• 😍 เรียนฟรี!!!!

    ....ใช่จ้า อ่านไม่ผิด เรียนฟรีที่นี่ ร้าน Telvada กับ คลาสผสมน้ำหอมออแกนิค โดยผู้เชี่ยวชาญด้านอโรม่าเธอราพี ที่จบจากศาสตร์น้ำมันหอมระเหยที่นิวยอร์ก เป็นผู้สอน...

    ...เมื่อสั่งซื้อสินค้าครบ 5,000 บาท สามารถมาเรียนฟรีได้เลย เรียนจบแล้ว ยังสามารถต่อยอดผลิตขายได้เลยจ้า...

    ...เฉพาะเดือนพฤศจิกายนนี้นะ ใกล้เทศกาลปีใหม่ คิดไม่ออกเรื่องของขวัญ ผลิตน้ำหอมแทนใจให้กับผู้ที่เรารักได้น่ะจ๊ะ...

    ..LINE : @telvada

    ..น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    😍 เรียนฟรี!!!! ....ใช่จ้า อ่านไม่ผิด เรียนฟรีที่นี่ ร้าน Telvada กับ คลาสผสมน้ำหอมออแกนิค โดยผู้เชี่ยวชาญด้านอโรม่าเธอราพี ที่จบจากศาสตร์น้ำมันหอมระเหยที่นิวยอร์ก เป็นผู้สอน... ...เมื่อสั่งซื้อสินค้าครบ 5,000 บาท สามารถมาเรียนฟรีได้เลย เรียนจบแล้ว ยังสามารถต่อยอดผลิตขายได้เลยจ้า... ...เฉพาะเดือนพฤศจิกายนนี้นะ ใกล้เทศกาลปีใหม่ คิดไม่ออกเรื่องของขวัญ ผลิตน้ำหอมแทนใจให้กับผู้ที่เรารักได้น่ะจ๊ะ... ..LINE : @telvada ..น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 209 มุมมอง 0 รีวิว
  • .. Black Cumin Carrie oil..

    ...น้ำมันบำรุงผิวเทียนดำ ( ฮับบาตุซเซาดะฮ์) มีสรรพคุณมากมาย...

    • ช่วยบำบัดรักษาโรคแพ้ผื่นคัน ผิวหนังอักเสบ บำรุงผิว
    • ช่วยลดการหลุดร่วงของเส้นผม บำรุงรากผมแข็งแรง ขจัดรังแค
    • ช่วยต่อต้านริ้วรอย ลดการอักเสบของผิว รักษาสิว ฝี สะเก็ดเงิน แผลเป็น
    • ช่วยดูแลริมฝีปาก และทำให้สีปากสดใส

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ # ThaiTimes
    .. Black Cumin Carrie oil.. ...น้ำมันบำรุงผิวเทียนดำ ( ฮับบาตุซเซาดะฮ์) มีสรรพคุณมากมาย... • ช่วยบำบัดรักษาโรคแพ้ผื่นคัน ผิวหนังอักเสบ บำรุงผิว • ช่วยลดการหลุดร่วงของเส้นผม บำรุงรากผมแข็งแรง ขจัดรังแค • ช่วยต่อต้านริ้วรอย ลดการอักเสบของผิว รักษาสิว ฝี สะเก็ดเงิน แผลเป็น • ช่วยดูแลริมฝีปาก และทำให้สีปากสดใส ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ # ThaiTimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 280 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🥥 Coconut Carrie oil🥥

    ...น้ำมันบำรุงผิวมะพร้าว มีสรรพคุณมากมาย...

    • ช่วยต้านอนุมูลอิสระ ทำให้ผิวนุ่มชุ่มชื้น ลดผิวแห้ง ผิวแตก ผิวลอก ผิวเป็นขุย
    • ช่วยรักษาอาการผดผื่นคันตามผิวหนัง
    • ช่วยรักษารังแคและเชื้อราบนหนังศีรษะ บำรุงเส้นผมทำให้ผมดกดำเงางาม
    • ช่วยบรรเทาแผลน้ำร้อนลวก สมานแผล

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitmies
    🥥 Coconut Carrie oil🥥 ...น้ำมันบำรุงผิวมะพร้าว มีสรรพคุณมากมาย... • ช่วยต้านอนุมูลอิสระ ทำให้ผิวนุ่มชุ่มชื้น ลดผิวแห้ง ผิวแตก ผิวลอก ผิวเป็นขุย • ช่วยรักษาอาการผดผื่นคันตามผิวหนัง • ช่วยรักษารังแคและเชื้อราบนหนังศีรษะ บำรุงเส้นผมทำให้ผมดกดำเงางาม • ช่วยบรรเทาแผลน้ำร้อนลวก สมานแผล ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitmies
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • .. Sweet Almond Carrie oil..

    ...น้ำมันบำรุงผิวสวีทอัลมอนด์ มีสรรพคุณมากมาย...

    • ช่วยขจัดความหมองคล้ำถุงใต้ตา
    • ช่วยลดริ้วรอย ต่อต้านริ้วรอย
    • ช่วยรักษาอาการเกิดผื่นผิวหนัง
    • ช่วยลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
    • ช่วยควบคุมการหลุดร่วงของเส้นผม และเสริมสร้างเล็บ

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitmies
    .. Sweet Almond Carrie oil.. ...น้ำมันบำรุงผิวสวีทอัลมอนด์ มีสรรพคุณมากมาย... • ช่วยขจัดความหมองคล้ำถุงใต้ตา • ช่วยลดริ้วรอย ต่อต้านริ้วรอย • ช่วยรักษาอาการเกิดผื่นผิวหนัง • ช่วยลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ • ช่วยควบคุมการหลุดร่วงของเส้นผม และเสริมสร้างเล็บ ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitmies
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • .. Vitamin E Carrie oil..

    ...น้ำมันบำรุงผิววิตามินอี มีสรรพคุณมากมาย...

    • ช่วยรักษาอายุและการใช้งานของครีมธรรมชาติ (แทนการใช้สารกันบูด )
    • ช่วยป้องกันรังสียูวี
    • ช่วยลดรอยแผลเป็น และริ้วรอย

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitmies
    .. Vitamin E Carrie oil.. ...น้ำมันบำรุงผิววิตามินอี มีสรรพคุณมากมาย... • ช่วยรักษาอายุและการใช้งานของครีมธรรมชาติ (แทนการใช้สารกันบูด ) • ช่วยป้องกันรังสียูวี • ช่วยลดรอยแผลเป็น และริ้วรอย ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitmies
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🌹 Rosehip Carrie oil 🌹

    ...น้ำมันบำรุงผิวโรสฮิป มีสรรพคุณมากมาย...

    • ช่วยกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
    • ช่วยกระตุ้นการสร้างผลัดเซลใหม่ของผิว
    • ช่วยปรับปรุงโทนสีผิวและเม็ดสี
    • ช่วยลดรอยแผลเป็น แก้ไขจุดด่างดำและฝ้า

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitmies
    🌹 Rosehip Carrie oil 🌹 ...น้ำมันบำรุงผิวโรสฮิป มีสรรพคุณมากมาย... • ช่วยกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน • ช่วยกระตุ้นการสร้างผลัดเซลใหม่ของผิว • ช่วยปรับปรุงโทนสีผิวและเม็ดสี • ช่วยลดรอยแผลเป็น แก้ไขจุดด่างดำและฝ้า ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitmies
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • .. Argan Carrie oil..

    ...น้ำมันบำรุงผิวอาร์แกน มีสรรพคุณมากมาย...

    • ช่วยลดริ้วรอยตีนกา รักษารอยแตก และแผลไฟไหม้
    • ช่วยป้องกันและรักษาโรคผิวหนัง
    • ช่วยลดสิวเสี้ยน สิวผดผื่น
    • ช่วยฟื้นตัวจากโรคอีสุกอีใส
    • ช่วยส่งเสริมสุขภาพเส้นผมที่สวยงาม

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    .. Argan Carrie oil.. ...น้ำมันบำรุงผิวอาร์แกน มีสรรพคุณมากมาย... • ช่วยลดริ้วรอยตีนกา รักษารอยแตก และแผลไฟไหม้ • ช่วยป้องกันและรักษาโรคผิวหนัง • ช่วยลดสิวเสี้ยน สิวผดผื่น • ช่วยฟื้นตัวจากโรคอีสุกอีใส • ช่วยส่งเสริมสุขภาพเส้นผมที่สวยงาม ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 289 มุมมอง 0 รีวิว
  • .. Jojoba Carrie oil..

    ...น้ำมันบำรุงผิวโจโจ้บา มีสรรพคุณมากมาย...

    • ช่วยควบคุมรังแค ผมร่วง ให้ความชุ่มชื่นแก่เส้นผมแห้ง
    • ช่วยบำรุงผิวหลังการโดนแสงแดด บำรุงผิวหน้าให้ชุ่มชื่น
    • ช่วยให้ความชุ่มชื้นเท้าแตก มือแห้ง และริมฝีปาก
    • ช่วยควบคุมสิวและผิวมัน

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    .. Jojoba Carrie oil.. ...น้ำมันบำรุงผิวโจโจ้บา มีสรรพคุณมากมาย... • ช่วยควบคุมรังแค ผมร่วง ให้ความชุ่มชื่นแก่เส้นผมแห้ง • ช่วยบำรุงผิวหลังการโดนแสงแดด บำรุงผิวหน้าให้ชุ่มชื่น • ช่วยให้ความชุ่มชื้นเท้าแตก มือแห้ง และริมฝีปาก • ช่วยควบคุมสิวและผิวมัน ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 367 มุมมอง 0 รีวิว
  • If Yuo’re Albe To Raed Tihs, You Might Have Typoglycemia

    Ever heard of typoglycemia? Even if you haven’t, chances are you’ll recognize one of the viral puzzles that explains this phenomenon. Starting around 2003, an email circulated through what seems like every inbox claiming that scrambled English words are just as easy to read as the original words.

    However, as cool as the original email was, it didn’t actually tell the whole truth. There’s more to scrambled words than meets the eye.

    What is typoglycemia?

    That viral email tested our ability to read scrambled words. Here’s what it looks like:

    Aoccdrnig to a rscheearch at Cmabrigde Uinervtisy, it deosn’t mttaer in waht oredr the ltteers in a wrod are, the olny iprmoetnt tihng is taht the frist and lsat ltteer be at the rghit pclae. The rset can be a toatl mses and you can sitll raed it wouthit porbelm. Tihs is bcuseae the huamn mnid deos not raed ervey lteter by istlef, but the wrod as a wlohe.

    Could you read it? Even with a mistake in this viral email (rscheearch cannot spell researcher), the truth is pretty much every fluent English-speaker can read and understand it.

    The word-scrambling phenomenon has a punny name: typoglycemia, playing mischievously with typo and glycemia, the condition of having low blood sugar. Typoglycemia is the ability to read a paragraph like the one above despite the jumbled words.

    Is typoglycemia real or a trick?

    Does it take you nanoseconds to solve the Word Jumble in the newspaper? No? While your brain can breeze through some word-scrambles, it’s more complicated than that click-bait email suggests.

    Matt Davis, a researcher at the MRC Cognition and Brain Sciences Unit at Cambridge University, will help us sort it out. Here’s what they believe the email got right: unless you have a rare brain disorder, people read words as whole units, not letter-by-letter. That’s one of the factors explaining why we can “magically” read the message.

    But here’s where Davis reminds us why the daily Word Jumble still manages to scramble our brains for breakfast. That trending email led us to believe all we need is for “the first and last letters to be in the right place” and nothing else matters. Actually a lot else matters.

    What makes a scrambled word easier to read?

    Here are some other factors a jumbled passage needs in order for everyone to easily read it:

    1. The words need to be relatively short.
    2. Function words (be, the, a, and other words that provide grammatical structure) can’t be messed up, otherwise the reader struggles.
    3. Switching (or transposing) the letters makes a big difference. Letters beside each other in a word can be switched without much difficulty for the reader to understand. When letters farther apart are switched, it’s harder. Take porbelm vs. pelborm (for “problem”).
    4. We understand scrambled words better when their sounds are preserved: toatl vs. talot (for “total”).
    5. Here’s a big one: the passage is readable because it’s predictable (especially because we’ve seen it so many times)!

    Other factors play into it as well, like preserving double letters. For example, in the word according, the scrambled email keeps the cc intact (“aoccdrnig”). Double letters are contextual markers that give good hints. But we could also scramble it up this way: “ancdircog.” Breaking up the cc makes it harder, right?

    All told, we’re code-making machines (we speak the code of English) and we’re wired to find meaning out of nonsense, in part by looking at contextual cues. However the codes can only be scrambled to a certain degree before we get lost.

    Try these two (tougher) word puzzles

    Try your hand at two hard-scrambled passages below which prove your brain needs more than just the first and last letters of a scrambled word to read it quickly.

    With these, you’ll see why our brains can only handle typoglycemia to a point. The answers at the bottom; try not to cheat!

    1. A dootcr has aimttded the magltheuansr of a tageene ceacnr pintaet who deid aetfr a hatospil durg blendur.
    2. In the Vcraiiton are, a levloy eamlred geren, pirlaalty frmoueltad form asirnec, was uesd in fcaibrs and ppaluor falrol hresesdeads.

    The first example is from that blog post by Matt Davis. The second is our re-scrambling of a fascinating Jezebel lead. And they’re not easy! Research shows that typos definitely interfere with reading speed. (There’s a reason we have spell-checkers!) Tricky jumble puzzles that can take hours to complete also prove that, in the end, letter order and spelling absolutely make or break our comprehension of a word.

    Ready for the answers?

    1. A doctor has admitted the manslaughter of a teenage cancer patient who died after a hospital drug blunder.
    2. In the Victorian era, a lovely emerald green, partially formulated from arsenic, was used in fabrics and popular floral headdresses.

    Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    If Yuo’re Albe To Raed Tihs, You Might Have Typoglycemia Ever heard of typoglycemia? Even if you haven’t, chances are you’ll recognize one of the viral puzzles that explains this phenomenon. Starting around 2003, an email circulated through what seems like every inbox claiming that scrambled English words are just as easy to read as the original words. However, as cool as the original email was, it didn’t actually tell the whole truth. There’s more to scrambled words than meets the eye. What is typoglycemia? That viral email tested our ability to read scrambled words. Here’s what it looks like: Aoccdrnig to a rscheearch at Cmabrigde Uinervtisy, it deosn’t mttaer in waht oredr the ltteers in a wrod are, the olny iprmoetnt tihng is taht the frist and lsat ltteer be at the rghit pclae. The rset can be a toatl mses and you can sitll raed it wouthit porbelm. Tihs is bcuseae the huamn mnid deos not raed ervey lteter by istlef, but the wrod as a wlohe. Could you read it? Even with a mistake in this viral email (rscheearch cannot spell researcher), the truth is pretty much every fluent English-speaker can read and understand it. The word-scrambling phenomenon has a punny name: typoglycemia, playing mischievously with typo and glycemia, the condition of having low blood sugar. Typoglycemia is the ability to read a paragraph like the one above despite the jumbled words. Is typoglycemia real or a trick? Does it take you nanoseconds to solve the Word Jumble in the newspaper? No? While your brain can breeze through some word-scrambles, it’s more complicated than that click-bait email suggests. Matt Davis, a researcher at the MRC Cognition and Brain Sciences Unit at Cambridge University, will help us sort it out. Here’s what they believe the email got right: unless you have a rare brain disorder, people read words as whole units, not letter-by-letter. That’s one of the factors explaining why we can “magically” read the message. But here’s where Davis reminds us why the daily Word Jumble still manages to scramble our brains for breakfast. That trending email led us to believe all we need is for “the first and last letters to be in the right place” and nothing else matters. Actually a lot else matters. What makes a scrambled word easier to read? Here are some other factors a jumbled passage needs in order for everyone to easily read it: 1. The words need to be relatively short. 2. Function words (be, the, a, and other words that provide grammatical structure) can’t be messed up, otherwise the reader struggles. 3. Switching (or transposing) the letters makes a big difference. Letters beside each other in a word can be switched without much difficulty for the reader to understand. When letters farther apart are switched, it’s harder. Take porbelm vs. pelborm (for “problem”). 4. We understand scrambled words better when their sounds are preserved: toatl vs. talot (for “total”). 5. Here’s a big one: the passage is readable because it’s predictable (especially because we’ve seen it so many times)! Other factors play into it as well, like preserving double letters. For example, in the word according, the scrambled email keeps the cc intact (“aoccdrnig”). Double letters are contextual markers that give good hints. But we could also scramble it up this way: “ancdircog.” Breaking up the cc makes it harder, right? All told, we’re code-making machines (we speak the code of English) and we’re wired to find meaning out of nonsense, in part by looking at contextual cues. However the codes can only be scrambled to a certain degree before we get lost. Try these two (tougher) word puzzles Try your hand at two hard-scrambled passages below which prove your brain needs more than just the first and last letters of a scrambled word to read it quickly. With these, you’ll see why our brains can only handle typoglycemia to a point. The answers at the bottom; try not to cheat! 1. A dootcr has aimttded the magltheuansr of a tageene ceacnr pintaet who deid aetfr a hatospil durg blendur. 2. In the Vcraiiton are, a levloy eamlred geren, pirlaalty frmoueltad form asirnec, was uesd in fcaibrs and ppaluor falrol hresesdeads. The first example is from that blog post by Matt Davis. The second is our re-scrambling of a fascinating Jezebel lead. And they’re not easy! Research shows that typos definitely interfere with reading speed. (There’s a reason we have spell-checkers!) Tricky jumble puzzles that can take hours to complete also prove that, in the end, letter order and spelling absolutely make or break our comprehension of a word. Ready for the answers? 1. A doctor has admitted the manslaughter of a teenage cancer patient who died after a hospital drug blunder. 2. In the Victorian era, a lovely emerald green, partially formulated from arsenic, was used in fabrics and popular floral headdresses. Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 149 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไหนว่าจะไม่หลอกกัน ซีลี่ฟูล (cover โดย Ant man) #viralvideo #coversong
    ไหนว่าจะไม่หลอกกัน ซีลี่ฟูล (cover โดย Ant man) #viralvideo #coversong
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 184 มุมมอง 34 0 รีวิว
  • .. Castor Carrie oil..

    ...น้ำมันบำรุงผิวละหุ่ง มีสรรพคุณมากมาย..
    • ช่วยลดสิว ผิวแห้งทำให้ผิวนุ่มชุ่มชื่นขึ้น สีผิวไม่สม่ำเสมอ ทำให้ผิวอิ่มน้ำ ใช้ล้างเครื่องสำอางค์
    • ต้านการอักเสบของผิว ต้านจุลชีพ ปกป้องผิวจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
    • ช่วยบำรุงเส้นผม ผมแตกปลาย ผมหลุดร่วง อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นเส้นผมเกิดขึ้นใหม่

    ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    .. Castor Carrie oil.. ...น้ำมันบำรุงผิวละหุ่ง มีสรรพคุณมากมาย.. • ช่วยลดสิว ผิวแห้งทำให้ผิวนุ่มชุ่มชื่นขึ้น สีผิวไม่สม่ำเสมอ ทำให้ผิวอิ่มน้ำ ใช้ล้างเครื่องสำอางค์ • ต้านการอักเสบของผิว ต้านจุลชีพ ปกป้องผิวจากการติดเชื้อแบคทีเรีย • ช่วยบำรุงเส้นผม ผมแตกปลาย ผมหลุดร่วง อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นเส้นผมเกิดขึ้นใหม่ ..น้ำมันบำรุงผิวของร้าน Telvada เป็นเกรดออแกนิคแท้ 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เทรนด์วันนี้
    🤔 ..ทายซิ..คือ?.. 🤔

    ...ไม่ใช่สีน้ำ ไม่ใช่ตลับสีเพนท์....

    ...ผลิตภัณฑ์นี้..คือ.. ครีมกันแดด... ลูกค้าต้องการครีมกันแดดที่มีสีสรร เพื่อใช้ในการออกอีเว้นท์ ที่ทะเล ทางร้านก็จัดให้เลยค่ะ สามารถทาที่ผิวได้เลย ไม่เป็นอันตราย แต่ยังช่วยป้องกันแสงแดดยูวีได้ อีกทั้งช่วยดูแลผิวได้อีกด้วย

    #้telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ #ครีมกันแดด #thaitimes
    #เทรนด์วันนี้ 🤔 ..ทายซิ..คือ?.. 🤔 ...ไม่ใช่สีน้ำ ไม่ใช่ตลับสีเพนท์.... ...ผลิตภัณฑ์นี้..คือ.. ครีมกันแดด... ลูกค้าต้องการครีมกันแดดที่มีสีสรร เพื่อใช้ในการออกอีเว้นท์ ที่ทะเล ทางร้านก็จัดให้เลยค่ะ สามารถทาที่ผิวได้เลย ไม่เป็นอันตราย แต่ยังช่วยป้องกันแสงแดดยูวีได้ อีกทั้งช่วยดูแลผิวได้อีกด้วย #้telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ #ครีมกันแดด #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 114 มุมมอง 0 รีวิว
  • วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่?

    ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้
    เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่
    วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป

    ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น
    ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น

    แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้

    บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่

    และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา

    และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด
    ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ
    วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น
    โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ

    สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้

    แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน

    https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email

    ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
    ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
    มหาวิทยาลัยรังสิต

    เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753





    Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research. 
    Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability.
    However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals.
    The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments.
    What did they find?
    Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments.
    Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.  
    What does this mean?
    Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma?
    Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022.
    This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken.
    A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo.
    THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on. 
    Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda.
    The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions.
    You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality.
    This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times.
    Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work.

    October 10, 2024
    Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
    David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
    วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่? ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้ เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่ วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้ บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่ และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้ แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753 Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research.  Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability. However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals. The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments. What did they find? Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments. Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.   What does this mean? Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma? Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022. This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken. A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo. THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on.  Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda. The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions. You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality. This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times. Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work. October 10, 2024 Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
    JAMANETWORK.COM
    Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
    This study characterizes payments by drug and medical device manufacturers to US peer reviewers of major medical journals.
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 395 มุมมอง 0 รีวิว
  • Do You Remember These Old Dating Slang Words?

    If you thought dating slang originated with terms like ghosting or breadcrumbing, think again. Popular culture has always included pet names and other unique language to describe all things love and romance. Some of these terms originated in the 1950s, ’60s, and ’70s, while others go back even further than that. But all of them helped lay the groundwork for the interesting and sometimes odd dating slang we know and use today. Follow along as we take a look back at some of the most interesting, surprising, and even clever classic dating slang words from decades past. Please note: we’ll be having a frank discussion about sex and other mature dating topics here—but grown-up pants, as always, are optional.


    necking
    What people might call making out today used to be known as necking. Necking is a classic term for “kissing, caressing, and other sexual activity between partners that does not involve stimulation of the genitals or sexual intercourse.” This term has been popular at various points throughout the past several decades, but you might be surprised to learn that the one of the earliest recorded uses of necking to mean “kissing” actually occurred as early as 1825.

    little black book
    These days, people have matches on dating apps and randos in their DMs. Back in the day, they might have had a little black book. This phrase describes “a personal telephone directory [which historically were often small, pocket-size books bound in black] listing girlfriends, or, less often, boyfriends.” While physical address books were more common before computers and cell phones took over, the phrase doesn’t necessarily mean that someone has a physical little black book. Rather, it implied that someone had a lot of dates or was something of a ladies’ man.

    going steady
    If you’re exclusive with a significant other, it used to be said that you were going steady. This phrase, dating back to the early 1900s, means to “date one person exclusively” because you were seeing the same person regularly (“steady”). Steady, as a noun, could also be used in a similar way to boyfriend or girlfriend as a title for the person someone is dating. For example: He asked her to be his steady.

    friend with benefits
    This phrase was popularized in the ’90s by the Alanis Morissette song “Head Over Feet,” and later inspired the title of a 2011 movie starring Justin Timberlake and Mila Kunis. A friend with benefits is “a friend with whom one has sex without a romantic relationship or commitment.” Today, that might also be called a hookup, though friend (or friends) with benefits hasn’t gone extinct. There’s even a text acronym for the term: FWB.

    booty call
    Booty call is another dating term that can be traced back to the early ’90s. It’s a “phone call, text message, email, etc., whose purpose is to arrange a meeting to have casual sex.” Booty call incorporates the slang term booty, which has a surprising history. Booty was known as a vulgar slang term for female genitalia in the early 1900s, then evolved as a milder slang term for buttocks by the 1920s. By the time booty call was born, booty (as is common for historical slang terms that objectify women) denoted both a “female body considered as a sex object” and “the act of sex.”

    wingman
    In the context of dating, a wingman is “a man who helps a friend with romantic relationships, especially one who helps the friend attract a woman.” This dating word was popular in the ’80s and ’90s especially, though it’s still in use today. The term wingman was taken from a 1940s Air Force term for the “pilot in a plane that flies just outside and behind the right wing of the leading aircraft, in order to provide protective support.” Apparently looking for love requires protective support, too.

    Dear John
    If you find yourself the recipient of a Dear John letter, it’s not good news. The phrase is a name for “a letter from a woman informing her boyfriend, husband, or fiancé that she is ending their relationship.” It’s commonly believed to have been coined during World War II when people were separated for long periods of time and communicated via letter. Historically, Biblical names like John and Jack were such common male names they became generic stand-ins used to refer to any man. Though the phrase Dear John (or its female counterpart, Dear Jane) is not as common now, it is used in the title of a popular Taylor Swift song.

    keen
    Are you keen to learn about the next word on the list? Keen means “eager; interested; enthusiastic.” In the 1950s, it was also commonly used to indicate a crush. For example, someone might say I think she’s keen on him. Attractive or especially likable people were also sometimes described as being peachy keen. The word keen has been used as a slang term meaning “wonderful” since at least the 1910s.

    bunny
    Some dating words fell out of favor because they were used in a sexist way. Bunny is one of those words. Bunny is an outdated slang term used to describe “a pretty, appealing, or alluring young woman, often one ostensibly engaged in a sport or similar activity.” For example, an attractive woman at the beach might have been referred to as a “beach bunny.” This phrase was popular in the ’70s but quickly fell out of favor. Now, its use is often considered offensive.

    boo
    Boo might be the original bae (more on this term soon). This ’90s word is an affectionate name for a significant other. The term is thought to have originated in hip hop culture and spread into pop culture from there. Boo may be connected to the French beau or the pet name baby.

    beau
    Speaking of beau, this term of endearment means “a male lover or sweetheart.” You might think of it as a fancier, more old-fashioned way of saying boyfriend. Beau was first recorded in English in the late 1200s, but its use as a dating term can be traced back to the 1720s. The word is related to the French beau, which means “the beautiful.”

    bae
    And that leads us to a much newer term: when you think of Millennial dating slang, it’s hard not to think of bae. This word originated in the early 2000s and enjoyed viral fame throughout the 2010s, thanks to the internet. Bae is “an affectionate term that one uses to address their partner or spouse.” It’s thought to be a shortening of other popular pet names, like babe or baby, and likely originated in Black English. It’s been said bae is an acronym for “before anyone else,” but as fun as this theory is, it’s just a misconception.

    rationed
    This 1940s slang term has a surprising history. During World War II, rationing goods was common. A ration is “a fixed allowance of provisions or food, especially for soldiers or sailors or for civilians during a shortage.” What does this have to do with dating? Well, rationed also became a sort of shorthand for asking women if they were in a relationship or available. As in, Are you rationed? Comparing women to rationed goods like stamps isn’t exactly romantic, so it’s probably no surprise that this one slowly faded into obscurity.

    round the bases
    Bases aren’t just for baseball. They also have a history as popular dating terminology. In the ’80s and ’90s especially, people referred to different levels of physical intimacy as bases. For example, first base means to “engage in petting that goes no further than kissing.” Each subsequent base adds more physically intimate acts. Rounding the bases, then, would mean progressing through these acts towards whatever act—possibly sex—was deemed a home run.

    parking
    If the word parking makes you think of cars, you’re on the right track. Similar to necking, parking is a slang term for “the act of kissing and caressing in a parked car.” This usage was most popular in the ’40s and ’50s, likely due to the rise of car culture and drive-in movie theaters changing the landscape of dating.

    Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    Do You Remember These Old Dating Slang Words? If you thought dating slang originated with terms like ghosting or breadcrumbing, think again. Popular culture has always included pet names and other unique language to describe all things love and romance. Some of these terms originated in the 1950s, ’60s, and ’70s, while others go back even further than that. But all of them helped lay the groundwork for the interesting and sometimes odd dating slang we know and use today. Follow along as we take a look back at some of the most interesting, surprising, and even clever classic dating slang words from decades past. Please note: we’ll be having a frank discussion about sex and other mature dating topics here—but grown-up pants, as always, are optional. necking What people might call making out today used to be known as necking. Necking is a classic term for “kissing, caressing, and other sexual activity between partners that does not involve stimulation of the genitals or sexual intercourse.” This term has been popular at various points throughout the past several decades, but you might be surprised to learn that the one of the earliest recorded uses of necking to mean “kissing” actually occurred as early as 1825. little black book These days, people have matches on dating apps and randos in their DMs. Back in the day, they might have had a little black book. This phrase describes “a personal telephone directory [which historically were often small, pocket-size books bound in black] listing girlfriends, or, less often, boyfriends.” While physical address books were more common before computers and cell phones took over, the phrase doesn’t necessarily mean that someone has a physical little black book. Rather, it implied that someone had a lot of dates or was something of a ladies’ man. going steady If you’re exclusive with a significant other, it used to be said that you were going steady. This phrase, dating back to the early 1900s, means to “date one person exclusively” because you were seeing the same person regularly (“steady”). Steady, as a noun, could also be used in a similar way to boyfriend or girlfriend as a title for the person someone is dating. For example: He asked her to be his steady. friend with benefits This phrase was popularized in the ’90s by the Alanis Morissette song “Head Over Feet,” and later inspired the title of a 2011 movie starring Justin Timberlake and Mila Kunis. A friend with benefits is “a friend with whom one has sex without a romantic relationship or commitment.” Today, that might also be called a hookup, though friend (or friends) with benefits hasn’t gone extinct. There’s even a text acronym for the term: FWB. booty call Booty call is another dating term that can be traced back to the early ’90s. It’s a “phone call, text message, email, etc., whose purpose is to arrange a meeting to have casual sex.” Booty call incorporates the slang term booty, which has a surprising history. Booty was known as a vulgar slang term for female genitalia in the early 1900s, then evolved as a milder slang term for buttocks by the 1920s. By the time booty call was born, booty (as is common for historical slang terms that objectify women) denoted both a “female body considered as a sex object” and “the act of sex.” wingman In the context of dating, a wingman is “a man who helps a friend with romantic relationships, especially one who helps the friend attract a woman.” This dating word was popular in the ’80s and ’90s especially, though it’s still in use today. The term wingman was taken from a 1940s Air Force term for the “pilot in a plane that flies just outside and behind the right wing of the leading aircraft, in order to provide protective support.” Apparently looking for love requires protective support, too. Dear John If you find yourself the recipient of a Dear John letter, it’s not good news. The phrase is a name for “a letter from a woman informing her boyfriend, husband, or fiancé that she is ending their relationship.” It’s commonly believed to have been coined during World War II when people were separated for long periods of time and communicated via letter. Historically, Biblical names like John and Jack were such common male names they became generic stand-ins used to refer to any man. Though the phrase Dear John (or its female counterpart, Dear Jane) is not as common now, it is used in the title of a popular Taylor Swift song. keen Are you keen to learn about the next word on the list? Keen means “eager; interested; enthusiastic.” In the 1950s, it was also commonly used to indicate a crush. For example, someone might say I think she’s keen on him. Attractive or especially likable people were also sometimes described as being peachy keen. The word keen has been used as a slang term meaning “wonderful” since at least the 1910s. bunny Some dating words fell out of favor because they were used in a sexist way. Bunny is one of those words. Bunny is an outdated slang term used to describe “a pretty, appealing, or alluring young woman, often one ostensibly engaged in a sport or similar activity.” For example, an attractive woman at the beach might have been referred to as a “beach bunny.” This phrase was popular in the ’70s but quickly fell out of favor. Now, its use is often considered offensive. boo Boo might be the original bae (more on this term soon). This ’90s word is an affectionate name for a significant other. The term is thought to have originated in hip hop culture and spread into pop culture from there. Boo may be connected to the French beau or the pet name baby. beau Speaking of beau, this term of endearment means “a male lover or sweetheart.” You might think of it as a fancier, more old-fashioned way of saying boyfriend. Beau was first recorded in English in the late 1200s, but its use as a dating term can be traced back to the 1720s. The word is related to the French beau, which means “the beautiful.” bae And that leads us to a much newer term: when you think of Millennial dating slang, it’s hard not to think of bae. This word originated in the early 2000s and enjoyed viral fame throughout the 2010s, thanks to the internet. Bae is “an affectionate term that one uses to address their partner or spouse.” It’s thought to be a shortening of other popular pet names, like babe or baby, and likely originated in Black English. It’s been said bae is an acronym for “before anyone else,” but as fun as this theory is, it’s just a misconception. rationed This 1940s slang term has a surprising history. During World War II, rationing goods was common. A ration is “a fixed allowance of provisions or food, especially for soldiers or sailors or for civilians during a shortage.” What does this have to do with dating? Well, rationed also became a sort of shorthand for asking women if they were in a relationship or available. As in, Are you rationed? Comparing women to rationed goods like stamps isn’t exactly romantic, so it’s probably no surprise that this one slowly faded into obscurity. round the bases Bases aren’t just for baseball. They also have a history as popular dating terminology. In the ’80s and ’90s especially, people referred to different levels of physical intimacy as bases. For example, first base means to “engage in petting that goes no further than kissing.” Each subsequent base adds more physically intimate acts. Rounding the bases, then, would mean progressing through these acts towards whatever act—possibly sex—was deemed a home run. parking If the word parking makes you think of cars, you’re on the right track. Similar to necking, parking is a slang term for “the act of kissing and caressing in a parked car.” This usage was most popular in the ’40s and ’50s, likely due to the rise of car culture and drive-in movie theaters changing the landscape of dating. Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 171 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🌲 Cedarwood Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยโรคสะเก็ดเงิน กลาก สิว
    • ช่วยให้สงบ ลดความวิตกกังวล ปรับสมดุลทางอารมณ์
    • ช่วยต้านทานอนุมูลอิสระ
    • ช่วยเรื่องไอ และ ไซนัส
    • ช่วยระบบทางเดินปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะ
    • ไล่แมลง

    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    🌲 Cedarwood Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยโรคสะเก็ดเงิน กลาก สิว • ช่วยให้สงบ ลดความวิตกกังวล ปรับสมดุลทางอารมณ์ • ช่วยต้านทานอนุมูลอิสระ • ช่วยเรื่องไอ และ ไซนัส • ช่วยระบบทางเดินปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะ • ไล่แมลง และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 391 มุมมอง 0 รีวิว
  • Clove Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยฆ่าเชื้อโรค ต้านแบคทีเรีย
    • ช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย คลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ บรรเทาข้ออักเสบ
    • ช่วยต้านทานอนุมูลอิสระ
    • ช่วยกระตุ้นและฟื้นฟูร่างกายให้ดีขึ้น
    • ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก และอาการปวดฟัน

    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    Clove Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยฆ่าเชื้อโรค ต้านแบคทีเรีย • ช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย คลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ บรรเทาข้ออักเสบ • ช่วยต้านทานอนุมูลอิสระ • ช่วยกระตุ้นและฟื้นฟูร่างกายให้ดีขึ้น • ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก และอาการปวดฟัน และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💐 Neroli Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยต่อต้านริ้วรอย ต้านการอักเสบ ลดรอยแตกลาย
    • ช่วยลดความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า นอนไม่หลับ อาการปวดหัว
    • ช่วยลดความดันโลหิตสูง
    • ช่วยบรรเทาอาการปวดประจำเดือน

    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    💐 Neroli Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยต่อต้านริ้วรอย ต้านการอักเสบ ลดรอยแตกลาย • ช่วยลดความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า นอนไม่หลับ อาการปวดหัว • ช่วยลดความดันโลหิตสูง • ช่วยบรรเทาอาการปวดประจำเดือน และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 0 รีวิว
  • Oregano Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยต้านเชื้อแบคทีเรีย
    • ช่วยต้านหวัดไข้หวัดใหญ่
    • ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
    • ช่วยต้านเชื้อรา และการติดเชื้อจากเชื้อรา

    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ
    Oregano Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยต้านเชื้อแบคทีเรีย • ช่วยต้านหวัดไข้หวัดใหญ่ • ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน • ช่วยต้านเชื้อรา และการติดเชื้อจากเชื้อรา และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🌳 Siam Benzoin Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยให้หายใจโล่ง บรรเทาอาการอ่อนเพลียจากการพักผ่อนน้อย
    • ช่วยทำให้ผมดก เงางาม รักษาผมร่วง ศีรษะล้าน
    • ช่วยบรรเทาจุดด่างดำดูจางลง ทำให้ผิวหนังมีน้ำมีนวล
    • ช่วยให้แผลเป็นจางลง และช่วยสมานแผล

    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    🌳 Siam Benzoin Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยให้หายใจโล่ง บรรเทาอาการอ่อนเพลียจากการพักผ่อนน้อย • ช่วยทำให้ผมดก เงางาม รักษาผมร่วง ศีรษะล้าน • ช่วยบรรเทาจุดด่างดำดูจางลง ทำให้ผิวหนังมีน้ำมีนวล • ช่วยให้แผลเป็นจางลง และช่วยสมานแผล และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 394 มุมมอง 0 รีวิว
  • Cinnamon Bark Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด คอเลสเตอรอล
    • ช่วยบรรเทาไข้หวัด ยับยั้งเชื้อโรคและแบคทีเรีย
    • ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก
    • ช่วยปรับความเครียดของกล้ามเนื้อ
    • ช่วยปรับความสมดุลทางอารมณ์
    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    Cinnamon Bark Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด คอเลสเตอรอล • ช่วยบรรเทาไข้หวัด ยับยั้งเชื้อโรคและแบคทีเรีย • ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก • ช่วยปรับความเครียดของกล้ามเนื้อ • ช่วยปรับความสมดุลทางอารมณ์ และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 383 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🌲 Pine Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยรักษาโรคสะเก็ดเงิน คัน สิว กลาก โรคผิวหนัง และแผลพุพอง
    • ช่วยการเผาผลาญอาหาร
    • ช่วยบรรเทาอาการปวด และการอักเสบ
    • ช่วยลดปัญหาทางเดินหายใจ และขจัดความเครียดทางจิตใจ
    • ช่วยอาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    🌲 Pine Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยรักษาโรคสะเก็ดเงิน คัน สิว กลาก โรคผิวหนัง และแผลพุพอง • ช่วยการเผาผลาญอาหาร • ช่วยบรรเทาอาการปวด และการอักเสบ • ช่วยลดปัญหาทางเดินหายใจ และขจัดความเครียดทางจิตใจ • ช่วยอาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 328 มุมมอง 0 รีวิว
  • บทวิเคราะห์ UGC (User-Generated Content )เบื้องหลังความดังของ “หมูเด้ง” โดย ดร.จักรกฤษณ์ สิริริน เจ้าของนามปากกา “นกป่า อุษาคเนย์” อยู่ในวงการสื่อสารมวลชนมา 25 ปี เนื้อหาส่วนหนึ่งระบุว่า

    “หากนำทฤษฎี UGC มาจับกับปรากฏการณ์ “หมูเด้ง” ก็จะเห็นได้ว่า กระแสความโด่งดังของ “หมูเด้ง” ตรงตามรูปแบบของการทำ UGC ทุกประการ

    แม้ในตอนเริ่มต้น ช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เมื่อครั้งที่ “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” จัดประกวดตั้งชื่อ “หมูเด้ง” ในช่วงแรก ที่ชื่อ “หมูเด้ง” ชนะ VOTE “หมูแดง” และ “หมูสับ” ด้วยคะแนน 20,000 กว่า เรียกได้ว่าขาดลอย

    ในช่วงนั้น ยังไม่เกิดกระแส “หมูเด้ง” แต่อย่างใด มิหนำซ้ำ หลังจากได้ชื่อแล้ว ก็เหลือคนสนใจ “หมูเด้ง” น้อยมาก

    เพราะค่าเฉลี่ยความสนใจลูกสัตว์เกิดใหม่ จะมีอยู่เพียงสั้นๆ คือประมาณ 7 วัน ที่ประชาชนให้ความสนใจ ทำให้สื่อมวลชนต้องคอยตามติดในช่วงเวลาหนึ่ง จากนั้นก็จะเริ่มซาลง และเริ่มห่างหาย จนกระแสเงียบไปในที่สุด

    ซึ่งทาง “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” ก็อาจมีการนำเสนอลูกสัตว์เกิดใหม่รายอื่นๆ ตามมาอีกเรื่อยๆ พอผลตัดสินการประกวดจบสิ้นลงแล้ว กระแสก็จะกลับไปเงียบอีกครั้ง วนเวียนอยู่เช่นนี้

    ต่างจาก “หมูเด้ง” โดยสิ้นเชิง

    เป็นเพราะว่า “หมูเด้ง” เกิดในยุคที่ทุกคนบนโลกเข้าถึง Social Media โดยเรื่องราวที่น่าสนใจจะไม่จำกัดอยู่ภายในประเทศใดประเทศหนึ่งอีกต่อไป ไม่เหมือนกระแสลูกสัตว์เกิดใหม่ที่ผ่านมาของ “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว”

    แต่ทันทีที่ “อรรถพล หนุนดี” หรือ “พี่เบนซ์” เจ้าของ Facebook Fanpage “ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง” ได้เริ่มทำ Content “หมูเด้ง” กระแส “หมูเด้ง” ก็ค่อยๆ ก่อตัวขึ้น

    ฐาน “แฟนคลับ” ที่เหนียวแน่น หรือที่เรียกว่า “ลูกเพจ” ดั้งเดิมของ “ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง” ที่มีปริมาณมากอยู่แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มี Empathy หรือ “ความผูกพัน” อย่างสูง ยิ่งช่วยต่อยอด Content ในแบบฉบับ UGC ได้เป็นอย่างดี

    ผนวกกับการที่ “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” อยู่ใกล้ศรีราชา จุดที่มีชาวญี่ปุ่นพำนักในเมืองไทยเป็นชุมชน ทำให้มีการแชร์ Content “หมูเด้ง” ต่อๆ กันไปในหมู่ชาวญี่ปุ่น จากเมืองไทยไปญี่ปุ่น และแพร่กระจายไปทั่วโลก

    สำทับด้วยสำนักข่าวตะวันตก ได้แห่กันมาทำข่าว “หมูเด้ง” ติดๆ กัน ไม่ว่าจะเป็น AP, AFP, BBC, VOA, CNN ก็ยิ่งช่วยสร้าง UGC ให้กับ “หมูเด้ง” จนกลายเป็น Viral ระดับโลกไปแล้ว

    จากความน่ารัก น่าเอ็นดู การสัมผัสได้ถึงการไม่มีผลประโยชน์ใดแอบแฝงใน Content เนื่องจากเป็นลูกสัตว์เกิดใหม่ในสวนสัตว์ที่ค่าเข้าชมไม่ได้มากมายอะไร และการขายสินค้าของสวนสัตว์ไม่ว่าจะเป็นของที่ระลึกต่างๆ ก็ไม่ได้มีราคาค่างวดที่แพงจนจับต้องไม่ได้

    แปลไทยเป็นไทยก็คือ Brand “หมูเด้ง” เป็น Brand บริสุทธิ์ ผนวกกับความทะลึ่ง สะดีดสะดิ้ง น่ารักน่าชัง เมื่อรวมกับบุคลิกดั้งเดิมของ “หมูเด้ง” ที่เป็นลูกฮิปโปแคระที่มีลีลาตลกเป็นพื้นเพอยู่แล้ว ยิ่งเรียกรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความประทับใจได้ไม่ยาก

    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรู้สึกลึกๆ ในใจมนุษย์เกี่ยวกับ “ลูกสัตว์” หรือ Baby Animal ทั้งลูกมนุษย์ด้วยกันที่ถือเป็นสัตว์ประเภทหนึ่ง และลูกสัตว์ต่างๆ ที่ดูแล้วให้ความรู้สึกน่ารัก น่าเอ็นดู อยากอุ้ม อยากเลี้ยง ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์เป็นทุนเดิม

    ประกอบกับคาแรกเตอร์ของ “หมูเด้ง” ที่แอบเกรี้ยวกราด น่ารัก น่าหยิก ทำให้เป็น UGC ที่ถูกนำไปต่อยอดได้ง่ายใน “วัฒนธรรมมีม” หรือ Meme Culture

    ยกระดับสู่การเป็น “วัฒนธรรมร่วม” ผ่าน Social Media

    เบื้องหลังความสำเร็จของ UGC “หมูเด้ง” คงต้องยกเครดิตให้ “พี่เบนซ์” ไปเต็มๆ ที่สามารถดึงคาแรกเตอร์ของ “หมูเด้ง” ออกมาเล่าได้อย่างน่ารัก

    พูดอีกแบบก็คือ “ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง” มาถูกที่ ถูกเวลา และเล่นได้ถูกจุด จับจุด อารมณ์ร่วมของผู้คนได้อยู่หมัด สร้างการเชื่อมต่อ และเชื่อมโยงอารมณ์ความรู้สึกของผู้คน เข้ากับ “หมูเด้ง” ได้ตรงจุด

    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่เสพ Social Media ที่อยู่ไกลจาก “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” ที่ไม่สะดวกเดินทางมาสัมผัสกับ “หมูเด้ง” ได้ด้วยตัวเอง

    ตอบสนองธรรมชาติของมนุษย์ที่มีความรักสัตว์เป็นทุนเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ลูกสัตว์” น่ารัก ที่ตนไม่สามารถเลี้ยงเอาไว้ในบ้านได้

    จึงสามารถสรุปได้ว่า UGC อยู่เบื้องหลังความดังของ “หมูเด้ง”

    https://www.salika.co/2024/10/04/user-generated-content-moodeng/

    #Thaitimes
    บทวิเคราะห์ UGC (User-Generated Content )เบื้องหลังความดังของ “หมูเด้ง” โดย ดร.จักรกฤษณ์ สิริริน เจ้าของนามปากกา “นกป่า อุษาคเนย์” อยู่ในวงการสื่อสารมวลชนมา 25 ปี เนื้อหาส่วนหนึ่งระบุว่า “หากนำทฤษฎี UGC มาจับกับปรากฏการณ์ “หมูเด้ง” ก็จะเห็นได้ว่า กระแสความโด่งดังของ “หมูเด้ง” ตรงตามรูปแบบของการทำ UGC ทุกประการ แม้ในตอนเริ่มต้น ช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เมื่อครั้งที่ “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” จัดประกวดตั้งชื่อ “หมูเด้ง” ในช่วงแรก ที่ชื่อ “หมูเด้ง” ชนะ VOTE “หมูแดง” และ “หมูสับ” ด้วยคะแนน 20,000 กว่า เรียกได้ว่าขาดลอย ในช่วงนั้น ยังไม่เกิดกระแส “หมูเด้ง” แต่อย่างใด มิหนำซ้ำ หลังจากได้ชื่อแล้ว ก็เหลือคนสนใจ “หมูเด้ง” น้อยมาก เพราะค่าเฉลี่ยความสนใจลูกสัตว์เกิดใหม่ จะมีอยู่เพียงสั้นๆ คือประมาณ 7 วัน ที่ประชาชนให้ความสนใจ ทำให้สื่อมวลชนต้องคอยตามติดในช่วงเวลาหนึ่ง จากนั้นก็จะเริ่มซาลง และเริ่มห่างหาย จนกระแสเงียบไปในที่สุด ซึ่งทาง “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” ก็อาจมีการนำเสนอลูกสัตว์เกิดใหม่รายอื่นๆ ตามมาอีกเรื่อยๆ พอผลตัดสินการประกวดจบสิ้นลงแล้ว กระแสก็จะกลับไปเงียบอีกครั้ง วนเวียนอยู่เช่นนี้ ต่างจาก “หมูเด้ง” โดยสิ้นเชิง เป็นเพราะว่า “หมูเด้ง” เกิดในยุคที่ทุกคนบนโลกเข้าถึง Social Media โดยเรื่องราวที่น่าสนใจจะไม่จำกัดอยู่ภายในประเทศใดประเทศหนึ่งอีกต่อไป ไม่เหมือนกระแสลูกสัตว์เกิดใหม่ที่ผ่านมาของ “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” แต่ทันทีที่ “อรรถพล หนุนดี” หรือ “พี่เบนซ์” เจ้าของ Facebook Fanpage “ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง” ได้เริ่มทำ Content “หมูเด้ง” กระแส “หมูเด้ง” ก็ค่อยๆ ก่อตัวขึ้น ฐาน “แฟนคลับ” ที่เหนียวแน่น หรือที่เรียกว่า “ลูกเพจ” ดั้งเดิมของ “ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง” ที่มีปริมาณมากอยู่แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มี Empathy หรือ “ความผูกพัน” อย่างสูง ยิ่งช่วยต่อยอด Content ในแบบฉบับ UGC ได้เป็นอย่างดี ผนวกกับการที่ “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” อยู่ใกล้ศรีราชา จุดที่มีชาวญี่ปุ่นพำนักในเมืองไทยเป็นชุมชน ทำให้มีการแชร์ Content “หมูเด้ง” ต่อๆ กันไปในหมู่ชาวญี่ปุ่น จากเมืองไทยไปญี่ปุ่น และแพร่กระจายไปทั่วโลก สำทับด้วยสำนักข่าวตะวันตก ได้แห่กันมาทำข่าว “หมูเด้ง” ติดๆ กัน ไม่ว่าจะเป็น AP, AFP, BBC, VOA, CNN ก็ยิ่งช่วยสร้าง UGC ให้กับ “หมูเด้ง” จนกลายเป็น Viral ระดับโลกไปแล้ว จากความน่ารัก น่าเอ็นดู การสัมผัสได้ถึงการไม่มีผลประโยชน์ใดแอบแฝงใน Content เนื่องจากเป็นลูกสัตว์เกิดใหม่ในสวนสัตว์ที่ค่าเข้าชมไม่ได้มากมายอะไร และการขายสินค้าของสวนสัตว์ไม่ว่าจะเป็นของที่ระลึกต่างๆ ก็ไม่ได้มีราคาค่างวดที่แพงจนจับต้องไม่ได้ แปลไทยเป็นไทยก็คือ Brand “หมูเด้ง” เป็น Brand บริสุทธิ์ ผนวกกับความทะลึ่ง สะดีดสะดิ้ง น่ารักน่าชัง เมื่อรวมกับบุคลิกดั้งเดิมของ “หมูเด้ง” ที่เป็นลูกฮิปโปแคระที่มีลีลาตลกเป็นพื้นเพอยู่แล้ว ยิ่งเรียกรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความประทับใจได้ไม่ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรู้สึกลึกๆ ในใจมนุษย์เกี่ยวกับ “ลูกสัตว์” หรือ Baby Animal ทั้งลูกมนุษย์ด้วยกันที่ถือเป็นสัตว์ประเภทหนึ่ง และลูกสัตว์ต่างๆ ที่ดูแล้วให้ความรู้สึกน่ารัก น่าเอ็นดู อยากอุ้ม อยากเลี้ยง ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์เป็นทุนเดิม ประกอบกับคาแรกเตอร์ของ “หมูเด้ง” ที่แอบเกรี้ยวกราด น่ารัก น่าหยิก ทำให้เป็น UGC ที่ถูกนำไปต่อยอดได้ง่ายใน “วัฒนธรรมมีม” หรือ Meme Culture ยกระดับสู่การเป็น “วัฒนธรรมร่วม” ผ่าน Social Media เบื้องหลังความสำเร็จของ UGC “หมูเด้ง” คงต้องยกเครดิตให้ “พี่เบนซ์” ไปเต็มๆ ที่สามารถดึงคาแรกเตอร์ของ “หมูเด้ง” ออกมาเล่าได้อย่างน่ารัก พูดอีกแบบก็คือ “ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง” มาถูกที่ ถูกเวลา และเล่นได้ถูกจุด จับจุด อารมณ์ร่วมของผู้คนได้อยู่หมัด สร้างการเชื่อมต่อ และเชื่อมโยงอารมณ์ความรู้สึกของผู้คน เข้ากับ “หมูเด้ง” ได้ตรงจุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่เสพ Social Media ที่อยู่ไกลจาก “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” ที่ไม่สะดวกเดินทางมาสัมผัสกับ “หมูเด้ง” ได้ด้วยตัวเอง ตอบสนองธรรมชาติของมนุษย์ที่มีความรักสัตว์เป็นทุนเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ลูกสัตว์” น่ารัก ที่ตนไม่สามารถเลี้ยงเอาไว้ในบ้านได้ จึงสามารถสรุปได้ว่า UGC อยู่เบื้องหลังความดังของ “หมูเด้ง” https://www.salika.co/2024/10/04/user-generated-content-moodeng/ #Thaitimes
    WWW.SALIKA.CO
    UGC เบื้องหลังความดังของ “หมูเด้ง”
    User-Generated Content (UGC) หมายถึง Story ที่ผู้บริโภค หรือลูกค้า หรือกลุ่มเป้าหมาย สร้างขึ้นมาเอง โดยผู้คนเหล่านั้น จะพูดถึงเรื่องราวที่พวกเขาประทับใจ หรือให้ความสนใจ โดยที่ต้นเรื่องไม่ต้องเสียเงินจ้างแม้แต่บาทเดียว
    Like
    Love
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 635 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🥕 Carrot seed Essential oil
    มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยให้ผิวดูอ่อนวัย ต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นการเจริญเติบโตเซลล์ผิว
    • ช่วยป้องกันผมหงอก
    • ช่วยลดการอักเสบของผื่นคัน
    • ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
    • ช่วยในการขับก๊าซในร่างกาย
    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    🥕 Carrot seed Essential oil มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยให้ผิวดูอ่อนวัย ต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นการเจริญเติบโตเซลล์ผิว • ช่วยป้องกันผมหงอก • ช่วยลดการอักเสบของผื่นคัน • ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด • ช่วยในการขับก๊าซในร่างกาย และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 659 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🌿 Camphor Essential oil

    ...น้ำมันหอมระเหย Camphor มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ
    • ช่วยแก้อาการคันที่ผิวหนัง
    • ช่วยในการบำบัดสงบประสาท ลดอาการซึมเศร้า

    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ#thaitimes
    🌿 Camphor Essential oil ...น้ำมันหอมระเหย Camphor มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ • ช่วยแก้อาการคันที่ผิวหนัง • ช่วยในการบำบัดสงบประสาท ลดอาการซึมเศร้า และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚ #thaitimes
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 485 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💐 Ylang Ylang Essential oil

    ...น้ำมันหอมระเหย Ylang Ylang มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น..
    • ช่วยปรับความสมดุลทางอารมณ์ และความอ่อนล้าทางจิตใจ
    • ช่วยลดความดันโลหิตสูง และ ปัญหาเกี่ยวกับการเต้นของหัวใจ
    • ช่วยทำความสะอาดร่างกายและต่อต้านเชื้อโรค
    • ช่วยลดความวิตกกังวล ความเครียดและความกลัว
    • ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผม
    • ช่วยแก้ปัญหาเรื่องผิวมัน

    และอีกมากมาย

    ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %...

    #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ
    💐 Ylang Ylang Essential oil ...น้ำมันหอมระเหย Ylang Ylang มีสรรพคุณหลากหลาย อาทิเช่น.. • ช่วยปรับความสมดุลทางอารมณ์ และความอ่อนล้าทางจิตใจ • ช่วยลดความดันโลหิตสูง และ ปัญหาเกี่ยวกับการเต้นของหัวใจ • ช่วยทำความสะอาดร่างกายและต่อต้านเชื้อโรค • ช่วยลดความวิตกกังวล ความเครียดและความกลัว • ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผม • ช่วยแก้ปัญหาเรื่องผิวมัน และอีกมากมาย ... น้ำมันหอมระเหยของร้าน Telvada เป็นน้ำมันเกรดบำบัด ออแกนิค 100 %... #telvada #essentialoils #everydayuse #น้ำมันหอมระเหย #สังคมต้องรู้ #tiktokuni #tiktokuni_th #aromatherapy #รู้หรือไม่ #tiktokแนะแนว #fyp #viral #tiktokthailand #foryourpage #fypシ゚
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts