• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 1000
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน.
    สี่อย่าง อย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :-
    ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.

    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน
    แล.-

    (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้
    มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้
    ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้
    : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ
    #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ
    เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด
    จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค สัทธรรมลำดับที่ : 1000 ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :- ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.- (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29. http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    -หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัด กระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ : อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 51 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 632
    ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. !
    --ถ้าภิกษุ แสดงธรรม
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด
    เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง #ชราและมรณะ อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    +--“ผู้กล่าวซึ่งธรรม(ธมฺมกถิ)​” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมกถิ

    +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด
    เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียก ภิกษุนั้นว่า
    +--“ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม(ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ)​” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ

    +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว
    เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด
    เพราะความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่น ถือมั่น อยู่แล้วไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    +--“ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม(ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ)​” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ
    --
    (ในกรณีแห่ง
    ๒.ชาติ ๓.ภพ ๔.อุปาทาน ๕.ตัณหา ๖.เวทนา ๗.ผัสสะ ๘.สฬายตนะ ๙.นามรูป ๑๐.วิญญาณ ๑๑.สังขาร และ ๑๒.อวิชชา
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง
    ๑.ชราและมรณะ ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้
    ).-

    #ทุุกขมรรค#อริยสัจสึ่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/16/46.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/16/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๒/๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=632
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 632 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! --ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง #ชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า +--“ผู้กล่าวซึ่งธรรม(ธมฺมกถิ)​” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมกถิ +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียก ภิกษุนั้นว่า +--“ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม(ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ)​” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่น ถือมั่น อยู่แล้วไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า +--“ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม(ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ)​” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ -- (ในกรณีแห่ง ๒.ชาติ ๓.ภพ ๔.อุปาทาน ๕.ตัณหา ๖.เวทนา ๗.ผัสสะ ๘.สฬายตนะ ๙.นามรูป ๑๐.วิญญาณ ๑๑.สังขาร และ ๑๒.อวิชชา ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.ชราและมรณะ ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้ ).- #ทุุกขมรรค​ #อริยสัจสึ่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/16/46. http://etipitaka.com/read/thai/16/16/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๒/๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=632 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    -การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง ชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียก ภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่น ถือมั่น อยู่แล้วไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ชาติ ภพ อุปาทาน ตัณหา เวทนา ผัสสะ สฬายตนะ นามรูป วิญญาณ สังขาร และ อวิชชา ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ชราและมรณะที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นมายา
    สัทธรรมลำดับที่ : 253
    ชื่อบทธรรม :- กามเป็นมายา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเป็นมายา
    --ภิกษุ ท. ! กามทั้งหลาย เป็นของไม่เที่ยง
    เป็นของเปล่า ๆ ปลี้ ๆ เป็นของเท็จ
    เป็นสิ่งที่มีการหลอกให้หลงเป็นธรรมดา.

    --ภิกษุ ท. ! กามนั้นเป็นเหมือนสิ่งที่ทำแล้วด้วยมายา
    เป็นที่พร่ำบ่นหาของคนพาล,
    ได้แก่ กาม และสัญญาในกาม
    ทั้งที่เป็นไปในภพปัจจุบันนี้
    และที่เป็นไปในภพเบื้องหน้า.
    กามและสัญญาในกาม ทั้งสองอย่างนั้น
    เป็น อาณาจักรของ มาร
    เป็น วิสัยของ มาร
    เป็น เหยื่อของ มาร และ
    เป็น ที่เที่ยวหาอาหารของ มาร.

    จิตอันเป็นบาปอกุศล
    เป็น อภิชฌาก็ดี พยาบาทก็ดี และสารัมภะ (การแข่งดี)ก็ดี
    http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อภิชฺฌาปิ+พฺยาปาทาปิ+สารมฺภาปิ
    เหล่านี้ย่อมเป็นไปในอาณาจักรของ มาร นั้น.

    อนึ่ง อกุศลธรรมเหล่านั้น ย่อมมีขึ้น
    เพื่อเป็นอันตราย(อนฺตรายาย)​ แก่พระอริยสาวก
    http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อนฺตรายาย
    ผู้ตามศึกษาอยู่ ในธรรมวินัยนี้ได้ โดยแท้
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/74/81.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/57/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๗๔/๘๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91
    ศึกษาเพื่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=253
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นมายา สัทธรรมลำดับที่ : 253 ชื่อบทธรรม :- กามเป็นมายา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเป็นมายา --ภิกษุ ท. ! กามทั้งหลาย เป็นของไม่เที่ยง เป็นของเปล่า ๆ ปลี้ ๆ เป็นของเท็จ เป็นสิ่งที่มีการหลอกให้หลงเป็นธรรมดา. --ภิกษุ ท. ! กามนั้นเป็นเหมือนสิ่งที่ทำแล้วด้วยมายา เป็นที่พร่ำบ่นหาของคนพาล, ได้แก่ กาม และสัญญาในกาม ทั้งที่เป็นไปในภพปัจจุบันนี้ และที่เป็นไปในภพเบื้องหน้า. กามและสัญญาในกาม ทั้งสองอย่างนั้น เป็น อาณาจักรของ มาร เป็น วิสัยของ มาร เป็น เหยื่อของ มาร และ เป็น ที่เที่ยวหาอาหารของ มาร. จิตอันเป็นบาปอกุศล เป็น อภิชฌาก็ดี พยาบาทก็ดี และสารัมภะ (การแข่งดี)ก็ดี http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อภิชฺฌาปิ+พฺยาปาทาปิ+สารมฺภาปิ เหล่านี้ย่อมเป็นไปในอาณาจักรของ มาร นั้น. อนึ่ง อกุศลธรรมเหล่านั้น ย่อมมีขึ้น เพื่อเป็นอันตราย(อนฺตรายาย)​ แก่พระอริยสาวก http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อนฺตรายาย ผู้ตามศึกษาอยู่ ในธรรมวินัยนี้ได้ โดยแท้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/74/81. http://etipitaka.com/read/thai/14/57/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๗๔/๘๑. http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91 ศึกษาเพื่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=253 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเป็นมายา
    -กามเป็นมายา ภิกษุ ท. ! กามทั้งหลาย เป็นของไม่เที่ยง เป็นของเปล่า ๆ ปลี้ ๆ เป็นของเท็จ เป็นสิ่งที่มีการหลอกให้หลงเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! กามนั้นเป็นเหมือนสิ่งที่ทำแล้วด้วยมายา เป็นที่พร่ำบ่นหาของคนพาล, ได้แก่ กาม และสัญญาในกาม ทั้งที่เป็นไปในภพปัจจุบันนี้ และที่เป็นไปในภพเบื้องหน้า. กามและสัญญาในกาม ทั้งสองอย่างนั้น เป็น อาณาจักรของมาร เป็น วิสัยของมาร เป็น เหยื่อของมาร และเป็น ที่เที่ยวหาอาหารของมาร. จิตอันเป็นบาปอกุศลเป็นอภิชฌาก็ดี พยาบาทก็ดี และสารัมภะ (การแข่งดี)ก็ดี เหล่านี้ย่อมเป็นไปในอาณาจักรของมารนั้น. อนึ่ง อกุศลธรรมเหล่านั้น ย่อมมีขึ้น เพื่อเป็นอันตราย แก่พระอริยสาวก ผู้ตามศึกษาอยู่ ในธรรมวินัยนี้ได้ โดยแท้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นเครื่องผูก
    สัทธรรมลำดับที่ : 252
    ชื่อบทธรรม :- กามเป็นเครื่องผูก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเป็นเครื่องผูก
    --เครื่องผูกอันใด เกิดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้ และเกิดแต่หญ้าปัพพชะก็ตาม,
    ผู้มีปัญญาทั้งหลาย ไม่กล่าวเครื่องผูกอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงเลย.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=กามสุขํ
    +--ส่วนความยินดีของบุคคลผู้ยินดีแล้ว
    +--ในตุ้มหูแก้วมณีเป็นต้นด้วย และ
    +--ความเยื่อใยในบุตรและภรรยาด้วย,
    ผู้มีปัญญาทั้งหลายกล่าวความยินดีและเยื่อใยอันนั้น
    ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงที่จะฉุดสัตว์ลงสู่ที่ต่ำได้โดยแท้
    #ซึ่งผูกไว้หย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/98/353.
    http://etipitaka.com/read/thai/15/98/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๑๒/๓๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=252
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นเครื่องผูก สัทธรรมลำดับที่ : 252 ชื่อบทธรรม :- กามเป็นเครื่องผูก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเป็นเครื่องผูก --เครื่องผูกอันใด เกิดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้ และเกิดแต่หญ้าปัพพชะก็ตาม, ผู้มีปัญญาทั้งหลาย ไม่กล่าวเครื่องผูกอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงเลย. http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=กามสุขํ +--ส่วนความยินดีของบุคคลผู้ยินดีแล้ว +--ในตุ้มหูแก้วมณีเป็นต้นด้วย และ +--ความเยื่อใยในบุตรและภรรยาด้วย, ผู้มีปัญญาทั้งหลายกล่าวความยินดีและเยื่อใยอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงที่จะฉุดสัตว์ลงสู่ที่ต่ำได้โดยแท้ #ซึ่งผูกไว้หย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/98/353. http://etipitaka.com/read/thai/15/98/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๑๒/๓๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=252 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเป็นเครื่องผูก
    -กามเป็นเครื่องผูก เครื่องผูกอันใด เกิดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้ และเกิดแต่หญ้าปัพพชะก็ตาม, ผู้มีปัญญาทั้งหลาย ไม่กล่าวเครื่องผูกอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงเลย. ส่วนความยินดีของบุคคลผู้ยินดีแล้ว ในตุ้มหูแก้วมณีเป็นต้นด้วย และความเยื่อใยในบุตรและภรรยาด้วย, ผู้มีปัญญาทั้งหลายกล่าวความยินดีและเยื่อใยอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงที่จะฉุดสัตว์ลงสู่ที่ต่ำได้โดยแท้ ซึ่งผูกไว้หย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 40 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    สัทธรรมลำดับที่ : 999
    ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    ...
    ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
    --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
    มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
    เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
    เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
    เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
    เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
    +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
    จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
    +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
    “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
    ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
    ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
    ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
    : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
    กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
    สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
    +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
    ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
    เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
    “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
    ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
    และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
    ดังนี้.
    --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
    ของเธอนั้น,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
    ดังนี้แล.
    --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97

    (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
    เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
    ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
    จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
    สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
    ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
    ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
    คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
    )

    --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
    +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
    เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม สัทธรรมลำดับที่ : 999 ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 เนื้อความทั้งหมด :- --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ... ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่ สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ ดังนี้แล. --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97 (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว ) --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122. http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    -(ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) ; อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙) ; นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๖๙/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี). การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ถูกแล้ว ถูกแล้ว สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลในตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สตินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่ง โวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, ดังนี้แล. มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙ – ๓๐๐/๑๐๑๗ – ๑๐๒๒. (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว). สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 103 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 631
    ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ
    อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมกถิโก
    ดังนี้.
    --ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ
    อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน
    ดังนี้.
    --ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว
    เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ
    ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต
    ดังนี้.

    [+--
    ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ตา
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ;
    ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒)
    - ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
    แทนอายตนะภายในหก
    อย่างในสูตรนี้ ก็มี
    *---ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/17/199/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%92
    +--].-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/145/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/145/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๗/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=631
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 631 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมกถิโก ดังนี้. --ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน ดังนี้. --ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต ดังนี้. [+-- ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ตา ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ; ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒) - ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ แทนอายตนะภายในหก อย่างในสูตรนี้ ก็มี *---ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/17/199/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%92 +--].- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/145/244. http://etipitaka.com/read/thai/18/145/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๗/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=631 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    -การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก) ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน)ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต) ดังนี้. [ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งตา ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้ ; ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒) ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ แทนอายตนะภายในหก อย่างในสูตรนี้ ก็มี].
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 51 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามคุณห้าคือบ่วง
    สัทธรรมลำดับที่ : 251
    ชื่อบทธรรม :- กามคุณห้าคือบ่วง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามคุณห้าคือบ่วง
    --ภิกษุ ท. ! กามคุณมีห้าอย่างเหล่านี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=กามคุณ
    ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ
    รูปที่เห็นด้วยตา,
    เสียงที่ฟังด้วยหู,
    กลิ่นที่ดมด้วยจมูก,
    รสที่ลิ้มด้วยลิ้น,
    และโผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยกาย,
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือกามคุณห้าอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง
    ติดอกติดใจสยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านี้แล้ว
    ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ;
    +--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า
    +--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจ อย่างใด.
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบได้ดั่ง #เนื้อป่าตัวที่ติดบ่วง นอนจมอยู่ในบ่วง.
    เมื่อนายพรานมาถึงเข้า, มันจะหนีไปไหนไม่พ้นเลย ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ก็ฉันนั้นเหมือนกัน,
    พวกเขา พากันติดอกติดใจ สยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านั้นแล้ว
    ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ;
    +--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า
    +--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจอย่างใด แล.-

    #ทักขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/231/327-8.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/231/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๓๓/๓๒๗-๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=251
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามคุณห้าคือบ่วง สัทธรรมลำดับที่ : 251 ชื่อบทธรรม :- กามคุณห้าคือบ่วง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251 เนื้อความทั้งหมด :- --กามคุณห้าคือบ่วง --ภิกษุ ท. ! กามคุณมีห้าอย่างเหล่านี้. http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=กามคุณ ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปที่เห็นด้วยตา, เสียงที่ฟังด้วยหู, กลิ่นที่ดมด้วยจมูก, รสที่ลิ้มด้วยลิ้น, และโผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยกาย, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือกามคุณห้าอย่าง. --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ติดอกติดใจสยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านี้แล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; +--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า +--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจ อย่างใด. --ภิกษุ ท. ! เปรียบได้ดั่ง #เนื้อป่าตัวที่ติดบ่วง นอนจมอยู่ในบ่วง. เมื่อนายพรานมาถึงเข้า, มันจะหนีไปไหนไม่พ้นเลย ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ก็ฉันนั้นเหมือนกัน, พวกเขา พากันติดอกติดใจ สยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านั้นแล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; +--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า +--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจอย่างใด แล.- #ทักขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/231/327-8. http://etipitaka.com/read/thai/12/231/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๓๓/๓๒๗-๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=251 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามคุณห้าคือบ่วง
    -กามคุณห้าคือบ่วง ภิกษุ ท. ! กามคุณมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปที่เห็นด้วยตา, เสียงที่ฟังด้วยหู, กลิ่นที่ดมด้วยจมูก, รสที่ลิ้มด้วยลิ้น, และโผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยกาย, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือกามคุณห้าอย่าง. ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ติดอกติดใจสยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านี้แล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจ อย่างใด. ภิกษุ ท. ! เปรียบได้ดั่งเนื้อป่า ตัวที่ติดบ่วง นอนจมอยู่ในบ่วง. เมื่อนายพรานมาถึงเข้า, มันจะหนีไปไหนไม่พ้นเลย ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ก็ฉันนั้นเหมือนกัน, พวกเขา พากันติดอกติดใจ สยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านั้นแล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจอย่างใด แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 71 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 250
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    +--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
    สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา.
    +--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
    สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา.
    +--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
    สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา.
    *---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93

    +--ลักษณะแห่งกามตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง
    ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย
    ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย
    ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย
    ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ
    ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น,
    ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม
    ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม
    และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ,
    ดังนี้แล.-
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ
    สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ
    ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร
    +--ส่วนสัตว์เหล่าใด
    กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง
    ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ
    และสำรอก อวิชชาเสียได้
    +--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง
    เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม สัทธรรมลำดับที่ : 250 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. +--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา. +--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา. +--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา. *---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔. http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93 +--ลักษณะแห่งกามตัณหา --ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น, ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ, ดังนี้แล.- ... --ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร +--ส่วนสัตว์เหล่าใด กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ และสำรอก อวิชชาเสียได้ +--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10. http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑. ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    -๑. ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วยกามธาตุ : นี้ เรียกว่า กามตัณหา. ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า ภวตัณหา. วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า วิภวตัณหา. - นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔. ลักษณะแห่งกามตัณหา ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง ซึ่งความก่อขึ้น แห่งกามทั้งหลาย ซึ่งความดับไปแห่งกามทั้งหลาย ซึ่งรสอร่อยแห่งกามทั้งหลาย ซึ่งโทษแห่งกามทั้งหลาย และซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จากกามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น, ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า กามโยคะ, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 998
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ
    ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง
    ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง
    ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง
    ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง
    ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง,
    นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :
    +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา .
    (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด
    เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด,
    ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . .
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว
    มีวิราคะอาศัยแล้ว
    มีนิโรธอาศัยแล้ว
    มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).-

    (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ
    ฯลฯ
    อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ

    ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97

    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99

    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 998 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . . ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).- (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 ดังนี้ก็มี ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284. http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว--ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    -(ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่นคือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) : อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วยความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วยปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วยอวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยการดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วยวิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยอริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วยสมถะและวิปัสสนา. ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน). อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 67 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 630
    ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย
    ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !”
    --ท่านผู้จอมเทพ !
    รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี,
    เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี,
    รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ;
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ;
    และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
    เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
    วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว
    ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี.
    --ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    --ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย
    ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 630 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” --ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. --ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ --ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179. http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    -การปรินิพพานในทิฏฐธรรม “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. ท่านผู้จอมเทพ ! ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน. ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 70 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอาหาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 246
    ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอาหาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่เกิดแห่งอาหาร
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)บ้าง.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมฺภเวสี
    อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ
    อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม,
    อาหารที่สอง คือ ผัสสะ,
    อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา (มโนกรรม),
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=มโนสญฺเจตนา
    อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ;
    ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง.

    --ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=นิทาน
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมุทย
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ชาติ
    และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ปภ
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้
    +--มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีตัณหาเป็นแดนเกิด
    +--ก็ตัณหานี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    ตัณหามี เวทนาเป็นเหตุ
    มีเวทนาเป็นที่ตั้งขึ้น มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิด
    +--ก็เวทนานี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    เวทนามี ผัสสะเป็นเหตุ
    มีผัสสะเป็นที่ตั้งขึ้น มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    +--ก็ผัสสะนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    ผัสสะมี สฬายตนะเป็นเหตุ
    มีสฬายตนะเป็นที่ตั้งขึ้น มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    +--ก็สฬายตนะนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    สฬายตนะมี นามรูปเป็นเหตุ
    มีนามรูปเป็นที่ตั้งขึ้น มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    +--ก็นามรูปนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    นามรูปมี วิญญาณเป็นเหตุ
    มีวิญญาณเป็นที่ตั้งขึ้น มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    +--ก็วิญญาณนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    วิญญาณมี สังขารเป็นเหตุ
    มีสังขารเป็นที่ตั้งขึ้น มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด
    +--ก็สังขารเหล่านี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเหตุ
    มีอวิชชาเป็นที่ตั้งขึ้น มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย )
    เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย
    เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
    เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
    เพราะมีสฬายตนะเป็นปีจจัย จึงมีผัสสะ
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
    +--ดังพรรณนามาฉะนี้ #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้
    ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ แล.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/10/28-29.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/10/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=246
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอาหาร สัทธรรมลำดับที่ : 246 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอาหาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอาหาร --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)บ้าง. http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมฺภเวสี อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา (มโนกรรม), http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=มโนสญฺเจตนา อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ; ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง. --ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=นิทาน มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมุทย มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ชาติ และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ปภ --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ +--มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด +--ก็ตัณหานี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด ตัณหามี เวทนาเป็นเหตุ มีเวทนาเป็นที่ตั้งขึ้น มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิด +--ก็เวทนานี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด เวทนามี ผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นที่ตั้งขึ้น มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด +--ก็ผัสสะนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด ผัสสะมี สฬายตนะเป็นเหตุ มีสฬายตนะเป็นที่ตั้งขึ้น มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด +--ก็สฬายตนะนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด สฬายตนะมี นามรูปเป็นเหตุ มีนามรูปเป็นที่ตั้งขึ้น มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด +--ก็นามรูปนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด นามรูปมี วิญญาณเป็นเหตุ มีวิญญาณเป็นที่ตั้งขึ้น มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด +--ก็วิญญาณนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด วิญญาณมี สังขารเป็นเหตุ มีสังขารเป็นที่ตั้งขึ้น มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด +--ก็สังขารเหล่านี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเหตุ มีอวิชชาเป็นที่ตั้งขึ้น มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย ) เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะมีสฬายตนะเป็นปีจจัย จึงมีผัสสะ เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา +--ดังพรรณนามาฉะนี้ #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ แล. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/10/28-29. http://etipitaka.com/read/thai/16/10/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=246 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่เกิดแห่งอาหาร
    -ที่เกิดแห่งอาหาร ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด (สัมภเวสี)* บ้าง. อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือมโนสัญเจตนา (มโนกรรม), อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ; ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง. ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ? ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 67 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 997
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก
    มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง
    มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี
    (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :-
    +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้.
    (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น
    ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง
    เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์;
    กล่าวคือ
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า
    (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล
    (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).-

    (----+
    ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ
    ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่;
    แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง,
    ดังนี้ก็มี;
    ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด.
    +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น
    วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี;
    มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น
    ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99
    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ;
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน.
    +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ
    วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้
    แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป
    วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น;
    วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา;
    วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ;
    วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค
    ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา.
    +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว
    ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน
    +----).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 997 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :- +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).- (----+ ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙ http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา. +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน +----). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295. http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    -(ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขกมาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 133 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 629
    ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ
    --ภิกษุ ท. !
    +--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล,
    สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    +--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ;
    +--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ;
    +--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
    ๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้
    สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)​แล้ว
    แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)​นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์;
    แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    ฉันใดก็ฉันนั้น.

    (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)​ต่อข้อความนี้
    ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 629 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! +--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; +--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; +--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; +--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, ๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)​แล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)​นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)​ต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24. http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อีกนัยหนึ่ง)
    -(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อสัมมาสมาธิมีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; เมื่อยถาภูตญาณทัสสนะมีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; เมื่อนิพพิทาวิราคะมีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบแล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือกก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่นก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัยต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 61 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 245
    ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
    มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้
    มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีตัณหาเป็นแดนเกิด.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด?
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
    มีอะไรเป็นแดนเกิด ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้
    มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีเวทนาเป็นแดนเกิด.

    --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ
    มีผัสสะเป็นเหตุเกิด
    มีผัสสะเป็นกำเนิด
    มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ
    มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด
    มีสฬายตนะเป็นกำเนิด
    มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ
    มีนามรูปเป็นเหตุเกิด
    มีนามรูปเป็นกำเนิด
    มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ
    มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด
    มีวิญญาณเป็นกำเนิด
    มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ
    มีสังขารเป็นเหตุเกิด
    มีสังขารเป็นกำเนิด
    มีสังขารเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ
    มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด
    มีอวิชชาเป็นกำเนิด
    มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล
    ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น
    ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น
    ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน
    เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว
    เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน สัทธรรมลำดับที่ : 245 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอุปาทาน --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิด ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีเวทนาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด? ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158. http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    -ที่เกิดแห่งอุปาทาน ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด. ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีเวทนาเป็นแดนเกิด แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 70 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอุปธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 244
    ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปธิ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่เกิดแห่งอุปธิ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อพิจารณาสืบต่อไป
    ย่อมพิจารณาลึกลงไปอีกว่า
    “อุปธินี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ?
    และมีอะไรเป็นแดนเกิด ?
    เมื่ออะไรมีอยู่ อุปธิก็มีอยู่ ?
    เมื่ออะไรไม่มี อุปธิก็ไม่มี ?” ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เมื่อพิจารณาอยู่ ย่อมรู้ได้ชัดอย่างนี้ว่า
    “อุปธิมีตัณหา เป็นเหตุให้เกิด,
    มีตัณหา เป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีตัณหา เป็นเครื่องกำเนิด,
    และมีตัณหา เป็นแดนเกิด ;

    เมื่อตัณหา มีอยู่ อุปธิก็มีอยู่,
    เมื่อตัณหา ไม่มี อุปธิก็ไม่มี,
    ดังนี้แล.-

    --ภิกษุ ท.(ทั้งหลาย) เราเรียกภิกษุรูปนี้ว่า
    #เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกข์ เพื่อความดับแห่งอุปธิโดยชอบทุกประการ ฯ

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/105/257.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/105/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๑/๒๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/131/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=244
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอุปธิ สัทธรรมลำดับที่ : 244 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปธิ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอุปธิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อพิจารณาสืบต่อไป ย่อมพิจารณาลึกลงไปอีกว่า “อุปธินี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? เมื่ออะไรมีอยู่ อุปธิก็มีอยู่ ? เมื่ออะไรไม่มี อุปธิก็ไม่มี ?” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เมื่อพิจารณาอยู่ ย่อมรู้ได้ชัดอย่างนี้ว่า “อุปธิมีตัณหา เป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหา เป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหา เป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหา เป็นแดนเกิด ; เมื่อตัณหา มีอยู่ อุปธิก็มีอยู่, เมื่อตัณหา ไม่มี อุปธิก็ไม่มี, ดังนี้แล.- --ภิกษุ ท.(ทั้งหลาย) เราเรียกภิกษุรูปนี้ว่า #เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกข์ เพื่อความดับแห่งอุปธิโดยชอบทุกประการ ฯ #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/105/257. http://etipitaka.com/read/thai/16/105/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๑/๒๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/131/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=244 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่เกิดแห่งอุปธิ
    -ที่เกิดแห่งอุปธิ ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อพิจารณาสืบต่อไป ย่อมพิจารณาลึกลงไปอีกว่า “อุปธินี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? เมื่ออะไรมีอยู่ อุปธิก็มีอยู่ ? เมื่ออะไรไม่มี อุปธิก็ไม่มี ?” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เมื่อพิจารณาอยู่ ย่อมรู้ได้ชัดอย่างนี้ว่า “อุปธิมีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด ; เมื่อตัณหามีอยู่ อุปธิก็มีอยู่, เมื่อตัณหาไม่มี อุปธิก็ไม่มี, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 77 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 996
    ชื่อบทธรรม :- การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไป
    เพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (๑.เอกนฺตนิพฺพิท)
    เพื่อความคลายกำหนัด (๒.วิราค)
    เพื่อความดับ (๓.นิโรธ)
    เพื่อความสงบ (๔.อุปสม)
    เพื่อความรู้ยิ่ง (๕.อภิญฺญ)
    เพื่อความรู้พร้อม (๖.สมฺโพธ)
    เพื่อ ๗.นิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/95/?keywords=เอกนฺตนิพฺพิทาย

    ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ :-
    +--เป็นผู้ ๑.มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ;
    +--เป็นผู้ ๒.มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ;
    +--เป็นผู้ ๓.มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ;
    +--เป็นผู้ ๔.มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่;
    +--และ ๕.มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด
    เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=นิพฺพานาย

    (ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้
    ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา
    เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว
    ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา,
    ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/74/69.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/74/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๔/๖๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=996
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตน สัทธรรมลำดับที่ : 996 ชื่อบทธรรม :- การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996 เนื้อความทั้งหมด :- --การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไป เพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (๑.เอกนฺตนิพฺพิท) เพื่อความคลายกำหนัด (๒.วิราค) เพื่อความดับ (๓.นิโรธ) เพื่อความสงบ (๔.อุปสม) เพื่อความรู้ยิ่ง (๕.อภิญฺญ) เพื่อความรู้พร้อม (๖.สมฺโพธ) เพื่อ ๗.นิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/22/95/?keywords=เอกนฺตนิพฺพิทาย ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ :- +--เป็นผู้ ๑.มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ; +--เป็นผู้ ๒.มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ; +--เป็นผู้ ๓.มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ; +--เป็นผู้ ๔.มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่; +--และ ๕.มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.- http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=นิพฺพานาย (ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/74/69. http://etipitaka.com/read/thai/22/74/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๔/๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=996 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว--(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
    -(สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกันใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้). การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว (มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (เอกนฺตนิพฺพิท) เพื่อความคลายกำหนัด (วิราค) เพื่อความดับ (นิโรธ) เพื่อความสงบ (อุปสม) เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญ) เพื่อความรู้พร้อม (สมฺโพธ) เพื่อนิพพาน. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ : เป็นผู้ มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ; เป็นผู้ มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ; เป็นผู้ มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ; เป็นผู้ มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่; และ มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 100 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 628
    ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว,
    อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร
    --เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่,
    ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร
    ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่,
    ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์
    ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่,
    ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ
    ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่,
    สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข
    ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
    ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
    ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่,
    วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา
    ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่,
    วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ
    ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
    ...
    *--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ.

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 628 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร --เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ ... *--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​#พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210. http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อีกนัยหนึ่ง)
    -(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 96 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุให้มีการเกิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 243
    ชื่อบทธรรม :- เหตุให้มีการเกิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุให้มีการเกิด
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้.

    &ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า”
    --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,
    &กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
    วิญญาณ เป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
    ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย
    ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม,
    การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,

    &รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
    วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
    ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย
    ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง,
    การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้.

    &อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    http://etipitaka.com/read/pali/20/289/?keywords=กมฺมํ
    กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
    วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
    ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
    ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย
    ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น
    มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว
    ด้วยธาตุชั้นประณีต.
    การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป
    ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อรยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/212/517.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/212/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=243
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุให้มีการเกิด สัทธรรมลำดับที่ : 243 ชื่อบทธรรม :- เหตุให้มีการเกิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุให้มีการเกิด --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. &ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า” --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณ เป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. &อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ http://etipitaka.com/read/pali/20/289/?keywords=กมฺมํ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นประณีต. การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อรยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/212/517. http://etipitaka.com/read/thai/20/212/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=243 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุให้มีการเกิด
    -เหตุให้มีการเกิด “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า” อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณ เป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นประณีต. การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ภพ ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาพืชของภพ
    สัทธรรมลำดับที่ : 242
    ชื่อบทธรรม :- พืชของภพ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พืชของภพ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้.

    &ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้.
    &กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
    วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
    ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ
    วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว
    ด้วยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ),
    การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้
    ด้วยอาการอย่างนี้.
    --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,

    &รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
    วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
    ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ
    วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว
    ด้วยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ).
    การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้
    ด้วยอาการอย่างนี้.
    --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,

    &อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
    วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
    ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ
    วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว
    ด้วยธาตุชั้นประณีต(อรูปธาตุ),
    การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้
    ด้วยอาการอย่างนี้.
    --อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อรยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/211/516.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/211/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=242
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาพืชของภพ สัทธรรมลำดับที่ : 242 ชื่อบทธรรม :- พืชของภพ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242 เนื้อความทั้งหมด :- --พืชของภพ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. &ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. &กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ). การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นประณีต(อรูปธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อรยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/211/516. http://etipitaka.com/read/thai/20/211/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=242 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - พืชของภพ
    -พืชของภพ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ). การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อหา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นประณีต(อรูปธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ภพ ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 995
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
    การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
    แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
    เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
    เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.

    --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
    ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
    เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
    (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
    ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ(เปยยาล)​....
    (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
    แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
    ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
    ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
    $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ ....
    ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ....
    ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
    จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
    เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
    โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
    เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
    ด้วยการกำหนดว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
    -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
    จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
    มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
    แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
    “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-

    (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
    เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
    ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
    และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
    ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
    เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
    นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
    ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
    อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
    ).

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
    ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล)​.... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 157 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 627
    ชื่อบทธรรม :-​ กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    --ภิกษุ ท. !
    -เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่,
    หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว
    ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑;
    -เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่,
    อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ
    ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่,
    สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร
    ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๔.สีล มีอยู่,
    สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล
    ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
    ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
    ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
    วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ
    #ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
    *--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย
    แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่.

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพื่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 627 ชื่อบทธรรม :-​ กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 เนื้อความทั้งหมด :- --กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! -เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑; -เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๔.สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ #ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ *--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187. http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพื่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    -กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ ภิกษุ ท. ! เมื่อ สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย๑; เมื่อ หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. เมื่อ นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเครื่องจูงใจสู่ภพ
    สัทธรรมลำดับที่ : 241
    ชื่อบทธรรม :- เครื่องจูงใจสู่ภพ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เครื่องจูงใจสู่ภพ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า
    ‘เครื่องนำไปสู่ภพ(ภวเนตฺติ)​*--๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’
    http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=ภวเนตฺติ
    ดังนี้,
    ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า !
    และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?”
    --ราธะ !
    ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี
    ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี
    นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี
    ตัณหา(ความอยากมีอยากเป็น)​ ก็ดี และ
    อุปายะ(ความยึดมั่น)​
    เป็นกิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพและอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ
    เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ
    ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ;
    กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘#เครื่องนำไปสู่ภพ.’

    ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้
    เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.-

    *--๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’
    ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ.

    #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/192/368.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/192/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=241
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเครื่องจูงใจสู่ภพ สัทธรรมลำดับที่ : 241 ชื่อบทธรรม :- เครื่องจูงใจสู่ภพ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241 เนื้อความทั้งหมด :- --เครื่องจูงใจสู่ภพ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ(ภวเนตฺติ)​*--๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’ http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=ภวเนตฺติ ดังนี้, ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า ! และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?” --ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหา(ความอยากมีอยากเป็น)​ ก็ดี และ อุปายะ(ความยึดมั่น)​ เป็นกิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพและอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ; กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘#เครื่องนำไปสู่ภพ.’ ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้ เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.- *--๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’ ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ. #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/192/368. http://etipitaka.com/read/thai/17/192/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=241 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เครื่องจูงใจสู่ภพ
    -เครื่องจูงใจสู่ภพ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’ ดังนี้, ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า ! และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?” ๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’ ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ. ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหาก็ดี และอุปายะ (กิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพ) และอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ; กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ.’ ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้ เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสัญโญชน์อย่างเอก
    สัทธรรมลำดับที่ : 240
    ชื่อบทธรรม :- สัญโญชน์อย่างเอก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญโญชน์อย่างเอก
    --ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว
    ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป
    ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้
    เหมือนอย่าง #ตัณหาสัญโญชน์ นี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=ตณฺหาสํโยชนํ
    --ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วย ตัณหาสัญโญชน์ แล้ว
    ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง
    แล.
    -บุรุษผู้มีตัณหาเป็นเพื่อนสอง
    ท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน
    ย่อมไม่ก้าวล่วงสงสารอันมีความเป็นอย่างนี้
    และความเป็นอย่างอื่นไปได้
    ภิกษุรู้ตัณหาซึ่งเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    แล.-

    #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. 25/167/193.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/167/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖/๑๙๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=240
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม :- 16 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสัญโญชน์อย่างเอก สัทธรรมลำดับที่ : 240 ชื่อบทธรรม :- สัญโญชน์อย่างเอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240 เนื้อความทั้งหมด :- --สัญโญชน์อย่างเอก --ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้ เหมือนอย่าง #ตัณหาสัญโญชน์ นี้. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=ตณฺหาสํโยชนํ --ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วย ตัณหาสัญโญชน์ แล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง แล. -บุรุษผู้มีตัณหาเป็นเพื่อนสอง ท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน ย่อมไม่ก้าวล่วงสงสารอันมีความเป็นอย่างนี้ และความเป็นอย่างอื่นไปได้ ภิกษุรู้ตัณหาซึ่งเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ แล.- #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. 25/167/193. http://etipitaka.com/read/thai/25/167/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖/๑๙๓. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=240 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม :- 16 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญโญชน์อย่างเอก
    -สัญโญชน์อย่างเอก ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้ เหมือนอย่าง ตัณหาสัญโญชน์ นี้. ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วยตัณหาสัญโญชน์แล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 994
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ
    ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ?
    --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : -
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา
    +--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ;
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล
    ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.-
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ สัทธรรมลำดับที่ : 994 ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : - http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา +--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.- http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366. http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖. http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    -(องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณะรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด). ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้แล ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา
    สัทธรรมลำดับที่ : 626
    ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ
    ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ....
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?”
    --ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า
    “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)”
    ดังนี้.
    --ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า
    “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น”
    ดังนี้ แล้วไซร้,
    +-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ;
    ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ;
    ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว
    เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑;
    คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม
    ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น.

    (ในกรณีแห่ง
    โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ
    ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย
    โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ...
    นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ
    และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ
    ต่างกันแต่ชื่อ
    ).

    --ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
    จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ;
    เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น
    : นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น.
    คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก
    หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย.

    *--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 626 ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” --ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. --ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้ แล้วไซร้, +-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ... นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ ). --ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.- http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น : นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. *--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96. http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    -(ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้ ตรัสเรียกว่า ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่าสักกายนิโรธ. ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗) ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธันตะ ก็มี). อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า“สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้แล้วไซร้, ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง ; โดยประการอื่น๑ ; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูป ทั้งหลายโดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ มนะ และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วยโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุและธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ). ๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น: นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 107 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts