• โรมัน สตาโรวอยต์ (Roman Starovoyt) รัฐมนตรีคมนาคมของรัสเซีย ที่เพิ่งโดนประธานาธิบดีปูตินปลดออกออกเมื่อช่วงเช้าวันนี้ ถูกพบว่าเสียชีวิตแล้วจากการปลิดชีพตัวเอง

    สตาโรวอยต์ อดีตผู้ว่าการภูมิภาคเคิร์สก์ (2019-2024) ถูกพบศพในสวนมาเลวิช (Malevich Park) ใกล้หมู่บ้านราซโดรี (Razdory) เขตเมืองโอดินต์โซโว (Odintsovo district) เมื่อเวลาประมาณ 15.00 น. อยู่ภายในรถ Tesla Model X ของเขา คาดว่าเขายิงตัวเองด้วยอาวุธปืนซึ่งเป็นของขวัญที่ได้จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในปี 2023

    โรมัน สตาโรวอยต์ กำลังถูกสอบสวนในคดีอาญาเกี่ยวกับการฉ้อโกงครั้งใหญ่ในภูมิภาคเคิร์สก์ ซึ่งมีมูลค่าสูงถึง 19,000 ล้านรูเบิล ในการก่อสร้างป้อมปราการในเคิร์สก์ โดยที่อดีตผู้อำนวยการทั่วไปของบริษัท วลาดิมีร์ ลูกิน และรองผู้อำนวยการ แม็กซิม วาซิลีเยฟ ที่ถูกควบคุมตัวไปก่อนหน้านี้ซัดทอดสตาโรวอยต์

    การสอบสวนยังขยายผลไปถึงโครงการต่างๆของสตาโรวอยต์ เช่นการจัดซื้อยาสำหรับโรงพยาบาลในภูมิภาค และโครงการต่างๆที่เขาริเริ่มเกี่ยวกับระบบการขนส่งในเคิร์สก์ซึ่งล้วนแต่ล้มเหลวและไม่ประสบผลสำเร็จ

    ในช่วงดำรงตำแหน่งของอดีตผู้ว่าการ ได้มีการให้สัมปทานที่ควรจะเสร็จสมบูรณ์ โดยรางรถรางจะต้องสร้างใหม่และจัดหารถยนต์ใหม่ให้ครบถ้วน แต่เรื่องนี้ไม่ได้เกิดขึ้น มีเพียงบางส่วนของงานเท่านั้นที่เสร็จสมบูรณ์ ทั้งที่เงินงบประมาณกลับมีการเบิกจ่ายออกไปหมดแล้ว


    โรมัน สตาโรวอยต์ (Roman Starovoyt) รัฐมนตรีคมนาคมของรัสเซีย ที่เพิ่งโดนประธานาธิบดีปูตินปลดออกออกเมื่อช่วงเช้าวันนี้ ถูกพบว่าเสียชีวิตแล้วจากการปลิดชีพตัวเอง สตาโรวอยต์ อดีตผู้ว่าการภูมิภาคเคิร์สก์ (2019-2024) ถูกพบศพในสวนมาเลวิช (Malevich Park) ใกล้หมู่บ้านราซโดรี (Razdory) เขตเมืองโอดินต์โซโว (Odintsovo district) เมื่อเวลาประมาณ 15.00 น. อยู่ภายในรถ Tesla Model X ของเขา คาดว่าเขายิงตัวเองด้วยอาวุธปืนซึ่งเป็นของขวัญที่ได้จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในปี 2023 โรมัน สตาโรวอยต์ กำลังถูกสอบสวนในคดีอาญาเกี่ยวกับการฉ้อโกงครั้งใหญ่ในภูมิภาคเคิร์สก์ ซึ่งมีมูลค่าสูงถึง 19,000 ล้านรูเบิล ในการก่อสร้างป้อมปราการในเคิร์สก์ โดยที่อดีตผู้อำนวยการทั่วไปของบริษัท วลาดิมีร์ ลูกิน และรองผู้อำนวยการ แม็กซิม วาซิลีเยฟ ที่ถูกควบคุมตัวไปก่อนหน้านี้ซัดทอดสตาโรวอยต์ การสอบสวนยังขยายผลไปถึงโครงการต่างๆของสตาโรวอยต์ เช่นการจัดซื้อยาสำหรับโรงพยาบาลในภูมิภาค และโครงการต่างๆที่เขาริเริ่มเกี่ยวกับระบบการขนส่งในเคิร์สก์ซึ่งล้วนแต่ล้มเหลวและไม่ประสบผลสำเร็จ ในช่วงดำรงตำแหน่งของอดีตผู้ว่าการ ได้มีการให้สัมปทานที่ควรจะเสร็จสมบูรณ์ โดยรางรถรางจะต้องสร้างใหม่และจัดหารถยนต์ใหม่ให้ครบถ้วน แต่เรื่องนี้ไม่ได้เกิดขึ้น มีเพียงบางส่วนของงานเท่านั้นที่เสร็จสมบูรณ์ ทั้งที่เงินงบประมาณกลับมีการเบิกจ่ายออกไปหมดแล้ว
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 202 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • ท่านชอบพุทธศาสนา ในเหลี่ยมไหน

    ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า "ศาสนา" เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น

    พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า "อะไร" อะไร" เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา

    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค" ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย

    พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ

    เรื่อง "กฐิน" ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ " คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง

    สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน .com
    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%8a%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%9e%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%99%e0%b8%b2-%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a5%e0%b8%b5/
    ท่านชอบพุทธศาสนา ในเหลี่ยมไหน ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า "ศาสนา" เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า "อะไร" อะไร" เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค" ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ เรื่อง "กฐิน" ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ " คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน .com https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%8a%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%9e%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%99%e0%b8%b2-%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a5%e0%b8%b5/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน
    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 102 มุมมอง 0 รีวิว
  • จะมาพูดคุยประเด็น การรับเงินและทอง

    ของพระภิกษุสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา ตามพระธรรมวินัย ที่พระศาสดา ทรงบัญญัติไว้ 

    มีเรื่องเล่ามาเล่าให้ฟัง ดังต่อไปนี้ โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่

    ณ พระเวฬุวัน ครั้งนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรเป็นกุลุปกะของสกุลหนึ่ง รับภัตตาหารอยู่เป็นประจำ ของเคี้ยวของฉันอันใดที่เกิดขึ้นในสกุลนั้น.

    เขาย่อมแบ่งส่วนไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เย็นวันหนึ่งในสกุลนั้นมีเนื้อเกิดขึ้น เขาจึง

    แบ่งส่วนเนื้อนั้นไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เด็กของสกุลนั้นตื่นขึ้นในเวลาเช้ามืด ร้อง

    อ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า. บุรุษสามีจึงสั่งภรรยาว่า จงให้ส่วนของพระแก่เด็ก เราจักซื้อของอื่นถวายท่าน. ครั้นแล้วเวลาเช้าท่านอุปนันทศากยบุตร

    สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    จะมาพูดคุยประเด็น การรับเงินและทอง ของพระภิกษุสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา ตามพระธรรมวินัย ที่พระศาสดา ทรงบัญญัติไว้  มีเรื่องเล่ามาเล่าให้ฟัง ดังต่อไปนี้ โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเวฬุวัน ครั้งนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรเป็นกุลุปกะของสกุลหนึ่ง รับภัตตาหารอยู่เป็นประจำ ของเคี้ยวของฉันอันใดที่เกิดขึ้นในสกุลนั้น. เขาย่อมแบ่งส่วนไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เย็นวันหนึ่งในสกุลนั้นมีเนื้อเกิดขึ้น เขาจึง แบ่งส่วนเนื้อนั้นไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เด็กของสกุลนั้นตื่นขึ้นในเวลาเช้ามืด ร้อง อ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า. บุรุษสามีจึงสั่งภรรยาว่า จงให้ส่วนของพระแก่เด็ก เราจักซื้อของอื่นถวายท่าน. ครั้นแล้วเวลาเช้าท่านอุปนันทศากยบุตร สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    ไขข้อสงสัย พระภิกษุสงฆ์ รับ “เงินทอง” ได้หรือไม่ตามพระไตรปิฎก - thenirvanalive.com
    การรับเงินและทองเอง แต่ทว่าจงอย่ายินดีในเงินและทองนั้นว่าเป็นทรัพย์สินของเราโดยเฉพาะ พึงทำใจของเราให้มีความรู้สึกอยู่เสมอว่าเวลานี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 59 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    ไขข้อสงสัย พระภิกษุสงฆ์ รับ “เงินทอง” ได้หรือไม่ตามพระไตรปิฎก - thenirvanalive.com
    การรับเงินและทองเอง แต่ทว่าจงอย่ายินดีในเงินและทองนั้นว่าเป็นทรัพย์สินของเราโดยเฉพาะ พึงทำใจของเราให้มีความรู้สึกอยู่เสมอว่าเวลานี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 60 มุมมอง 0 รีวิว
  • Turun Anwar ม็อบไล่นายกฯ มาเลย์

    การเมืองในอาเซียน นอกจากประเทศไทยจะมีการชุมนุมเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. เรียกร้องให้นายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ลาออกจากตำแหน่ง กรณีคลิปเสียง ฮุน เซน ประธานวุฒิสภากัมพูชา ในลักษณะขายชาติแล้ว นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย อันวาร์ อิบราฮิม ที่เป็นประธานอาเซียน และมีทักษิณ ชินวัตร บิดาแพทองธารเป็นที่ปรึกษา ก็ยังมีการชุมนุมเรียกร้องให้ลาออกเช่นกัน

    เมื่อวันที่ 6 ก.ค. มีการชุมนุมเล็กๆ บริเวณลานจอดรถของโรงแรมคอนคอร์ด เชคชันไนน์ ในเมืองชาห์อาลัม รัฐสลังงอร์ เพื่อเรียกร้องให้อันวาร์ลาออก โดยมีป้ายข้อความว่า Turun Anwar (อันวาร์ลาออกเถอะ) Rakyat Susah (ประชาชนกำลังดิ้นรน) และ Rakyat Terbeban (ประชาชนมีภาระหนัก) โดยผู้ชุมนุมแสดงความกังวลถึงปัญหาหลายประการ รวมถึงค่าครองชีพที่สูงขึ้น และการขยายกรอบภาษีการขายและบริการ (SST) ที่มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. ที่ผ่านมา

    แกนนำประกอบด้วย มูฮัมหมัด ราชิด อาลี หัวหน้าฝ่ายข้อมูลของพรรคเปอจวง (Pejuang) ที่ก่อตั้งโดยอดีตนายกฯ มหาเธร์ โมฮัมหมัด, ฮานิฟ จามาลุดดิน รองหัวหน้ากลุ่มเยาวชนของพรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย หรือพาส (Pemuda PAS) พรรคการเมืองเก่าแก่และพรรคอิสลามหนึ่งเดียวของประเทศ, เอซัม นอร์ อดีตสมาชิกพรรคยุติธรรมประชาชน (PKR), อาซามุดดิน ซาฮาร์ ประธานกลุ่มพันธมิตรนักศึกษาอิสลามแห่งมาเลเซีย (Gamis) เป็นต้น

    ฮานีฟ กล่าวว่า เป็นเพียงการชุมนุมย่อยเพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการชุมนุมใหญ่ ที่วางแผนไว้ว่าจะจัดขึ้นที่จตุรัสเมอร์เดกา กรุงกัวลาลัมเปอร์ ในวันที่ 26 ก.ค. ที่จะถึงนี้ ซึ่งจะมีเอ็นจีโอและผู้นำทางการเมืองอื่นๆ เข้าร่วม อาทิ อดีตนายกรัฐมนตรี มหาธีร์ โมฮัมหมัด, ประธานพรรคเบอร์ซาตู (Bersatu) มูฮิดดิน ยาสซิน และประธานพรรคปาส อับดุล ฮาดิ อาวัง เป็นต้น

    ขณะที่ เอซัม กล่าวว่า ประชาชนผิดหวังกับความเป็นผู้นำของอันวาร์ ไม่สามารถทำตามสัญญาที่ให้ไว้ขณะเป็นฝ่ายค้าน เช่น การลดราคาน้ำมัน ยืนยันว่าไม่ได้ต่อสู้กับทางการและตำรวจ แต่ต้องการให้รัฐบาลได้ยินเสียงของผู้ชุมนุม เมื่อก่อนมีแต่คนธรรมดาเท่านั้นที่โกรธ ตอนนี้แม้แต่คนรวยก็ยังโกรธด้วยเพราะต้องเสียภาษีต่างๆ อีกมาก

    ก่อนหน้านี้ อาหมัด ฟาฎลี ชาอารี หัวหน้าฝ่ายข้อมูลของพรรคพาส กล่าวกับเว็บไซต์ harakahdaily.net เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. ว่า การชุมนุมในวันที่ 26 ก.ค. นอกจากต่อต้านร่างพระราชบัญญัติการฟื้นฟูเมือง (URA) แล้ว จะชี้ให้เห็นถึงความล้มเหลวของรัฐบาล เช่น การปฎิรูปการเมืองล้มเหลว การปิดกั้นเสรีภาพ และค่าครองชีพที่สูงขึ้น ห่างไกลจากแนวทางของรัฐบาล Malaysia Madani ไปแล้ว

    #Newskit
    Turun Anwar ม็อบไล่นายกฯ มาเลย์ การเมืองในอาเซียน นอกจากประเทศไทยจะมีการชุมนุมเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. เรียกร้องให้นายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ลาออกจากตำแหน่ง กรณีคลิปเสียง ฮุน เซน ประธานวุฒิสภากัมพูชา ในลักษณะขายชาติแล้ว นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย อันวาร์ อิบราฮิม ที่เป็นประธานอาเซียน และมีทักษิณ ชินวัตร บิดาแพทองธารเป็นที่ปรึกษา ก็ยังมีการชุมนุมเรียกร้องให้ลาออกเช่นกัน เมื่อวันที่ 6 ก.ค. มีการชุมนุมเล็กๆ บริเวณลานจอดรถของโรงแรมคอนคอร์ด เชคชันไนน์ ในเมืองชาห์อาลัม รัฐสลังงอร์ เพื่อเรียกร้องให้อันวาร์ลาออก โดยมีป้ายข้อความว่า Turun Anwar (อันวาร์ลาออกเถอะ) Rakyat Susah (ประชาชนกำลังดิ้นรน) และ Rakyat Terbeban (ประชาชนมีภาระหนัก) โดยผู้ชุมนุมแสดงความกังวลถึงปัญหาหลายประการ รวมถึงค่าครองชีพที่สูงขึ้น และการขยายกรอบภาษีการขายและบริการ (SST) ที่มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. ที่ผ่านมา แกนนำประกอบด้วย มูฮัมหมัด ราชิด อาลี หัวหน้าฝ่ายข้อมูลของพรรคเปอจวง (Pejuang) ที่ก่อตั้งโดยอดีตนายกฯ มหาเธร์ โมฮัมหมัด, ฮานิฟ จามาลุดดิน รองหัวหน้ากลุ่มเยาวชนของพรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย หรือพาส (Pemuda PAS) พรรคการเมืองเก่าแก่และพรรคอิสลามหนึ่งเดียวของประเทศ, เอซัม นอร์ อดีตสมาชิกพรรคยุติธรรมประชาชน (PKR), อาซามุดดิน ซาฮาร์ ประธานกลุ่มพันธมิตรนักศึกษาอิสลามแห่งมาเลเซีย (Gamis) เป็นต้น ฮานีฟ กล่าวว่า เป็นเพียงการชุมนุมย่อยเพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการชุมนุมใหญ่ ที่วางแผนไว้ว่าจะจัดขึ้นที่จตุรัสเมอร์เดกา กรุงกัวลาลัมเปอร์ ในวันที่ 26 ก.ค. ที่จะถึงนี้ ซึ่งจะมีเอ็นจีโอและผู้นำทางการเมืองอื่นๆ เข้าร่วม อาทิ อดีตนายกรัฐมนตรี มหาธีร์ โมฮัมหมัด, ประธานพรรคเบอร์ซาตู (Bersatu) มูฮิดดิน ยาสซิน และประธานพรรคปาส อับดุล ฮาดิ อาวัง เป็นต้น ขณะที่ เอซัม กล่าวว่า ประชาชนผิดหวังกับความเป็นผู้นำของอันวาร์ ไม่สามารถทำตามสัญญาที่ให้ไว้ขณะเป็นฝ่ายค้าน เช่น การลดราคาน้ำมัน ยืนยันว่าไม่ได้ต่อสู้กับทางการและตำรวจ แต่ต้องการให้รัฐบาลได้ยินเสียงของผู้ชุมนุม เมื่อก่อนมีแต่คนธรรมดาเท่านั้นที่โกรธ ตอนนี้แม้แต่คนรวยก็ยังโกรธด้วยเพราะต้องเสียภาษีต่างๆ อีกมาก ก่อนหน้านี้ อาหมัด ฟาฎลี ชาอารี หัวหน้าฝ่ายข้อมูลของพรรคพาส กล่าวกับเว็บไซต์ harakahdaily.net เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. ว่า การชุมนุมในวันที่ 26 ก.ค. นอกจากต่อต้านร่างพระราชบัญญัติการฟื้นฟูเมือง (URA) แล้ว จะชี้ให้เห็นถึงความล้มเหลวของรัฐบาล เช่น การปฎิรูปการเมืองล้มเหลว การปิดกั้นเสรีภาพ และค่าครองชีพที่สูงขึ้น ห่างไกลจากแนวทางของรัฐบาล Malaysia Madani ไปแล้ว #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 211 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าผู้จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน
    สัทธรรมลำดับที่ : 309
    ชื่อบทธรรม :- จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=309
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ
    ภิกษุจึงชื่อว่า เป็นผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง พระเจ้าข้า ?”
    --มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายอันจะพึงเห็นได้ด้วยจักษุ
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้าหากว่าภิกษุย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้ ;

    +--แก่ภิกษุผู้เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่นั่นแหละ,
    นันทิ (ความเพลิดเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    +--เมื่อนันทิ มีอยู่,
    สาราคะ (ความกำหนัดกล้า) ย่อมมี ;
    +--เมื่อสาราคะ มีอยู่,
    สัญโญคะ (ความผูกจิตติดกับอารมณ์-มโนกรรม) ย่อมมี ;
    --มิคชาละ ! ภิกษุผู้ ประกอบพร้อมแล้ว
    ด้วยการผูกจิตติดกับอารมณ์ ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน นั่นแล
    เราเรียกว่า “#ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง”.

    (ในกรณีแห่ง
    เสียง ทั้งหลายอันจะพึงได้ยินด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ทั้งหลายอันจะพึงดมด้วยจมูกก็ดี,
    รส ทั้งหลายอันจะพึงลิ้มด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ทั้งหลายอันจะพึงสัมผัสด้วยผิวกายก็ดี,
    และธรรมารมณ์ ทั้งหลายอันจะพึงรู้แจ้งด้วยใจก็ดี,
    พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้มีนัยยะอย่างเดียวกัน
    กับในกรณีแห่งรูปทั้งหลายอันจะพึงเห็นด้วยจักษุ
    ).

    --มิคชาละ ! ภิกษุผู้มีการอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ แม้จะส้องเสพเสนาสนะ
    อันเป็นป่าและป่าชัฏ ซึ่งเงียบสงัด มีเสียงรบกวนน้อย
    มีเสียงกึกก้องครึกโครมน้อย ปราศจากลมจากผิวกายคน
    เป็นที่ทำการลับของมนุษย์ เป็นที่สมควรแก่การหลีกเร้น เช่นนี้แล้วก็ตาม,
    +--ถึงกระนั้น ภิกษุนั้นเราก็ยังคงเรียกว่าผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสองอยู่นั่นเอง.
    +--ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    ข้อนั้นเพราะเหตุว่า #ตัณหานั่นแลเป็นเพื่อนสองของภิกษุนั้น ;
    +--ตัณหา นั้น อันภิกษุนั้นยังละไม่ได้แล้ว เพราะเหตุนั้น
    ภิกษุนั้นเราจึงเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/34/66.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/34/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๓/๖๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/43/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=309
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=309
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าผู้จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน สัทธรรมลำดับที่ : 309 ชื่อบทธรรม :- จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=309 เนื้อความทั้งหมด :- --จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงชื่อว่า เป็นผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง พระเจ้าข้า ?” --มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายอันจะพึงเห็นได้ด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าหากว่าภิกษุย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้ ; +--แก่ภิกษุผู้เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่นั่นแหละ, นันทิ (ความเพลิดเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. +--เมื่อนันทิ มีอยู่, สาราคะ (ความกำหนัดกล้า) ย่อมมี ; +--เมื่อสาราคะ มีอยู่, สัญโญคะ (ความผูกจิตติดกับอารมณ์-มโนกรรม) ย่อมมี ; --มิคชาละ ! ภิกษุผู้ ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการผูกจิตติดกับอารมณ์ ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน นั่นแล เราเรียกว่า “#ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง”. (ในกรณีแห่ง เสียง ทั้งหลายอันจะพึงได้ยินด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลายอันจะพึงดมด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลายอันจะพึงลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลายอันจะพึงสัมผัสด้วยผิวกายก็ดี, และธรรมารมณ์ ทั้งหลายอันจะพึงรู้แจ้งด้วยใจก็ดี, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้มีนัยยะอย่างเดียวกัน กับในกรณีแห่งรูปทั้งหลายอันจะพึงเห็นด้วยจักษุ ). --มิคชาละ ! ภิกษุผู้มีการอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ แม้จะส้องเสพเสนาสนะ อันเป็นป่าและป่าชัฏ ซึ่งเงียบสงัด มีเสียงรบกวนน้อย มีเสียงกึกก้องครึกโครมน้อย ปราศจากลมจากผิวกายคน เป็นที่ทำการลับของมนุษย์ เป็นที่สมควรแก่การหลีกเร้น เช่นนี้แล้วก็ตาม, +--ถึงกระนั้น ภิกษุนั้นเราก็ยังคงเรียกว่าผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสองอยู่นั่นเอง. +--ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่า #ตัณหานั่นแลเป็นเพื่อนสองของภิกษุนั้น ; +--ตัณหา นั้น อันภิกษุนั้นยังละไม่ได้แล้ว เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้นเราจึงเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/34/66. http://etipitaka.com/read/thai/18/34/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๓/๖๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/43/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=309 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=309 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน
    -จิตมีตัณหา เรียกว่าอยู่สองคน “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงชื่อว่า เป็นผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง พระเจ้าข้า ?” มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายอันจะพึงเห็นได้ด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าหากว่าภิกษุย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้ ; แก่ภิกษุผู้เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่นั่นแหละ, นันทิ (ความเพลิดเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. เมื่อนันทิ มีอยู่, สาราคะ (ความกำหนัดกล้า) ย่อมมี ; เมื่อสาราคะ มีอยู่, สัญโญคะ (ความผูกจิตติดกับอารมณ์) ย่อมมี ; มิคชาละ ! ภิกษุผู้ ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการผูกจิตติดกับอารมณ์ ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน นั่นแล เราเรียกว่า “ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง”. (ในกรณีแห่ง เสียง ทั้งหลายอันจะพึงได้ยินด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลายอันจะพึงดมด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลายอันจะพึงลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลายอันจะพึงสัมผัสด้วยผิวกายก็ดี, และธรรมารมณ์ ทั้งหลายอันจะพึงรู้แจ้งด้วยใจก็ดี, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้มีนัยยะอย่างเดียวกัน กับในกรณีแห่งรูปทั้งหลายอันจะพึงเห็นด้วยจักษุ). มิคชาละ ! ภิกษุผู้มีการอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ แม้จะส้องเสพเสนาสนะ อันเป็นป่าและป่าชัฏ ซึ่งเงียบสงัด มีเสียงรบกวนน้อย มีเสียงกึกก้องครึกโครมน้อย ปราศจากลมจากผิวกายคน เป็นที่ทำการลับของมนุษย์ เป็นที่สมควรแก่การหลีกเร้น เช่นนี้แล้วก็ตาม, ถึงกระนั้น ภิกษุนั้นเราก็ยังคงเรียกว่าผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสองอยู่นั่นเอง. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ตัณหานั่นแล เป็นเพื่อนสองของภิกษุนั้น ; ตัณหานั้น อันภิกษุนั้นยังละไม่ได้แล้ว เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้นเราจึงเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 107 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา.
    สัทธรรมลำดับที่ : 677
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    [ตอนอุทเทส]
    --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ
    ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค
    อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
    --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ
    การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน),
    ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู
    ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น.
    ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข,
    ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน.
    ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ;
    ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้.
    นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ
    (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก).
    [ตอนนิทเทส]
    --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง
    เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส
    ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค)
    อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก
    อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า
    “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน
    เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
    และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์”
    ดังนี้,
    คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว.
    --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า
    “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน”
    ดังนี้
    --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง
    อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ....
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ;
    ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์
    ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ
    ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา
    เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) .

    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94

    --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.)
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ
    อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ),
    นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม),
    มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​.
    --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า
    “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้
    เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย :
    +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว
    เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ
    ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา
    ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์...
    ....ฯลฯ....
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ :
    +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.-

    (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้
    แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค
    ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน.
    ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา
    จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา. สัทธรรมลำดับที่ : 677 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้ --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.) --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​. --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์... ....ฯลฯ.... +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ; ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ; ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.- (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้ แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน. ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597. http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗. http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    -อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และการกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใด. อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลี ติก.อํ.) ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์......ฯลฯ.... (รายละเอียดต่อไปจากนี้ มีอีกมาก ดูจากข้อความในหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ ที่หัวข้อว่า “ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค” ที่หน้า ๕๖-๕๘ จนถึงคำว่า ....... เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการลงสู่แม่น้ำเวลาเย็นเป็นครั้งที่สามบ้าง, เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการทำ (กิเลสในกายให้เหือดแห้ง ด้วยวิธีต่างๆ เช่นนี้ ด้วยอาการนี้อยู่). ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1045
    ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี
    ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร
    ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย;
    ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ
    คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล
    ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย”
    --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร
    : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน
    คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย
    กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ?
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า
    คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง”
    --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า,
    คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ
    “นี้ทุกข์
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้
    เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1045 ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 เนื้อความทั้งหมด :- --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.- #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738. http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การแทงตลอดอริยสัจ--เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    -(อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าอัตตาธิปไตย; และปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าโลกาธิปไตย. ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ; แต่ให้ถือเอา ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา หรือตรงตามพระพุทธประสงค์). การแทงตลอดอริยสัจ เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา คนที่แทงตลอด ซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว
  • แอร์เอเชียช่วยเหลือเด็กน้อย แพ้ความสูงกะทันหัน

    เรื่องราวประทับใจของเที่ยวบินแอร์เอเชีย ที่มีชาวเน็ตแชร์กว่า 2 หมื่นครั้ง เกิดขึ้นเมื่อผู้โดยสารที่ใช้นามว่า จาซินธา ฟลอเรนติอุส (Jacyntha Florentius) ผู้โดยสารบนเที่ยวบินที่ AK115 เส้นทางกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน ไปยังกรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ชื่นชมนักบินและลูกเรือทุกคนในเที่ยวบินดังกล่าวเมื่อวันที่ 4 ก.ค. ที่ผ่านมา

    เธอระบุว่า เด็กที่นั่งมาด้วยคือ นาตาชยา (Natashya) ลูกสาววัย 1 ขวบ 7 เดือน เมื่อเครื่องเทกออฟเวลา 05.55 น. ลูกได้หลับลง จากนั้นประมาณ 1 ชั่วโมงครึ่งต่อมาลูกตื่นขึ้น เธอจึงให้นมลูก หลังจากนั้นก็ลุกขึ้นนั่งและมองไปรอบๆ ทันใดนั้นลูกดูกระสับกระส่าย ร้องไห้สักพัก แล้วก็เงียบไป จากนั้นใบหน้าและริมฝีปากลูกซีดลง และดูเหมือนว่าลูกกำลังดิ้นรนที่จะหายใจ อ่อนแอ และไม่ค่อยตอบสนอง

    ตนพยายามอุ้มลูก ตบหลัง ถูมือและเท้า พยายามทำให้ส่งเสียงร้องออกมา เพื่อดูว่าร่างกายตอบสนองหรือไม่ ในเวลาเดียวกัน จาซินธาร้องขอหน้ากากออกซิเจนจากลูกเรือ ซึ่งลูกเรือได้ประสานปล่อยหน้ากากออกซิเจนลงมา ก่อนที่จะให้ออกซิเจนแก่ลูก จากนั้นอาการเริ่มดีขึ้น ริมฝีปากเริ่มเป็นสีชมพูอีกครั้ง ขณะเดียวกัน ลูกเรือประกาศบนเที่ยวบินตามหาผู้โดยสารที่เป็นแพทย์เพื่อขอความช่วยเหลือ โชคดีที่มีแพทย์รายหนึ่งบนเที่ยวบินช่วยดูอาการให้

    ขณะที่ลูกเรือได้คุยกับนักบินเพื่อขอลดระดับความสูงลงมาเล็กน้อย ซึ่งนักบินก็ลดระดับความสูงให้ ไม่นานหลังจากนั้นอาการลูกดูคงที่ นักบินประกาศว่าเที่ยวบินนี้จะเปลี่ยนเส้นทางไปยังสนามบินที่ใกล้ที่สุด คือ สนามบินโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม เพื่อรับการรักษาพยาบาล ระหว่างการรอลงจอด 30 นาที ลูกเรือก็เข้ามาตรวจดูลูกอยู่เรื่อยๆ นวดมือ เท้า และตรวจชีพจร ทันทีที่เครื่องบินลงจอดที่สนามบินโฮจิมินห์ ทีมแพทย์ที่เตรียมพร้อมได้ขึ้นเครื่องบินเพื่อประเมินอาการ และตัดสินใจว่าควรลงจากเครื่องเพื่อไปตรวจที่โรงพยาบาลในนครโฮจิมินห์

    ตนและลูกสาวพร้อมสามีลงจากเครื่องบิน สัมภาระถูกขนลงจากเครื่องอย่างรวดเร็ว และเจ้าหน้าที่ภาคพื้นดินก็พาไปที่รถพยาบาลทันที พร้อมอยู่ดูแลตั้งแต่ต้นจนจบ ลูกสาวได้รับการรักษาแบบเร่งด่วน ภายในหนึ่งชั่วโมง ก็มีการตรวจร่างกายทั้งหมด รวมทั้งการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ และการเอกซเรย์ นอกจากนี้ เมื่อทำการรักษาจนอาการดีขึ้น แอร์เอเชีย ยังให้เที่ยวบินฟรีแก่ตน ลูกสาว และสามีเพื่อเดินทางกลับกรุงกัวลาลัมเปอร์อีกด้วย สำหรับสาเหตุ คาดว่าลูกสาวน่าจะป่วยด้วยอาการแพ้ความสูงอย่างกะทันหันขณะอยู่บนเครื่องบิน

    #Newskit
    แอร์เอเชียช่วยเหลือเด็กน้อย แพ้ความสูงกะทันหัน เรื่องราวประทับใจของเที่ยวบินแอร์เอเชีย ที่มีชาวเน็ตแชร์กว่า 2 หมื่นครั้ง เกิดขึ้นเมื่อผู้โดยสารที่ใช้นามว่า จาซินธา ฟลอเรนติอุส (Jacyntha Florentius) ผู้โดยสารบนเที่ยวบินที่ AK115 เส้นทางกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน ไปยังกรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ชื่นชมนักบินและลูกเรือทุกคนในเที่ยวบินดังกล่าวเมื่อวันที่ 4 ก.ค. ที่ผ่านมา เธอระบุว่า เด็กที่นั่งมาด้วยคือ นาตาชยา (Natashya) ลูกสาววัย 1 ขวบ 7 เดือน เมื่อเครื่องเทกออฟเวลา 05.55 น. ลูกได้หลับลง จากนั้นประมาณ 1 ชั่วโมงครึ่งต่อมาลูกตื่นขึ้น เธอจึงให้นมลูก หลังจากนั้นก็ลุกขึ้นนั่งและมองไปรอบๆ ทันใดนั้นลูกดูกระสับกระส่าย ร้องไห้สักพัก แล้วก็เงียบไป จากนั้นใบหน้าและริมฝีปากลูกซีดลง และดูเหมือนว่าลูกกำลังดิ้นรนที่จะหายใจ อ่อนแอ และไม่ค่อยตอบสนอง ตนพยายามอุ้มลูก ตบหลัง ถูมือและเท้า พยายามทำให้ส่งเสียงร้องออกมา เพื่อดูว่าร่างกายตอบสนองหรือไม่ ในเวลาเดียวกัน จาซินธาร้องขอหน้ากากออกซิเจนจากลูกเรือ ซึ่งลูกเรือได้ประสานปล่อยหน้ากากออกซิเจนลงมา ก่อนที่จะให้ออกซิเจนแก่ลูก จากนั้นอาการเริ่มดีขึ้น ริมฝีปากเริ่มเป็นสีชมพูอีกครั้ง ขณะเดียวกัน ลูกเรือประกาศบนเที่ยวบินตามหาผู้โดยสารที่เป็นแพทย์เพื่อขอความช่วยเหลือ โชคดีที่มีแพทย์รายหนึ่งบนเที่ยวบินช่วยดูอาการให้ ขณะที่ลูกเรือได้คุยกับนักบินเพื่อขอลดระดับความสูงลงมาเล็กน้อย ซึ่งนักบินก็ลดระดับความสูงให้ ไม่นานหลังจากนั้นอาการลูกดูคงที่ นักบินประกาศว่าเที่ยวบินนี้จะเปลี่ยนเส้นทางไปยังสนามบินที่ใกล้ที่สุด คือ สนามบินโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม เพื่อรับการรักษาพยาบาล ระหว่างการรอลงจอด 30 นาที ลูกเรือก็เข้ามาตรวจดูลูกอยู่เรื่อยๆ นวดมือ เท้า และตรวจชีพจร ทันทีที่เครื่องบินลงจอดที่สนามบินโฮจิมินห์ ทีมแพทย์ที่เตรียมพร้อมได้ขึ้นเครื่องบินเพื่อประเมินอาการ และตัดสินใจว่าควรลงจากเครื่องเพื่อไปตรวจที่โรงพยาบาลในนครโฮจิมินห์ ตนและลูกสาวพร้อมสามีลงจากเครื่องบิน สัมภาระถูกขนลงจากเครื่องอย่างรวดเร็ว และเจ้าหน้าที่ภาคพื้นดินก็พาไปที่รถพยาบาลทันที พร้อมอยู่ดูแลตั้งแต่ต้นจนจบ ลูกสาวได้รับการรักษาแบบเร่งด่วน ภายในหนึ่งชั่วโมง ก็มีการตรวจร่างกายทั้งหมด รวมทั้งการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ และการเอกซเรย์ นอกจากนี้ เมื่อทำการรักษาจนอาการดีขึ้น แอร์เอเชีย ยังให้เที่ยวบินฟรีแก่ตน ลูกสาว และสามีเพื่อเดินทางกลับกรุงกัวลาลัมเปอร์อีกด้วย สำหรับสาเหตุ คาดว่าลูกสาวน่าจะป่วยด้วยอาการแพ้ความสูงอย่างกะทันหันขณะอยู่บนเครื่องบิน #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 156 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/Uq_p5GS_UCg?si=PF-15B4VJh8ySOu9
    https://youtu.be/Uq_p5GS_UCg?si=PF-15B4VJh8ySOu9
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/17UgSfc-qmQ?si=oltBhcfjqG0t_NJ0
    https://youtu.be/17UgSfc-qmQ?si=oltBhcfjqG0t_NJ0
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/IHzD1dF9W7M?si=7cnNJthE1fRvibdQ
    https://youtu.be/IHzD1dF9W7M?si=7cnNJthE1fRvibdQ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/iXgtmkCgu5o?si=0JitZbCdkUDW_RKZ
    https://youtu.be/iXgtmkCgu5o?si=0JitZbCdkUDW_RKZ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/kLmbcqmRZyA?si=qAUyMrkEwr4S_Mst
    https://youtube.com/shorts/kLmbcqmRZyA?si=qAUyMrkEwr4S_Mst
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/p-oJo8DtN7Q?si=n4L2DBjLL8Y66b7_
    https://youtube.com/shorts/p-oJo8DtN7Q?si=n4L2DBjLL8Y66b7_
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/IaNklBX_jjE?si=lYXm1TtFMU5bAc2m
    https://youtube.com/shorts/IaNklBX_jjE?si=lYXm1TtFMU5bAc2m
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/bIghPQpVe58?si=vAEfrby4LbnKrSGP
    https://youtube.com/shorts/bIghPQpVe58?si=vAEfrby4LbnKrSGP
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/F6DsYcoUXt4?si=cXQNgsMW-yID2J50
    https://youtu.be/F6DsYcoUXt4?si=cXQNgsMW-yID2J50
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนไทยดูไว้ คนอิสราเอลย้ายถิ่น
    https://youtu.be/12NN6djUJBE?si=XNBlKc0_PfDFXPOc
    คนไทยดูไว้ คนอิสราเอลย้ายถิ่น https://youtu.be/12NN6djUJBE?si=XNBlKc0_PfDFXPOc
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 11 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • TCL แอร์ ขนาด 24,130 BTU ระบบ Inverter เครื่องปรับอากาศติดผนังรุ่น TAC-XAL24CH_non-install
    พิกัด: https://s.lazada.co.th/s.y71JZ?cc
    TCL แอร์ ขนาด 24,130 BTU ระบบ Inverter เครื่องปรับอากาศติดผนังรุ่น TAC-XAL24CH_non-install พิกัด: https://s.lazada.co.th/s.y71JZ?cc
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว