตรีทำไม่ได้เพราะจะต้องมีมาตรฐานของความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีมาตรฐานจริยธรรมสูงกว่าบุคคลทั่วไป ทั้งนี้เพราะจะต้องรับผิดชอบต่อสังคมและคนจำนวนมาก ใช่หรือไม่?

    ประชาชนส่วนหนึ่งตั้งคำถามว่าครอบครัวรักกันมาก ทำไมจึงใช้วิธีซื้อขายหุ้นระหว่างกันไปมา โดยเฉพาะในช่วงที่นางสาวแพทองธาร จะเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้โอนหุ้นสนามกอล์ฟอัลไพน์ จำนวน 22,410,000 หุ้น ไปให้ผู้เป็นแม่ ด้วยวิธีการซื้อขายโดยออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เพื่อให้เข้าหลักเกณฑ์การซื้อขายแทนการให้ เช่นเดียวกันใช่หรือไม่

    ถ้าจะพิจารณาจากอดีต คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองคดี หมายเลขแดงที่ อม.1/2553 เรื่อง ขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน หรือคดียึดทรัพย์นายทักษิณ ชินวัตร 46,737 ล้านบาท เห็นว่า การออกตั๋วสัญญาใช้เงินชำระค่าหุ้นมีพิรุธ เป็นการอำพรางการโอนหุ้นชินคอร์ป เพราะสุดท้ายแล้ว หุ้นชินคอร์ป ที่นายทักษิณโอนให้กับบุคคลต่างๆ ดังกล่าวยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของนายทักษิณ

    ยิ่งไปกว่านั้นข้าราชการระดับสูงของกรมสรรพากรเคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกสองปีโดยไม่รอลงอาญาในการปฎิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบตามมาตรา157 แห่งประมวลกฎหมายอาญา กรณี ช่วยบุตรชายและบุตรสาว ของนายทักษิณ ชินวัตร หลบเลี่ยงภาษีกรณีหุ้นชินคอร์ปมาแล้ว

    หากกรมสรรพากรและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มองว่าเรื่องนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ ถูกต้องตามกฏหมายและเหมาะสมตามจริยธรรม ต่อไปการที่จะมีผู้โอนทรัพย์สินให้บุคคลในครอบครัว ก็ทำทีเป็นซื้อขายแล้วทำหนังสือสัญญาใช้เงิน ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่ต้องระบุวันจ่ายเงิน (หนังสือสัญญาไม่ต้องจ่ายเงิน) ทำให้เกิดช่องโหว่ทางกฎหมายส่งผลให้ ภาษีมรดกที่กำหนดให้ผู้รับมรดกจะต้องจ่ายเป็นอันยกเลิกไปโดยปริยาย
    เท่ากับว่าฝ่ายบริหารโดยกรมสรรพากรได้ตีความให้กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติบังคับใช้ไม่ได้อีกต่อไป.
    27 มีนาคม 2568 - รศ.ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ โพสต์เฟซบุ๊ก เรื่อง “นายกสืบสันดาน นิติกรรมอำพราง หลบภาษี?” โดยมีเนื้อหาดังนี้ ตามที่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า นายกรัฐมนตรีนางสาวแพทองธาร ได้รับการโอนหุ้นจากแม่ พี่ชาย พี่สาว ลุง และป้า จำนวนรวมกันประมาณ 4,434 ล้านบาท ในปีพ.ศ. 2559 โดยได้ทำหนังสือสัญญาใช้เงิน (PN) ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่กำหนดวันครบชำระเงิน เพื่อให้เป็นหลักฐานเสมือนการซื้อหุ้นโดยยังไม่จ่ายเงิน (เป็นหนี้ที่ไม่มีดอกเบี้ย ไม่กำหนดวันชำระคืน) มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าทำไม นางสาวแพทองธาร ในปี 2559 ขณะที่อายุเพียงประมาณ 30 ปีจึงอยากซื้อหุ้นจำนวนมากจากบุคคลในครอบครัวและผู้เกี่ยวดอง โดยที่ตนไม่มีเงินที่จะจ่าย แต่ไปออกหนังสือสัญญาใช้เงินเป็นการกู้ยืมเงินที่จะจ่ายค่าหุ้นจำนวน 4,434 ล้านบาท เรื่องนี้ต้องเข้าใจ พฤติกรรมของคนในตระกูลชินวัตร รู้ที่มาที่ไปของหุ้น จึงพอจะวิเคราะห์และตั้งเป็นสมมุติฐานได้ว่า ในปี 2544 เมื่อนายทักษิณจะขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ประสงค์จะไม่แจ้งบัญชีทรัพย์สินให้ครบถ้วนกับสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในบางรายการ จึงได้โอนหุ้นจำนวนหนึ่งซุกไว้ในชื่อของ คนสวน คนรับใช้ คนขับรถ และคนเฝ้ายาม จนเกิดคดีซุกหุ้น ดังที่ปรากฎคดีกับนายทักษิณมาแล้ว เวลาต่อมา ได้โอนหุ้นจากชื่อของ “ลูกจ้าง”ในบ้านทั้งสามคน ไปให้กับ “ลูกจริง” ทั้ง 3คน แต่เนื่องจากลูกสาวคนเล็กคือแพทองธาร ขณะนั้นยังไม่บรรลุนิติภาวะยังไม่สามารถบริหารจัดการหุ้นในบริษัทต่างๆได้ จึงอาจจะโอนฝากไว้ที่ แม่ พี่ชาย พี่สาว ลุงและป้า ต่อมาในปี 2559 เมื่อแพทองธาร บรรลุนิติภาวะแล้ว ประสงค์ให้ญาติที่ถือหุ้นไว้โอนหุ้นมากลับมาให้ แต่ขณะนั้นมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรในต้นปี 2559 เพื่อให้สอดคล้องกับการเก็บภาษีมรดก ซึ่งระบุให้ การให้สินทรัพย์ ในระหว่างพ่อ แม่ ลูก ถือเป็นรายได้ของผู้รับ หากมีมูลค่าเกิน 20ล้านบาทส่วนที่เกิน20ล้านจะต้องเสียภาษีเงินได้ 5% แต่ หากเป็นพี่ น้อง ลุง ป้า หากมีมูลค่าเกิน 10 ล้านบาท ส่วนที่เกิน 10ล้าน บาท จะต้องเสียภาษีเงินได้ 5% วิธีการหลีกเลี่ยงหลบภาษี หรือบริหารภาษี ให้จ่ายน้อยหรือไม่ต้องจ่าย คือทำนิติกรรมอำพรางโดยให้ดูเสมือนเป็นการซื้อขาย ผู้รับโอนจึงออกตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งก็คือทำสัญญากู้ยืม แต่ที่น่าสังเกตคือไม่มีดอกเบี้ยและไม่มีการกำหนดวันชำระเงิน จึงถูกตั้งข้อสังเกตว่า เหตุใด นางสาวแพทองธาร จึงออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (ที่ไม่กำหนดเวลาชำระเงินและไม่มีดอกเบี้ย) เพื่อให้ดูเป็นเรื่องการซื้อขายไม่ใช่การให้ จะได้ไม่ต้องจ่ายภาษีเงินได้ให้กับรัฐจำนวนมากกว่า 200 ล้านบาท หรือไม่ น.ส.แพทองธาร ชี้แจงว่า การโอนหุ้นดังกล่าวเป็นการซื้อขายจริงไม่ได้มีพฤติกรรมอำพรางใดๆ ยอดหนี้ (ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน) ก็แสดงว่าชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อ ป.ป.ช. อยู่แล้ว “ เรื่องตั๋วพีเอ็นไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นเรื่องที่ทำกันมาเป็นเรื่องปกติ.. การออกตั๋วสัญญาใช้เงินจะทำกับธุรกรรมที่ถูกกฎหมาย ดำเนินการเปิดเผย ฝ่ายผู้ซื้อผู้ขายรับภาระหนี้สินระหว่างกัน ไม่มีการกระทำนอกกฎหมายใดๆ เพราะการกระทำนอกกฎหมายที่ไหนออกหลักฐานเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ระบุที่มาของเงินไม่ได้ ก็ไม่สามารถทำได้..” คำอธิบายของนายกรัฐมนตรีที่ว่า ได้แสดงชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อป.ป.ช. แล้วก็ไม่ได้ช่วยอะไร อีกทั้งคำอธิบายว่า ตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เป็นเรื่องที่ทำกันเป็นปกติ (ใครใครเขาก็ทำกัน ) ก็ไม่ได้ช่วยอะไร เพราะขึ้นอยู่กับว่าเขาใช้ตั๋วสัญญาใช้เงินโดยสุจริตหรือไม่ หลายสิ่งที่คนทั่วไปทำได้ แต่การเป็นนายกรัฐมนตรีทำไม่ได้เพราะจะต้องมีมาตรฐานของความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีมาตรฐานจริยธรรมสูงกว่าบุคคลทั่วไป ทั้งนี้เพราะจะต้องรับผิดชอบต่อสังคมและคนจำนวนมาก ใช่หรือไม่? ประชาชนส่วนหนึ่งตั้งคำถามว่าครอบครัวรักกันมาก ทำไมจึงใช้วิธีซื้อขายหุ้นระหว่างกันไปมา โดยเฉพาะในช่วงที่นางสาวแพทองธาร จะเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้โอนหุ้นสนามกอล์ฟอัลไพน์ จำนวน 22,410,000 หุ้น ไปให้ผู้เป็นแม่ ด้วยวิธีการซื้อขายโดยออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เพื่อให้เข้าหลักเกณฑ์การซื้อขายแทนการให้ เช่นเดียวกันใช่หรือไม่ ถ้าจะพิจารณาจากอดีต คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองคดี หมายเลขแดงที่ อม.1/2553 เรื่อง ขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน หรือคดียึดทรัพย์นายทักษิณ ชินวัตร 46,737 ล้านบาท เห็นว่า การออกตั๋วสัญญาใช้เงินชำระค่าหุ้นมีพิรุธ เป็นการอำพรางการโอนหุ้นชินคอร์ป เพราะสุดท้ายแล้ว หุ้นชินคอร์ป ที่นายทักษิณโอนให้กับบุคคลต่างๆ ดังกล่าวยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของนายทักษิณ ยิ่งไปกว่านั้นข้าราชการระดับสูงของกรมสรรพากรเคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกสองปีโดยไม่รอลงอาญาในการปฎิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบตามมาตรา157 แห่งประมวลกฎหมายอาญา กรณี ช่วยบุตรชายและบุตรสาว ของนายทักษิณ ชินวัตร หลบเลี่ยงภาษีกรณีหุ้นชินคอร์ปมาแล้ว หากกรมสรรพากรและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มองว่าเรื่องนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ ถูกต้องตามกฏหมายและเหมาะสมตามจริยธรรม ต่อไปการที่จะมีผู้โอนทรัพย์สินให้บุคคลในครอบครัว ก็ทำทีเป็นซื้อขายแล้วทำหนังสือสัญญาใช้เงิน ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่ต้องระบุวันจ่ายเงิน (หนังสือสัญญาไม่ต้องจ่ายเงิน) ทำให้เกิดช่องโหว่ทางกฎหมายส่งผลให้ ภาษีมรดกที่กำหนดให้ผู้รับมรดกจะต้องจ่ายเป็นอันยกเลิกไปโดยปริยาย เท่ากับว่าฝ่ายบริหารโดยกรมสรรพากรได้ตีความให้กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติบังคับใช้ไม่ได้อีกต่อไป.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 238 มุมมอง 0 รีวิว
  • 📰 61 ปี หนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์” จากบางกอกเดลิเมล์ สู่เดลินิวส์ออนไลน์ บันทึกความทรงจำของสื่อไทย ที่เติบโตเคียงข้างประชาชน

    ✨ 61 ปี แห่งการเปลี่ยนผ่านของสื่อที่ไม่หยุดนิ่ง ในยุคที่โลกหมุนเร็วด้วยข่าวสารและเทคโนโลยี 🌐 มีไม่กี่สื่อ ที่สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง ตลอดระยะเวลากว่าครึ่งศตวรรษ แต่ “เดลินิวส์” คือหนึ่งในนั้น 🙌

    จากวันแรกของการก่อตั้ง เมื่อวันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 สู่การเป็นผู้นำข่าวระดับประเทศ ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และออนไลน์ 🖥️ เส้นทางของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์นั้น ไม่เพียงแต่สะท้อนวิวัฒนาการ ของวงการสื่อไทยเท่านั้น แต่ยังเป็นกระจกเงาสำคัญของประวัติศาสตร์ สังคม และการเมืองไทยตลอด 61 ปี ที่ผ่านมา

    📆 ย้อนเวลาสำรวจเส้นทางของหนังสือพิมพ์ ที่เริ่มต้นจาก “บางกอกเดลิเมล์” สู่การเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” และ “เดลินิวส์ออนไลน์” ในวันนี้ พร้อมทั้งเผยเบื้องหลังความเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์ และจุดยืนของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งภารกิจเพื่อประชาชนไทย 🇹🇭

    🕰 จุดเริ่มต้นจากบางกอกเดลิเมล์ ความกล้าในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2493 ประเทศไทยอยู่ในยุคหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง 📜 สื่อยังถูกควบคุมโดยรัฐอย่างเข้มงวด การเปิดตัวหนังสือพิมพ์ใหม่ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ “นายห้างแสง เหตระกูล” ผู้มีประสบการณ์ในธุรกิจ "โรงพิมพ์ประชาช่าง" กลับกล้าเสี่ยง 🔍

    นายห้างแสงตัดสินใจซื้อกิจการ "หนังสือพิมพ์บางกอกเดลิเมล์" (Bangkok Daily Mail) ของนายหลุย คีรีวัตน์ ซึ่งได้หยุดดำเนินการไปตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 และรื้อฟื้นมันขึ้นใหม่ ในรูปแบบหนังสือพิมพ์รายปักษ์ชื่อว่า “เดลิเมล์วันจันทร์” ออกฉบับแรกเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2493 📅

    ฉบับแรกมีพาดหัวว่า “นักศึกษา มธก.รากเลือดค้าน ก.พ.” เป็นการสะท้อนจุดยืนของสื่อ ที่กล้าแตะประเด็นทางสังคม การเมืองอย่างตรงไปตรงมา

    📰 เปลี่ยนผ่านอย่างมีทิศทาง จากเดลิเมล์ สู่แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์ ในช่วง พ.ศ. 2500 “บางกอกเดลิเมล์รายวัน” ขยับสู่การเป็นหนังสือพิมพ์รายวัน อย่างเต็มรูปแบบ ขยายขนาดหน้ากระดาษจาก 7 เป็น 8 คอลัมน์นิ้ว 🖨 ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ในวงการสื่อขณะนั้น 📈

    แต่แล้วจุดเปลี่ยนสำคัญก็เกิดขึ้น เมื่อรัฐบาล "จอมพลแปลก พิบูลสงคราม" ถูกโค่นล้มโดย "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ซึ่งส่งผลให้สื่อหลายฉบับถูกตรวจสอบ และปิดตัวลง ❌

    ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 “เดลิเมล์รายวัน” ถูกสั่งปิดโดยคำสั่งคณะปฏิวัติ มีการ ล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ และลงครั่งประทับ ปิดฉากความกล้าหาญของสื่อเสรีในยุคนั้น อย่างสิ้นเชิง

    📢 เดลินิวส์ฉบับแรก กำเนิดเกิดใหม่ในนาม “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” แม้จะถูกสั่งปิด แต่ “นายห้างแสง” ไม่ยอมแพ้ ✊ เดินหน้าสู่บทใหม่ ซื้อหัวหนังสือพิมพ์ “แนวหน้า” และรวมเข้ากับชื่อเดิม กลายเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” 🗞

    วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 หนังสือพิมพ์ฉบับนี้ออกวางแผงเป็นครั้งแรก โดยมี "นายประพันธ์ เหตระกูล" บุตรชายเป็นบรรณาธิการบริหาร

    พาดหัวฉบับแรกสร้างเสียงฮือฮาทันที “เมียน้อยจอมพลสฤษดิ์ท้องในอเมริกา พบรักแท้กับนักเรียนไทยวัยรุ่น” 😲 นำเสนอข่าวแบบเจาะลึกถึงตัวบุคคล และโครงสร้างอำนาจการเมือง

    🔍 ข่าวเด่นยุคแรก กล้าท้าชนอำนาจรัฐ เดลินิวส์มีจุดขายที่ชัดเจน คือการเสนอข่าวที่ตรงไปตรงมา 💥 โดยเฉพาะเรื่องของ "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับอนุภรรยากว่า 103 คน และทรัพย์สินมูลค่ากว่า 2,874 ล้านบาท 😮

    นอกจากนี้ยังเปิดโปงคดีอาชญากรรม การทุจริต และประเด็นอ่อนไหวที่สื่ออื่นหลีกเลี่ยง จึงได้รับความนิยมจากผู้อ่านในวงกว้าง และถือเป็น “กระบอกเสียงของประชาชน” ที่แท้จริง

    📈 ก้าวข้ามวิกฤตเศรษฐกิจ ปรับคุณภาพเพื่อความอยู่รอด ช่วง พ.ศ. 2516 - 2517 ทั่วโลกประสบปัญหาน้ำมันขาดแคลน ทำให้ต้นทุนการผลิตหนังสือพิมพ์สูงขึ้น 📉 หนังสือพิมพ์หลายฉบับต้องขึ้นราคาขาย เดลินิวส์ก็เช่นกัน โดยปรับขึ้น 50 สตางค์ 💸

    แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ เดลินิวส์ ไม่ลดคุณภาพข่าว ตรงกันข้ามกลับเพิ่มคอลัมน์ วิเคราะห์การเมือง และข่าวสังคม มากขึ้น ส่งผลให้ได้รับความเชื่อถือจากผู้อ่าน อย่างต่อเนื่อง ✨

    📚 เปลี่ยนชื่อเป็น “เดลินิวส์” อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2522 บริษัทสี่พระยาการพิมพ์ จำกัด ได้ยื่นเรื่องเปลี่ยนชื่อหนังสือพิมพ์เป็น “เดลินิวส์” และได้รับอนุญาตในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2522 🎉

    ต่อมา เดลินิวส์ได้ขยายสำนักงานจากถนนสี่พระยา มาที่ถนนวิภาวดีรังสิต ซึ่งเป็นที่ตั้งปัจจุบัน 🏢 พร้อมขยายจำนวนหน้าจาก 16 เป็น 48 หน้า และเพิ่มราคาจำหน่ายจาก 1 บาท เป็น 10 บาทในปัจจุบัน

    🖨 นวัตกรรมการพิมพ์ ก้าวสู่งานข่าวสีเต็มรูปแบบ ในปี พ.ศ. 2529 เดลินิวส์เริ่มพิมพ์ภาพข่าวสี่สีครั้งแรก คือ ภาพโศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศ “แชลเลนเจอร์” 🚀 และต่อมาในปี พ.ศ. 2531 ตีพิมพ์ภาพ “ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก” คว้ามงกุฎนางงามจักรวาลที่ไต้หวัน 👑

    พร้อมลงทุนในระบบพิมพ์ แซตเติลไลต์ ยูนิต และโฟร์ไฮ ที่สามารถพิมพ์ได้เร็วถึง 120,000 ฉบับ ต่อชั่วโมง 🚀 สร้างมาตรฐานใหม่ให้วงการสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

    🌐 เดลินิวส์ออนไลน์ ปฏิวัติวงการข่าวดิจิทัล ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 เดลินิวส์เข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มตัว เปิดเว็บไซต์ www.dailynews.co.th 💻 พร้อมคอนเซปต์ว่า...

    “ให้ข่าวสารพาไปไกลกว่าแค่ ‘รู้’ แต่คือ รู้ลึก รู้จริง และรู้เท่าทันทุกสถานการณ์”

    ในวันนี้ เดลินิวส์ออนไลน์ครอบคลุมทุกหมวดหมู่ข่าว 🗂️ ไม่ว่าจะเป็นข่าวการเมือง เศรษฐกิจ สังคม บันเทิง กีฬา ไลฟ์สไตล์ รวมถึง วิดีโอ, อินโฟกราฟิก และ คอนเทนต์แบบเรียลไทม์ 24 ชั่วโมง ⏱

    💡 ปณิธานของ “เดลินิวส์” ข่าวเพื่อประชาชน สิ่งที่ทำให้ “เดลินิวส์” อยู่ได้มากว่า 61 ปี ไม่ใช่เพียงเพราะยอดขายหรือชื่อเสียง 🏆 แต่เป็นเพราะความตั้งใจจริงของคณะผู้บริหาร ในการทำสื่อเพื่อประชาชน

    เดลินิวส์นำเสนอข่าวสารที่ครอบคลุม ทั้งข่าวสังคมที่ใกล้ตัว และข่าวเศรษฐกิจระดับชาติ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรมข่าว สร้างความเข้าใจ ที่มากกว่าแค่การรับรู้ข้อมูล 📘

    📌 เดลินิวส์…มากกว่าข่าว คือความเข้าใจ จาก “บางกอกเดลิเมล์” ที่เคยถูกล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ จนถึง “เดลินิวส์ออนไลน์” ที่ไหลลื่นในโลกดิจิทัล 🌐

    เส้นทางกว่า 61 ปี ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ สะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย และบทบาทของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งประชาชน 💞

    และไม่ว่ากาลเวลาจะเปลี่ยนไปอย่างไร เดลินิวส์ยังคงทำหน้าที่ ด้วยหัวใจของนักข่าวเพื่อประชาชน

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 280955 มี.ค. 2568

    📢 #เดลินิวส์ #ประวัติเดลินิวส์ #หนังสือพิมพ์ไทย #สื่อไทย #ข่าวออนไลน์ #เดลินิวส์ออนไลน์ #ข่าวเพื่อประชาชน #61ปีเดลินิวส์ #DailyNewsTH #ข่าวไทย
    📰 61 ปี หนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์” จากบางกอกเดลิเมล์ สู่เดลินิวส์ออนไลน์ บันทึกความทรงจำของสื่อไทย ที่เติบโตเคียงข้างประชาชน ✨ 61 ปี แห่งการเปลี่ยนผ่านของสื่อที่ไม่หยุดนิ่ง ในยุคที่โลกหมุนเร็วด้วยข่าวสารและเทคโนโลยี 🌐 มีไม่กี่สื่อ ที่สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง ตลอดระยะเวลากว่าครึ่งศตวรรษ แต่ “เดลินิวส์” คือหนึ่งในนั้น 🙌 จากวันแรกของการก่อตั้ง เมื่อวันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 สู่การเป็นผู้นำข่าวระดับประเทศ ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และออนไลน์ 🖥️ เส้นทางของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์นั้น ไม่เพียงแต่สะท้อนวิวัฒนาการ ของวงการสื่อไทยเท่านั้น แต่ยังเป็นกระจกเงาสำคัญของประวัติศาสตร์ สังคม และการเมืองไทยตลอด 61 ปี ที่ผ่านมา 📆 ย้อนเวลาสำรวจเส้นทางของหนังสือพิมพ์ ที่เริ่มต้นจาก “บางกอกเดลิเมล์” สู่การเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” และ “เดลินิวส์ออนไลน์” ในวันนี้ พร้อมทั้งเผยเบื้องหลังความเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์ และจุดยืนของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งภารกิจเพื่อประชาชนไทย 🇹🇭 🕰 จุดเริ่มต้นจากบางกอกเดลิเมล์ ความกล้าในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2493 ประเทศไทยอยู่ในยุคหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง 📜 สื่อยังถูกควบคุมโดยรัฐอย่างเข้มงวด การเปิดตัวหนังสือพิมพ์ใหม่ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ “นายห้างแสง เหตระกูล” ผู้มีประสบการณ์ในธุรกิจ "โรงพิมพ์ประชาช่าง" กลับกล้าเสี่ยง 🔍 นายห้างแสงตัดสินใจซื้อกิจการ "หนังสือพิมพ์บางกอกเดลิเมล์" (Bangkok Daily Mail) ของนายหลุย คีรีวัตน์ ซึ่งได้หยุดดำเนินการไปตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 และรื้อฟื้นมันขึ้นใหม่ ในรูปแบบหนังสือพิมพ์รายปักษ์ชื่อว่า “เดลิเมล์วันจันทร์” ออกฉบับแรกเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2493 📅 ฉบับแรกมีพาดหัวว่า “นักศึกษา มธก.รากเลือดค้าน ก.พ.” เป็นการสะท้อนจุดยืนของสื่อ ที่กล้าแตะประเด็นทางสังคม การเมืองอย่างตรงไปตรงมา 📰 เปลี่ยนผ่านอย่างมีทิศทาง จากเดลิเมล์ สู่แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์ ในช่วง พ.ศ. 2500 “บางกอกเดลิเมล์รายวัน” ขยับสู่การเป็นหนังสือพิมพ์รายวัน อย่างเต็มรูปแบบ ขยายขนาดหน้ากระดาษจาก 7 เป็น 8 คอลัมน์นิ้ว 🖨 ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ในวงการสื่อขณะนั้น 📈 แต่แล้วจุดเปลี่ยนสำคัญก็เกิดขึ้น เมื่อรัฐบาล "จอมพลแปลก พิบูลสงคราม" ถูกโค่นล้มโดย "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ซึ่งส่งผลให้สื่อหลายฉบับถูกตรวจสอบ และปิดตัวลง ❌ ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 “เดลิเมล์รายวัน” ถูกสั่งปิดโดยคำสั่งคณะปฏิวัติ มีการ ล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ และลงครั่งประทับ ปิดฉากความกล้าหาญของสื่อเสรีในยุคนั้น อย่างสิ้นเชิง 📢 เดลินิวส์ฉบับแรก กำเนิดเกิดใหม่ในนาม “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” แม้จะถูกสั่งปิด แต่ “นายห้างแสง” ไม่ยอมแพ้ ✊ เดินหน้าสู่บทใหม่ ซื้อหัวหนังสือพิมพ์ “แนวหน้า” และรวมเข้ากับชื่อเดิม กลายเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” 🗞 วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 หนังสือพิมพ์ฉบับนี้ออกวางแผงเป็นครั้งแรก โดยมี "นายประพันธ์ เหตระกูล" บุตรชายเป็นบรรณาธิการบริหาร พาดหัวฉบับแรกสร้างเสียงฮือฮาทันที “เมียน้อยจอมพลสฤษดิ์ท้องในอเมริกา พบรักแท้กับนักเรียนไทยวัยรุ่น” 😲 นำเสนอข่าวแบบเจาะลึกถึงตัวบุคคล และโครงสร้างอำนาจการเมือง 🔍 ข่าวเด่นยุคแรก กล้าท้าชนอำนาจรัฐ เดลินิวส์มีจุดขายที่ชัดเจน คือการเสนอข่าวที่ตรงไปตรงมา 💥 โดยเฉพาะเรื่องของ "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับอนุภรรยากว่า 103 คน และทรัพย์สินมูลค่ากว่า 2,874 ล้านบาท 😮 นอกจากนี้ยังเปิดโปงคดีอาชญากรรม การทุจริต และประเด็นอ่อนไหวที่สื่ออื่นหลีกเลี่ยง จึงได้รับความนิยมจากผู้อ่านในวงกว้าง และถือเป็น “กระบอกเสียงของประชาชน” ที่แท้จริง 📈 ก้าวข้ามวิกฤตเศรษฐกิจ ปรับคุณภาพเพื่อความอยู่รอด ช่วง พ.ศ. 2516 - 2517 ทั่วโลกประสบปัญหาน้ำมันขาดแคลน ทำให้ต้นทุนการผลิตหนังสือพิมพ์สูงขึ้น 📉 หนังสือพิมพ์หลายฉบับต้องขึ้นราคาขาย เดลินิวส์ก็เช่นกัน โดยปรับขึ้น 50 สตางค์ 💸 แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ เดลินิวส์ ไม่ลดคุณภาพข่าว ตรงกันข้ามกลับเพิ่มคอลัมน์ วิเคราะห์การเมือง และข่าวสังคม มากขึ้น ส่งผลให้ได้รับความเชื่อถือจากผู้อ่าน อย่างต่อเนื่อง ✨ 📚 เปลี่ยนชื่อเป็น “เดลินิวส์” อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2522 บริษัทสี่พระยาการพิมพ์ จำกัด ได้ยื่นเรื่องเปลี่ยนชื่อหนังสือพิมพ์เป็น “เดลินิวส์” และได้รับอนุญาตในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2522 🎉 ต่อมา เดลินิวส์ได้ขยายสำนักงานจากถนนสี่พระยา มาที่ถนนวิภาวดีรังสิต ซึ่งเป็นที่ตั้งปัจจุบัน 🏢 พร้อมขยายจำนวนหน้าจาก 16 เป็น 48 หน้า และเพิ่มราคาจำหน่ายจาก 1 บาท เป็น 10 บาทในปัจจุบัน 🖨 นวัตกรรมการพิมพ์ ก้าวสู่งานข่าวสีเต็มรูปแบบ ในปี พ.ศ. 2529 เดลินิวส์เริ่มพิมพ์ภาพข่าวสี่สีครั้งแรก คือ ภาพโศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศ “แชลเลนเจอร์” 🚀 และต่อมาในปี พ.ศ. 2531 ตีพิมพ์ภาพ “ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก” คว้ามงกุฎนางงามจักรวาลที่ไต้หวัน 👑 พร้อมลงทุนในระบบพิมพ์ แซตเติลไลต์ ยูนิต และโฟร์ไฮ ที่สามารถพิมพ์ได้เร็วถึง 120,000 ฉบับ ต่อชั่วโมง 🚀 สร้างมาตรฐานใหม่ให้วงการสื่อสิ่งพิมพ์ไทย 🌐 เดลินิวส์ออนไลน์ ปฏิวัติวงการข่าวดิจิทัล ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 เดลินิวส์เข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มตัว เปิดเว็บไซต์ www.dailynews.co.th 💻 พร้อมคอนเซปต์ว่า... “ให้ข่าวสารพาไปไกลกว่าแค่ ‘รู้’ แต่คือ รู้ลึก รู้จริง และรู้เท่าทันทุกสถานการณ์” ในวันนี้ เดลินิวส์ออนไลน์ครอบคลุมทุกหมวดหมู่ข่าว 🗂️ ไม่ว่าจะเป็นข่าวการเมือง เศรษฐกิจ สังคม บันเทิง กีฬา ไลฟ์สไตล์ รวมถึง วิดีโอ, อินโฟกราฟิก และ คอนเทนต์แบบเรียลไทม์ 24 ชั่วโมง ⏱ 💡 ปณิธานของ “เดลินิวส์” ข่าวเพื่อประชาชน สิ่งที่ทำให้ “เดลินิวส์” อยู่ได้มากว่า 61 ปี ไม่ใช่เพียงเพราะยอดขายหรือชื่อเสียง 🏆 แต่เป็นเพราะความตั้งใจจริงของคณะผู้บริหาร ในการทำสื่อเพื่อประชาชน เดลินิวส์นำเสนอข่าวสารที่ครอบคลุม ทั้งข่าวสังคมที่ใกล้ตัว และข่าวเศรษฐกิจระดับชาติ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรมข่าว สร้างความเข้าใจ ที่มากกว่าแค่การรับรู้ข้อมูล 📘 📌 เดลินิวส์…มากกว่าข่าว คือความเข้าใจ จาก “บางกอกเดลิเมล์” ที่เคยถูกล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ จนถึง “เดลินิวส์ออนไลน์” ที่ไหลลื่นในโลกดิจิทัล 🌐 เส้นทางกว่า 61 ปี ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ สะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย และบทบาทของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งประชาชน 💞 และไม่ว่ากาลเวลาจะเปลี่ยนไปอย่างไร เดลินิวส์ยังคงทำหน้าที่ ด้วยหัวใจของนักข่าวเพื่อประชาชน ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 280955 มี.ค. 2568 📢 #เดลินิวส์ #ประวัติเดลินิวส์ #หนังสือพิมพ์ไทย #สื่อไทย #ข่าวออนไลน์ #เดลินิวส์ออนไลน์ #ข่าวเพื่อประชาชน #61ปีเดลินิวส์ #DailyNewsTH #ข่าวไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 338 มุมมอง 0 รีวิว
  • รัฐบาลอิตาลีเสนอชื่อ Marcello Sala เข้าร่วมคณะกรรมการกำกับดูแลของ STMicroelectronics บริษัทผู้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์ที่มีรัฐบาลอิตาลีและฝรั่งเศสถือหุ้นรวมกัน 27.5% ในช่วงที่บริษัทกำลังเผชิญกับความท้าทายด้านการลดต้นทุนและการปลดพนักงานในอิตาลี การประชุมสำคัญในเดือนเมษายนจะเป็นจุดเปลี่ยนที่ช่วยกำหนดอนาคตของบริษัทและแรงงานในประเทศ

    บทบาทของ Marcello Sala:
    - Sala มีบทบาทสำคัญในการจัดการทรัพย์สินของรัฐ เช่น การลดสัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร Monte dei Paschi di Siena ซึ่งช่วยให้รัฐบาลอิตาลีปฏิบัติตามข้อตกลงกับคณะกรรมาธิการยุโรป.

    ความไม่พอใจต่อ CEO ของ STMicroelectronics:
    - มีรายงานว่ารัฐบาลอิตาลีไม่พอใจต่อการบริหารงานของ Jean-Marc Chery CEO ของบริษัท โดยเฉพาะแผนการลดพนักงานที่ส่งผลกระทบต่อแรงงานในประเทศ.

    การประชุมสำคัญในเดือนเมษายน:
    - รัฐมนตรีเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของอิตาลีได้เรียกประชุมตัวแทนจาก STMicroelectronics และสหภาพแรงงานในวันที่ 3 เมษายน เพื่อหารือเกี่ยวกับอนาคตของบริษัทในประเทศ.

    การเปลี่ยนแปลงในคณะกรรมการกำกับดูแล:
    - Sala และ Simonetta Acri ถูกเสนอชื่อให้แทนที่ Maurizio Tamagnini และ Donatella Sciuto ในคณะกรรมการกำกับดูแล ซึ่งมีหน้าที่ให้คำแนะนำและตรวจสอบนโยบายของคณะกรรมการบริหาร.

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/28/italian-top-government-official-seen-joining-stmicroelectronics-supervisory-board
    รัฐบาลอิตาลีเสนอชื่อ Marcello Sala เข้าร่วมคณะกรรมการกำกับดูแลของ STMicroelectronics บริษัทผู้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์ที่มีรัฐบาลอิตาลีและฝรั่งเศสถือหุ้นรวมกัน 27.5% ในช่วงที่บริษัทกำลังเผชิญกับความท้าทายด้านการลดต้นทุนและการปลดพนักงานในอิตาลี การประชุมสำคัญในเดือนเมษายนจะเป็นจุดเปลี่ยนที่ช่วยกำหนดอนาคตของบริษัทและแรงงานในประเทศ บทบาทของ Marcello Sala: - Sala มีบทบาทสำคัญในการจัดการทรัพย์สินของรัฐ เช่น การลดสัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร Monte dei Paschi di Siena ซึ่งช่วยให้รัฐบาลอิตาลีปฏิบัติตามข้อตกลงกับคณะกรรมาธิการยุโรป. ความไม่พอใจต่อ CEO ของ STMicroelectronics: - มีรายงานว่ารัฐบาลอิตาลีไม่พอใจต่อการบริหารงานของ Jean-Marc Chery CEO ของบริษัท โดยเฉพาะแผนการลดพนักงานที่ส่งผลกระทบต่อแรงงานในประเทศ. การประชุมสำคัญในเดือนเมษายน: - รัฐมนตรีเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของอิตาลีได้เรียกประชุมตัวแทนจาก STMicroelectronics และสหภาพแรงงานในวันที่ 3 เมษายน เพื่อหารือเกี่ยวกับอนาคตของบริษัทในประเทศ. การเปลี่ยนแปลงในคณะกรรมการกำกับดูแล: - Sala และ Simonetta Acri ถูกเสนอชื่อให้แทนที่ Maurizio Tamagnini และ Donatella Sciuto ในคณะกรรมการกำกับดูแล ซึ่งมีหน้าที่ให้คำแนะนำและตรวจสอบนโยบายของคณะกรรมการบริหาร. https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/28/italian-top-government-official-seen-joining-stmicroelectronics-supervisory-board
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Italian top government official seen joining STMicroelectronics supervisory board
    ROME (Reuters) - Italy intends to appoint Marcello Sala, head of an economy ministry department that manages state-run firms and asset disposals, as a supervisory board member at chip maker STMicroelectronics, three sources said.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 222 มุมมอง 0 รีวิว
  • Intel ได้ประกาศการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในคณะกรรมการบริหาร โดยสมาชิก 3 คนรวมถึงอดีต CEO ของ Medtronic ได้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งในปี 2025 ขณะที่ CEO ใหม่ของ Intel, Lip-Bu Tan กำลังนำบริษัทเข้าสู่ยุคใหม่ด้วยการปรับโครงสร้างคณะกรรมการให้มุ่งเน้นอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนผ่านที่สะท้อนถึงยุทธศาสตร์การฟื้นฟูองค์กรครั้งใหญ่

    การลดจำนวนสมาชิกคณะกรรมการ:
    - การปรับเปลี่ยนครั้งนี้ทำให้จำนวนสมาชิกลดลงเหลือ 11 คน และเพิ่มบุคคลที่มีประสบการณ์ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เช่น อดีต CEO ของ ASML และ CEO ชั่วคราวของ Microchip Technology.

    ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูภายใต้ CEO ใหม่:
    - Lip-Bu Tan วางแผนลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพ ด้วยการลดพนักงานลง 15% รวมถึงเน้นผลิตภัณฑ์และบริการผลิตชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์ตามสัญญาเป็นหัวใจของกลยุทธ์.

    บทบาทของอดีต CEO Pat Gelsinger:
    - แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงมากมาย แต่ Gelsinger ได้รับเงินชดเชยจำนวน 7.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และต้องสละสิทธิ์ในหุ้นทั้งหมดที่ยังไม่ได้ถือครอง.

    เป้าหมายระยะยาว:
    - การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสะท้อนถึงความมุ่งมั่นของ Intel ในการลดความซับซ้อนขององค์กรและเพิ่มความคล่องตัว เพื่อกลับมายืนในจุดสูงสุดในตลาดชิปอีกครั้ง.

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/27/three-intel-board-members-to-retire-in-latest-shakeup-amid-turnaround
    Intel ได้ประกาศการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในคณะกรรมการบริหาร โดยสมาชิก 3 คนรวมถึงอดีต CEO ของ Medtronic ได้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งในปี 2025 ขณะที่ CEO ใหม่ของ Intel, Lip-Bu Tan กำลังนำบริษัทเข้าสู่ยุคใหม่ด้วยการปรับโครงสร้างคณะกรรมการให้มุ่งเน้นอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนผ่านที่สะท้อนถึงยุทธศาสตร์การฟื้นฟูองค์กรครั้งใหญ่ การลดจำนวนสมาชิกคณะกรรมการ: - การปรับเปลี่ยนครั้งนี้ทำให้จำนวนสมาชิกลดลงเหลือ 11 คน และเพิ่มบุคคลที่มีประสบการณ์ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เช่น อดีต CEO ของ ASML และ CEO ชั่วคราวของ Microchip Technology. ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูภายใต้ CEO ใหม่: - Lip-Bu Tan วางแผนลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพ ด้วยการลดพนักงานลง 15% รวมถึงเน้นผลิตภัณฑ์และบริการผลิตชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์ตามสัญญาเป็นหัวใจของกลยุทธ์. บทบาทของอดีต CEO Pat Gelsinger: - แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงมากมาย แต่ Gelsinger ได้รับเงินชดเชยจำนวน 7.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และต้องสละสิทธิ์ในหุ้นทั้งหมดที่ยังไม่ได้ถือครอง. เป้าหมายระยะยาว: - การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสะท้อนถึงความมุ่งมั่นของ Intel ในการลดความซับซ้อนขององค์กรและเพิ่มความคล่องตัว เพื่อกลับมายืนในจุดสูงสุดในตลาดชิปอีกครั้ง. https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/27/three-intel-board-members-to-retire-in-latest-shakeup-amid-turnaround
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Three Intel board members to retire in latest shakeup amid turnaround
    (Reuters) - Three Intel board members will not stand for reelection at its 2025 annual meeting, the chipmaker said in a regulatory filing on Thursday, amid a historic transition under newly appointed CEO Lip-Bu Tan.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 229 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไฟเขียวบ่อนคอมเพล็กซ์ ชนวนขัดแย้งรอบใหม่

    ทันทีที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร หรือเอ็นเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ (Entertainment Complex) ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ และเตรียมเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาตามขั้นตอน กลุ่มผู้ชุมนุมนำโดย นายจตุพร พรหมพันธุ์ วิทยากรคณะหลอมรวมประชาชน ร่วมกับเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฎิรูปประเทศไทย (คปท.) นำโดยนายพิชิต ไชยมงคล ประกาศยกระดับเป็นขับไล่รัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร พร้อมปักหลักพักค้างที่เชิงสะพานชมัยมรุเชฐ ปราศรัยตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป จนกว่าจะได้รับชัยชนะ

    นายจตุพร กล่าวปราศรัยว่า รัฐบาลแพทองธารเสมือนหนึ่งทำอะไรก็ได้ อาจมองว่าสถานการณ์การชุมนุมไม่น่ากลัวเพราะไม่มีนายทุนสนับสนุน แต่สมัยเหตุการณ์พฤษภา 35 เริ่มต้นคนจำนวนน้อยกว่านี้ เมื่อมีแกนนำมาสมทบ ขบวนการก็ใหญ่ขึ้นในพริบตา วันนี้ไม่ได้สู้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว เพราะวันข้างหน้าหากบ่อนการพนันเกิดขึ้นทั้งแผ่นดิน และพนันออนไลน์เข้ามาตามระบบ ต่อไปเงินที่มาจากบ่อนการพนันจะกำหนดอนาคตประเทศนี้ และเกิดสิ่งที่ชั่วช้าในบ้านเมือง ทั้งที่สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้เลิกบ่อนการพนันถาวร เพราะเป็นห่วงพสกนิกรไม่อยากให้ตกเป็นทาสการพนัน เป็นผลให้ทำสิ่งที่ผิดกฎหมายมากมาย

    "บอกว่าจะส่งเสริมรายได้เข้าประเทศ ต้องการเอาเงินเป็นภาษีเข้าประเทศ แต่ครอบครัวตัวเองถูกยึดทรัพย์ ตัวเองก็ถูกกล่าวหาว่าหลบเลี่ยงภาษี ประมวลกฎหมายจริยธรรมนั้นได้ลงรายละเอียดไว้มากมาย ว่าการใช้ช่องว่างทางกฎหมายเพื่อตัวเองและผู้อื่นนั้น เป็นเรื่องของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะกระทำมิได้"

    ก่อนหน้านี้ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แถลงข่าวหลังประชุม ครม.ว่า เอ็นเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ ไม่เท่ากับกาสิโน เพราะมีอยู่ไม่เกิน 10% ขณะที่ 90% จะเป็นฮอลล์คอนเสิร์ต อินดอร์สเตเดียมขนาดใหญ่ สวนน้ำ โรงแรม ร้านอาหาร อ้างว่าจะสร้างรายได้กว่า 119,000-238,000 ล้านบาท นักท่องเที่ยวต่างชาติจะเพิ่มขึ้น 5-10% ต่อปี มีการจ้างงานในประเทศเพิ่มขึ้น เกิดอาชีพใหม่ และทำให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีจากกาสิโนและธุรกิจอื่นเพื่อนำมาพัฒนาประเทศ อีกทั้งจะมีกฎหมายควบคุมเพื่อป้องกันติดการพนัน

    ส่วนที่จะต้องผ่านประชุมสภาฯ และยังมีการชุมนุมอีก จะเอาอยู่หรือไม่ เห็นว่าต้องอธิบายไปเรื่อยๆ ไม่อยากพูดว่าจัดการได้ทั้งหมด เรายินดีรับฟังความคิดเห็นทั้งหมดและพร้อมที่จะตอบ หากมีรายละเอียดอะไรที่อยากรู้เพิ่มเติมเราก็จะตอบ แล้วจะสื่อสารให้มากขึ้น ส่วนพรรคร่วมรัฐบาล ได้ฝากถึงนายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมช.คลังให้ช่วยชี้แจงด้วย

    #Newskit
    ไฟเขียวบ่อนคอมเพล็กซ์ ชนวนขัดแย้งรอบใหม่ ทันทีที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร หรือเอ็นเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ (Entertainment Complex) ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ และเตรียมเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาตามขั้นตอน กลุ่มผู้ชุมนุมนำโดย นายจตุพร พรหมพันธุ์ วิทยากรคณะหลอมรวมประชาชน ร่วมกับเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฎิรูปประเทศไทย (คปท.) นำโดยนายพิชิต ไชยมงคล ประกาศยกระดับเป็นขับไล่รัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร พร้อมปักหลักพักค้างที่เชิงสะพานชมัยมรุเชฐ ปราศรัยตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป จนกว่าจะได้รับชัยชนะ นายจตุพร กล่าวปราศรัยว่า รัฐบาลแพทองธารเสมือนหนึ่งทำอะไรก็ได้ อาจมองว่าสถานการณ์การชุมนุมไม่น่ากลัวเพราะไม่มีนายทุนสนับสนุน แต่สมัยเหตุการณ์พฤษภา 35 เริ่มต้นคนจำนวนน้อยกว่านี้ เมื่อมีแกนนำมาสมทบ ขบวนการก็ใหญ่ขึ้นในพริบตา วันนี้ไม่ได้สู้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว เพราะวันข้างหน้าหากบ่อนการพนันเกิดขึ้นทั้งแผ่นดิน และพนันออนไลน์เข้ามาตามระบบ ต่อไปเงินที่มาจากบ่อนการพนันจะกำหนดอนาคตประเทศนี้ และเกิดสิ่งที่ชั่วช้าในบ้านเมือง ทั้งที่สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้เลิกบ่อนการพนันถาวร เพราะเป็นห่วงพสกนิกรไม่อยากให้ตกเป็นทาสการพนัน เป็นผลให้ทำสิ่งที่ผิดกฎหมายมากมาย "บอกว่าจะส่งเสริมรายได้เข้าประเทศ ต้องการเอาเงินเป็นภาษีเข้าประเทศ แต่ครอบครัวตัวเองถูกยึดทรัพย์ ตัวเองก็ถูกกล่าวหาว่าหลบเลี่ยงภาษี ประมวลกฎหมายจริยธรรมนั้นได้ลงรายละเอียดไว้มากมาย ว่าการใช้ช่องว่างทางกฎหมายเพื่อตัวเองและผู้อื่นนั้น เป็นเรื่องของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะกระทำมิได้" ก่อนหน้านี้ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แถลงข่าวหลังประชุม ครม.ว่า เอ็นเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ ไม่เท่ากับกาสิโน เพราะมีอยู่ไม่เกิน 10% ขณะที่ 90% จะเป็นฮอลล์คอนเสิร์ต อินดอร์สเตเดียมขนาดใหญ่ สวนน้ำ โรงแรม ร้านอาหาร อ้างว่าจะสร้างรายได้กว่า 119,000-238,000 ล้านบาท นักท่องเที่ยวต่างชาติจะเพิ่มขึ้น 5-10% ต่อปี มีการจ้างงานในประเทศเพิ่มขึ้น เกิดอาชีพใหม่ และทำให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีจากกาสิโนและธุรกิจอื่นเพื่อนำมาพัฒนาประเทศ อีกทั้งจะมีกฎหมายควบคุมเพื่อป้องกันติดการพนัน ส่วนที่จะต้องผ่านประชุมสภาฯ และยังมีการชุมนุมอีก จะเอาอยู่หรือไม่ เห็นว่าต้องอธิบายไปเรื่อยๆ ไม่อยากพูดว่าจัดการได้ทั้งหมด เรายินดีรับฟังความคิดเห็นทั้งหมดและพร้อมที่จะตอบ หากมีรายละเอียดอะไรที่อยากรู้เพิ่มเติมเราก็จะตอบ แล้วจะสื่อสารให้มากขึ้น ส่วนพรรคร่วมรัฐบาล ได้ฝากถึงนายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมช.คลังให้ช่วยชี้แจงด้วย #Newskit
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 329 มุมมอง 0 รีวิว
  • #นายกฯ เผย ครม.ไฟเขียว Entertainment Complex เรียบร้อย ขออย่ามองแค่กาสิโน เตรียมส่งต่อสภาฯ ชี้ให้มองภาพรวมธุรกิจ นักท่องเที่ยว สร้างงานครบวงจร ส่งผลเก็บภาษีเข้าประเทศ 8,000 - 35,000 ล้านบาท บอกคุยพรรคร่วมไม่มีปัญหา พร้อมเดินหน้าสร้างการรับรู้เพิ่มขึ้น แซวสื่อถามให้มีรอยร้าว

    เมื่อเวลา 10.10 น.วันที่ 27 มี.ค. นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีแถลง ผลการประชุมคณะรัฐมนตรีว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่คณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ ร่างพระราชบัญญัติ การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร Entertainment Complex โดยมีวัตถุประสงค์ สร้างการท่องเที่ยวแบบใหม่ ไม่ต้องรอการท่องเที่ยวตามฤดูกาลหรือ การท่องเที่ยวเดิมที่มีอยู่ หรือMan made tourism โดยร่างพ.ร.บ.ดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการเปิดรับฟังความคิดเห็น โดยมีผู้ให้ความเห็นกว่า 80,000 ราย ซึ่ง 80% เห็นด้วย จากนั้นจะเสนอร่างดังกล่าวให้รัฐสภาพิจารณาต่อไป โดย Entertainment Complex ไม่เท่ากับกาสิโนเพราะ มีกาสิโนอยู่ไม่เกิน 10% ขณะที่ 90% จะเป็นเรื่อง ฮอคอนเสิร์ตขนาดใหญ่ ความจุ 50,000 คน indoor Stadium ขนาดใหญ่สวนน้ำ โรงแรม ร้านอาหาร ที่จะสร้างรายได้กว่า 119,000 ถึง 238,000 ล้านบาท คาดว่าจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจะเพิ่มขึ้น 5-10% ต่อ ปี และมีการจ้างงานในประเทศเพิ่มขึ้นเกิดอาชีพใหม่ และทำให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีจากกาสิโน และธุรกิจอื่นเพื่อนำมาพัฒนาประเทศ ที่สำคัญจะมีกฎหมายควบคุม เพื่อป้องกันติดการพนัน โดยจะกำกับดูแลอย่างเคร่งครัด

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000029143

    #MGROnline #EntertainmentComplex #กาสิโน
    #นายกฯ เผย ครม.ไฟเขียว Entertainment Complex เรียบร้อย ขออย่ามองแค่กาสิโน เตรียมส่งต่อสภาฯ ชี้ให้มองภาพรวมธุรกิจ นักท่องเที่ยว สร้างงานครบวงจร ส่งผลเก็บภาษีเข้าประเทศ 8,000 - 35,000 ล้านบาท บอกคุยพรรคร่วมไม่มีปัญหา พร้อมเดินหน้าสร้างการรับรู้เพิ่มขึ้น แซวสื่อถามให้มีรอยร้าว • เมื่อเวลา 10.10 น.วันที่ 27 มี.ค. นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีแถลง ผลการประชุมคณะรัฐมนตรีว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่คณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ ร่างพระราชบัญญัติ การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร Entertainment Complex โดยมีวัตถุประสงค์ สร้างการท่องเที่ยวแบบใหม่ ไม่ต้องรอการท่องเที่ยวตามฤดูกาลหรือ การท่องเที่ยวเดิมที่มีอยู่ หรือMan made tourism โดยร่างพ.ร.บ.ดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการเปิดรับฟังความคิดเห็น โดยมีผู้ให้ความเห็นกว่า 80,000 ราย ซึ่ง 80% เห็นด้วย จากนั้นจะเสนอร่างดังกล่าวให้รัฐสภาพิจารณาต่อไป โดย Entertainment Complex ไม่เท่ากับกาสิโนเพราะ มีกาสิโนอยู่ไม่เกิน 10% ขณะที่ 90% จะเป็นเรื่อง ฮอคอนเสิร์ตขนาดใหญ่ ความจุ 50,000 คน indoor Stadium ขนาดใหญ่สวนน้ำ โรงแรม ร้านอาหาร ที่จะสร้างรายได้กว่า 119,000 ถึง 238,000 ล้านบาท คาดว่าจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติจะเพิ่มขึ้น 5-10% ต่อ ปี และมีการจ้างงานในประเทศเพิ่มขึ้นเกิดอาชีพใหม่ และทำให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีจากกาสิโน และธุรกิจอื่นเพื่อนำมาพัฒนาประเทศ ที่สำคัญจะมีกฎหมายควบคุม เพื่อป้องกันติดการพนัน โดยจะกำกับดูแลอย่างเคร่งครัด • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000029143 • #MGROnline #EntertainmentComplex #กาสิโน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 257 มุมมอง 0 รีวิว
  • 48 ปี โศกนาฏกรรมกลางรันเวย์ “โบอิง 747” ชนกันที่เตเนริเฟ 🇪🇸✈️ สำเนียงสเปนพ่นพิษ นักบินสื่อสารผิดพลาด 583 ศพ บทเรียนราคาแพงจากท่าอากาศยาน ท่ามกลางหมอกหนา ความเครียด และสำเนียงที่ฟังยาก

    🌫️ โศกนาฏกรรมแห่งเตเนริเฟ 🔥 ย้อนไปเมื่อ 48 ปี ที่ผ่านมา ช่วงเย็นวันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 เป็นวันที่โลกต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การบิน เมื่อเครื่องบินโดยสารขนาดยักษ์ โบอิง 747 ของสายการบิน KLM และ Pan Am ชนกันกลางรันเวย์ที่สนามบินโลสโรเดโอส ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต เกาะเตเนริเฟ ประเทศสเปน

    ผลที่ตามมาคือ ผู้เสียชีวิต 583 ราย และบาดเจ็บ 61 คน เป็นอุบัติเหตุทางอากาศ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในโลก เหตุการณ์ครั้งนั้น ไม่ได้เกิดจากเทคโนโลยีขัดข้อง หากแต่เป็นผลพวงจากปัจจัยมนุษย์ (Human Error) และการสื่อสารที่ผิดพลาด ท่ามกลางความกดดัน

    ✈️💥 บริบทก่อนเกิดเหตุ ในช่วงบ่ายของวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 "สนามบินกรันกานาเรีย" ซึ่งเป็นสนามบินหลักของหมู่เกาะคานารี ถูกขู่วางระเบิด ทำให้ต้องปิดการใช้งานชั่วคราว ✋🔴

    เครื่องบินหลายลำ รวมถึงเที่ยวบิน KLM 4805 และ Pan Am 1736 จำเป็นต้องลงจอดที่สนามบินสำรองอย่าง “โลสโรเดโอส” ซึ่งเป็นสนามบินขนาดเล็ก ที่ไม่มีความพร้อมรองรับ เครื่องบินลำใหญ่จำนวนมาก

    🕰️ จุดเริ่มต้นของหายนะ 🧨
    - KLM 4805 เดินทางจากอัมสเตอร์ดัม พร้อมผู้โดยสาร 234 คน และลูกเรือ 14 คน
    - Pan Am 1736:เดินทางจากลอสแอนเจลิส แวะนิวยอร์ก มุ่งหน้ากรุงมาดริด พร้อมผู้โดยสาร 380 คน และลูกเรือ 16 คน

    หลังจากเครื่องบินหลายลำลงจอด และจอดเรียงรายกันในพื้นที่จำกัด เจ้าหน้าที่ต้องบริหารพื้นที่ อย่างเร่งด่วน ก่อให้เกิดความเครียด ทั้งในหอบังคับการบินและลูกเรือ

    🚧 จุดเปลี่ยนสำคัญคือ กัปตันของ KLM ตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถัง เพื่อเลี่ยงเติมที่สนามบินปลายทางเ พราะราคาถูกกว่า ทำให้ต้องจอดนานกว่าเดิม และขัดขวางการเคลื่อนตัวของ Pan Am

    ☁️ หมอกและความสับสน ภัยเงียบแห่งรันเวย์ 🗣️ เมื่อสนามบินกรันกานาเรียเปิดใช้งานอีกครั้ง การจราจรทางอากาศในโลสโรเดโอส วุ่นวายทันที

    📻 หอบังคับการบิน ต้องจัดการเครื่องบินหลายลำ แต่ขาดเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้พวกเขามองไม่เห็นตำแหน่งเครื่องบิน ต้องอาศัยการสื่อสารวิทยุแทน

    ✋ จุดวิกฤตเกิดขึ้นเมื่อ KLM เข้าใจผิดว่า สามารถนำเครื่องขึ้นได้ทันที ขณะที่ Pan Am ยังอยู่บนรันเวย์เดียวกัน!

    สำเนียงสเปน กับความคลุมเครือของคำว่า “Takeoff” 😓📡

    📌 ขณะที่ KLM กำลังเตรียมนำเครื่องขึ้น นักบินผู้ช่วยพูดว่า

    “We are now at takeoff.”

    ซึ่งไม่ใช่ประโยคขออนุญาตขึ้นบินโดยตรง แต่เป็นการสื่อสารที่ทำให้เข้าใจคลุมเครือ หอบังคับการบินตอบกลับว่า

    “OK, stand by for takeoff, I will call you.”

    แต่...❗เสียงตอบกลับนั้น ถูกกลืนหายไปกับคลื่นรบกวน ทำให้นักบิน KLM ไม่ได้ยินคำสั่งเต็ม ๆ

    🔥 การชนที่ไม่ควรเกิดขึ้น 💔 KLM เร่งนำเครื่องขึ้น โดยเข้าใจว่าได้รับอนุญาต ขณะที่ Pan Am กำลังเคลื่อนผ่านทางแยก วิ่งบนรันเวย์เดียวกัน หมอกหนาทำให้มองไม่เห็น

    ผลลัพธ์คือ ❌

    ✈️ เครื่องบิน KLM ชนเข้ากลางลำ Pan Am อย่างรุนแรง

    💥 ไฟลุกท่วมเครื่องบินทั้งสองลำในทันที

    - เสียชีวิตจาก KLM 248 ศพ (รอด = 0)
    - เสียชีวิตจาก Pan Am 335 ศพ (รอด = 61 คน)

    😢 บทวิเคราะห์: สาเหตุแห่งหายนะ 🔍
    ปัจจัยมนุษย์ (Human Error)
    - ความเครียดของกัปตัน KLM ที่ต้องรับแรงกดดัน จากบริษัทห้ามดีเลย์ 🕒
    - ขาดการสื่อสารชัดเจน ระหว่างนักบินกับหอบังคับการบิน 📻
    - สำเนียงสเปน ทำให้สื่อสารภาษาอังกฤษไม่ชัดเจน 🗣️

    ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
    - สนามบินโลสโรเดโอส ไม่มีเรดาร์พื้นดิน ❌
    - หมอกลงจัด มองไม่เห็นปลายรันเวย์ 🌫️
    - พื้นที่สนามบิน ไม่พร้อมรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่หลายลำ 🚫

    📚🛫 หลังเหตุการณ์นี้ อุตสาหกรรมการบินทั่วโลก ได้ปรับปรุงมาตรการอย่างจริงจัง
    ✅ การสื่อสารต้องใช้ภาษามาตรฐาน และชัดเจนมากขึ้น (Standard Phraseology)
    ✅ ห้ามนักบินตีความเอง โดยไม่มีการอนุญาตชัดเจน
    ✅ มีการพัฒนา Cockpit Resource Management (CRM) เพื่อเน้นการทำงานเป็นทีมระหว่างลูกเรือ
    ✅ ระบบเรดาร์พื้นดิน (Ground Radar) ถูกติดตั้งในสนามบินใหญ่ ๆ ทั่วโลก

    😨 เหตุการณ์ที่เกือบซ้ำรอยในปี 2542 🛬
    เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 ที่สนามบินโอแฮร์ สหรัฐอเมริกา ✈️
    - Korean Air เที่ยวบิน 36 Boeing 747 พร้อมผู้โดยสาร 340 คน
    - China Airlines เที่ยวบิน 9018 Boeing 747 เช่นกัน

    เกือบชนกันกลางรันเวย์ เนื่องจากความเข้าใจผิด ในการจราจรทางอากาศ แต่โชคดีที่หลีกเลี่ยงได้ทันโดยเครื่องบินอยู่ห่างกันเพียง 75 ฟุตเท่านั้น 😱

    🕯️ 583 ชีวิต กับบทเรียนที่ไม่มีวันลืม ✈️ “โศกนาฏกรรมเตเนริเฟ” เป็นบทเรียนราคาแพงที่สุดครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ ที่สอนเราให้ระมัดระวังในการสื่อสาร การจัดการความเสี่ยง และให้ความสำคัญ กับมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ✈️🧠

    แม้เวลาจะผ่านไป 48 ปี... แต่ความสูญเสีย และบทเรียนจากเหตุการณ์นี้ ยังคงส่องแสงเป็นคำเตือน ถึงทุกคนในวงการการบินเสมอ

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 271250 มี.ค. 2568

    📲 #TenerifeDisaster #Boeing747 #PlaneCrashHistory #AirlineSafety #KLM4805 #PanAm1736 #AirCrashInvestigation #อุบัติเหตุทางการบิน #โบอิง747ชนกัน #บทเรียนการบิน
    48 ปี โศกนาฏกรรมกลางรันเวย์ “โบอิง 747” ชนกันที่เตเนริเฟ 🇪🇸✈️ สำเนียงสเปนพ่นพิษ นักบินสื่อสารผิดพลาด 583 ศพ บทเรียนราคาแพงจากท่าอากาศยาน ท่ามกลางหมอกหนา ความเครียด และสำเนียงที่ฟังยาก 🌫️ โศกนาฏกรรมแห่งเตเนริเฟ 🔥 ย้อนไปเมื่อ 48 ปี ที่ผ่านมา ช่วงเย็นวันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 เป็นวันที่โลกต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การบิน เมื่อเครื่องบินโดยสารขนาดยักษ์ โบอิง 747 ของสายการบิน KLM และ Pan Am ชนกันกลางรันเวย์ที่สนามบินโลสโรเดโอส ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต เกาะเตเนริเฟ ประเทศสเปน ผลที่ตามมาคือ ผู้เสียชีวิต 583 ราย และบาดเจ็บ 61 คน เป็นอุบัติเหตุทางอากาศ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในโลก เหตุการณ์ครั้งนั้น ไม่ได้เกิดจากเทคโนโลยีขัดข้อง หากแต่เป็นผลพวงจากปัจจัยมนุษย์ (Human Error) และการสื่อสารที่ผิดพลาด ท่ามกลางความกดดัน ✈️💥 บริบทก่อนเกิดเหตุ ในช่วงบ่ายของวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 "สนามบินกรันกานาเรีย" ซึ่งเป็นสนามบินหลักของหมู่เกาะคานารี ถูกขู่วางระเบิด ทำให้ต้องปิดการใช้งานชั่วคราว ✋🔴 เครื่องบินหลายลำ รวมถึงเที่ยวบิน KLM 4805 และ Pan Am 1736 จำเป็นต้องลงจอดที่สนามบินสำรองอย่าง “โลสโรเดโอส” ซึ่งเป็นสนามบินขนาดเล็ก ที่ไม่มีความพร้อมรองรับ เครื่องบินลำใหญ่จำนวนมาก 🕰️ จุดเริ่มต้นของหายนะ 🧨 - KLM 4805 เดินทางจากอัมสเตอร์ดัม พร้อมผู้โดยสาร 234 คน และลูกเรือ 14 คน - Pan Am 1736:เดินทางจากลอสแอนเจลิส แวะนิวยอร์ก มุ่งหน้ากรุงมาดริด พร้อมผู้โดยสาร 380 คน และลูกเรือ 16 คน หลังจากเครื่องบินหลายลำลงจอด และจอดเรียงรายกันในพื้นที่จำกัด เจ้าหน้าที่ต้องบริหารพื้นที่ อย่างเร่งด่วน ก่อให้เกิดความเครียด ทั้งในหอบังคับการบินและลูกเรือ 🚧 จุดเปลี่ยนสำคัญคือ กัปตันของ KLM ตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถัง เพื่อเลี่ยงเติมที่สนามบินปลายทางเ พราะราคาถูกกว่า ทำให้ต้องจอดนานกว่าเดิม และขัดขวางการเคลื่อนตัวของ Pan Am ☁️ หมอกและความสับสน ภัยเงียบแห่งรันเวย์ 🗣️ เมื่อสนามบินกรันกานาเรียเปิดใช้งานอีกครั้ง การจราจรทางอากาศในโลสโรเดโอส วุ่นวายทันที 📻 หอบังคับการบิน ต้องจัดการเครื่องบินหลายลำ แต่ขาดเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้พวกเขามองไม่เห็นตำแหน่งเครื่องบิน ต้องอาศัยการสื่อสารวิทยุแทน ✋ จุดวิกฤตเกิดขึ้นเมื่อ KLM เข้าใจผิดว่า สามารถนำเครื่องขึ้นได้ทันที ขณะที่ Pan Am ยังอยู่บนรันเวย์เดียวกัน! สำเนียงสเปน กับความคลุมเครือของคำว่า “Takeoff” 😓📡 📌 ขณะที่ KLM กำลังเตรียมนำเครื่องขึ้น นักบินผู้ช่วยพูดว่า “We are now at takeoff.” ซึ่งไม่ใช่ประโยคขออนุญาตขึ้นบินโดยตรง แต่เป็นการสื่อสารที่ทำให้เข้าใจคลุมเครือ หอบังคับการบินตอบกลับว่า “OK, stand by for takeoff, I will call you.” แต่...❗เสียงตอบกลับนั้น ถูกกลืนหายไปกับคลื่นรบกวน ทำให้นักบิน KLM ไม่ได้ยินคำสั่งเต็ม ๆ 🔥 การชนที่ไม่ควรเกิดขึ้น 💔 KLM เร่งนำเครื่องขึ้น โดยเข้าใจว่าได้รับอนุญาต ขณะที่ Pan Am กำลังเคลื่อนผ่านทางแยก วิ่งบนรันเวย์เดียวกัน หมอกหนาทำให้มองไม่เห็น ผลลัพธ์คือ ❌ ✈️ เครื่องบิน KLM ชนเข้ากลางลำ Pan Am อย่างรุนแรง 💥 ไฟลุกท่วมเครื่องบินทั้งสองลำในทันที - เสียชีวิตจาก KLM 248 ศพ (รอด = 0) - เสียชีวิตจาก Pan Am 335 ศพ (รอด = 61 คน) 😢 บทวิเคราะห์: สาเหตุแห่งหายนะ 🔍 ปัจจัยมนุษย์ (Human Error) - ความเครียดของกัปตัน KLM ที่ต้องรับแรงกดดัน จากบริษัทห้ามดีเลย์ 🕒 - ขาดการสื่อสารชัดเจน ระหว่างนักบินกับหอบังคับการบิน 📻 - สำเนียงสเปน ทำให้สื่อสารภาษาอังกฤษไม่ชัดเจน 🗣️ ปัจจัยสิ่งแวดล้อม - สนามบินโลสโรเดโอส ไม่มีเรดาร์พื้นดิน ❌ - หมอกลงจัด มองไม่เห็นปลายรันเวย์ 🌫️ - พื้นที่สนามบิน ไม่พร้อมรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่หลายลำ 🚫 📚🛫 หลังเหตุการณ์นี้ อุตสาหกรรมการบินทั่วโลก ได้ปรับปรุงมาตรการอย่างจริงจัง ✅ การสื่อสารต้องใช้ภาษามาตรฐาน และชัดเจนมากขึ้น (Standard Phraseology) ✅ ห้ามนักบินตีความเอง โดยไม่มีการอนุญาตชัดเจน ✅ มีการพัฒนา Cockpit Resource Management (CRM) เพื่อเน้นการทำงานเป็นทีมระหว่างลูกเรือ ✅ ระบบเรดาร์พื้นดิน (Ground Radar) ถูกติดตั้งในสนามบินใหญ่ ๆ ทั่วโลก 😨 เหตุการณ์ที่เกือบซ้ำรอยในปี 2542 🛬 เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 ที่สนามบินโอแฮร์ สหรัฐอเมริกา ✈️ - Korean Air เที่ยวบิน 36 Boeing 747 พร้อมผู้โดยสาร 340 คน - China Airlines เที่ยวบิน 9018 Boeing 747 เช่นกัน เกือบชนกันกลางรันเวย์ เนื่องจากความเข้าใจผิด ในการจราจรทางอากาศ แต่โชคดีที่หลีกเลี่ยงได้ทันโดยเครื่องบินอยู่ห่างกันเพียง 75 ฟุตเท่านั้น 😱 🕯️ 583 ชีวิต กับบทเรียนที่ไม่มีวันลืม ✈️ “โศกนาฏกรรมเตเนริเฟ” เป็นบทเรียนราคาแพงที่สุดครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ ที่สอนเราให้ระมัดระวังในการสื่อสาร การจัดการความเสี่ยง และให้ความสำคัญ กับมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ✈️🧠 แม้เวลาจะผ่านไป 48 ปี... แต่ความสูญเสีย และบทเรียนจากเหตุการณ์นี้ ยังคงส่องแสงเป็นคำเตือน ถึงทุกคนในวงการการบินเสมอ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 271250 มี.ค. 2568 📲 #TenerifeDisaster #Boeing747 #PlaneCrashHistory #AirlineSafety #KLM4805 #PanAm1736 #AirCrashInvestigation #อุบัติเหตุทางการบิน #โบอิง747ชนกัน #บทเรียนการบิน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 335 มุมมอง 0 รีวิว
  • การป้องกันภัยคุกคามไซเบอร์ในยุคนี้ไม่ใช่แค่เรื่องของการใช้เครื่องมือสำเร็จรูปอีกต่อไป แต่เป็นเรื่องของวิศวกรรมการตรวจจับที่ช่วยปรับแต่งวิธีการตรวจจับให้เข้ากับภัยคุกคามเฉพาะขององค์กร AI และระบบอัตโนมัติเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดข้อผิดพลาด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญที่เพิ่มขึ้นของ Detection Engineering ในยุคที่ภัยคุกคามซับซ้อนและเพิ่มจำนวนขึ้น

    การพัฒนาในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา:
    - เดิมที Detection Engineering เป็นเพียงการดำเนินการในบริษัทใหญ่ ๆ แต่ปัจจุบันเป็นที่ต้องการในหลากหลายอุตสาหกรรม เช่น การเงิน เทคโนโลยี และสุขภาพ โดยเฉพาะบริษัทที่ต้องเผชิญกับภัยคุกคามไซเบอร์ที่ซับซ้อน.

    ความแตกต่างจากการตรวจจับแบบดั้งเดิม:
    - Detection Engineering ใช้หลักการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อสร้างกฎการตรวจจับที่ปรับแต่งตามภัยคุกคามและระบบเฉพาะขององค์กร แตกต่างจากการใช้เครื่องมือที่มีกฎสำเร็จรูปซึ่งมักไม่ยืดหยุ่นและปรับใช้ยากในระบบที่ซับซ้อน.

    การเติบโตของภัยคุกคาม:
    - การโจมตีด้วยมัลแวร์ไร้ไฟล์ (Fileless Malware) และการโจมตีผ่านซัพพลายเชนเพิ่มขึ้น ทำให้วิธีการตรวจจับแบบเดิมไม่เพียงพอ ขณะที่องค์กรต่าง ๆ ต้องพึ่งพาการป้องกันภัยเชิงรุกมากขึ้น.

    การใช้ AI และระบบอัตโนมัติ:
    - AI มีบทบาทสำคัญ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อตรวจจับความผิดปกติ และ 93% ขององค์กรในแบบสำรวจรายงานว่ากำลังใช้งานหรือวางแผนใช้ระบบอัตโนมัติในกระบวนการ Detection Engineering.

    https://www.csoonline.com/article/3847510/rising-attack-exposure-threat-sophistication-spur-interest-in-detection-engineering.html
    การป้องกันภัยคุกคามไซเบอร์ในยุคนี้ไม่ใช่แค่เรื่องของการใช้เครื่องมือสำเร็จรูปอีกต่อไป แต่เป็นเรื่องของวิศวกรรมการตรวจจับที่ช่วยปรับแต่งวิธีการตรวจจับให้เข้ากับภัยคุกคามเฉพาะขององค์กร AI และระบบอัตโนมัติเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดข้อผิดพลาด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญที่เพิ่มขึ้นของ Detection Engineering ในยุคที่ภัยคุกคามซับซ้อนและเพิ่มจำนวนขึ้น การพัฒนาในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา: - เดิมที Detection Engineering เป็นเพียงการดำเนินการในบริษัทใหญ่ ๆ แต่ปัจจุบันเป็นที่ต้องการในหลากหลายอุตสาหกรรม เช่น การเงิน เทคโนโลยี และสุขภาพ โดยเฉพาะบริษัทที่ต้องเผชิญกับภัยคุกคามไซเบอร์ที่ซับซ้อน. ความแตกต่างจากการตรวจจับแบบดั้งเดิม: - Detection Engineering ใช้หลักการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อสร้างกฎการตรวจจับที่ปรับแต่งตามภัยคุกคามและระบบเฉพาะขององค์กร แตกต่างจากการใช้เครื่องมือที่มีกฎสำเร็จรูปซึ่งมักไม่ยืดหยุ่นและปรับใช้ยากในระบบที่ซับซ้อน. การเติบโตของภัยคุกคาม: - การโจมตีด้วยมัลแวร์ไร้ไฟล์ (Fileless Malware) และการโจมตีผ่านซัพพลายเชนเพิ่มขึ้น ทำให้วิธีการตรวจจับแบบเดิมไม่เพียงพอ ขณะที่องค์กรต่าง ๆ ต้องพึ่งพาการป้องกันภัยเชิงรุกมากขึ้น. การใช้ AI และระบบอัตโนมัติ: - AI มีบทบาทสำคัญ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อตรวจจับความผิดปกติ และ 93% ขององค์กรในแบบสำรวจรายงานว่ากำลังใช้งานหรือวางแผนใช้ระบบอัตโนมัติในกระบวนการ Detection Engineering. https://www.csoonline.com/article/3847510/rising-attack-exposure-threat-sophistication-spur-interest-in-detection-engineering.html
    WWW.CSOONLINE.COM
    Rising attack exposure, threat sophistication spur interest in detection engineering
    What was once in the margins of cybersecurity, detection engineering has been gaining space and interest, here is what you need to know.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 157 มุมมอง 0 รีวิว
  • NVIDIA กำลังเผชิญกับความท้าทายใหม่ เมื่อรัฐบาลจีนเตรียมกำหนดข้อกำหนดด้านพลังงานที่อาจห้ามการขาย GPU H20 ในประเทศ ทำให้รายได้ของ NVIDIA จากตลาดจีนซึ่งเป็นตลาดหลักสำหรับ AI อาจลดลงอย่างมาก ในขณะเดียวกัน คู่แข่งอย่าง Huawei ก็เตรียมเปิดตัวชิประดับสูงที่สามารถแข่งกับ NVIDIA ได้โดยตรง ทำให้สถานการณ์นี้กลายเป็นบททดสอบสำคัญสำหรับอนาคตของบริษัท

    มาตรการของจีน:
    - รัฐบาลจีนมีเป้าหมายที่จะลดการพึ่งพาชิปต่างประเทศ โดยตั้งข้อกำหนดด้านพลังงานเพื่อสนับสนุนผู้ผลิตในประเทศ เช่น Huawei ซึ่งเตรียมเปิดตัวชิป AI รุ่น Ascend 910C ที่ทัดเทียมกับ NVIDIA H100.

    ผลกระทบต่อ NVIDIA:
    - NVIDIA ได้เริ่มเจรจากับคณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแห่งชาติจีน (NDRC) และกำลังพิจารณาการลดประสิทธิภาพของ H20 เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดด้านพลังงาน แต่ทางเลือกนี้อาจทำให้คู่แข่งมีความได้เปรียบในตลาด.

    ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ:
    - ที่ผ่านมา NVIDIA ต้องเผชิญข้อจำกัดจากรัฐบาลสหรัฐฯ ในการขายชิป AI ให้จีน การเพิ่มกฎระเบียบจากฝั่งจีนเองยิ่งเพิ่มความซับซ้อนและผลกระทบทางการค้า.

    ตลาดคู่แข่งในจีน:
    - Huawei กลายเป็นคู่แข่งสำคัญในตลาด AI ของจีน โดย Jensen Huang CEO ของ NVIDIA ยอมรับถึงความก้าวหน้าของ Huawei ในด้านนี้และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น.

    https://wccftech.com/nvidia-h20-ai-gpu-might-be-banned-from-being-sold-in-china-but-this-time-it-is-not-the-us-fault/
    NVIDIA กำลังเผชิญกับความท้าทายใหม่ เมื่อรัฐบาลจีนเตรียมกำหนดข้อกำหนดด้านพลังงานที่อาจห้ามการขาย GPU H20 ในประเทศ ทำให้รายได้ของ NVIDIA จากตลาดจีนซึ่งเป็นตลาดหลักสำหรับ AI อาจลดลงอย่างมาก ในขณะเดียวกัน คู่แข่งอย่าง Huawei ก็เตรียมเปิดตัวชิประดับสูงที่สามารถแข่งกับ NVIDIA ได้โดยตรง ทำให้สถานการณ์นี้กลายเป็นบททดสอบสำคัญสำหรับอนาคตของบริษัท มาตรการของจีน: - รัฐบาลจีนมีเป้าหมายที่จะลดการพึ่งพาชิปต่างประเทศ โดยตั้งข้อกำหนดด้านพลังงานเพื่อสนับสนุนผู้ผลิตในประเทศ เช่น Huawei ซึ่งเตรียมเปิดตัวชิป AI รุ่น Ascend 910C ที่ทัดเทียมกับ NVIDIA H100. ผลกระทบต่อ NVIDIA: - NVIDIA ได้เริ่มเจรจากับคณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแห่งชาติจีน (NDRC) และกำลังพิจารณาการลดประสิทธิภาพของ H20 เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดด้านพลังงาน แต่ทางเลือกนี้อาจทำให้คู่แข่งมีความได้เปรียบในตลาด. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ: - ที่ผ่านมา NVIDIA ต้องเผชิญข้อจำกัดจากรัฐบาลสหรัฐฯ ในการขายชิป AI ให้จีน การเพิ่มกฎระเบียบจากฝั่งจีนเองยิ่งเพิ่มความซับซ้อนและผลกระทบทางการค้า. ตลาดคู่แข่งในจีน: - Huawei กลายเป็นคู่แข่งสำคัญในตลาด AI ของจีน โดย Jensen Huang CEO ของ NVIDIA ยอมรับถึงความก้าวหน้าของ Huawei ในด้านนี้และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น. https://wccftech.com/nvidia-h20-ai-gpu-might-be-banned-from-being-sold-in-china-but-this-time-it-is-not-the-us-fault/
    WCCFTECH.COM
    NVIDIA's H20 AI GPU Might Be Banned From Being Sold In China, But This Time, It Is Not The US's Fault
    NVIDIA's hot-selling H20 AI accelerator might just be banned from being sold in China, amid Beijing's new energy efficiency rules.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 215 มุมมอง 0 รีวิว
  • งานวิจัยร่วมระหว่าง OpenAI และ MIT ได้เปิดเผยถึงพฤติกรรมการใช้แชตบอตอย่าง ChatGPT ที่สามารถนำไปสู่ "อาการเสพติด" และผลกระทบทางอารมณ์ต่อผู้ใช้ จากการศึกษาการโต้ตอบกว่า 4 ล้านครั้งและการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้ 4,000 คน นักวิจัยพบว่าแชตบอตที่มีลักษณะ "คล้ายมนุษย์" และความสามารถในการสนทนาที่เป็นกันเอง อาจทำให้ผู้ใช้มอง AI เหมือนเพื่อน ส่งผลให้ผู้ใช้บางรายมีพฤติกรรมพึ่งพิงสูง

    ลักษณะเชิงจิตวิทยาของแชตบอต:
    - การใช้ภาษาที่เหมือนมนุษย์ การสนทนาที่คล่องตัว และการตอบสนองแบบเป็นกันเอง ทำให้ผู้ใช้บางคนมองแชตบอตในมุมมองที่เกินจริง จนถึงขั้นตั้งชื่อหรือสร้างความผูกพันคล้ายเพื่อน.

    ความนิยมและความเสี่ยง:
    - ชุมชนออนไลน์ที่สนทนาเกี่ยวกับ AI companions มีขนาดใหญ่อย่างรวดเร็ว เช่น ใน Reddit ที่กลุ่มพูดคุยนี้มียอดสมาชิกกว่า 2.3 ล้านคน แต่ในขณะเดียวกัน นักวิจัยก็เตือนถึงปัญหา เช่น การแยกตัวจากสังคม การคาดหวังที่ไม่สมจริง และปัญหาสุขภาพจิต.

    คำเตือนและสัญญาณเสี่ยง:
    - อาการที่บ่งชี้ว่าอาจกำลังเสพติดแชตบอต ได้แก่ การคิดถึงแชตบอตอยู่เสมอ มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงเมื่อไม่ได้ใช้ หรือควบคุมพฤติกรรมการใช้งานไม่ได้.

    ผลกระทบในระยะยาว:
    - แม้ว่าแชตบอตจะมีประโยชน์ในหลายด้าน แต่การพัฒนาที่มุ่งสร้างความผูกพันอาจเพิ่มโอกาสของการใช้งานที่เป็นปัญหา โดยเฉพาะในเชิงธุรกิจที่อาจใช้กลยุทธ์เพิ่มความดึงดูดเชิงจิตวิทยา.

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/some-chatgpt-users-are-addicted-and-will-suffer-withdrawal-symptoms-if-cut-off-say-researchers
    งานวิจัยร่วมระหว่าง OpenAI และ MIT ได้เปิดเผยถึงพฤติกรรมการใช้แชตบอตอย่าง ChatGPT ที่สามารถนำไปสู่ "อาการเสพติด" และผลกระทบทางอารมณ์ต่อผู้ใช้ จากการศึกษาการโต้ตอบกว่า 4 ล้านครั้งและการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้ 4,000 คน นักวิจัยพบว่าแชตบอตที่มีลักษณะ "คล้ายมนุษย์" และความสามารถในการสนทนาที่เป็นกันเอง อาจทำให้ผู้ใช้มอง AI เหมือนเพื่อน ส่งผลให้ผู้ใช้บางรายมีพฤติกรรมพึ่งพิงสูง ลักษณะเชิงจิตวิทยาของแชตบอต: - การใช้ภาษาที่เหมือนมนุษย์ การสนทนาที่คล่องตัว และการตอบสนองแบบเป็นกันเอง ทำให้ผู้ใช้บางคนมองแชตบอตในมุมมองที่เกินจริง จนถึงขั้นตั้งชื่อหรือสร้างความผูกพันคล้ายเพื่อน. ความนิยมและความเสี่ยง: - ชุมชนออนไลน์ที่สนทนาเกี่ยวกับ AI companions มีขนาดใหญ่อย่างรวดเร็ว เช่น ใน Reddit ที่กลุ่มพูดคุยนี้มียอดสมาชิกกว่า 2.3 ล้านคน แต่ในขณะเดียวกัน นักวิจัยก็เตือนถึงปัญหา เช่น การแยกตัวจากสังคม การคาดหวังที่ไม่สมจริง และปัญหาสุขภาพจิต. คำเตือนและสัญญาณเสี่ยง: - อาการที่บ่งชี้ว่าอาจกำลังเสพติดแชตบอต ได้แก่ การคิดถึงแชตบอตอยู่เสมอ มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงเมื่อไม่ได้ใช้ หรือควบคุมพฤติกรรมการใช้งานไม่ได้. ผลกระทบในระยะยาว: - แม้ว่าแชตบอตจะมีประโยชน์ในหลายด้าน แต่การพัฒนาที่มุ่งสร้างความผูกพันอาจเพิ่มโอกาสของการใช้งานที่เป็นปัญหา โดยเฉพาะในเชิงธุรกิจที่อาจใช้กลยุทธ์เพิ่มความดึงดูดเชิงจิตวิทยา. https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/some-chatgpt-users-are-addicted-and-will-suffer-withdrawal-symptoms-if-cut-off-say-researchers
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    Some ChatGPT users are addicted and will suffer withdrawal symptoms if cut off, say researchers
    OpenAI and MIT worked together on a study of four million interactions over 28 days.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • Starboard Value กำลังพยายามเพิ่มอิทธิพลใน Autodesk ด้วยการเสนอชื่อกรรมการใหม่ 3 คนเข้าคณะกรรมการ โดยอ้างว่า Autodesk มีต้นทุนที่สูงเกินไปเมื่อเทียบกับคู่แข่ง แม้บริษัทจะเริ่มปรับปรุงโดยเพิ่มกรรมการอิสระ แต่ Starboard มองว่ายังไม่เพียงพอ สถานการณ์นี้ชี้ให้เห็นถึงแรงกดดันที่บริษัทเทคโนโลยีต้องเผชิญจากนักลงทุนที่ต้องการผลตอบแทนมากขึ้น

    เหตุผลเบื้องหลังการเสนอชื่อ:
    - Starboard เชื่อว่า Autodesk ใช้จ่ายเกินความจำเป็นเมื่อเทียบกับบริษัทซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังไม่สามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีกว่าได้ โดยหุ้นของ Autodesk ลดลง 7% ในปีนี้ ในขณะที่ S&P 500 ลดลงเพียง 1.8% เท่านั้น.

    การเคลื่อนไหวก่อนหน้านี้ของ Starboard:
    - ปีที่ผ่านมา Starboard เคยเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง CEO และลดค่าใช้จ่าย แต่ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากพลาดกำหนดเวลาส่งชื่อผู้สมัครเข้าร่วมคณะกรรมการ.

    ความร่วมมือจาก Autodesk:
    - Autodesk ได้เพิ่มกรรมการอิสระ 2 คนในเดือนธันวาคม 2024 โดยหนึ่งในนั้นคืออดีตประธานและ CEO ของ Kraft Foods เพื่อเพิ่มความสมดุลในคณะกรรมการ.

    ศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง:
    - หากได้รับการสนับสนุน Starboard อาจผลักดันให้ Autodesk มีการจัดการที่ประหยัดขึ้น ซึ่งอาจเพิ่มมูลค่าหุ้นและเพิ่มความเชื่อมั่นของนักลงทุน.

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/26/activist-starboard-nominates-three-directors-to-autodesk039s-board
    Starboard Value กำลังพยายามเพิ่มอิทธิพลใน Autodesk ด้วยการเสนอชื่อกรรมการใหม่ 3 คนเข้าคณะกรรมการ โดยอ้างว่า Autodesk มีต้นทุนที่สูงเกินไปเมื่อเทียบกับคู่แข่ง แม้บริษัทจะเริ่มปรับปรุงโดยเพิ่มกรรมการอิสระ แต่ Starboard มองว่ายังไม่เพียงพอ สถานการณ์นี้ชี้ให้เห็นถึงแรงกดดันที่บริษัทเทคโนโลยีต้องเผชิญจากนักลงทุนที่ต้องการผลตอบแทนมากขึ้น เหตุผลเบื้องหลังการเสนอชื่อ: - Starboard เชื่อว่า Autodesk ใช้จ่ายเกินความจำเป็นเมื่อเทียบกับบริษัทซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังไม่สามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีกว่าได้ โดยหุ้นของ Autodesk ลดลง 7% ในปีนี้ ในขณะที่ S&P 500 ลดลงเพียง 1.8% เท่านั้น. การเคลื่อนไหวก่อนหน้านี้ของ Starboard: - ปีที่ผ่านมา Starboard เคยเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง CEO และลดค่าใช้จ่าย แต่ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากพลาดกำหนดเวลาส่งชื่อผู้สมัครเข้าร่วมคณะกรรมการ. ความร่วมมือจาก Autodesk: - Autodesk ได้เพิ่มกรรมการอิสระ 2 คนในเดือนธันวาคม 2024 โดยหนึ่งในนั้นคืออดีตประธานและ CEO ของ Kraft Foods เพื่อเพิ่มความสมดุลในคณะกรรมการ. ศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง: - หากได้รับการสนับสนุน Starboard อาจผลักดันให้ Autodesk มีการจัดการที่ประหยัดขึ้น ซึ่งอาจเพิ่มมูลค่าหุ้นและเพิ่มความเชื่อมั่นของนักลงทุน. https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/26/activist-starboard-nominates-three-directors-to-autodesk039s-board
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Starboard revives proxy fight with CEO Smith's nomination to Autodesk board
    (Reuters) -Starboard Value on Wednesday nominated three directors including its chief executive and founder, Jeff Smith, to Autodesk's board, rekindling its proxy battle with the company over margin concerns.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาทนายกฤษฎา ประเสริฐสุโข กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GGC เปิดเผยว่าตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งความร้องทุกข์อดีตผู้บริหารและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับพวก ต่อพนักงานสอบสวนกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) ในไตรมาส 3/2561 รวมทั้งสิ้น 8คดี ปัจจุบันคดีอยู่ในขั้นพนักงานสอบสวน 4 คดี อยู่ในชั้นพนักงานอัยการ 1 คดี และอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอีก 3 คดี นั้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2568 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาในคดีหมายเลขดำที่ อ.1926/2565 ว่า จำเลยบางคนมีความผิดฐานฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา และ/หรือ ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยมีคำพิพากษาให้ลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯจำนวน 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และให้นับโทษต่อจากคคีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565 อีกทั้งพิพากษาลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯ อีก 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และจำคุกกรรมการบริษัทคู่ค้า 1 คน เป็นระยะเวลา 1 ปี 4 เดือน พร้อมให้นับโทษต่อจากคดีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565
    “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาทนายกฤษฎา ประเสริฐสุโข กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GGC เปิดเผยว่าตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งความร้องทุกข์อดีตผู้บริหารและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับพวก ต่อพนักงานสอบสวนกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) ในไตรมาส 3/2561 รวมทั้งสิ้น 8คดี ปัจจุบันคดีอยู่ในขั้นพนักงานสอบสวน 4 คดี อยู่ในชั้นพนักงานอัยการ 1 คดี และอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอีก 3 คดี นั้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2568 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาในคดีหมายเลขดำที่ อ.1926/2565 ว่า จำเลยบางคนมีความผิดฐานฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา และ/หรือ ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยมีคำพิพากษาให้ลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯจำนวน 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และให้นับโทษต่อจากคคีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565 อีกทั้งพิพากษาลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯ อีก 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และจำคุกกรรมการบริษัทคู่ค้า 1 คน เป็นระยะเวลา 1 ปี 4 เดือน พร้อมให้นับโทษต่อจากคดีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 127 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาท

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000028902
    “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาท อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000028902
    Like
    12
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 725 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts