• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การจบกิจแห่งอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1063
    ชื่อบทธรรม :- การจบกิจแห่งอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1063
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การจบกิจแห่งอริยสัจ
    (ปฐมเทศนาแด่ปัจจวัคคีด้วย #ธัมมจักกัปปวัตนสูตร)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนวคฺโค+ทุติโย
    ...
    --กำหนดด้วยความสมบูรณ์แห่ง ญาณสาม
    --๑. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว
    ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ทุกฺขํ+อริยสจฺจนฺติ
    ๑. นี้ เป็นความจริงอันประสริฐคือ ทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า
    ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ทุกข์นี้ ควรกำหนดรอบรู้ (นี้ ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า
    ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ทุกข์นี้ เราได้กำหนดรอบรู้แล้ว (นี้ ท่านเรียกกันมา กตญาณ).

    --๒. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว
    ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ทุกฺขสมุทโย+อริยสจฺจนฺติ
    ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ เหตุให้เกิดทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า
    ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ เหตุให้เกิดทุกข์นี้ ควรละเสีย (นี้ ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า
    ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ เหตุให้เกิดทุกข์นี้ เราได้ละเสียแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ).

    --๓. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว
    ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/530/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจนฺติ
    ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า
    ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ ควรทำให้แจ้ง (นี้ ท่านเรียกกันว่ากิจจญาณ), ว่า
    ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ เราได้ ทำให้แจ้งแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ).

    --๔. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว
    ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/530/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา+อริยสจฺจนฺติ
    ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า
    ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ ควรทำให้เจริญ (นี้ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า
    ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ เราได้ ทำให้เจริญแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ).

    --ภิกษุ ท. ! ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง อัน มีรอบ (ปริวัฏฏ์) สาม
    http://etipitaka.com/read/pali/19/530/?keywords=ปริวฏฺฏํ
    มีอาการสิบสอง เช่นนั้น ในอริยสัจทั้งสี่เหล่านี้
    ยังไม่เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา อยู่เพียงใด;
    ตลอดกาลเพียงนั้น เรายังไม่ปฏิญญาว่าได้ ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว
    ซึ่งอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
    ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก
    ในหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง อัน มีรอบ
    สามมีอาการสิบสอบ เช่นนั้น ในอริยสัจทั้งสี่เหล่านี้
    เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา;
    เมื่อนั้น เราปฏิญญาว่าได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้วซึ่ง #อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/531/?keywords=อนุตฺตรํ+สมฺมาสมฺโพธึ+อภิสมฺพุทฺโธ
    ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก
    ในหมู่สัตว์พร้อมทั้ง สมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์.
    ก็แหละ ญาณและทัสสนะได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ว่า
    “ความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำเริบ,
    ความเกิดนี้ เป็นความเกิดครั้งสุดท้าย,
    บัดนี้ ความเกิดอีกอย่างไม่มี”
    ดังนี้.
    ....
    (ที่สุดในปฐมเทศนาแด่ปัจจวัคคีด้วย #ธัมมจักกัปปวัตนสูตร)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/540/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนวคฺโค+ทุติโย

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๐-๕๒๙/๑๖๖๖-๑๖๗๐.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/97/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๙-๕๓๐/๑๖๖๖-๑๖๗๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93&id=1063
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93
    ลำดับสาธยายธรรม : 93 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_93.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การจบกิจแห่งอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1063 ชื่อบทธรรม :- การจบกิจแห่งอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1063 เนื้อความทั้งหมด :- --การจบกิจแห่งอริยสัจ (ปฐมเทศนาแด่ปัจจวัคคีด้วย #ธัมมจักกัปปวัตนสูตร)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนวคฺโค+ทุติโย ... --กำหนดด้วยความสมบูรณ์แห่ง ญาณสาม --๑. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ทุกฺขํ+อริยสจฺจนฺติ ๑. นี้ เป็นความจริงอันประสริฐคือ ทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ทุกข์นี้ ควรกำหนดรอบรู้ (นี้ ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ทุกข์นี้ เราได้กำหนดรอบรู้แล้ว (นี้ ท่านเรียกกันมา กตญาณ). --๒. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ทุกฺขสมุทโย+อริยสจฺจนฺติ ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ เหตุให้เกิดทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ เหตุให้เกิดทุกข์นี้ ควรละเสีย (นี้ ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ เหตุให้เกิดทุกข์นี้ เราได้ละเสียแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ). --๓. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/530/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจนฺติ ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ ควรทำให้แจ้ง (นี้ ท่านเรียกกันว่ากิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ เราได้ ทำให้แจ้งแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ). --๔. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/530/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา+อริยสจฺจนฺติ ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ ควรทำให้เจริญ (นี้ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ เราได้ ทำให้เจริญแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ). --ภิกษุ ท. ! ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง อัน มีรอบ (ปริวัฏฏ์) สาม http://etipitaka.com/read/pali/19/530/?keywords=ปริวฏฺฏํ มีอาการสิบสอง เช่นนั้น ในอริยสัจทั้งสี่เหล่านี้ ยังไม่เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา อยู่เพียงใด; ตลอดกาลเพียงนั้น เรายังไม่ปฏิญญาว่าได้ ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ซึ่งอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์. --ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง อัน มีรอบ สามมีอาการสิบสอบ เช่นนั้น ในอริยสัจทั้งสี่เหล่านี้ เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา; เมื่อนั้น เราปฏิญญาว่าได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้วซึ่ง #อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ http://etipitaka.com/read/pali/19/531/?keywords=อนุตฺตรํ+สมฺมาสมฺโพธึ+อภิสมฺพุทฺโธ ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้อมทั้ง สมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์. ก็แหละ ญาณและทัสสนะได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ว่า “ความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำเริบ, ความเกิดนี้ เป็นความเกิดครั้งสุดท้าย, บัดนี้ ความเกิดอีกอย่างไม่มี” ดังนี้. .... (ที่สุดในปฐมเทศนาแด่ปัจจวัคคีด้วย #ธัมมจักกัปปวัตนสูตร)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/540/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนวคฺโค+ทุติโย #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๐-๕๒๙/๑๖๖๖-๑๖๗๐. http://etipitaka.com/read/thai/24/97/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๙-๕๓๐/๑๖๖๖-๑๖๗๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93&id=1063 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93 ลำดับสาธยายธรรม : 93 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_93.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การจบกิจแห่งอริยสัจ
    -การจบกิจแห่งอริยสัจ กำหนดด้วยความสมบูรณ์แห่ง ญาณสาม ๑. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า ๑. นี้ เป็นความจริงอันประสริฐคือ ทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประ-เสริฐคือ ทุกข์นี้ ควรกำหนดรอบรู้ (นี้ ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ทุกข์นี้ เราได้กำหนดรอบรู้แล้ว (นี้ ท่านเรียกกันมา กตญาณ). ๒. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประเสริฐ คือ เหตุให้เกิดทุกข์นี้ ควรละเสีย (นี้ ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ เหตุให้เกิดทุกข์นี้ เราได้ ละเสียแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ). ๓. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้ว ในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ ควรทำให้แจ้ง (นี้ ท่านเรียกกันว่ากิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ เราได้ ทำให้แจ้งแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ). ๔. ภิกษุ ท. ! ดวงตา ฯลฯ แสงสว่างของเรา ได้เกิดขึ้นแล้วในธรรมที่เราไม่เคยได้ยินได้ฟังมาแต่ก่อน ว่า ๑. นี้ เป็นความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ (นี้ ท่านเรียกกันว่า สัจจญาณ), ว่า ๒. ความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ ควรทำให้เจริญ (นี้ท่านเรียกกันว่า กิจจญาณ), ว่า ๓. ความจริงอันประเสริฐคือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ เราได้ ทำให้เจริญแล้ว (นี้ ท่านเรียกกันว่า กตญาณ). ภิกษุ ท. ! ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง อัน มีรอบ (ปริวัฏฏ์) สาม มีอาการสิบสอง เช่นนั้น ในอริยสัจทั้งสี่เหล่านี้ ยังไม่เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา อยู่เพียงใด; ตลอดกาลเพียงนั้น เรายังไม่ปฏิญญาว่าได้ ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ซึ่งอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์. ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง อัน มีรอบ สาม มีอาการสิบสอบ เช่นนั้น ในอริยสัจทั้งสี่เหล่านี้ เป็นของบริสุทธิ์หมดจด ด้วยดีแก่เรา; เมื่อนั้น เราปฏิญญาว่าได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้วซึ่งอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้อมทั้ง สมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์. ก็แหละ ญาณและทัสสนะได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ว่า “ความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำเริบ, ความเกิดนี้ เป็นความเกิดครั้งสุดท้าย, บัดนี้ ความเกิดอีกอย่างไม่มี” ดังนี้. มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๙-๕๓๐/๑๖๖๖-๑๖๗๐. ภาคสรุป ว่าด้วยข้อความสรุปท้ายเกี่ยวกับจตุราริยสัจ จบ คำชี้ชวนวิงวอน ภิกษุ ท. ! โยคกรรม อันเธอพึงกระทำ เพื่อให้รู้ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับสนิทแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์.” เทสิตํ โว มยา นิพฺพานํ เทสิโต นิพฺพานคามิมคฺโค นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอทั้งหลาย. กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี นี่แหละ วาจาเครื่องพร่ำสอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. (มหาวาร. สํ. - สฬา. สํ.) ภาคผนวก ว่าด้วย เรื่องนำมาผนวกเพื่อความสะดวกแก่การอ้างอิง สำหรับเรื่องที่ตรัสซ้ำๆ บ่อยๆ ภาคผนวก มีเรื่อง ๒ หัวข้อ : ๑. ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย ๒. ลักษณะความสะอาด – ไม่สะอาดในอริยวินัย ภาคผนวก ว่าด้วย เรื่องนำมาผนวก เพื่อความสะดวกแก่การอ้างอิง สำหรับเรื่องที่ตรัสซ้ำ ๆ บ่อย ๆ (มี ๒ หัวข้อ) ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย (ที่แสดงไว้โดยขันธ์สาม) (ข้อความต่อไปนี้ เป็นคำของพระอานนท์ แต่ก็ตรงเป็นอันเดียวกันกับพระพุทธภาษิต ดังที่ทรงแสดงไว้ในสามัญญผลสูตร อัมพัฏฐสูตร โสณทัณฑสูตร เป็นต้น จึงถือว่ามีค่า เท่ากับพระพุทธภาษิต และนำมารวมไว้ในเรื่องจากพระโอษฐ์; หากแต่ถ้อยคำของพระอานนท์ เรียบเรียงไว้อย่างสะดวกง่ายดายแก่การอ้างอิงยิ่งกว่า จึงยกเอาสำนวนนี้มาใช้ในการอ้างอิง :-) ๑. ศีลขันธ์ “ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! อริยสีลขันธ์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ที่พระสมณโคดม ทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” ตถาคตเกิดขึ้นในโลกแสดงธรรม มาณพ ! ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบเอง สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกคนควรฝึก ไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนก ธรรมออกสอนสัตว์. ตถาคตนั้น ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ตถาคตนั้น แสดงธรรมไพเราะ ในเบื้องต้น ท่ามกลางที่สุด, ประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง. กุลบุตรฟังธรรม ออกบวช คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลัง ก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธา ย่อมพิจารณาเห็นว่า “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาส (คือที่โปร่งโล่ง) อันยิ่ง; การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียว เหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย. ถ้ากระไร เราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้. โดยสมัยอื่นต่อมา เขา ละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว. แนวปฏิบัติสำหรับผู้บวชใหม่ กุลบุตรนั้น ครั้นบวชแล้วอย่างนี้ เป็นผู้ สำรวมแล้วด้วยการสำรวมในปาติโมกข์อยู่ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ประกอบด้วย กายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล มีอาชีวะบริสุทธิ์ ถึงพร้อมด้วยศีล มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นผู้สันโดษ. ก. อาการที่ถึงพร้อมด้วยศีล (ขั้นจุลศีล) มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศัสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลในบรรดาสัตว์ทั้งหลายอยู่ ; แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. เป็นผู้ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน ถือเอาแต่ของที่เขาให้แล้ว หวังอยู่แต่ของที่เขาให้ เป็นคนสะอาด ไม่เป็นขโมยอยู่; แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. เป็นผู้ละกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ ประพฤติห่างไกล เว้นขาดจากการเสพเมถุนอันเป็นของชาวบ้าน; แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. เป็นผู้ละมุสาวาท เว้นขาดจากมุสาวาท พูดแต่ความจริง รักษาความสัตย์ มั่นคงในคำพูดควรเชื่อถือได้ ไม่แกล้งกล่าวให้ผิดต่อโลก; แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. เป็นผู้ละคำส่อเสียด เว้นขาดจากคำส่อเสียด ได้ฟังจากฝ่ายนี้แล้วไม่เก็บไปบอกฝ่ายโน้น เพื่อให้ฝ่ายนี้แตกร้าวกัน หรือได้ฟังจากฝ่ายโน้นแล้ว ไม่นำมาบอกแก่ฝ่ายนี้ เพื่อให้ฝ่ายโน้นแตกร้าวกัน แต่จะสมานคนที่แตกกันแล้วให้กลับพร้อมเพรียงกัน อุดหนุนคนที่พร้อมเพรียง กันอยู่ให้พร้อมเพรียงกันยิ่งขึ้น เป็นคนชอบในการพร้อมเพรียง เป็นคนยินดีใน การพร้อมเพรียง เป็นคนพอใจในการพร้อมเพรียง กล่าวแต่วาจาที่ทำให้พร้อมเพรียงกัน ; แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. เป็นผู้ละการกล่าวคำหยาบเสีย เว้นขาดจากการกล่าวคำหยาบ กล่าวแต่วาจาที่ไม่มีโทษ เสนาะโสต ให้เกิดความรัก เป็นคำฟูใจ เป็นคำสุภาพที่ชาวเมืองเขาพูดกัน เป็นที่ใคร่ที่พอใจของมหาชน; แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. เป็นผู้ละคำพูดที่โปรยประโยชน์ทิ้งเสีย เว้นขาดจากการพูดเพ้อเจ้อ กล่าวแต่ในเวลาอันสมควร กล่าวแต่คำจริง เป็นประโยชน์ เป็นธรรม เป็นวินัย กล่าวแต่วาจามีที่ตั้ง มีหลักฐานที่อ้างอิง มีเวลาจบ ประกอบด้วยประโยชน์ สมควรแก่เวลา; แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่งๆ . ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการล้างผลาญพืชคามและภูตคาม. เป็นผู้ฉันอาหารวันหนึ่งเพียงหนเดียว เว้นจากการฉันในราตรีและวิกาล. เป็นผู้เว้นขาดจากการฟ้อนรำ การขับร้อง การประโคม และการดูการเล่นชนิดเป็นข้าศึกแก่กุศล. เป็นผู้เว้นขาดจากการประดับประดา คือทัดทรงตกแต่งด้วยมาลา และของหอมและเครื่องลูบทา. เป็นผู้เว้นขาดจากการนอนบนที่นอนสูงใหญ่. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับเงินและทอง. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับข้าวเปลือก. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับหญิงและเด็กหญิง. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับทาสหญิงและทาสชาย. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับแพะ แกะ ไก่ สุกร ช้าง โค ม้า ลา ทั้งผู้และเมีย. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับที่นา ที่สวน. เป็นผู้เว้นขาดจากการรับใช้เป็นทูต ไปในที่ต่างๆ (ให้คฤหัสถ์). เป็นผู้เว้นจากการซื้อและการขาย. เป็นผู้เว้นขาดจากการโกงด้วยตาชั่ง การลวงด้วยของปลอมและการฉ้อด้วยเครื่องนับ (เครื่องตวงและเครื่องวัด). เป็นผู้เว้นขาดจากการโกง ด้วยการรับสินบนและล่อลวง. เป็นผู้เว้นขาดจาก การตัด การ ฆ่า การจำจอง การซุ่มทำร้าย การปล้น และการกรรโชก. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่งๆ. (จบจุลศีล) ข. อาการที่ถึงพร้อมด้วยศีล (ขั้นมัชฌิมศีล) (หมวดพีชคามภูตคาม) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังทำพีชคามและภูตคามให้กำเริบ กล่าวคือพืชที่ เกิดแต่ราก พืชที่เกิดแต่ต้น พืชที่เกิดแต่ผล พืชที่เกิดแต่ยอด และพืชที่เกิดแต่ เมล็ดเป็นที่ห้า. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการทำพีชคามและ ภูตคามเห็นปานนั้นให้กำเริบแล้ว. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดการบริโภคสะสม) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวกฉัน โภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นผู้บริโภคสะสมอยู่ กล่าวคือสะสมข้าว สะสมน้ำ สะสมผ้า สะสมยานพาหนะ สะสมเครื่องนอน สะสมเครื่องหอม สะสมอามิส. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการบริโภคสะสมเห็นปาน นั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดดูการเล่น) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นผู้ประกอบการดูสิ่งแสดง อันเป็นข้าศึกต่อ กุศลอยู่ กล่าวคือการฟ้อน การขับ การประโคม ไม้ลอย การเล่านิยาย การปรบมือ ตีฆ้อง ตีกลอง ประดับบ้านเมือง กายกรรมจัณฑาล เล่นหน้าศพ ชนช้าง ชนม้า ชนกระบือ ชนโค ชนแพะ ชนแกะ ชนไก่ ชนนกกระทา เพลงกระบอง มวยหมัด การรบ การตรวจพล การยกพล กองทัพ. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการดูสิ่งแสดงอันเป็นข้าศึกต่อกุศลเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดการพนัน) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้น ยังเป็นผู้ตามประกอบการกระทำในการพนัน อัน เป็นที่ตั้งแห่งความประมาทกันอยู่ กล่าวคือหมากรุก ๘ ตา หมากรุก ๑๐ ตา หมากเก็บ ชิงนาง หมากไหว โยนห่วง ไม้หึ่ง ฟาดให้เป็นรูปต่างๆ สะกา เป่าใบไม้ ไถน้อยๆ หกคะเมน กังหัน ตวงทราย รถน้อย ธนูน้อย เขียนทายกัน ทายใจ ล้อคนพิการ. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการกระทำใน การพนัน อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีล ของเธอประการหนึ่ง. (หมวดที่นั่งนอนสูงใหญ่) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นผู้ตามประกอบการนั่งนอนบนที่นั่งนอนสูง ใหญ่กันอยู่ กล่าวคือเตียงเท้าสูง เตียงเท้าคู้ เครื่องลาดขนยาว เครื่องลาดลายวิจิตร เครื่องลาดพื้นขาว เครื่องลาดลายดอกไม้ เครื่องลาดบุนุ่น เครื่องลาดมี รูปสัตว์ พรมขนตั้ง พรมขนเอน เครื่องลาดไหมแกมทอง เครื่องลาดไหมล้วน เครื่องลาดใหญ่สำหรับฟ้อน เครื่องลาดหลังช้าง เครื่องลาดหลังม้า เครื่องลาด บนรถ เครื่องลาดหนังอชินะ เครื่องลาดหนังชะมด เครื่องลาดใต้เพดาน เครื่องลาดมีหมอนแดงสองข้าง. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากที่นั่งนอนสูงใหญ่เห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดประดับตกแต่งกาย) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นผู้ตามประกอบการประดับตกแต่งร่างกายกันอยู่ กล่าวคือการอบ การนวด การอาบ การคลึง การส่องกระจก การหยอดตา พวงมาลา เครื่องกลิ่น เครื่องลูบทา ผัดหน้า ทาปาก กำไลมือ เกี้ยวผม ไม้ถือเล่น ห้อยกลักกล่อง ห้อยดาบ ห้อยพระขรรค์ ร่มสวย รองเท้าวิจิตร กรอบหน้า แก้วมณี พัดขนสัตว์ ผ้าขาวชายเฟื้อย. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาด จากการประดับตกแต่งร่างกายเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดดิรัจฉานกถา) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นผู้ตามประกอบเดรัจฉานกถา (เรื่องขวางหนทาง ธรรมสำหรับบรรพชิต) กันอยู่ กล่าวคือเรื่องเจ้า เรื่องนาย เรื่องโจร เรื่องมหาอมาตย์ เรื่องเสนา เรื่องของน่ากลัว เรื่องการรบ เรื่องข้าว เรื่องน้ำ เรื่องผ้า เรื่องที่นอน เรื่องมาลา เรื่องเครื่องกลิ่น เรื่องญาติ เรื่องยาน เรื่องบ้าน เรื่องนิคม เรื่องนคร เรื่องชนบท เรื่องหญิง เรื่องชาย เรื่องคนกล้า เรื่องตรอก เรื่องชุมนุม หญิงตักน้ำตามบ่อสาธารณะ เรื่องคนตายแล้ว เรื่องแปลกประหลาด เรื่องสนุก ของชาวโลก เรื่องของนักท่องสมุทร เรื่องความเจริญและความเสื่อม. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการประกอบเดรัจฉานกถาเป็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดการชอบทำความขัดแย้ง) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นผู้ตามประกอบถ้อยคำเครื่องขัดแย้งกันอยู่ กล่าวคือขัดแย้งกันว่า ท่านไม่รู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ ข้าพเจ้ารู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ ท่านจะรู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้อย่างไรได้ ท่านปฏิบัติผิด ข้าพเจ้าปฏิบัติถูก ถ้อยคำ ของข้าพเจ้าเป็นประโยชน์ ถ้อยคำของท่านไม่เป็นประโยชน์ เรื่องควรพูดก่อน ท่านเอามาพูดทีหลัง เรื่องควรพูดทีหลังท่านเอามาพูดก่อน ข้อที่ท่านเคย เชี่ยวชาญนั้นเปลี่ยนเป็นพ้นสมัยไปแล้ว วาทะของท่านถูกเพิกถอนแล้วถูกข่มขี่แล้ว จงเปลื้องวาทะของท่านเสียใหม่ หรือถ้าสามารถก็จงแยกแยะให้เห็น. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากถ้อยคำเครื่องขัดแย้งเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดการรับใช้เป็นทูต) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นผู้ตามประกอบในการไป เพราะถูกส่งไป เพื่อความเป็นทูต กันอยู่ กล่าวคือรับใช้พระราชา รับใช้อมาตย์ของพระราชา รับใช้กษัตริย์ รับใช้พราหมณ์ รับใช้คหบดี รับใช้เด็กๆ ที่ส่งไปด้วยคำว่า “ท่านจงไปที่นี้ ท่านจงไปที่โน้น ท่านจงนำสิ่งนี้ไปที่โน้น ท่านจงนำสิ่งนี้มา” ดังนี้เป็นต้น. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการตามประกอบในการไป เพราะถูกส่งไปเพื่อความเป็นทูตเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอ ประการหนึ่ง. (หมวดโกหกหลอกลวงเพื่อลาภ) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังเป็นคนโกหก ใช้คำพิรี้พิไร การพูดล่อด้วย เลศต่างๆ การพูดให้ทายกเกิดมานะมุทะลุในการให้ และการใช้ของ (มีค่าน้อย) ต่อเอาของ (มีค่ามาก). ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการโกหกหลอกลวงเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (จบมัชฉิมศีล) ค. อาการที่ถึงพร้อมด้วยศีล (ขั้นมหาศีล) (หมวดการทำพิธีรีตอง) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชา กันอยู่ กล่าวคือทายอวัยวะ ทายนิมิต ทายของตก ทำนายฝัน ทายลักษณะ การถูกหนูกัด โหมเพลิง เบิกแว่น ซัดแกลบ ซัดปลายข้าว ซัดข้าวสาร บูชาด้วยเปรียง บูชาด้วยน้ำมัน เจิมหน้า เซ่นด้วยโลหิต วิชาดูอวัยวะ ดูที่สวน ดูที่นา วิชาสะเดาะเคราะห์ วิชาขับผี วิชาดูพื้นที่ หมองู หมอดับพิษ หมอสัตว์กัดต่อย วิชาว่าด้วยหนู วิชาว่าด้วยนก วิชาว่าด้วยการ คำนวณอายุ กันลูกศร ดูรอยสัตว์. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชาเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดทายลักษณะ) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชากันอยู่ กล่าวคือทายลักษณะแก้วมณี ลักษณะผ้า ลักษณะไม้เท้า ลักษณะศาสตรา ลักษณะดาบ ลักษณะลูกศร ลักษณะธนู ลักษณะอาวุธ ลักษณะหญิง ลักษณะชาย ลักษณะเด็กชาย ลักษณะเด็กหญิง ลักษณะทาส ลักษณะทาสี ลักษณะช้าง ลักษณะม้า ลักษณะกระบือ ลักษณะโคอสุภ ลักษณะโค ลักษณะ แพะ ลักษณะแกะ ลักษณะไก่ ลักษณะนกกระทา ลักษณะเหี้ย ลักษณะตุ่น ลักษณะเต่า ลักษณะเนื้อ. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพ เพราะเดรัจฉานวิชาเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ก็เป็นศีลของ เธอประการหนึ่ง. (หมวดทายฤกษ์การรบพุ่ง) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวายด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพ เพราะเดรัจฉานวิชากันอยู่ กล่าวคือการให้ฤกษ์ว่า พระราชาควรยกออก พระราชาไม่ ควรยกออก, พระราชาภายในจักรุก พระราชาภายนอกจักถอย, พระราชา ภายนอกจักรุก พระราชาภายในจักถอย, พระราชาภายในจักชนะ พระราชาภายนอกจักแพ้, พระราชาภายนอกจักชนะ พระราชาภายในจักแพ้, องค์นี้จักชนะ องค์นี้จักแพ้. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชาเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดทายโคจรแห่งนักษัตร) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชากันอยู่ กล่าวคือทำนายว่า จักมีจันทรคราส จักมีสุริยคราส จักมีนักษัตรคราส ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินในทาง ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินนอกทาง ดาวนักษัตรจักเดินในทาง ดาวนักษัตรจักเดินนอกทาง จักมีอุกกาบาต จักมีฮูมเพลิง จักมีแผ่นดินไหว จักมีฟ้าร้อง จักมีการขึ้น การตก การเศร้าหมอง การผ่องแผ้ว ของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตร, จันทรคราส จักมีผลอย่างนี้ สุริยคราสจักมีผลอย่างนี้ นักขัตตคราส จักมีผลอย่างนี้ การเดินในทางของดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์จักมีผลอย่างนี้ การเดินนอกทางของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ จักมีผลอย่างนี้ การเดินในทางของดาวนักษัตรจักมีผลอย่างนี้ การเดินนอกทางของดาวนักษัตร จักมีผลอย่างนี้ อุกกาบาตจักมีผลอย่างนี้ ฮูมเพลิงจักมีผลอย่างนี้ แผ่นดินไหวจักมีผลอย่างนี้ ฟ้าร้องจักมีผลอย่างนี้ การขึ้นการตกการเศร้าหมองการผ่องแผ้วของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และนักษัตร จักมีผลอย่างนี้. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชาเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดทำนายข้าวยากหมากแพง) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวายด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชากันอยู่ กล่าวคือทำนายว่า จักมีฝนดี จักมีฝนแล้ง อาหารหาง่าย อาหารหายาก จักมีความเกษมสำราญ จักมีภัยอันตราย จักมีโรค จักไม่มีโรค โดยการคิดคำนวณ จากคัมภีร์สางขยะ กาเวยยะ โลกายตะ. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาด จากการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชาเห็น ปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดฤกษ์ยามและเข้าทรง) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชากันอยู่ กล่าวคือกำหนดฤกษ์อาวาหะ กำหนดฤกษ์วิวาหะ กำหนดฤกษ์ ประสานมิตร ฤกษ์แตกร้าวแห่งมิตร ฤกษ์รวมทรัพย์ ฤกษ์หว่านทรัพย์ พิธีกระทำ ให้เป็นคนเลี้ยงง่าย พิธีกระทำให้เป็นคนเลี้ยงยาก การกระทำให้ครรภ์พิรุธ ทำให้พูดไม่ได้ ทำให้คางแข็ง ทำให้มือติด ทำให้หูหนวก ทรงผีกระจกเงา ทรงผีด้วยเด็กหญิง ทรงผีถามเทพเจ้า บวงสรวงดวงอาทิตย์ บวงสรวงมหาพรหม ร่ายมนต์พ่นไฟ ทำพิธีเรียกขวัญ. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชาเห็นปานนั้นเสีย.แม้นี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (หมวดหมอผีหมอยา) อีกอย่างหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์บางพวก ฉันโภชนะที่ทายกถวาย ด้วยศรัทธาแล้ว ท่านเหล่านั้นยังสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชากันอยู่ กล่าวคือพิธีกรรมเพื่อสันติสุข พิธีกรรมเพื่อความมั่นคง พิธีกรรมเกี่ยวกับแผ่นดิน พิธีกรรมเพื่อการขยายออกไป พิธีกรรมเพื่อความเป็นชายของกะเทย พิธีกรรมเพื่อความเป็นกะเทยของชาย พิธีกรรมพื้นที่ การประพรมพื้นที่ การพรมน้ำมนต์ การอาบน้ำมนต์ การประกอบยาให้ร้อน การประกอบยาให้อาเจียน การประกอบยาถ่าย ยาถ่ายโทษเบื้องบน ยาถ่ายโทษเบื้องต่ำ ยาถ่ายโทษในศรีษะ น้ำมันหยอดหู ยาหยอดตา ยานัตถุ์ ยาหยอด ยาหยอดเฉพาะ ยาแก้โรคตา การผ่าตัด หมอกุมาร การพอกยา การแก้ยาออก. ส่วนภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากการเลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพเพราะเดรัจฉานวิชาเห็นปานนั้นเสีย. แม้นี้ ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง. (จบมหาศีล) . . . . มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ด้วยอาการอย่างนี้แล. มาณพ ! นี้แล อริยศีลขันธ์นั้นที่พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ. (จบอริยศีลขันธ์) . . . . ๒.สมาธิขันธ์ “ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! อริยสมาธิขันธ์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” (หมวดอินทรียสังวร) มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลายนั้นเป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวบถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วนๆ; อกุศลธรรมอันลามกคืออภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด, เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษาอินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่งอินทรีย์คือหู อินทรีย์คือจมูก อินทรีย์คือลิ้น อินทรีย์คือกาย และอินทรีย์ คือใจ ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ในทำนองเดียวกัน). ....มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลายด้วยอาการอย่างนี้แล. (หมวดสติสัมปชัญญะ) มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบในการก้าวไปข้างหน้า การถอยหลังกลับไปข้างหลัง, การแลดู การเหลียวดู, การคู้ การเหยียด, การทรงสังฆาฎิบาตรจีวร, การฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม, การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ, เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบในการไปการหยุด, การนั่ง การนอน, การหลับ การตื่น, การพูด การนิ่ง. ....มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ ด้วยอาการอย่างนี้แล. (หมวดสันโดษ) มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้สันโดษ เป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้สันโดษ (ยินดีตามที่มีอยู่) ด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย สันโดษด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง ภิกษุนั้น จะหลีกไปโดยทิศใดๆ ย่อมถือเอาบาตรและจีวรนั้นหลีกไปได้โดยทิศนั้นๆ. มาณพ ! เปรียบเสมือนนกมีปีก จะบินไปโดยทิศใดๆ มีปีกอย่างเดียวเป็นภาระบินไป ฉันใด; ภิกษุก็ฉันนั้น : เป็นผู้สันโดษด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย ด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง ถือเอาแล้วหลีกไปโดยทิศใดๆ ได้. ....มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้สันโดษ ด้วยอาการอย่างนี้แล. (หมวดเสนาสนะสงัด - ละนิวรณ์) ภิกษุนั้น ประกอบด้วย อริยสีลขันธ์ นี้ด้วย ประกอบด้วย อริยอินทรียสังวร นี้ด้วย ประกอบด้วย อริยสติสัมปชัญญะ นี้ด้วย ประกอบด้วย อริยสันตุฏฐิ นี้ด้วย แล้ว, เธอ เสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง), ในเวลาภายหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า ละอภิชฌาโลภะ แล้ว มีจิตปราศจากอภิชฌาอยู่ คอยชำระจิตจากอภิชฌา; ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้ายแล้ว มีจิตปราศจากพยาบาทอยู่ เป็นผู้กรุณาหวังประโยชน์เกื้อกูลในสัตว์ทั้งหลาย คอยชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย; ละถีนมิทธะ แล้ว มีจิตปราศจากถีนมิทธะอยู่ เป็นผู้มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีสติรู้สึกตัวทั่วพร้อม คอยชำระจิตจากถีนมิทธะ; ละอุทธัจจกุกกุจจะ แล้ว ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายในอยู่ คอยชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจะ; ละวิจิกิจฉา แล้ว ก้าวล่วงวิจิกิจฉาเสียได้อยู่ ไม่ต้องกล่าวว่านี่อะไร นี่อย่างไร ในกุศลธรรมทั้งหลาย (เพราะความสงสัย) คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉา. มาณพ ! เปรียบเหมือนชายผู้หนึ่ง กู้หนี้เขา ไปทำการงานสำเร็จผลใช้หนี้ต้นทุนเดิมหมดแล้ว กำไรยังเหลือพอเลี้ยงภรรยาได้ถมไป; เขาคงคะนึงถึงโชคลาภว่า “เมื่อก่อนเรากู้หนี้เขาไปทำการงานสำเร็จผล ใช้ต้นทุนเดิมหมดแล้ว กำไรยังเหลือพอเลี้ยงภรรยาได้ถมไป” ดังนี้, เขาย่อมปราโมทย์บันเทิง ใจโสมนัสเพราะข้อนั้นป็นเหตุ ฉันใด, (นี้อย่างหนึ่ง) , มาณพ ! เปรียบเหมือนชายอีกผู้หนึ่ง ป่วยไข้หนัก ทนทุกข์ อาหารไม่ตก กำลังน้อย. ครั้นเวลาอื่นเขาหายจากไข้นั้น อาหารก็ตั้ง กำลัง ก็มี; เขาต้องนึกถึงกาลเก่าว่า “เมื่อก่อน เราป่วยไข้หนัก ทนทุกข์ อาหารก็ไม่ตก กำลังน้อยลง บัดนี้เราหายจากไข้นั้น อาหารก็ตั้ง กำลังก็มีมา” ดังนี้, เขาย่อมปราโมทย์บันเทิงใจโสมนัสเพราะข้อนั้นป็นเหตุ ฉันใด, (นี้อีกอย่างหนึ่ง) , มาณพ ! เปรียบเหมือนชายอีกผู้หนึ่ง ติดเรือนจำ ครั้นเวลาอื่นเขาหลุดจากเรือนจำโดยสะดวก ไม่มีภัย ไม่เสียทรัพย์; เขาต้องนึกถึงกาลเก่า อย่างนี้ว่า “เมื่อก่อน เราติดเรือนจำ บัดนี้ เราหลุดมาได้โดยสะดวก ไม่มีภัย ไม่เสียทรัพย์ ” ดังนี้, เขาย่อมปราโมทย์บันเทิงใจโสมนัสเพราะข้อนั้นป็นเหตุ ฉันใด, (นี้อีกอย่างหนึ่ง) , มาณพ ! เปรียบเหมือนชายอีกผู้หนึ่ง เป็นทาสเขา พึ่งตัวเองไม่ได้ ต้องพึ่งผู้อื่น เที่ยวตามอำเภอใจไม่ได้, ครั้นถึงสมัยอื่น เขาพ้นจากการเป็นทาส พึ่งตัวเองได้ ไม่ต้องพึ่งผู้อื่น เที่ยวตามอำเภอใจได้; เขาต้องนึกถึงกาลเก่า อย่างนี้ว่า “เมื่อก่อนเราเป็นทาส พึ่งตัวเองไม่ได้ ต้องพึ่งผู้อื่น เที่ยวตามอำเภอใจไม่ได้ ครั้นถึงสมัยอื่น เขาพ้นจากการเป็นทาส พึ่งตัวเองได้ ไม่ต้องพึ่งผู้อื่น เที่ยวตามอำเภอใจได้” ดังนี้, เขาย่อมปราโมทย์บันเทิงใจโสมนัส เพราะข้อนั้นป็นเหตุ ฉันใด, (นี้อีกอย่างหนึ่ง) , มาณพ ! เปรียบเหมือนชายอีกผู้หนึ่ง นำทรัพย์เดินทางไกล อันกันดาร ภิกษาหายาก ประกอบด้วยภัย ครั้นสมัยอื่น พ้นทางกันดารได้โดยสะดวก ลุถึงหมู่บ้านอันเกษม ไม่มีภัย (ไม่ต้องสียโภคทรัพย์). เขาต้องนึกถึงกาลเก่า อย่างนี้ว่า “เมื่อก่อนเรานำทรัพย์เดินทางไกล อันกันดาร ภิกษาหายาก ประกอบด้วยภัย ครั้นบัดนี้ เราพ้นทางกันดารได้โดยสะดวก ลุถึงหมู่บ้านอันเกษม ไม่มีภัย” ดังนี้, เขาย่อมปราโมทย์บันเทิงใจโสมนัสเพราะ ข้อนั้นป็นเหตุ ฉันใด, (นี้อีกอย่างหนึ่ง) , มาณพ ! ภิกษุ พิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ประการ ที่ตนยังละไม่ได้ว่าเป็นเช่นกับการกู้หนี้ เช่นกับการเป็นโรค เช่นกับการติดเรือนจำ เช่นกับการเป็นทาส และการนำทรัพย์ข
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 56 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 696
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติ พรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนา (อันเป็นอิทธิวิธีประการต่าง ๆ)
    เหล่านั้นเสียละกระมัง ?”
    --มหาลิ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็หามิได้ ;
    แต่ธรรมะเหล่าอื่นที่ยิ่งกว่า ประณีตกว่า กว่าสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็มีอยู่ ;
    และ ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้ง
    ซึ่งธรรมทั้งหลายอันยิ่งกว่าประณีตกว่าเหล่านั้น.
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมทั้งหลาย อันยิ่งกว่าประณีตกว่า เหล่านั้น
    เป็นอย่างไรเล่า ?”
    --มหาลิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน
    http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=โสตาปนฺโน
    เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    --มหาลิ ! นี้แล ธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะก็เบาบาง #เป็นสกทาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=สกทาคามี
    มาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียว แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำทั้งห้า
    #เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี)
    http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=โอปปาติโก
    มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง
    #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมเทียว เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล เป็นธรรมยิ่งกว่าประณีตกว่า
    ที่ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพื่อกระทำให้แจ้ง.
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคมีอยู่หรือ ปฏิปทามีอยู่หรือ
    เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?”
    --มหาลิ ! มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร
    เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?”
    #อริยอัฏฐังคิกมรรค นี้นั่นแหละ ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --มหาลิ ! นี้แล มรรค นี้แล ปฏิปทา
    เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/191-192/250-254.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/191/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๙๙-๒๐๐/๒๕๐-๒๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=696
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 696 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ของมรรค --อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติ พรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนา (อันเป็นอิทธิวิธีประการต่าง ๆ) เหล่านั้นเสียละกระมัง ?” --มหาลิ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็หามิได้ ; แต่ธรรมะเหล่าอื่นที่ยิ่งกว่า ประณีตกว่า กว่าสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็มีอยู่ ; และ ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมทั้งหลายอันยิ่งกว่าประณีตกว่าเหล่านั้น. --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมทั้งหลาย อันยิ่งกว่าประณีตกว่า เหล่านั้น เป็นอย่างไรเล่า ?” --มหาลิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=โสตาปนฺโน เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. --มหาลิ ! นี้แล ธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะก็เบาบาง #เป็นสกทาคามี http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=สกทาคามี มาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียว แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำทั้งห้า #เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี) http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=โอปปาติโก มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมเทียว เข้าถึงแล้วแลอยู่. --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล เป็นธรรมยิ่งกว่าประณีตกว่า ที่ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพื่อกระทำให้แจ้ง. --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคมีอยู่หรือ ปฏิปทามีอยู่หรือ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” --มหาลิ ! มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น. --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” #อริยอัฏฐังคิกมรรค นี้นั่นแหละ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --มหาลิ ! นี้แล มรรค นี้แล ปฏิปทา เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/191-192/250-254. http://etipitaka.com/read/thai/9/191/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๙๙-๒๐๐/๒๕๐-๒๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=696 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑. อริยอัฏฐังคิกมรรคมี ๔ รูปแบบ คือ ชนิดที่อาศัยวิเวก วิราคะ นิโรธ และเป็นโวสสัคคปริณามี ๑ ; ชนิดที่มีการนำออกซึ่งราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ๑ ; ชนิดที่มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน ๑ ; และชนิดที่ลาดเอียงเงื้อมไปสู่นิพพาน ๑.
    -๑. อริยอัฏฐังคิกมรรคมี ๔ รูปแบบ คือ ชนิดที่อาศัยวิเวก วิราคะ นิโรธ และเป็นโวสสัคคปริณามี ๑ ; ชนิดที่มีการนำออกซึ่งราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ๑ ; ชนิดที่มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน ๑ ; และชนิดที่ลาดเอียงเงื้อมไปสู่นิพพาน ๑. หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ของมรรค อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติ พรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนา (อันเป็นอิทธิวิธีประการต่าง ๆ) เหล่านั้นเสียละกระมัง ?” มหาลิ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็หามิได้ ; แต่ธรรมะเหล่าอื่นที่ยิ่งกว่า ประณีตกว่า กว่าสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็มีอยู่ ; และ ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมทั้งหลายอันยิ่งกว่าประณีตกว่าเหล่านั้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมทั้งหลาย อันยิ่งกว่าประณีตกว่า เหล่านั้น เป็นอย่างไรเล่า ?” มหาลิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็นโสดาบัน เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. มหาลิ ! นี้แล ธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะก็เบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียว แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำทั้งห้า เป็น โอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมเทียว เข้าถึงแล้วแลอยู่. มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล เป็นธรรมยิ่งกว่าประณีตกว่า ที่ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพื่อกระทำให้แจ้ง. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคมีอยู่หรือ ปฏิปทามีอยู่หรือ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” มหาลิ ! มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นแหละ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. มหาลิ ! นี้แล มรรค นี้แล ปฏิปทา เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์อันมีเจ็ดประการ(อีกนัยหนึ่ง)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 327
    ชื่อบทธรรม :-สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (เกี่ยวกับเรื่องนี้
    ควรดูหัวข้อว่า “#ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด”
    ประกอบด้วย).
    --สังโยชน์เจ็ด (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า? เจ็ดอย่างคือ
    อนุนยสัญโญชน์ ๑
    ปฏิฆสัญโญชน์ ๑
    ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑
    มานสัญโญชน์ ๑
    อิสสาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความริษยา) ๑
    มัจฉริยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความตระหนี่) ๑.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๗ อย่าง-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/8/10.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๘/๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=327
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์อันมีเจ็ดประการ(อีกนัยหนึ่ง)​ สัทธรรมลำดับที่ : 327 ชื่อบทธรรม :-สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327 เนื้อความทั้งหมด :- (เกี่ยวกับเรื่องนี้ ควรดูหัวข้อว่า “#ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด” ประกอบด้วย). --สังโยชน์เจ็ด (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า? เจ็ดอย่างคือ อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ อิสสาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความริษยา) ๑ มัจฉริยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความตระหนี่) ๑. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๗ อย่าง- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/8/10. http://etipitaka.com/read/thai/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๘/๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=327 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด”
    -(เกี่ยวกับเรื่องนี้ ควรดูหัวข้อว่า “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด” ที่หน้า ๔๓๑ แห่งหนังสือนี้ ประกอบด้วย). (สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า? เจ็ดอย่างคือ อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๓ มานสัญโญชน์ ๑ อิสสาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความริษยา) ๑ มัจฉริยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความตระหนี่) ๑. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๗ อย่าง-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1062
    ชื่อบทธรรม :- ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1062
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง
    (เกี่ยวกับใจความของอริยสัจโดยทั่วไป)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น พึงถามอย่างนี้ว่า
    “อาวุโส !
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นมูลราก ?
    http://etipitaka.com/read/pali/24/113/?keywords=กึสมฺภวา
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นแดนเกิด ?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นสมุทัย?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นที่ประชุมลง (สโมสรณ) ?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นประมุข ?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นอธิบดี (อธิปเตยฺย) ?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นอันดับสูงสุด (อุตฺตร) ?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นแก่น (สาร) ?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็น ที่หยั่งลง (โอคธ) ?
    ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นที่สุดจบ (ปริโยสาน) ? ”
    http://etipitaka.com/read/pali/24/113/?keywords=ปริโยสา
    ดังนี้แล้วไซร้ ;
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว
    พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้ว่า
    “อาวุโส ท. !
    --ธรรมทั้งปวง มี ฉันทะ (ความพอใจหรือสนใจ) เป็น มูลราก.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/114/?keywords=ฉนฺท
    --ธรรมทั้งปวง มี มนสิการ (การเอามากระทำไว้ในใจ) เป็น แดนเกิด.
    --ธรรมทั้งปวง มี ผัสสะ (การกระทบแห่งอายตนะ) เป็น สมุทัย (เครื่องก่อให้ตั้งขึ้น).
    --ธรรมทั้งปวง มี เวทนา เป็น ที่ประชุมลง (แห่งผล).
    --ธรรมทั้งปวง มี สมาธิ เป็น ประมุข (หัวหน้า).
    --ธรรมทั้งปวง มี สติ เป็น อธิบดี (ตามสายงาน).
    --ธรรมทั้งปวง มี ปัญญา เป็น อันดับสูงสุด (แห่งความรู้).
    --ธรรมทั้งปวง มี วิมุตติ เป็น แก่น (แห่งผลที่ได้รับ).
    --ธรรมทั้งปวง มี อมตะ (ความไม่ตาย) เป็น ที่หยั่งลง (แห่งวัตถุประสงค์).
    --ธรรมทั้งปวง มี #นิพพาน เป็น ที่สุดจบ (แห่งพรหมจรรย์).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/114/?keywords=นิพฺพาน
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว
    พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น
    อย่างนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/97/58.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/97/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๓/๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/113/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1062
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93&id=1062
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93
    ลำดับสาธยายธรรม : 93 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_93.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง สัทธรรมลำดับที่ : 1062 ชื่อบทธรรม :- ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1062 เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง (เกี่ยวกับใจความของอริยสัจโดยทั่วไป) --ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น พึงถามอย่างนี้ว่า “อาวุโส ! ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นมูลราก ? http://etipitaka.com/read/pali/24/113/?keywords=กึสมฺภวา ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นแดนเกิด ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นสมุทัย? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นที่ประชุมลง (สโมสรณ) ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นประมุข ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นอธิบดี (อธิปเตยฺย) ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นอันดับสูงสุด (อุตฺตร) ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นแก่น (สาร) ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็น ที่หยั่งลง (โอคธ) ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นที่สุดจบ (ปริโยสาน) ? ” http://etipitaka.com/read/pali/24/113/?keywords=ปริโยสา ดังนี้แล้วไซร้ ; --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้ว่า “อาวุโส ท. ! --ธรรมทั้งปวง มี ฉันทะ (ความพอใจหรือสนใจ) เป็น มูลราก. http://etipitaka.com/read/pali/24/114/?keywords=ฉนฺท --ธรรมทั้งปวง มี มนสิการ (การเอามากระทำไว้ในใจ) เป็น แดนเกิด. --ธรรมทั้งปวง มี ผัสสะ (การกระทบแห่งอายตนะ) เป็น สมุทัย (เครื่องก่อให้ตั้งขึ้น). --ธรรมทั้งปวง มี เวทนา เป็น ที่ประชุมลง (แห่งผล). --ธรรมทั้งปวง มี สมาธิ เป็น ประมุข (หัวหน้า). --ธรรมทั้งปวง มี สติ เป็น อธิบดี (ตามสายงาน). --ธรรมทั้งปวง มี ปัญญา เป็น อันดับสูงสุด (แห่งความรู้). --ธรรมทั้งปวง มี วิมุตติ เป็น แก่น (แห่งผลที่ได้รับ). --ธรรมทั้งปวง มี อมตะ (ความไม่ตาย) เป็น ที่หยั่งลง (แห่งวัตถุประสงค์). --ธรรมทั้งปวง มี #นิพพาน เป็น ที่สุดจบ (แห่งพรหมจรรย์). http://etipitaka.com/read/pali/24/114/?keywords=นิพฺพาน --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น อย่างนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/97/58. http://etipitaka.com/read/thai/24/97/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๓/๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/24/113/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1062 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93&id=1062 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=93 ลำดับสาธยายธรรม : 93 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_93.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง
    -ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง (เกี่ยวกับใจความของอริยสัจโดยทั่วไป) ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น พึงถามอย่างนี้ว่า “อาวุโส ! ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นมูลราก ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นแดนเกิด ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นสมุทัย? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นที่ประชุมลง (สโมสรณ) ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นประมุข ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นอธิบดี (อธิปเตยฺย) ? ธรรมทั้งปวง มีอะไรเป็นอันดับสูงสุด (อุตฺตร) ? มีอะไรเป็นแก่น (สาร) ? มีอะไรเป็น ที่หยั่งลง (โอคธ) ? มีอะไรเป็นที่สุดจบ (ปริโยสาน) ? ” ดังนี้แล้วไซร้ ; ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้ว่า “อาวุโส ท. ! ธรรมทั้งปวง มี ฉันทะ (ความพอใจหรือสนใจ) เป็น มูลราก. ธรรมทั้งปวง มี มนสิการ (การเอามากระทำไว้ในใจ) เป็น แดนเกิด. ธรรมทั้งปวง มี ปัสสะ (การกระทบแห่งอายตนะ) เป็น สมุทัย (เครื่องก่อให้ตั้งขึ้น). ธรรมทั้งปวง มี เวทนา เป็น ที่ประชุมลง (แห่งผล). ธรรมทั้งปวง มี สมาธิ เป็น ประมุข (หัวหน้า). ธรรมทั้งปวง มี สติ เป็น อธิบดี (ตามสายงาน). ธรรมทั้งปวง มี ปัญญา เป็น อันดับสูงสุด (แห่งความรู้). ธรรมทั้งปวง มี วิมุตติ เป็น แก่น (แห่งผลที่ได้รับ). ธรรมทั้งปวง มีอมตะ (ความไม่ตาย) เป็น ที่หยั่งลง (แห่งวัตถุประสงค์). ธรรมทั้งปวง มี นิพพาน เป็น ที่สุดจบ (แห่งพรหมจรรย์). ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น อย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 76 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม​
    สัทธรรมลำดับที่ : 695
    ชื่อบทธรรม : - กัล๎ยาณมิตตตาในฐานะเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรคนั้น และอัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=695
    เนื้อความทั้งหมด :-
    [ในตำแหน่งแห่ง #กัล๎ยาณมิตตตาในฐานะเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรคนั้น
    ในสูตรอื่น ทรงแสดงไว้ด้วยธรรมะชื่ออื่นอีกหลายชื่อคือ:-
    +--ศีลสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยศีล)
    +--เป็นรุ่งอรุณฉันทสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยฉันทะ ความพอใจ)
    +--เป็นรุ่งอรุณอัตตสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยความเหมาะสมแห่งตน)
    +--เป็นรุ่งอรุณทิฏฐิสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยทิฏฐิที่เป็นสัมมาทิฏฐิ)
    +--เป็นรุ่งอรุณอัปปมาทสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท)
    +--เป็นรุ่งอรุณโยนิโสมนสิการสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยการกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย)
    +--เป็นรุ่งอรุณ (รวมเป็นเจ็ดอย่างทั้งกัลยาณมิตตา)
    และต่อท้ายด้วยคำว่าผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น
    ย่อมเจริญกระทำให้มากซึ่งองค์แห่งมรรคชนิด
    อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้น ด้วยกันทั้งนั้น.
    --ในสูตรอื่น ผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น นอกจากจะเจริญกระทำให้มาก
    ซึ่งองค์แห่งมรรค ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสลัดลง
    ได้แล้ว,
    ยังสามารถเจริญองค์มรรค ชนิดที่มีการนำออกซึ่งราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ได้, ดังนี้ก็มี.
    สำหรับคำว่า ธรรมที่เป็นรุ่งอรุณแห่งการเกิดขึ้นของอัฏฐังคิกมรรค
    เจ็ดประการข้างบนนั้น ในสูตรอื่นๆ
    ไม่เรียกว่า รุ่งอรุณ แต่เรียกว่า เป็นธรรมที่มีอุปการะมาก (พหุปการธมฺม)
    เพื่อการเกิดขึ้นแห่งอัฏฐังคิกมรรค (๑๙/๔๐-๔๒/๑๔๗ - ๑๖๔) ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/40/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%97
    และในสูตรอื่นๆ เรียกว่า เป็นธรรมะที่ทำอัฏฐังคิกมรรคที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น
    ทำอัฏฐังคิกมรรคที่เกิดอยู่แล้วให้ถึงความเจริญบริบูรณ์ (๑๙/๔๔-๔๗/๑๖๕-๑๘๒) ก็มี;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/44/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95
    และตอนท้ายสูตร ก็มีต่อท้ายด้วยคำว่า ผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น
    ย่อมเจริญกระทำให้มากซึ่งองค์แห่งมรรค ชนิดอาศัยวิเวกเป็นต้น
    และชนิดที่มีการนำออกซึ่ง ราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ด้วยกันทั้งนั้น
    ].

    #อัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม
    --ภิกษุ ท. ! สัตว์ทั้งหลายที่ไม่มีเท้า มีสองเท้า มีสี่เท้า มีมากเท้าก็ดี
    มีรูป ไม่มีรูป มีสัญญา ไม่มีสัญญา มีสัญญาก็หามิได้ ไม่มีสัญญาก็หามิได้ก็ดี,
    มีประมาณเท่าใด ;
    ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ย่อมปรากฏว่าเลิศกว่าบรรดาสัตว์เหล่านั้น.
    --ภิกษุ ท. ! กุศลธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งบรรดามีกุศลธรรมทั้งหลายทั้งปวงนั้น
    มีความไม่ประมาทเป็นมูล มีความไม่ประมาทเป็นที่ประชุมลง.
    ความไม่ประมาท ย่อมปรากฏว่าเป็นเลิศกว่าบรรดากุศลธรรมเหล่านั้น ;
    ฉันใดก็ฉันนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้เป็นสิ่งที่ภิกษุ #ผู้ไม่ประมาทพึงหวังได้
    คือ เธอจักเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค.

    --[ การที่ความไม่ประมาทเป็นยอดแห่งกุศลธรรมทั้งปวง ในสูตรนี้ทรงอุปมาด้วยพระตถาคตเป็นสัตว์เลิศกว่าสัตว์ทั้งปวง. ส่วนในสูตรอื่นอีกมากแห่ง :-
    --ทรงอุปมาด้วย รอยเท้าช้าง เลิศคือใหญ่กว่ารอยเท้าสัตว์ทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย ยอดเรือน เลิศคืออยู่เหนือไม้โครงเรือนทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย รากไม้โกฏฐานุสาริยะ (กลัมพัก ?) เลิศกว่ารากไม้หอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย แก่นจันทร์แดง เลิศกว่าไม้แก่นหอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย ดอกวัสสิกะ (มะลิ ?) เลิศกว่าดอกไม้หอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย ราชาจักรพรรดิ เลิศกว่าพระราชาเมืองขึ้นเมืองออกทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย แสงจันทร์ เลิศคือรุ่งเรืองกว่าแสงดาวทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย แสงอาทิตย์ ภายหลังฝนตกไม่มีเมฆในฤดูสารท แจ่มใสกว่าความแจ่มใสทั้งปวงในอากาศ ดังนี้ก็มี ;
    --ทรงอุปมาด้วย ผ้ากาสี เลิศกว่าบรรดาผ้าทอด้วยเส้นด้ายทั้งหลาย ดังนี้ก็มี
    ].-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/65-70/254-263.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๒-๖๗/๒๕๔-๒๖๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=695
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=695
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม​ สัทธรรมลำดับที่ : 695 ชื่อบทธรรม : - กัล๎ยาณมิตตตาในฐานะเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรคนั้น และอัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=695 เนื้อความทั้งหมด :- [ในตำแหน่งแห่ง #กัล๎ยาณมิตตตาในฐานะเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรคนั้น ในสูตรอื่น ทรงแสดงไว้ด้วยธรรมะชื่ออื่นอีกหลายชื่อคือ:- +--ศีลสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยศีล) +--เป็นรุ่งอรุณฉันทสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยฉันทะ ความพอใจ) +--เป็นรุ่งอรุณอัตตสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยความเหมาะสมแห่งตน) +--เป็นรุ่งอรุณทิฏฐิสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยทิฏฐิที่เป็นสัมมาทิฏฐิ) +--เป็นรุ่งอรุณอัปปมาทสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท) +--เป็นรุ่งอรุณโยนิโสมนสิการสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยการกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย) +--เป็นรุ่งอรุณ (รวมเป็นเจ็ดอย่างทั้งกัลยาณมิตตา) และต่อท้ายด้วยคำว่าผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น ย่อมเจริญกระทำให้มากซึ่งองค์แห่งมรรคชนิด อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้น ด้วยกันทั้งนั้น. --ในสูตรอื่น ผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น นอกจากจะเจริญกระทำให้มาก ซึ่งองค์แห่งมรรค ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสลัดลง ได้แล้ว, ยังสามารถเจริญองค์มรรค ชนิดที่มีการนำออกซึ่งราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ได้, ดังนี้ก็มี. สำหรับคำว่า ธรรมที่เป็นรุ่งอรุณแห่งการเกิดขึ้นของอัฏฐังคิกมรรค เจ็ดประการข้างบนนั้น ในสูตรอื่นๆ ไม่เรียกว่า รุ่งอรุณ แต่เรียกว่า เป็นธรรมที่มีอุปการะมาก (พหุปการธมฺม) เพื่อการเกิดขึ้นแห่งอัฏฐังคิกมรรค (๑๙/๔๐-๔๒/๑๔๗ - ๑๖๔) ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/40/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%97 และในสูตรอื่นๆ เรียกว่า เป็นธรรมะที่ทำอัฏฐังคิกมรรคที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ทำอัฏฐังคิกมรรคที่เกิดอยู่แล้วให้ถึงความเจริญบริบูรณ์ (๑๙/๔๔-๔๗/๑๖๕-๑๘๒) ก็มี; http://etipitaka.com/read/pali/19/44/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95 และตอนท้ายสูตร ก็มีต่อท้ายด้วยคำว่า ผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น ย่อมเจริญกระทำให้มากซึ่งองค์แห่งมรรค ชนิดอาศัยวิเวกเป็นต้น และชนิดที่มีการนำออกซึ่ง ราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ด้วยกันทั้งนั้น ]. #อัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม --ภิกษุ ท. ! สัตว์ทั้งหลายที่ไม่มีเท้า มีสองเท้า มีสี่เท้า มีมากเท้าก็ดี มีรูป ไม่มีรูป มีสัญญา ไม่มีสัญญา มีสัญญาก็หามิได้ ไม่มีสัญญาก็หามิได้ก็ดี, มีประมาณเท่าใด ; ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ย่อมปรากฏว่าเลิศกว่าบรรดาสัตว์เหล่านั้น. --ภิกษุ ท. ! กุศลธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งบรรดามีกุศลธรรมทั้งหลายทั้งปวงนั้น มีความไม่ประมาทเป็นมูล มีความไม่ประมาทเป็นที่ประชุมลง. ความไม่ประมาท ย่อมปรากฏว่าเป็นเลิศกว่าบรรดากุศลธรรมเหล่านั้น ; ฉันใดก็ฉันนั้น. --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้เป็นสิ่งที่ภิกษุ #ผู้ไม่ประมาทพึงหวังได้ คือ เธอจักเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค. --[ การที่ความไม่ประมาทเป็นยอดแห่งกุศลธรรมทั้งปวง ในสูตรนี้ทรงอุปมาด้วยพระตถาคตเป็นสัตว์เลิศกว่าสัตว์ทั้งปวง. ส่วนในสูตรอื่นอีกมากแห่ง :- --ทรงอุปมาด้วย รอยเท้าช้าง เลิศคือใหญ่กว่ารอยเท้าสัตว์ทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย ยอดเรือน เลิศคืออยู่เหนือไม้โครงเรือนทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย รากไม้โกฏฐานุสาริยะ (กลัมพัก ?) เลิศกว่ารากไม้หอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย แก่นจันทร์แดง เลิศกว่าไม้แก่นหอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย ดอกวัสสิกะ (มะลิ ?) เลิศกว่าดอกไม้หอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย ราชาจักรพรรดิ เลิศกว่าพระราชาเมืองขึ้นเมืองออกทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย แสงจันทร์ เลิศคือรุ่งเรืองกว่าแสงดาวทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย แสงอาทิตย์ ภายหลังฝนตกไม่มีเมฆในฤดูสารท แจ่มใสกว่าความแจ่มใสทั้งปวงในอากาศ ดังนี้ก็มี ; --ทรงอุปมาด้วย ผ้ากาสี เลิศกว่าบรรดาผ้าทอด้วยเส้นด้ายทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ].- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/65-70/254-263. http://etipitaka.com/read/thai/19/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๒-๖๗/๒๕๔-๒๖๓. http://etipitaka.com/read/pali/19/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=695 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=695 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในตำแหน่งแห่ง กัล๎ยาณมิตตตา ในฐานะเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรคนั้น ในสูตรอื่น ทรงแสดงไว้ด้วยธรรมะชื่ออื่นอีกหลายชื่อคือ:
    -[ในตำแหน่งแห่ง กัล๎ยาณมิตตตา ในฐานะเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรคนั้น ในสูตรอื่น ทรงแสดงไว้ด้วยธรรมะชื่ออื่นอีกหลายชื่อคือ: ศีลสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยศีล) เป็นรุ่งอรุณ ฉันทสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยฉันทะ ความพอใจ) เป็นรุ่งอรุณ อัตตสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยความเหมาะสมแห่งตน) เป็นรุ่งอรุณ ทิฏฐิสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยทิฏฐิที่เป็นสัมมาทิฏฐิ) เป็นรุ่งอรุณ อัปปมาทสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท) เป็นรุ่งอรุณ โยนิโสมนสิการสัมปทา (ความถึงพร้อมด้วยการกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย) เป็นรุ่งอรุณ (รวมเป็นเจ็ดอย่างทั้งกัลยาณมิตตา) และต่อท้ายด้วยคำว่าผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น ย่อมเจริญกระทำให้มากซึ่งองค์แห่งมรรคชนิดอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะเป็นต้น ด้วยกันทั้งนั้น. ในสูตรอื่น ผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น นอกจากจะเจริญกระทำให้มาก ซึ่งองค์แห่งมรรค ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสลัดลง ได้แล้ว, ยังสามารถเจริญองค์มรรค ชนิดที่มีการนำออกซึ่งราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ได้, ดังนี้ก็มี. สำหรับคำว่า ธรรมที่เป็นรุ่งอรุณแห่งการเกิดขึ้นของอัฏฐังคิกมรรค เจ็ดประการข้างบนนั้น ในสูตรอื่นๆ ไม่เรียกว่า รุ่งอรุณ แต่เรียกว่า เป็นธรรมที่มีอุปการะมาก (พหุปการธมฺม) เพื่อการเกิดขึ้นแห่งอัฏฐังคิกมรรค (๑๙/๔๐-๔๒/๑๔๗ - ๑๖๔) ก็มี ; และในสูตรอื่นๆ เรียกว่า เป็นธรรมะที่ทำอัฏฐังคิกมรรคที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ทำอัฏฐังคิกมรรคที่เกิดอยู่แล้วให้ถึงความเจริญบริบูรณ์ (๑๙/๔๔-๔๗/๑๖๕-๑๘๒) ก็มี; และตอนท้ายสูตร ก็มีต่อท้ายด้วยคำว่า ผู้มีกัลยาณมิตรเป็นต้น ย่อมเจริญกระทำให้มากซึ่งองค์แห่งมรรค ชนิดอาศัยวิเวกเป็นต้น และชนิดที่มีการนำออกซึ่ง ราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ด้วยกันทั้งนั้น]. อัฏฐังคิกมรรคสำเร็จได้ด้วยอัปปมาทยอดแห่งกุศลธรรม ภิกษุ ท. ! สัตว์ทั้งหลายที่ไม่มีเท้า มีสองเท้า มีสี่เท้า มีมากเท้าก็ดี มีรูป ไม่มีรูป มีสัญญา ไม่มีสัญญา มีสัญญาก็หามิได้ ไม่มีสัญญาก็หามิได้ก็ดี, มีประมาณเท่าใด ; ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ย่อมปรากฏว่าเลิศกว่าบรรดาสัตว์เหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! กุศลธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งบรรดามี กุศลธรรมทั้งหลายทั้งปวงนั้น มีความไม่ประมาทเป็นมูล มีความไม่ประมาทเป็นที่ประชุมลง. ความไม่ประมาท ย่อมปรากฏว่าเป็นเลิศกว่าบรรดากุศลธรรมเหล่านั้น ; ฉันใดก็ฉันนั้น. ภิกษุ ท. ! ข้อนี้เป็นสิ่งที่ภิกษุ ผู้ไม่ประมาทพึงหวังได้ คือ เธอจัก เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค๑. [ การที่ความไม่ประมาทเป็นยอดแห่งกุศลธรรมทั้งปวง ในสูตรนี้ทรงอุปมาด้วยพระตถาคตเป็นสัตว์เลิศกว่าสัตว์ทั้งปวง. ส่วนในสูตรอื่นอีกมากแห่ง : ทรงอุปมาด้วย รอยเท้าช้าง เลิศคือใหญ่กว่ารอยเท้าสัตว์ทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย ยอดเรือน เลิศคืออยู่เหนือไม้โครงเรือนทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย รากไม้โกฏฐานุสาริยะ (กลัมพัก ?) เลิศกว่ารากไม้หอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย แก่นจันทร์แดง เลิศกว่าไม้แก่นหอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย ดอกวัสสิกะ (มะลิ ?) เลิศกว่าดอกไม้หอมทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย ราชาจักรพรรดิ เลิศกว่าพระราชาเมืองขึ้นเมืองออกทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย แสงจันทร์ เลิศคือรุ่งเรืองกว่าแสงดาวทั้งหลาย ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย แสงอาทิตย์ ภายหลังฝนตกไม่มีเมฆในฤดูสารท แจ่มใสกว่าความแจ่มใสทั้งปวงในอากาศ ดังนี้ก็มี ; ทรงอุปมาด้วย ผ้ากาสี เลิศกว่าบรรดาผ้าทอด้วยเส้นด้ายทั้งหลาย ดังนี้ก็มี].
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์เจ็ด
    สัทธรรมลำดับที่ : 326
    ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์เจ็ด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังโยชน์เจ็ด
    --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา
    เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ
    ๑.อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑
    ๒.ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑
    ๓.ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑
    ๔.วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑
    ๕.มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑
    ๖.ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑
    ๗.อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง.
    เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง
    อนุนยสัญโญชน์ ๑
    ปฏิฆสัญโญชน์ ๑
    ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑
    มานสัญโญชน์ ๑
    ภวราคสัญโญชน์ ๑
    อวิชชาสัญโญชน์ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้
    เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล,
    อนุนยสัญโญชน์ก็ดี
    ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี
    ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี
    มานสัญโญชน์ก็ดี
    ภวราคสัญโญชน์ก็ดี
    อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี
    เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว
    ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ;
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า
    “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์
    #เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่างถูกต้องแล้ว”
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัยสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/7-8/8-9.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/7/?keywords=%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗-๘/๘-๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=326
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์เจ็ด สัทธรรมลำดับที่ : 326 ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์เจ็ด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326 เนื้อความทั้งหมด :- --สังโยชน์เจ็ด --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ ๑.อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑ ๒.ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑ ๓.ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑ ๔.วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑ ๕.มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑ ๖.ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑ ๗.อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง. เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ ภวราคสัญโญชน์ ๑ อวิชชาสัญโญชน์ ๑. --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล, อนุนยสัญโญชน์ก็ดี ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี มานสัญโญชน์ก็ดี ภวราคสัญโญชน์ก็ดี อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ; --ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ #เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่างถูกต้องแล้ว” http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัยสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/7-8/8-9. http://etipitaka.com/read/thai/23/7/?keywords=%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗-๘/๘-๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=326 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังโยชน์เจ็ด
    -สังโยชน์เจ็ด ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑ มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑ ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑ อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง. ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง. เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ ภวราคสัญโญชน์ ๑ อวิชชาสัญโญชน์ ๑. ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล, อนุนยสัญโญชน์ก็ดี ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี มานสัญโญชน์ก็ดี ภวราคสัญโญชน์ก็ดี อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ; ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่าง ถูกต้องแล้ว” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 67 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 1061
    ชื่อบทธรรม : -พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1061
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่
    --อานนท์ ! บุคคลอาศัยบุคคลใดแล้ว
    หมดความสงสัย ในทุกข์
    หมดความสงสัย ในทุกขสมุทัย
    หมดความสงสัย ในทุกขนิโรธ
    หมดความสงสัย ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา;
    การที่จะทำปฏิการคุณแก่บุคคลนั้น
    ด้วยการ อภิวาท
    ด้วยการ ลุกรับ
    ด้วยการ ทำอัญชลี
    ด้วยการ ทำสามีจิกรรม
    http://etipitaka.com/read/pali/14/458/?keywords=สามีจิกมฺมํ
    ด้วยการให้ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริขาร
    นั้น
    เราไม่กล่าวว่าเป็นการกระทำปฏิการคุณที่สมกัน (สุปฏิการ).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/458/?keywords=ปฏิการ

    (เพราะว่าการทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่นั้น เป็นการให้ทางฝ่ายจิต ฝ่ายวิญญาณ.
    ส่วน
    การตอบแทนด้วยกิริยาอาการและวัตถุสิ่งของนี้ เป็นการให้ฝ่ายวัตถุ
    จึงไม่เป็นการตอบแทนที่ สมควรแก่กัน. มีทางที่จะตอบแทนให้สมควรแก่กันก็คือ
    #การช่วยให้ผู้อื่นรู้อริยสัจเช่นนั้นต่อๆ กันไปอีก
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/343/709.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/343/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๕๘/๗๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/458/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1061
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1061
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 1061 ชื่อบทธรรม : -พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1061 เนื้อความทั้งหมด :- --พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่ --อานนท์ ! บุคคลอาศัยบุคคลใดแล้ว หมดความสงสัย ในทุกข์ หมดความสงสัย ในทุกขสมุทัย หมดความสงสัย ในทุกขนิโรธ หมดความสงสัย ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา; การที่จะทำปฏิการคุณแก่บุคคลนั้น ด้วยการ อภิวาท ด้วยการ ลุกรับ ด้วยการ ทำอัญชลี ด้วยการ ทำสามีจิกรรม http://etipitaka.com/read/pali/14/458/?keywords=สามีจิกมฺมํ ด้วยการให้ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริขาร นั้น เราไม่กล่าวว่าเป็นการกระทำปฏิการคุณที่สมกัน (สุปฏิการ). http://etipitaka.com/read/pali/14/458/?keywords=ปฏิการ (เพราะว่าการทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่นั้น เป็นการให้ทางฝ่ายจิต ฝ่ายวิญญาณ. ส่วน การตอบแทนด้วยกิริยาอาการและวัตถุสิ่งของนี้ เป็นการให้ฝ่ายวัตถุ จึงไม่เป็นการตอบแทนที่ สมควรแก่กัน. มีทางที่จะตอบแทนให้สมควรแก่กันก็คือ #การช่วยให้ผู้อื่นรู้อริยสัจเช่นนั้นต่อๆ กันไปอีก ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/343/709. http://etipitaka.com/read/thai/14/343/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๕๘/๗๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/14/458/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1061 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1061 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่
    -พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่ อานนท์ ! บุคคลอาศัยบุคคลใดแล้ว หมดความสงสัยในทุกข์ หมดความสงสัยในทุกขสมุทัย หมดความสงสัยในทุกขนิโรธ หมดความสงสัย ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา; การที่จะทำปฏิการคุณแก่บุคคลนั้น ด้วยการ อภิวาท ด้วยการลุกรับ ด้วยการทำอัญชลี ด้วยการทำสามีจิกรรม ด้วยการให้ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริขาร นั้น เราไม่กล่าวว่าเป็นการกระทำปฏิการคุณที่สมกัน (สุปฏิการ). (เพราะว่าการทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่นั้น เป็นการให้ทางฝ่ายจิตฝ่ายวิญญาณ. ส่วน การตอบแทนด้วยกิริยาอาการและวัตถุสิ่งของนี้ เป็นการให้ฝ่ายวัตถุ จึงไม่เป็นการตอบแทนที่ สมควรแก่กัน. มีทางที่จะตอบแทนให้สมควรแก่กันก็คือ การช่วยให้ผู้อื่นรู้อริยสัจเช่นนั้นต่อๆ กันไปอีก).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 84 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริ​ย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค ว่าด้วยเหตุปัจจัยของมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 694
    ชื่อบทธรรม : - ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค ว่าด้วย เหตุปัจจัยของมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=694
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ง. ว่าด้วย เหตุปัจจัยของมรรค
    --ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อดวงอาทิตย์กำลังขึ้น สิ่งที่มาก่อน
    เป็น นิมิตให้เห็นก่อน คือการขึ้นมาแห่งอรุณ ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อมีการเกิดขึ้นแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคของภิกษุ สิ่งที่มาก่อน
    เป็นนิมิตให้เห็นก่อน คือ กัล๎ยาณมิตตตา (ความเป็นผู้กัลยาณมิตร) ฉันนั้นเหมือนกัน.
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือความหวังของภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร คือเธอจักเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค
    ได้จักกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร #ย่อมเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค
    http://etipitaka.com/read/pali/19/36/?keywords=กลฺยาณมิตฺโต+อริยํ+อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ
    ย่อมกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้ ชนิดไหนกันเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ....
    สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ ....
    สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ.
    ชนิดที่
    อาศัยวิเวก
    อาศัยวิราคะ
    อาศัยนิโรธ
    น้อมไปเพื่อความสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! #ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร
    ย่อมเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค
    ย่อมกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้
    อย่างนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/30-33/129-146.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๖-๓๙/๑๒๙-๑๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/36/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%99​
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=694
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=694
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริ​ย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค ว่าด้วยเหตุปัจจัยของมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 694 ชื่อบทธรรม : - ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค ว่าด้วย เหตุปัจจัยของมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=694 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ง. ว่าด้วย เหตุปัจจัยของมรรค --ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค --ภิกษุ ท. ! เมื่อดวงอาทิตย์กำลังขึ้น สิ่งที่มาก่อน เป็น นิมิตให้เห็นก่อน คือการขึ้นมาแห่งอรุณ ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! เมื่อมีการเกิดขึ้นแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคของภิกษุ สิ่งที่มาก่อน เป็นนิมิตให้เห็นก่อน คือ กัล๎ยาณมิตตตา (ความเป็นผู้กัลยาณมิตร) ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! นี้คือความหวังของภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร คือเธอจักเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค ได้จักกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร #ย่อมเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค http://etipitaka.com/read/pali/19/36/?keywords=กลฺยาณมิตฺโต+อริยํ+อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ ย่อมกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้ ชนิดไหนกันเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ .... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ .... สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ. ชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! #ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค ย่อมกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้ อย่างนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/30-33/129-146. http://etipitaka.com/read/thai/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๖-๓๙/๑๒๙-๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/19/36/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%99​ ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=694 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=694 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ง. ว่าด้วย เหตุปัจจัยของมรรค
    -หมวด ง. ว่าด้วย เหตุปัจจัยของมรรค ธรรมเป็นรุ่งอรุณแห่งอัฏฐังคิกมรรค ภิกษุ ท. ! เมื่อดวงอาทิตย์กำลังขึ้น สิ่งที่มาก่อน เป็น นิมิตให้เห็นก่อน คือการขึ้นมาแห่งอรุณ ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! เมื่อมีการเกิดขึ้นแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคของภิกษุ สิ่งที่มาก่อน เป็นนิมิตให้เห็นก่อน คือ กัล๎ยาณมิตตตา (ความเป็นผู้กัลยาณมิตร) ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! นี้คือความหวังของภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร คือเธอจักเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค ได้จักกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค ย่อมกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้ ชนิดไหนกันเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ .... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ .... สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ. ชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อความสลัดลง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค ย่อมกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคได้ อย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าไม่อาจละราคะโทสะโมหะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 325
    ชื่อบทธรรม : -ไม่อาจละราคะโทสะโมหะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=325
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไม่อาจละราคะโทสะโมหะ-ก็เพราะหลงในสัญโญชนิยธรรม
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๒ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สองอย่างอะไรเล่า ? สองอย่างคือ
    ความเป็นผู้มัวแต่เห็น เป็นของอร่อย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย อย่างหนึ่งและ
    ความเป็นผู้ตามเห็นความ เป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรม
    (ธรรมอันเป็นเครื่องผูกพัน) ทั้งหลาย นี้อีกอย่างหนึ่ง.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ+ธมฺเมสุ
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้มัวแต่เห็นเป็นของอร่อยในสัญโญชนิยธรรม (กามคุณห้า ฯลฯ)
    ทั้งหลาย อยู่ ย่อม
    ละราคะ ไม่ได้
    ละโทสะ ไม่ได้
    ละโมหะ ไม่ได้.
    เพราะละราคะโทสะโมหะไม่ได้
    ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส ;
    เรากล่าวว่า #ย่อมไม่พ้นจากทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย
    ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่
    ย่อมละราคะได้
    ย่อมละโทสะได้
    ย่อมละโมหะได้.
    เพราะละราคะ โทสะ โมหะ ได้
    ย่อมพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส ;
    เรากล่าวว่า #ย่อมพ้นจากทุกข์ได้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้แหละ คือธรรม ๒ อย่าง.-

    #ทุกจสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/48/252.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/48/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๖๕/๒๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=325
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=325
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าไม่อาจละราคะโทสะโมหะ สัทธรรมลำดับที่ : 325 ชื่อบทธรรม : -ไม่อาจละราคะโทสะโมหะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=325 เนื้อความทั้งหมด :- --ไม่อาจละราคะโทสะโมหะ-ก็เพราะหลงในสัญโญชนิยธรรม --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๒ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สองอย่างอะไรเล่า ? สองอย่างคือ ความเป็นผู้มัวแต่เห็น เป็นของอร่อย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย อย่างหนึ่งและ ความเป็นผู้ตามเห็นความ เป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรม (ธรรมอันเป็นเครื่องผูกพัน) ทั้งหลาย นี้อีกอย่างหนึ่ง. http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ+ธมฺเมสุ --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้มัวแต่เห็นเป็นของอร่อยในสัญโญชนิยธรรม (กามคุณห้า ฯลฯ) ทั้งหลาย อยู่ ย่อม ละราคะ ไม่ได้ ละโทสะ ไม่ได้ ละโมหะ ไม่ได้. เพราะละราคะโทสะโมหะไม่ได้ ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส ; เรากล่าวว่า #ย่อมไม่พ้นจากทุกข์. --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมละราคะได้ ย่อมละโทสะได้ ย่อมละโมหะได้. เพราะละราคะ โทสะ โมหะ ได้ ย่อมพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส ; เรากล่าวว่า #ย่อมพ้นจากทุกข์ได้. --ภิกษุ ท. ! นี้แหละ คือธรรม ๒ อย่าง.- #ทุกจสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/48/252. http://etipitaka.com/read/thai/20/48/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๖๕/๒๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=325 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=325 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่อาจละราคะโทสะโมหะ
    -ไม่อาจละราคะโทสะโมหะ ก็เพราะหลงในสัญโญชนิยธรรม ภิกษุ ท. ! ธรรม ๒ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สองอย่างอะไรเล่า ? สองอย่างคือ ความเป็นผู้มัวแต่เห็นเป็นของอร่อยในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย อย่างหนึ่ง และความเป็นผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่ายในสัญโญชนิยธรรม (ธรรมอันเป็นเครื่องผูกพัน) ทั้งหลาย นี้อีกอย่างหนึ่ง. ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้มัวแต่เห็นเป็นของอร่อยในสัญโญชนิยธรรม (กามคุณห้า ฯลฯ) ทั้งหลาย อยู่ ย่อม ละราคะไม่ได้ ละโทสะไม่ได้ ละโมหะ ไม่ได้. เพราะละราคะโทสะโมหะไม่ได้ ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส ; เรากล่าวว่า ย่อมไม่พ้นจากทุกข์. ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่ายในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมละราคะได้ ย่อมละโทสะได้ ย่อมละโมหะได้. เพราะละราคะโทสะโมหะได้ ย่อมพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส ; เรากล่าวว่า ย่อมพ้นจากทุกข์ได้. ภิกษุ ท. ! นี้แหละ คือธรรม ๒ อย่าง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1060
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา
    --ปหาราทะ ! มหาสมุทร มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก
    ในมหาสมุทรนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ
    แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ แก้วศิลา แก้วประพาฬ
    เงิน ทอง โกเมน (โลหิตงฺก) แก้วลาย (มสารคลฺล) ฉันใด
    : ปหาราทะ ! ธรรมวินัยนี้(#โพธิปักขิยธรรม​ ๓๗)ก็ฉันนั้น
    http://etipitaka.com/read/pali/35/336/?keywords=โพธิปกฺขิกานํ+ธมฺมานํ
    http://etipitaka.com/read/thai/35/287/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91%E0%B9%91
    มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะ เป็นอเนก;
    ในธรรมวินัยนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ
    สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ (๑๒)
    อินทรีย์ห้า พละห้า (๑๐)
    โพชฌงค์เจ็ด (๗)
    อริยมรรคมีองค์แปด.(๘)
    --ปหาราทะ ! ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก
    http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=ธมฺมวินโย
    #ธรรมวินัยนี้จึงเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์ ไม่เป็นสิ่งธรรมดา
    เมื่อภิกษุทั้งหลายเห็นแล้ว ย่อมยินดีอย่างยิ่งในธรรมวินัยนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/155/109.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/155/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๒๐๖/๑๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1060
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา สัทธรรมลำดับที่ : 1060 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา --ปหาราทะ ! มหาสมุทร มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก ในมหาสมุทรนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ แก้วศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง โกเมน (โลหิตงฺก) แก้วลาย (มสารคลฺล) ฉันใด : ปหาราทะ ! ธรรมวินัยนี้(#โพธิปักขิยธรรม​ ๓๗)ก็ฉันนั้น http://etipitaka.com/read/pali/35/336/?keywords=โพธิปกฺขิกานํ+ธมฺมานํ http://etipitaka.com/read/thai/35/287/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91%E0%B9%91 มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะ เป็นอเนก; ในธรรมวินัยนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ (๑๒) อินทรีย์ห้า พละห้า (๑๐) โพชฌงค์เจ็ด (๗) อริยมรรคมีองค์แปด.(๘) --ปหาราทะ ! ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=ธมฺมวินโย #ธรรมวินัยนี้จึงเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์ ไม่เป็นสิ่งธรรมดา เมื่อภิกษุทั้งหลายเห็นแล้ว ย่อมยินดีอย่างยิ่งในธรรมวินัยนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/155/109. http://etipitaka.com/read/thai/23/155/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๒๐๖/๑๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1060 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค
    -อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา ปหาราทะ ! มหาสมุทร มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก ในมหาสมุทรนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ แก้วศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง โกเมน (โลหิตงฺก) แก้วลาย (มสารคลฺล) ฉันใด : ปหาราทะ ! ธรรมวินัยนี้ก็ฉันนั้น มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะ เป็นอเนก; ในธรรมวินัยนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ อินทรีย์ห้า พละห้า โพชฌงค์เจ็ด อริยมรรคมีองค์แปด. ปหาราทะ ! ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก ธรรมวินัยนี้จึงเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์ ไม่เป็นสิ่งธรรมดา เมื่อภิกษุทั้งหลายเห็นแล้ว ย่อมยินดีอย่างยิ่งในธรรมวินัยนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 121 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    สัทธรรมลำดับที่ : 693
    ชื่อบทธรรม :- ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    --ภิกษุ ท. ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบความพอใจในอรหัตตผล
    ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียงอันดับเดียว.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แต่ว่า
    การประสบความพอใจในอรหัตตผล
    ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ
    เพราะการกระทำโดยลำดับ
    เพราะการปฏิบัติโดยลำดับ.
    --ภิกษุ ท. ! ก็การประสพความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ
    เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับนั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษบุคคลในกรณีนี้ :
    +--เป็นผู้มีสัทธา เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเข้าไปหา (สัปบุรุษ) ;
    +--เมื่อเข้าไปหา ย่อมเข้าไปนั่งใกล้ ;
    +--เมื่อเข้าๆไปนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสตลงสดับ ;
    +--ผู้เงี่ยโสตลงสดับ ย่อมได้ฟังธรรม ;
    +--ครั้นฟังแล้ว ย่อมทรงจำธรรมไว้,
    ย่อมใคร่ครวญพิจารณาซึ่งเนื้อความแห่งธรรม ทั้งหลายที่ตนทรงจำไว้ ;
    +--เมื่อเขาใคร่ครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแห่งธรรมนั้นอยู่,
    ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์ ;
    +--เมื่อธรรมทนต่อการเพ่งพิสูจน์มีอยู่ ฉันทะ (ความพอใจ) ย่อมเกิด ;
    +--ผู้เกิดฉันทะแล้ว ย่อมมีอุตสาหะ ;
    +--ครั้นมีอุตสาหะแล้ว ย่อมใช้ดุลยพินิจ (เพื่อหาความจริง);
    +--ครั้นใช้ดุลยพินิจ (พบ) แล้ว ย่อมตั้งตนไว้ในธรรม นั้น;
    +--ผู้มีตนส่งไปแล้วในธรรมนั้นอยู่ย่อมกระทำให้แจ้ง ซึ่งบรมสัจจ์ด้วยนามกาย ด้วย,
    #ย่อมเห็นแจ้งแทงตลอดซึ่งบรมสัจจ์นั้นด้วยปัญญา ด้วย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/181/238
    http://etipitaka.com/read/thai/13/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๓๓/๒๓๘
    http://etipitaka.com/read/pali/13/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=693
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล สัทธรรมลำดับที่ : 693 ชื่อบทธรรม :- ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล --ภิกษุ ท. ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบความพอใจในอรหัตตผล ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียงอันดับเดียว. --ภิกษุ ท. ! ก็แต่ว่า การประสบความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับ. --ภิกษุ ท. ! ก็การประสพความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับนั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุรุษบุคคลในกรณีนี้ : +--เป็นผู้มีสัทธา เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเข้าไปหา (สัปบุรุษ) ; +--เมื่อเข้าไปหา ย่อมเข้าไปนั่งใกล้ ; +--เมื่อเข้าๆไปนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสตลงสดับ ; +--ผู้เงี่ยโสตลงสดับ ย่อมได้ฟังธรรม ; +--ครั้นฟังแล้ว ย่อมทรงจำธรรมไว้, ย่อมใคร่ครวญพิจารณาซึ่งเนื้อความแห่งธรรม ทั้งหลายที่ตนทรงจำไว้ ; +--เมื่อเขาใคร่ครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแห่งธรรมนั้นอยู่, ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์ ; +--เมื่อธรรมทนต่อการเพ่งพิสูจน์มีอยู่ ฉันทะ (ความพอใจ) ย่อมเกิด ; +--ผู้เกิดฉันทะแล้ว ย่อมมีอุตสาหะ ; +--ครั้นมีอุตสาหะแล้ว ย่อมใช้ดุลยพินิจ (เพื่อหาความจริง); +--ครั้นใช้ดุลยพินิจ (พบ) แล้ว ย่อมตั้งตนไว้ในธรรม นั้น; +--ผู้มีตนส่งไปแล้วในธรรมนั้นอยู่ย่อมกระทำให้แจ้ง ซึ่งบรมสัจจ์ด้วยนามกาย ด้วย, #ย่อมเห็นแจ้งแทงตลอดซึ่งบรมสัจจ์นั้นด้วยปัญญา ด้วย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/181/238 http://etipitaka.com/read/thai/13/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๓๓/๒๓๘ http://etipitaka.com/read/pali/13/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=693 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    -ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล ภิกษุ ท. ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบความพอใจในอรหัตตผล ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียงอันดับเดียว. ภิกษุ ท. ! ก็แต่ว่า การประสบความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับ. ภิกษุ ท. ! ก็การประสพความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพระการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับนั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุรุษบุคคลในกรณีนี้ : เป็นผู้มีสัทธา เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเข้าไปหา (สัปบุรุษ) ; เมื่อเข้าไปหา ย่อมเข้าไปนั่งใกล้ ; เมื่อเข้าๆไปนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสตลงสดับ ; ผู้เงี่ยโสตลงสดับ ย่อมได้ฟังธรรม ; ครั้นฟังแล้ว ย่อมทรงจำธรรมไว้, ย่อมใคร่ครวญพิจารณาซึ่งเนื้อความแห่งธรรม ทั้งหลายที่ตนทรงจำไว้ ; เมื่อเขาใคร่ครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแห่งธรรมนั้นอยู่, ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์ ; เมื่อธรรมทนต่อการเพ่งพิสูจน์มีอยู่ ฉันทะ (ความพอใจ) ย่อมเกิด ; ผู้เกิดฉันทะแล้ว ย่อมมีอุตสาหะ ; ครั้นมีอุตสาหะแล้ว ย่อมใช้ดุลยพินิจ (เพื่อหาความจริง); ครั้นใช้ดุลยพินิจ (พบ) แล้ว ย่อมตั้งตนไว้ในธรรม นั้น; ผู้มีตนส่งไปแล้วในธรรมนั้นอยู่ย่อมกระทำให้แจ้ง ซึ่งบรมสัจจ์ด้วยนามกาย ด้วย, ย่อมเห็นแจ้งแทงตลอด ซึ่งบรมสัจจ์นั้นด้วยปัญญา ด้วย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 107 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 324
    ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า
    +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ.
    +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง
    อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า
    +--“อาวุโส !
    ราคะมีโทษน้อย คลายช้า.
    โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว.
    โมหะมีโทษมาก คลายช้า”.
    +--ถ้าเขาถามว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +---คำตอบพึงมีว่า
    สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง);
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น
    และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ;
    คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    ---ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย
    โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย
    โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ สัทธรรมลำดับที่ : 324 ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม) --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ. +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า +--“อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. +--ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +---คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ---ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508. http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘. http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    -ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล (หลายแง่มุม) ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า “อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือราคะ โทสะ โมหะ. อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ .... ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า “อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมากคลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 1059
    ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    ก. เหตุภายใน
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    นี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ
    โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด.
    ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์.

    ข. เหตุภายนอก
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ
    นี้.
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ
    กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ,
    ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง
    โดยลำดับ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​ สัทธรรมลำดับที่ : 1059 ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 เนื้อความทั้งหมด :- --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195. http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรมอภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ. ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า การรู้อริยสัจนั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้อภิธรรมอภิวินัยและรวยลาภ). จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง โยนิโสมนสิการ นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำโยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือน อย่าง กัล๎ยาณมิตตตา นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 113 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)
    สัทธรรมลำดับที่ : 692
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก)
    (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์
    ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ;
    เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ;
    ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ;
    การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว
    หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ;
    ดังนี้เป็นต้น.
    พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง,
    โดยพระบาลีว่า
    “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-
    )​
    --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน)
    http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน
    ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :-
    (การเกิด)​
    ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ;
    ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ;
    ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ;
    ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    (การดับ)
    ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ;
    ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง,
    มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้
    ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว
    ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ.
    ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า
    ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น
    ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก,
    แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง,
    แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ;
    มิฉะนั้นจะลำบาก).
    -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒.
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓

    --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย.
    บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย.
    วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย.
    ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย.
    นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี.
    --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ;
    เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย
    เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ
    ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ).
    ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก) สัทธรรมลำดับที่ : 692 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 เนื้อความทั้งหมด :- ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :- )​ --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :- (การเกิด)​ ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (การดับ) ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.- (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173. http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓ --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30. http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    -(มัชฌิมาปฏิปทาตามที่ทรงแสดงไว้ในสูตรนี้ เห็นได้ว่า ทรงแสดงส่วนสุดสองข้างไว้ด้วยอาฬ๎หปฏิปทา คือความตกไปในกาม และนิชฌามปฏิปทา คือ วัตรปฏิบัติของ อเจลกะซึ่งเรียกกันโดยทั่วๆ ไปว่า อัตตกิลมถานุโยค หรือตปัสสีวัตร ซึ่งมีรายละเอียดหาดูได้ในหนังสือ พุ. โอ. ที่หน้า ๕๖-๕๗. ในที่นี้จะเห็นได้ว่า โพธิปักขิยธรรมทั้งสามสิบเจ็ดข้อ นั่นแหละคือมัชฌิมาปฏิปทา ; หรือถึงกับจะกล่าวได้ว่า ข้อปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทั้งหมดในพระพุทธศาสนา ซึ่งรวมกันแล้วเรียกได้ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา หรือพรหมจรรย์ทั้งสิ้น, นั่นแหละคือ มัชฌิมาปฏิปทา). ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-) พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า : “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้. นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. รายละเอียดเกี่ยวกับสุดโต่งเป็นคู่ๆนี้ หาดูได้จากหนังสือ พุ. โอ. ตั้งแต่หน้า ๒๔๗ ถึงหน้า ๒๕๒. อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 149 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าในทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล(โลภะ โทสะ​และโมหะ)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 323
    ชื่อบทธรรม :- ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    --ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ
    โลภะ เป็น อกุศลมูล
    โทสะ เป็น อกุศลมูล
    โมหะ เป็น อกุศลมูล.
    --ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว
    ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล.
    คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว
    ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง
    ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง
    โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้
    แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล
    : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ
    มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย(เหตุ)​ มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้
    ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกัน
    อย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่า เป็น
    อกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง.
    เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง
    ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ;
    และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ;
    เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด
    ออกไปว่านั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ.
    เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็น
    อกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว
    มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์
    มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว,
    ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ.
    (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน
    อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี
    ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย,
    ฉันใดก็ฉันนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง.

    (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก
    ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “#ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล”)​

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/192/509.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/192/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๘/๕๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/258/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=323
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าในทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล(โลภะ โทสะ​และโมหะ)​ สัทธรรมลำดับที่ : 323 ชื่อบทธรรม :- ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล --ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ โลภะ เป็น อกุศลมูล โทสะ เป็น อกุศลมูล โมหะ เป็น อกุศลมูล. --ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย(เหตุ)​ มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่า เป็น อกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง. เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ; และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ; เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด ออกไปว่านั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ. เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็น อกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง. --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์ มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ. (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย, ฉันใดก็ฉันนั้น. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง. (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “#ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล”)​ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/192/509. http://etipitaka.com/read/thai/20/192/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๘/๕๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/20/258/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=323 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    -ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ โลภะ เป็น อกุศลมูล โทสะ เป็น อกุศลมูล โมหะ เป็น อกุศลมูล. ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันอย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่าเป็นอกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง. เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ; และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ; เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด ออกไปว่า นั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ. เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็นอกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง. ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์ มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ. (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย, ฉันใดก็ฉันนั้น. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง. (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล” ในภาค ๓ แห่งหนังสือเล่มนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1058
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ(อสฺสุขลุงฺก*--๑)​ ๓ ชนิด
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อสฺสุขลุงฺ
    และบุรุษพริก(ปุริสขลุงฺก*--๒)​ ๓ ชนิด.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ปุริสขลุงฺ
    --ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า?
    +--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ;
    บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง;
    บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง.
    +--ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด.

    *--๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่า ม้ากระจอก
    แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอก ขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว
    และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก
    แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ.
    *--๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก
    ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้
    เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง

    ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก
    บางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ชวสมฺปนฺ
    แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=วณฺณสมฺปนฺ
    ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน);
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺ
    บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย;
    บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
    : นี้เป็นความเร็วของเธอ;
    แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้
    : นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ;
    และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
    : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
    ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.

    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
    : นี้เป็นความเร็วของเธอ;
    และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
    : นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ;
    แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
    : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
    ผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.

    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
    : นี้เป็นความเร็วของเธอ ;
    และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
    : นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ;
    และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
    : นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
    ที่มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.-

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ
    แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรม อภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ.
    ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า
    การรู้อริยสัจ นั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้ อภิธรรม อภิวินัยและรวยลาภ
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/275/580.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/275/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๗๐/๕๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1058
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ สัทธรรมลำดับที่ : 1058 ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058 เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ(อสฺสุขลุงฺก*--๑)​ ๓ ชนิด http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อสฺสุขลุงฺ และบุรุษพริก(ปุริสขลุงฺก*--๒)​ ๓ ชนิด. http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ปุริสขลุงฺ --ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า? +--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ; บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง; บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง. +--ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด. *--๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่า ม้ากระจอก แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอก ขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ. *--๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้ เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก บางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน) http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ชวสมฺปนฺ แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน) http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=วณฺณสมฺปนฺ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน); http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺ บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย; บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้ : นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ; และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ; แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ; และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ที่มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรม อภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ. ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า การรู้อริยสัจ นั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้ อภิธรรม อภิวินัยและรวยลาภ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/275/580. http://etipitaka.com/read/thai/20/275/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๗๐/๕๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1058 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้รู้อริยสัจ
    -ผู้รู้อริยสัจ ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ ๑ ๓ ชนิด และบุรุษพริก ๒ ๓ ชนิด. ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ; บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง; บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง. ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด. ๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่าม้ากระจอก แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอกขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ. ๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้ เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุรุษพริกบางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน) แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน) ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน); บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย; บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้ : นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ; และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ; แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริกผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ; และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริกที่มีความเร็วด้วย มี ผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าบุคคลใดยังหลงเพลิดเพลินในขันธ์ห้าอยู่ ด้วยการไม่ละนิวรณ์ห้าประการซึ่งเหตุแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 322
    ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322
    เนื้อความทั้งหมด :-
    นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย
    --(มี ๑๕ เรื่อง)
    --ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑

    0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑
    วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑
    สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑

    1-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑
    กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑
    เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑

    2-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑
    อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑
    เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑

    3-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑
    อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑
    อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑

    4-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑
    อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑
    ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑

    5-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑
    อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑
    อุปารัมภจิตตตา ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑
    อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑
    โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑

    6-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑
    โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑
    ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑

    7-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อหิริก
    อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อโนตฺตปฺป
    ปมาทะ (ความประมาท) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=ปมาท
    8-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ :
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว.

    8-เขาเมื่อเป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ;
    7-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ;
    6-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ;
    5-เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ;
    4-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ;
    3-เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ;
    2-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    สักกายทิฏฐิ ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ วิจิกิจฉา ๑;
    1-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ;
    +--เขาเมื่อไม่ละซึ่ง
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑
    0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑.

    (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม
    อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้
    ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/127-130/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/127/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๔-๑๕๗/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/154/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=322
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าบุคคลใดยังหลงเพลิดเพลินในขันธ์ห้าอยู่ ด้วยการไม่ละนิวรณ์ห้าประการซึ่งเหตุแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 322 ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322 เนื้อความทั้งหมด :- นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย --(มี ๑๕ เรื่อง) --ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ 0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑ วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑ สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑ 1-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑ กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑ เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑ 2-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑ อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑ เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑ 3-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑ อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑ 4-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑ อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑ ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑ 5-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑ อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑ โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑ 6-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑ โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑ ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑ 7-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อหิริก อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อโนตฺตปฺป ปมาทะ (ความประมาท) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=ปมาท 8-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ : --ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว. 8-เขาเมื่อเป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ; 7-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ; 6-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ; 5-เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ; 4-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ; 3-เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ; 2-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง สักกายทิฏฐิ ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ วิจิกิจฉา ๑; 1-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ; +--เขาเมื่อไม่ละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ 0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้ ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/127-130/76. http://etipitaka.com/read/thai/24/127/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๔-๑๕๗/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/24/154/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=322 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๗
    -นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฏฐิเกี่ยวกับตัณหา จบ นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย (มี ๑๕ เรื่อง) ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑ วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑ สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑ กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑ เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑ อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑ เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑ อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑ อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑ ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑ อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑ โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑ โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑ ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑ อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑ ปมาทะ (ความประมาท) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ : ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้มี อหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว. เขาเมื่อเป็นผู้ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งมุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ; เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งสักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ; เขาเมื่อไม่ละซึ่งราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้ ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 165 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 1057
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    --ภิกษุ ท. ! เราได้อยู่แล้วโดยประเทศแห่งวิหารธรรม
    อย่างเดียวกันกับ วิหารธรรมที่เราเคยอยู่แล้วเมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=วิหาเรน+ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ
    เมื่ออยู่โดย วิหารธรรมอย่างนี้ เราย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า :-
    “+--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาทิฏฐิ บ้าง;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาทิฏฐิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาทิฏฐิ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาทิฏฐิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสังกัปปะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสังกัปปะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาสังกัปปะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสังกัปปะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวาจา บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวาจาบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาวาจา บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวาจาบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉากัมมันตะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉากัมมันตะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมากัมมันตะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมากัมมันตะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาอาชีวะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาอาชีวะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาอาชีวะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาอาชีวะ บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวายามะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวายามะ บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาวายามะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวายาะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสติ บ้าง ;
    +- ความเข้าไป สงบรำงับ แห่งมิจฉาสติบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาสติ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสติบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสมาธิ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสมาธิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาสมาธิ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสมาธิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งฉันทะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ วิตก บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งวิตกบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัญญา บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัญญาบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่ยังไม่เข้าไปสงบรำงับ บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่เข้าไปสงบรำงับแล้ว บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ การบรรลุถึงฐานะที่ได้พยายามเพื่อจะบรรลุถึง บ้าง”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/13/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/13/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๗/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1057
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด สัทธรรมลำดับที่ : 1057 ชื่อบทธรรม :- เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057 เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด --ภิกษุ ท. ! เราได้อยู่แล้วโดยประเทศแห่งวิหารธรรม อย่างเดียวกันกับ วิหารธรรมที่เราเคยอยู่แล้วเมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=วิหาเรน+ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ เมื่ออยู่โดย วิหารธรรมอย่างนี้ เราย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า :- “+--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาทิฏฐิ บ้าง; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาทิฏฐิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาทิฏฐิ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาทิฏฐิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสังกัปปะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสังกัปปะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสังกัปปะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสังกัปปะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวาจา บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวาจาบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวาจา บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวาจาบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉากัมมันตะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉากัมมันตะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมากัมมันตะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมากัมมันตะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาอาชีวะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาอาชีวะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาอาชีวะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาอาชีวะ บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวายามะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวายามะ บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวายามะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวายาะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสติ บ้าง ; +- ความเข้าไป สงบรำงับ แห่งมิจฉาสติบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสติ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสติบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสมาธิ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสมาธิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสมาธิ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสมาธิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งฉันทะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ วิตก บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งวิตกบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัญญา บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัญญาบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่ยังไม่เข้าไปสงบรำงับ บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่เข้าไปสงบรำงับแล้ว บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ การบรรลุถึงฐานะที่ได้พยายามเพื่อจะบรรลุถึง บ้าง” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/13/50. http://etipitaka.com/read/thai/19/13/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๗/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1057 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ข้อเท็จจริงอันนี้มีความสำคัญอย่างยิ่ง กล่าวคือ ต้อง มีการเสวยเวทนาจริงๆ จึงจะเห็นทุกขอริยสัจที่เกิดจากตัณหาอันเกิดจากเวทนานั้น และความที่ ทุกข์ดับไปในขณะที่ตัณหาดับไปในเวทนานั้น ในเมื่อจิตประกอบอยู่ด้วยธัมมสมังคีแห่งอัฏฐัง คิกมรรค โดยอัตโนมัติ; ดังนั้น ถ้าปราศจากเวทนาเสียเพียงอย่างเดียวแล้ว อริยสัจสี่ก็ยัง มิได้เป็นสิ่งที่มีอยู่จริง; ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวได้ว่า “อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจเสวย เวทนา” ดังนี้ โดยนัยดังที่พระพุทธองค์ตรัสแล้วข้างบน). เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด ภิกษุ ท. ! เราได้อยู่แล้วโดยประเทศแห่งวิหารธรรม อย่างเดียวกันกับวิหารธรรมที่เราเคยอยู่แล้วเมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ. เมื่ออยู่โดยวิหารธรรมอย่างนี้ เราย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า : “เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาทิฏฐิ บ้าง; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาทิฏฐิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาทิฏฐิ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาทิฏฐิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสังกัปปะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสังกัปปะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสังกัปปะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสังกัปปะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวาจา บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวาจาบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวาจา บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวาจาบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉากัมมันตะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉากัมมันตะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมากัมมันตะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมากัมมันตะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาอาชีวะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาอาชีวะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาอาชีวะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาอาชีวะ บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวายามะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวายามะ บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวายามะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวายาะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสติ บ้าง ; - ความเข้าไป สงบรำงับ แห่งมิจฉาสติบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสติ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสติบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสมาธิ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสมาธิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสมาธิ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสมาธิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งฉันทะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ วิตก บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งวิตกบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัญญา บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัญญาบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญาที่ยังไม่เข้าไปสงบรำงับ บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่เข้าไปสงบรำงับแล้ว บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ การบรรลุถึงฐานะที่ได้พยายามเพื่อจะบรรลุถึง บ้าง” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 176 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐานเป็นการเริ่มต้นสำคัญ
    สัทธรรมลำดับที่ : 690
    ชื่อบทธรรม : -มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ

    ก. มัชฌิมาปฏิปทา (พื้นฐานทั่วไป)
    --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งสุดโต่งอยู่สองอย่าง ที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย
    สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้น คืออะไร ?
    คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค)
    อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ;
    และ การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค)
    อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
    --ภิกษุ ท. ! #มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพานาย

    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น คือข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี้แล ; กล่าวคือ
    ความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) ความดำริถูกต้อง (สัมมาสังกัปโป),
    การพูดจาที่ถูกต้อง (สัมมาวาจา) การทำงานที่ถูกต้อง (สัมมากัมมันโต)
    การอาชีพที่ถูกต้อง (สัมมาอาชีโว),
    ความพากเพียรที่ถูกต้อง (สัมมาวายาโม) ความรำลึกที่ถูกต้อง (สัมมาสติ)
    ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง (สัมมาสมาธิ).
    --ภิกษุ ท. ! นี้แล มัชฌิมาปฏิปทานั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=690
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐานเป็นการเริ่มต้นสำคัญ สัทธรรมลำดับที่ : 690 ชื่อบทธรรม : -มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ ก. มัชฌิมาปฏิปทา (พื้นฐานทั่วไป) --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งสุดโต่งอยู่สองอย่าง ที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้น คืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ; และ การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. --ภิกษุ ท. ! #มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพานาย --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น คือข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี้แล ; กล่าวคือ ความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) ความดำริถูกต้อง (สัมมาสังกัปโป), การพูดจาที่ถูกต้อง (สัมมาวาจา) การทำงานที่ถูกต้อง (สัมมากัมมันโต) การอาชีพที่ถูกต้อง (สัมมาอาชีโว), ความพากเพียรที่ถูกต้อง (สัมมาวายาโม) ความรำลึกที่ถูกต้อง (สัมมาสติ) ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง (สัมมาสมาธิ). --ภิกษุ ท. ! นี้แล มัชฌิมาปฏิปทานั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=690 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ
    -มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ ก. มัชฌิมาปฏิปทา (พื้นฐานทั่วไป) ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งสุดโต่งอยู่สองอย่าง ที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้น คืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ; และ การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น คือข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี้แล ; กล่าวคือ ความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) ความดำริถูกต้อง (สัมมาสังกัปโป) การพูดจาที่ถูกต้อง (สัมมาวาจา) การทำงาน ที่ถูกต้อง (สัมมากัมมันโต) การอาชีพที่ถูกต้อง (สัมมาอาชีโว) ความพากเพียรที่ถูกต้อง (สัมมาวายาโม) ความรำลึกที่ถูกต้อง (สัมมาสติ) ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง (สัมมาสมาธิ). ภิกษุ ท. ! นี้แล มัชฌิมาปฏิปทานั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 217 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    สัทธรรมลำดับที่ : 321
    ชื่อบทธรรม :- ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใด
    ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม,
    ย่อม เห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจ (ปิยรูป-สาตรูป) ในโลก
    http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=ปิยรูปํ+สาตรูปํ
    โดยความเป็นของเที่ยง
    โดยความเป็นสุข
    โดยความเป็นตัวตน
    โดยความเป็นของไม่เสียบแทง
    โดยความเป็นของเกษม ;
    สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น #ย่อมทำตัณหาให้เจริญ.
    เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ.
    เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ.
    เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น
    ย่อมไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน
    ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ;
    เราตถาคต ย่อมกล่าวว่า “#พวกเหล่านั้นย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน
    ถ้วยดื่มสำริดมีเครื่องดื่มใส่อยู่แล้วชนิดหนึ่ง
    สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่.
    ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งซึ่งกำลังร้อนจัด มีความร้อนระอุไปทั้งตัว
    เหน็ดเหนื่อย คอแห้ง ระหายน้ำ มาถึงเข้า.คนทั้งหลายบอกแก่บุรุษนั้นว่า
    “นี่แน่ท่านผู้เจริญ ! ถ้วยดื่มสำริดใบนี้ มีเครื่องดื่ม
    สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส สำหรับท่าน,
    แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่, ถ้าหากท่านต้องการดื่มก็ดื่มได้,
    เมื่อท่านกำลังดื่ม จักติดใจมันด้วยสีของมันบ้าง ด้วยกลิ่นของมันบ้าง ด้วยรสของมันบ้าง ; แต่ว่า ครั้นดื่มเข้าไปแล้ว ท่านจักถึงความตาย
    หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะเหตุนั้น”
    ดังนี้.
    บุรุษนั้น ไม่ทันจะพิจารณาถ้วยดื่มสำริดอันนั้น
    (ว่าจะควรดื่มหรือไม่ควรดื่ม อย่างไร เป็นต้น)
    รีบดื่มเอาๆ ไม่ยอมวาง.
    บุรุษนั้น ก็ถึงความตาย หรือ ได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะเหตุนั้น.
    ฉันใดก็ฉันนั้น ที่สมณะหรือพราหมณ์พวกใด
    ในกาลอดีตก็ตาม,
    ในกาลอนาคตก็ตาม,
    ในกาลนี้ก็ตาม,
    ย่อมเห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจในโลก
    โดยความเป็นของเที่ยง
    โดยความเป็นสุข
    โดยความเป็นตัวตน
    โดยความเป็นของไม่เสียบแทง
    โดยความเป็นของเกษม ;
    สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมทำตัณหาให้เจริญ.
    เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ.
    เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ.
    เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์
    "พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/106-107/259-260.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/106/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๒-๑๓๓/๒๕๙-๒๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=321
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป สัทธรรมลำดับที่ : 321 ชื่อบทธรรม :- ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อม เห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจ (ปิยรูป-สาตรูป) ในโลก http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=ปิยรูปํ+สาตรูปํ โดยความเป็นของเที่ยง โดยความเป็นสุข โดยความเป็นตัวตน โดยความเป็นของไม่เสียบแทง โดยความเป็นของเกษม ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น #ย่อมทำตัณหาให้เจริญ. เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ. เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ. เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ; เราตถาคต ย่อมกล่าวว่า “#พวกเหล่านั้นย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน ถ้วยดื่มสำริดมีเครื่องดื่มใส่อยู่แล้วชนิดหนึ่ง สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่. ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งซึ่งกำลังร้อนจัด มีความร้อนระอุไปทั้งตัว เหน็ดเหนื่อย คอแห้ง ระหายน้ำ มาถึงเข้า.คนทั้งหลายบอกแก่บุรุษนั้นว่า “นี่แน่ท่านผู้เจริญ ! ถ้วยดื่มสำริดใบนี้ มีเครื่องดื่ม สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส สำหรับท่าน, แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่, ถ้าหากท่านต้องการดื่มก็ดื่มได้, เมื่อท่านกำลังดื่ม จักติดใจมันด้วยสีของมันบ้าง ด้วยกลิ่นของมันบ้าง ด้วยรสของมันบ้าง ; แต่ว่า ครั้นดื่มเข้าไปแล้ว ท่านจักถึงความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะเหตุนั้น” ดังนี้. บุรุษนั้น ไม่ทันจะพิจารณาถ้วยดื่มสำริดอันนั้น (ว่าจะควรดื่มหรือไม่ควรดื่ม อย่างไร เป็นต้น) รีบดื่มเอาๆ ไม่ยอมวาง. บุรุษนั้น ก็ถึงความตาย หรือ ได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะเหตุนั้น. ฉันใดก็ฉันนั้น ที่สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อมเห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจในโลก โดยความเป็นของเที่ยง โดยความเป็นสุข โดยความเป็นตัวตน โดยความเป็นของไม่เสียบแทง โดยความเป็นของเกษม ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมทำตัณหาให้เจริญ. เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ. เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ. เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์ "พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/106-107/259-260. http://etipitaka.com/read/thai/16/106/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๒-๑๓๓/๒๕๙-๒๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=321 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    -ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อม เห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจ (ปิยรูปสาตรูป) ในโลก โดยความเป็นของเที่ยง โดยความเป็นสุข โดยความเป็นตัวตน โดยความเป็นของไม่เสียบแทง โดยความเป็นของเกษม ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมทำตัณหาให้เจริญ. เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ. เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ. เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ; เราตถาคต ย่อมกล่าวว่า “พวกเหล่านั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน ถ้วยดื่มสำริดมีเครื่องดื่มใส่อยู่แล้วชนิดหนึ่ง สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่. ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งซึ่งกำลังร้อนจัด มีความร้อนระอุไปทั้งตัว เหน็ดเหนื่อย คอแห้ง ระหายน้ำ มาถึงเข้า. คนทั้งหลายบอกแก่บุรุษนั้นว่า “นี่แน่ท่านผู้เจริญ ! ถ้วยดื่มสำริดใบนี้ มีเครื่องดื่ม สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส สำหรับท่าน, แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่, ถ้าหากท่านต้องการดื่มก็ดื่มได้, เมื่อท่านกำลังดื่ม จักติดใจมันด้วยสีของมันบ้าง ด้วยกลิ่นของมันบ้าง ด้วยรสของมันบ้าง ; แต่ว่า ครั้นดื่ม เข้าไปแล้ว ท่านจักถึงความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะเหตุนั้น” ดังนี้. บุรุษนั้น ไม่ทันจะพิจารณาถ้วยดื่มสำริดอันนั้น (ว่าจะควรดื่มหรือไม่ควรดื่ม อย่างไร เป็นต้น) รีบดื่มเอาๆ ไม่ยอมวาง. บุรุษนั้น ก็ถึงความตาย หรือ ได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะเหตุนั้น. ฉันใดก็ฉันนั้น ที่สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม. ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อมเห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจในโลก โดยความเป็นของเที่ยง ....ฯลฯ.... ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 197 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1056
    ชื่อบทธรรม :- อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    เพราะอาศัยซึ่งธาตุ ๖ ประการ
    (ดิน​ น้ำ​ ไฟ​ อากาศ​ ลมและวิญญาณ)​
    การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี;
    เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ มีอยู่,
    นามรูป ย่อมมี;
    เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ;
    เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! เราย่อมบัญญัติว่า
    “นี้ เป็นความทุกข์” ดังนี้;
    ว่า “นี้ เป็นเหตุเกิดของความทุกข์” ดังนี้ ;
    ว่า “นี้ เป็นความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ;
    ว่า “นี้ เป็นทางให้ถึงความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ;
    แก่สัตว์ผู้สามารถเสวยเวทนา.

    (ต่อไปได้ตรัสรายละเอียด ของอริยสัจทั้งสี่
    หาดูได้ในภาคนำ แห่งหนังสืออริยสัจจากพระโอษฐ์
    ที่หัวข้อว่า “#อริยสัจสี่ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร(นัยที่สอง)”
    ).-

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ข้อเท็จจริงอันนี้มีความสำคัญอย่างยิ่ง
    กล่าวคือ
    ต้อง มีการเสวยเวทนาจริงๆ จึงจะเห็นทุกขอริยสัจ
    ที่เกิดจากตัณหาอันเกิดจากเวทนานั้น และความที่ ทุกข์ดับไป
    ในขณะที่ตัณหาดับไปในเวทนานั้น
    ในเมื่อจิตประกอบอยู่ด้วยธัมมสมังคีแห่งอัฏฐังคิกมรรค โดยอัตโนมัติ;
    ดังนั้น ถ้าปราศจากเวทนาเสียเพียงอย่างเดียวแล้ว
    อริยสัจสี่ก็ยัง มิได้เป็นสิ่งที่มีอยู่จริง;
    ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวได้ว่า
    “อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจเสวย เวทนา” ดังนี้
    โดยนัยดังที่พระพุทธองค์ตรัสแล้วข้างบน).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1056
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 1056 ชื่อบทธรรม :- อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยซึ่งธาตุ ๖ ประการ (ดิน​ น้ำ​ ไฟ​ อากาศ​ ลมและวิญญาณ)​ การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี; เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ มีอยู่, นามรูป ย่อมมี; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=เวทนา --ภิกษุ ท. ! เราย่อมบัญญัติว่า “นี้ เป็นความทุกข์” ดังนี้; ว่า “นี้ เป็นเหตุเกิดของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นทางให้ถึงความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; แก่สัตว์ผู้สามารถเสวยเวทนา. (ต่อไปได้ตรัสรายละเอียด ของอริยสัจทั้งสี่ หาดูได้ในภาคนำ แห่งหนังสืออริยสัจจากพระโอษฐ์ ที่หัวข้อว่า “#อริยสัจสี่ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร(นัยที่สอง)” ).- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ข้อเท็จจริงอันนี้มีความสำคัญอย่างยิ่ง กล่าวคือ ต้อง มีการเสวยเวทนาจริงๆ จึงจะเห็นทุกขอริยสัจ ที่เกิดจากตัณหาอันเกิดจากเวทนานั้น และความที่ ทุกข์ดับไป ในขณะที่ตัณหาดับไปในเวทนานั้น ในเมื่อจิตประกอบอยู่ด้วยธัมมสมังคีแห่งอัฏฐังคิกมรรค โดยอัตโนมัติ; ดังนั้น ถ้าปราศจากเวทนาเสียเพียงอย่างเดียวแล้ว อริยสัจสี่ก็ยัง มิได้เป็นสิ่งที่มีอยู่จริง; ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวได้ว่า “อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจเสวย เวทนา” ดังนี้ โดยนัยดังที่พระพุทธองค์ตรัสแล้วข้างบน). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501. http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑. http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1056 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    -อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยซึ่งธาตุ ๖ ประการ การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี; เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ มีอยู่, นามรูป ย่อมมี; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา. ภิกษุ ท. ! เราย่อมบัญญัติว่า “นี้ เป็นความทุกข์” ดังนี้; ว่า “นี้ เป็นเหตุเกิดของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นทางให้ถึงความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; แก่สัตว์ผู้สามารถเสวยเวทนา. (ต่อไปได้ตรัสรายละเอียด ของอริยสัจทั้งสี่ หาดูได้ในภาคนำ แห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หัวข้อว่า “อริยสัจสี่ ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร (นัยที่สอง)” หน้า ๑๓๘).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 689
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=689
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --มัชฌิมาปฏิปทา(ธัมมจักกัปปว้ตตนสูตร)​ในฐานะเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตน
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (#มัชฌิมาปฏิปทา)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อมเพื่อนิพพาน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการนี่เอง;
    ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ,
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ,
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ :
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง
    ที่ตถาคตได้ทรงตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพาน

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ 19/419/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=689
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 689 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=689 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทา(ธัมมจักกัปปว้ตตนสูตร)​ในฐานะเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตน --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (#มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อมเพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการนี่เอง; ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ, สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ, สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : +--ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ตถาคตได้ทรงตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.- http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพาน #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ 19/419/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=689 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มัชฌิมาปฏิปทา
    -มัชฌิมาปฏิปทา ในฐานะเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อมเพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการนี่เอง; ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ตถาคต ได้ทรงตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 227 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    สัทธรรมลำดับที่ : 320
    ชื่อบทธรรม :- ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    --ภิกษุ ท. ! ในโลกนี้
    บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    ไม่เห็นพระอริยเจ้า
    ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า,
    ไม่เห็นสัปบุรุษ
    ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ
    ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ.
    บุถุชนนั้น ย่อมรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดิน ;
    ครั้นรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดินแล้ว
    ย่อมสำคัญมั่นหมายซึ่งดิน ;
    ย่อมสำคัญมั่นหมาย ในดิน ;
    ย่อมสำคัญมั่นหมายโดยความเป็นดิน ;
    ย่อมสำคัญมั่นหมายว่าดินของเรา ;
    ย่อมเพลินอย่างยิ่งซึ่งดิน.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/2/?keywords=อภินนฺทติ
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะความไม่กำหนดรอบรู้ซึ่งดิน.

    (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๓ อย่าง คือ
    น้ำ ไฟ ลม
    ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหม
    อาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู
    อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก, ลิ้น, ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว
    เอกภาวะ นานาภาวะ สิ่งทั้งปวง และ นิพพาน, แต่ละอย่าง ๆ
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่าสัตว์ย่อมสำคัญผิดในความเป็นของตนเป็นต้น
    แล้วเพลิดเพลินเฉพาะต่อสิ่งนั้น ๆ เพราะความไม่รอบรู้ต่อสิ่งนั้น ๆ
    จึงกล่าวได้ว่า #ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/1-5/2.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/1/?keywords=%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑-๕/๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/1/?keywords=%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=320
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) สัทธรรมลำดับที่ : 320 ชื่อบทธรรม :- ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320 เนื้อความทั้งหมด :- --ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) --ภิกษุ ท. ! ในโลกนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ. บุถุชนนั้น ย่อมรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดิน ; ครั้นรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดินแล้ว ย่อมสำคัญมั่นหมายซึ่งดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมาย ในดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายโดยความเป็นดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายว่าดินของเรา ; ย่อมเพลินอย่างยิ่งซึ่งดิน. http://etipitaka.com/read/pali/12/2/?keywords=อภินนฺทติ ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะความไม่กำหนดรอบรู้ซึ่งดิน. (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๓ อย่าง คือ น้ำ ไฟ ลม ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหม อาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก, ลิ้น, ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว เอกภาวะ นานาภาวะ สิ่งทั้งปวง และ นิพพาน, แต่ละอย่าง ๆ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่าสัตว์ย่อมสำคัญผิดในความเป็นของตนเป็นต้น แล้วเพลิดเพลินเฉพาะต่อสิ่งนั้น ๆ เพราะความไม่รอบรู้ต่อสิ่งนั้น ๆ จึงกล่าวได้ว่า #ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/1-5/2. http://etipitaka.com/read/thai/12/1/?keywords=%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑-๕/๒. http://etipitaka.com/read/pali/12/1/?keywords=%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=320 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (รายละเอียดเกี่ยวกับสมณพราหมณ์ทุกพวกข้างบนนี้ หาดูได้จากหนังสือปฏิจจ.โอ.หน้า ๗๓๓ เป็นต้นไป.)
    -(รายละเอียดเกี่ยวกับสมณพราหมณ์ทุกพวกข้างบนนี้ หาดูได้จากหนังสือปฏิจจ.โอ.หน้า ๗๓๓ เป็นต้นไป.) ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) ภิกษุ ท. ! ในโลกนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ. บุถุชนนั้น ย่อมรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดิน ; ครั้นรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดินแล้ว ย่อมสำคัญมั่นหมายซึ่งดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมาย ในดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายโดยความเป็นดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายว่าดินของเรา ; ย่อมเพลินอย่างยิ่งซึ่งดิน. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะความไม่กำหนดรอบรู้ซึ่งดิน. (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๓ อย่าง คือ น้ำ ไฟ ลม ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหม อาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก, ลิ้น, ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว เอกภาวะ นานาภาวะ สิ่งทั้งปวง และ นิพพาน, แต่ละอย่าง ๆ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่าสัตว์ย่อมสำคัญผิดในความเป็นของตนเป็นต้น แล้วเพลิดเพลินเฉพาะต่อสิ่งนั้น ๆ เพราะความไม่รอบรู้ต่อสิ่งนั้น ๆ จึงกล่าวได้ว่า ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 220 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ (หรือความจริงในโลกธาตุ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 1055
    ชื่อบทธรรม : -อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1055
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ)
    ทรงบัญญัติไว้ใน กายที่ยังมี สัญญา(จิต)​และใจ
    --ภิกษุ ท. ! เราได้กล่าวกะ #โรหิตัสสเทวบุตร นั้นว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=โรหิตสฺสํ+เทวปุตฺตํ
    “แน่ะเธอ !
    ที่ สุดโลกแห่งใด
    อันสัตว์ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อุบัติ,
    เราไม่กล่าวการรู้ การเห็น การถึงที่สุดโลกนั้น เพราะการไป.
    แน่ะเธอ !
    เมื่อยังไม่ถึงที่สุดแห่งโลกแล้ว
    เราย่อมไม่กล่าวซึ่งการกระทำที่สุดแห่งทุกข์.
    แน่ะเธอ !
    #ในกายที่ยาววาหนึ่งซึ่งประกอบด้วยสัญญาและใจนี่เอง(สสญฺญมฺหิ+สมนเก)​
    http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=สสญฺญมฺหิ+สมนเก
    เราได้บัญญัติโลก
    เหตุเกิดของโลก
    ความดับไม่เหลือของโลก และ
    ทางให้ถึงความดับไม่เหลือของโลกไว้”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/50/46.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๖๔/๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1055
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ (หรือความจริงในโลกธาตุ) สัทธรรมลำดับที่ : 1055 ชื่อบทธรรม : -อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1055 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ) ทรงบัญญัติไว้ใน กายที่ยังมี สัญญา(จิต)​และใจ --ภิกษุ ท. ! เราได้กล่าวกะ #โรหิตัสสเทวบุตร นั้นว่า http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=โรหิตสฺสํ+เทวปุตฺตํ “แน่ะเธอ ! ที่ สุดโลกแห่งใด อันสัตว์ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อุบัติ, เราไม่กล่าวการรู้ การเห็น การถึงที่สุดโลกนั้น เพราะการไป. แน่ะเธอ ! เมื่อยังไม่ถึงที่สุดแห่งโลกแล้ว เราย่อมไม่กล่าวซึ่งการกระทำที่สุดแห่งทุกข์. แน่ะเธอ ! #ในกายที่ยาววาหนึ่งซึ่งประกอบด้วยสัญญาและใจนี่เอง(สสญฺญมฺหิ+สมนเก)​ http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=สสญฺญมฺหิ+สมนเก เราได้บัญญัติโลก เหตุเกิดของโลก ความดับไม่เหลือของโลก และ ทางให้ถึงความดับไม่เหลือของโลกไว้” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/50/46. http://etipitaka.com/read/thai/21/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๖๔/๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1055 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจ (หรือโลกสัจ)
    -อริยสัจ (หรือโลกสัจ) ทรงบัญญัติไว้ในกายที่ยังมีสัญญาและใจ ภิกษุ ท. ! เราได้กล่าวกะโรหิตัสสเทวบุตรนั้นว่า “แน่ะเธอ ! ที่ สุดโลกแห่งใด อันสัตว์ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อุบัติ, เราไม่กล่าว การรู้ การเห็น การถึงที่สุดโลกนั้น เพราะการไป. แน่ะเธอ ! เมื่อยังไม่ถึงที่สุดแห่งโลกแล้ว เราย่อมไม่กล่าวซึ่งการกระทำที่สุดแห่งทุกข์. แน่ะเธอ ! ในกายที่ยาววาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยสัญญาและใจนี่เอง เราได้บัญญัติโลก เหตุเกิดของโลก ความดับไม่เหลือของโลก และทางให้ถึงความดับไม่เหลือของโลกไว้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 209 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 688
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์อื่นถามเธออย่างนี้ ว่า
    “มรรคมีไหม ปฎิปทามีไหม เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์ ?” ;
    เมื่อถูกถามอย่างนี้ พวกเธอพึงตอบแก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น ว่า
    มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น.
    --ภิกษุ ท. ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น ?
    มรรคมีองค์แปดอันประเสริฐนี้, กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ,
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ,
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ มีอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แล #ปฏิปทาเพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอถูกถามอย่างนั้นแล้ว
    พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/6-7/27-28.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/6/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘-๙/๒๗-๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/8/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=688
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 688 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์อื่นถามเธออย่างนี้ ว่า “มรรคมีไหม ปฎิปทามีไหม เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์ ?” ; เมื่อถูกถามอย่างนี้ พวกเธอพึงตอบแก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น ว่า มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น. --ภิกษุ ท. ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น ? มรรคมีองค์แปดอันประเสริฐนี้, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ, สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ, สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ มีอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แล #ปฏิปทาเพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอถูกถามอย่างนั้นแล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/6-7/27-28. http://etipitaka.com/read/thai/19/6/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘-๙/๒๗-๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/8/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=688 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค
    -อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์อื่นถามเธออย่างนี้ ว่า “มรรคมีไหม ปฎิปทามีไหม เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์ ?” ; เมื่อถูกถามอย่างนี้ พวกเธอพึงตอบแก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น ว่า มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น. ภิกษุ ท. ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น ? มรรคมีองค์แปดอันประเสริฐนี้, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แลปฏิปทา เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น. ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอถูกถามอย่างนั้นแล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 222 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts