• ทักษิณ ลั่น ใช้สัมพันธ์ "อันวาร์" แก้ไฟใต้ ปีนี้ต้องเห็นสันติภาพ
    https://www.thai-tai.tv/news/18363/
    ทักษิณ ลั่น ใช้สัมพันธ์ "อันวาร์" แก้ไฟใต้ ปีนี้ต้องเห็นสันติภาพ https://www.thai-tai.tv/news/18363/
    0 Comments 0 Shares 31 Views 0 Reviews
  • "พ่อนายกฯ" ลั่นไม่มีความคิดเตะ "ภูมิใจไทย" ไปเป็นฝ่ายค้าน โยนเป็นอำนาจ "นายกฯ" ปรับ ครม.
    https://www.thai-tai.tv/news/18364/
    "พ่อนายกฯ" ลั่นไม่มีความคิดเตะ "ภูมิใจไทย" ไปเป็นฝ่ายค้าน โยนเป็นอำนาจ "นายกฯ" ปรับ ครม. https://www.thai-tai.tv/news/18364/
    0 Comments 0 Shares 26 Views 0 Reviews
  • "ทักษิณ" มองเจรจากำแพงภาษีสหรัฐฯต้องไม่ผลีผลาม ขอดูเหตุการณ์หากบินพบ "ทรัมป์" เองต้องขอศาลก่อนหรือไม่
    https://www.thai-tai.tv/news/18365/
    "ทักษิณ" มองเจรจากำแพงภาษีสหรัฐฯต้องไม่ผลีผลาม ขอดูเหตุการณ์หากบินพบ "ทรัมป์" เองต้องขอศาลก่อนหรือไม่ https://www.thai-tai.tv/news/18365/
    0 Comments 0 Shares 35 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/Kow6s4PxfUs?si=V6b_xvW-QudOa1sM
    https://youtu.be/Kow6s4PxfUs?si=V6b_xvW-QudOa1sM
    0 Comments 0 Shares 19 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/aEzF95OBFiw?si=Ymm7iFB9cE6FiknH
    https://youtube.com/shorts/aEzF95OBFiw?si=Ymm7iFB9cE6FiknH
    0 Comments 0 Shares 19 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/kdRceqcPLpM?si=h7irVIr7ViUvCxv1
    https://youtu.be/kdRceqcPLpM?si=h7irVIr7ViUvCxv1
    0 Comments 0 Shares 25 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/O_NvTQzjIDI?si=ReRfUwarAVcVF5uK
    https://youtu.be/O_NvTQzjIDI?si=ReRfUwarAVcVF5uK
    0 Comments 0 Shares 18 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/qfDWuvtbGXk?si=MK9P0G8aHApYWysk
    https://youtube.com/shorts/qfDWuvtbGXk?si=MK9P0G8aHApYWysk
    0 Comments 0 Shares 23 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/AcnZVHYx6jY?si=VONXlFtlNTlwrdlW
    https://youtube.com/shorts/AcnZVHYx6jY?si=VONXlFtlNTlwrdlW
    0 Comments 0 Shares 20 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/G2PHINgiXjc?si=k-E-lwHV_ApWxXu_
    https://youtube.com/shorts/G2PHINgiXjc?si=k-E-lwHV_ApWxXu_
    0 Comments 0 Shares 19 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/j6SCfxVEO5Q?si=eTDVpBXpSqYnP_9P
    https://youtube.com/shorts/j6SCfxVEO5Q?si=eTDVpBXpSqYnP_9P
    0 Comments 0 Shares 16 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/9-WUA8_JDbg?si=JJlXLr1NTJRUcYiI
    https://youtube.com/shorts/9-WUA8_JDbg?si=JJlXLr1NTJRUcYiI
    0 Comments 0 Shares 20 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/bKd80YFV2ic?si=0DRixay7NwfRgfIM
    https://youtu.be/bKd80YFV2ic?si=0DRixay7NwfRgfIM
    0 Comments 0 Shares 20 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/Yi0J-Wn3sLU?si=sB4fEKwtB4kqyDGy
    https://youtube.com/shorts/Yi0J-Wn3sLU?si=sB4fEKwtB4kqyDGy
    0 Comments 0 Shares 20 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/FmpqwHgxQ_o?si=FksZF1wdN1rJVS65
    https://youtu.be/FmpqwHgxQ_o?si=FksZF1wdN1rJVS65
    0 Comments 0 Shares 17 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/-HNha7SQUCQ?si=xNkjB62zgotZ4zXj
    https://youtube.com/shorts/-HNha7SQUCQ?si=xNkjB62zgotZ4zXj
    0 Comments 0 Shares 18 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความลับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 193
    ชื่อบทธรรม :- ความลับของเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=193
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความลับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก #อัสสาทะ (รสอร่อย)
    http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=อสฺสาโท
    ของรูปก็ดี
    ของเวทนาก็ดี
    ของสัญญาก็ดี
    ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ
    ของวิญญาณก็ดี เหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้,
    สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่กำหนัดยินดีนัก
    ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ เหล่านี้.
    --ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ อัสสาทะ
    ของรูปก็ดี
    ของเวทนาก็ดี
    ของสัญญาก็ดี
    ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ
    ของวิญญาณก็ดี มีอยู่,
    สัตว์ทั้งหลาย จึงกำหนัดยินดีนัก
    ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ.

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก #อาทีนพ (โทษ)
    http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=อาทีนโว
    ของรูปก็ดี
    ของเวทนาก็ดี
    ของสัญญาก็ดี
    ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ
    ของวิญญาณก็ดี
    เหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้,
    สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่เบื่อหน่าย
    ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลายและในวิญญาณ เหล่านี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ อาทีนพ
    ของรูปก็ดี
    ของเวทนาก็ดี
    ของสัญญาก็ดี
    ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ
    ของวิญญาณก็ดี มีอยู่,
    สัตว์ทั้งหลาย จึงเบื่อหน่าย
    ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ.

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก #นิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้นไปได้)
    http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=นิสฺสรณํ
    จากรูปก็ดี
    จากเวทนาก็ดี
    จากสัญญาก็ดี
    จากสังขารทั้งหลายก็ดี และ
    จากวิญญาณก็ดีเหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้,
    สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่ออกไปพ้นได้
    จากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขารทั้งหลาย และจากวิญญาณ เหล่านี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ นิสสรณะ
    จากรูปก็ดี
    จากเวทนาก็ดี
    จากสัญญาก็ดี
    จากสังขารทั้งหลายก็ดี และ
    จากวิญญาณก็ดี มีอยู่,
    สัตว์ทั้งหลาย จึงออกไปพ้นได้
    จากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขารทั้งหลาย และจากวิญญาณ,
    ดังนี้ แล.-

    --ภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลาย ยังไม่รู้ยิ่งซึ่ง
    คุณโดยความเป็นคุณ
    โทษโดยความเป็นโทษ และ
    เครื่องสลัดออกโดยความเป็นเครื่องสลัดออก
    แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้
    ตามความเป็นจริง เพียงใด
    สัตว์ทั้งหลาย ก็ยังไม่เป็นผู้ออกไป พรากไป หลุดพ้นไป
    มีใจอันหาขอบเขตมิได้อยู่ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์
    พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เพียงนั้น.
    --ภิกษุทั้งหลาย เมื่อใด สัตว์ทั้งหลาย รู้ยิ่ง
    ซึ่งคุณโดยความเป็นคุณ
    ซึ่งโทษโดยความเป็นโทษ
    ซึ่งเครื่องสลัดออกโดยความเป็นเครื่องสลัดออก
    แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้
    ตามความเป็นจริง เมื่อนั้น
    สัตว์ทั้งหลายจึงเป็นผู้ออกไป พรากไป หลุดพ้นไป
    มีจิตอันหาขอบเขตมิได้อยู่ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์
    พร้อมทั้งสมณพราหมณ์เทวดาและมนุษย์.

    #ทุกขสมัทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/29/62-63.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/29/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๗/๖๒-๖๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92
    http://etipitaka.com/read/pali/17/38/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=193
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=193
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความลับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 193 ชื่อบทธรรม :- ความลับของเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=193 เนื้อความทั้งหมด :- --ความลับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก #อัสสาทะ (รสอร่อย) http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=อสฺสาโท ของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ ของวิญญาณก็ดี เหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้, สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่กำหนัดยินดีนัก ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ เหล่านี้. --ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ อัสสาทะ ของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ ของวิญญาณก็ดี มีอยู่, สัตว์ทั้งหลาย จึงกำหนัดยินดีนัก ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก #อาทีนพ (โทษ) http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=อาทีนโว ของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ ของวิญญาณก็ดี เหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้, สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่เบื่อหน่าย ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลายและในวิญญาณ เหล่านี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ อาทีนพ ของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และ ของวิญญาณก็ดี มีอยู่, สัตว์ทั้งหลาย จึงเบื่อหน่าย ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก #นิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้นไปได้) http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=นิสฺสรณํ จากรูปก็ดี จากเวทนาก็ดี จากสัญญาก็ดี จากสังขารทั้งหลายก็ดี และ จากวิญญาณก็ดีเหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้, สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่ออกไปพ้นได้ จากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขารทั้งหลาย และจากวิญญาณ เหล่านี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ นิสสรณะ จากรูปก็ดี จากเวทนาก็ดี จากสัญญาก็ดี จากสังขารทั้งหลายก็ดี และ จากวิญญาณก็ดี มีอยู่, สัตว์ทั้งหลาย จึงออกไปพ้นได้ จากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขารทั้งหลาย และจากวิญญาณ, ดังนี้ แล.- --ภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลาย ยังไม่รู้ยิ่งซึ่ง คุณโดยความเป็นคุณ โทษโดยความเป็นโทษ และ เครื่องสลัดออกโดยความเป็นเครื่องสลัดออก แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ตามความเป็นจริง เพียงใด สัตว์ทั้งหลาย ก็ยังไม่เป็นผู้ออกไป พรากไป หลุดพ้นไป มีใจอันหาขอบเขตมิได้อยู่ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เพียงนั้น. --ภิกษุทั้งหลาย เมื่อใด สัตว์ทั้งหลาย รู้ยิ่ง ซึ่งคุณโดยความเป็นคุณ ซึ่งโทษโดยความเป็นโทษ ซึ่งเครื่องสลัดออกโดยความเป็นเครื่องสลัดออก แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ตามความเป็นจริง เมื่อนั้น สัตว์ทั้งหลายจึงเป็นผู้ออกไป พรากไป หลุดพ้นไป มีจิตอันหาขอบเขตมิได้อยู่ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์เทวดาและมนุษย์. #ทุกขสมัทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/29/62-63. http://etipitaka.com/read/thai/17/29/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๗/๖๒-๖๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/37/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92 http://etipitaka.com/read/pali/17/38/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=193 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=193 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นทรงแสดง สัญโญชนิยธรรม ด้วยอายตนะภายในหก (๑๘/๑๑๐/๑๕๙) และอายตนะภายนอกหก (๑๘/๑๓๕/๑๘๙).
    -(ในสูตรอื่นทรงแสดง สัญโญชนิยธรรม ด้วยอายตนะภายในหก (๑๘/๑๑๐/๑๕๙) และอายตนะภายนอกหก (๑๘/๑๓๕/๑๘๙). ความลับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! ถ้าหากอัสสาทะ (รสอร่อย) ของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และของวิญญาณก็ดี เหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่ แล้วไซร้, สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่กำหนัดยินดีนักในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ เหล่านี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่อัสสาทะของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และของวิญญาณก็ดี มีอยู่, สัตว์ทั้งหลาย จึงกำหนัดยินดีนัก ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก อาทีนพ (โทษ) ของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และของวิญญาณก็ดี เหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้, สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่เบื่อหน่าย ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลายและในวิญญาณ เหล่านี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่อาทีนพของรูปก็ดี ของเวทนาก็ดี ของสัญญาก็ดี ของสังขารทั้งหลายก็ดี และของวิญญาณก็ดี มีอยู่, สัตว์ทั้งหลาย จึงเบื่อหน่ายในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ถ้าหาก นิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้นไปได้) จากรูปก็ดีจากเวทนาก็ดี จากสัญญาก็ดี จากสังขารทั้งหลายก็ดี และจากวิญญาณก็ดีเหล่านี้ จักไม่ได้มีอยู่แล้วไซร้, สัตว์ทั้งหลาย ก็จะไม่ออกไปพ้นได้จากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขารทั้งหลาย และจากวิญญาณ เหล่านี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ นิสสรณะจากรูปก็ดี จากเวทนาก็ดี จากสัญญาก็ดี จากสังขารทั้งหลายก็ดี และจากวิญญาณก็ดี มีอยู่, สัตว์ทั้งหลาย จึงออกไปพ้นได้จากรูป จากเวทนา จากสัญญา จากสังขารทั้งหลาย และจากวิญญาณ, ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 35 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้
    สัทธรรมลำดับที่ : 605
    ชื่อบทธรรม :- ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=605
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้
    --ภิกษุ ท. ! ความบากบั่น ความพากเพียร จะมีผลขึ้นมาได้อย่างไร ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
    ย่อม ไม่นำความทุกข์มาทับถมตน ซึ่งไม่มีทุกข์ทับถม
    ไม่ต้องสละความสุขอันประกอบด้วยธรรมที่มีอยู่ด้วย และ
    ก็ไม่มัวเมาอยู่ในความสุขนั้น ด้วย.
    +--ภิกษุนั้นรู้ชัดอยู่อย่างนี้ว่า
    “เมื่อเรากำลังตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์อยู่เป็นอารมณ์
    วิราคะก็เกิดมีได้จากการตั้งไว้ ซึ่งความปรุงแต่งนั้นเป็นเหตุ ;
    และเมื่อเราเข้าไปเพ่งอยู่ซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์นั้น ทำความเพ่งให้เจริญยิ่งอยู่
    วิราคะก็เกิดมีได้” ดังนี้.
    +--ภิกษุนั้น เมื่อตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์ใดเป็นอารมณ์อยู่
    วิราคะย่อมมีขึ้นได้เพราะการตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งนั้นเป็นเหตุ ดังนี้แล้ว
    เธอก็ตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งในเหตุแห่งทุกข์นั้นเป็นอารมณ์ (ยิ่งขึ้นไป) ;
    +--และเมื่อเธอเข้าไปเพ่งซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์ใด ทำความเพ่งให้เจริญยิ่งอยู่
    วิราคะย่อมมีขึ้นได้ ดังนี้แล้ว เธอก็เจริญความเพ่งในเหตุแห่งทุกข์ นั้น (ยิ่งขึ้นไป).
    เมื่อเธอตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์นั้นๆ เป็นอารมณ์อยู่
    วิราคะก็มีขึ้นเพราะการตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่นั้นเป็นเหตุ ;
    เมื่อเป็นดังนี้ ความทุกข์นั้นของเธอ ก็สูญสิ้นไป ;
    เมื่อเธอเข้าไปเพ่งอยู่ซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์นั้น ๆ ทำความเพ่งให้เจริญยิ่ง อยู่
    วิราคะก็มีขึ้น เมื่อเป็นดังนี้ ความทุกข์นั้นของเธอ ก็สูญสิ้นไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/13/?keywords=วิราโค

    (นี้คืออาการที่ความบากบั่น ความพากเพียร เกิดมีผล).

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษมีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์
    http://etipitaka.com/read/pali/14/14/?keywords=ปฏิพทฺธจิตฺโต
    พอใจมุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงคนหนึ่ง,
    เขาเห็นหญิงนั้นยืนอยู่ พูดอยู่ ระริกซิกซี้อยู่กับบุรุษอื่น.
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส จะพึงเกิดขึ้นแก่เขาใช่ไหม ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    เพราะว่าบุรุษ นั้นมีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ พอใจ
    มุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงคนนั้นพระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ต่อมาบุรุษคนนั้นคิดว่า
    “โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส เกิดขึ้นแก่เรา
    เพราะเรามีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ พอใจ
    มุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงนั้น ;
    ถ้ากระไร เราจะละฉันทราคะในหญิงนั้นเสีย” ดังนี้ ;
    แล้วเขาก็ละเสีย,
    ต่อมาเขาก็เห็นหญิงคนนั้น ยืนอยู่ พูดอยู่ ระริกซิกซี้อยู่กับบุรุษอื่น.
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส จะเกิดขึ้นแก่เขาอีกหรือไม่หนอ ?
    “หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่าบุรุษนั้นไม่มีราคะในหญิงนั้นเสียแล้ว”.
    --ภิกษุ ท. ! ความบากบั่น ความพากเพียร จะมีผลขึ้นมาได้
    แม้ด้วยอาการอย่างนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/11/12-13.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๓/๑๒-๑๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=605
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=605
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้ สัทธรรมลำดับที่ : 605 ชื่อบทธรรม :- ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=605 เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้ --ภิกษุ ท. ! ความบากบั่น ความพากเพียร จะมีผลขึ้นมาได้อย่างไร ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อม ไม่นำความทุกข์มาทับถมตน ซึ่งไม่มีทุกข์ทับถม ไม่ต้องสละความสุขอันประกอบด้วยธรรมที่มีอยู่ด้วย และ ก็ไม่มัวเมาอยู่ในความสุขนั้น ด้วย. +--ภิกษุนั้นรู้ชัดอยู่อย่างนี้ว่า “เมื่อเรากำลังตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์อยู่เป็นอารมณ์ วิราคะก็เกิดมีได้จากการตั้งไว้ ซึ่งความปรุงแต่งนั้นเป็นเหตุ ; และเมื่อเราเข้าไปเพ่งอยู่ซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์นั้น ทำความเพ่งให้เจริญยิ่งอยู่ วิราคะก็เกิดมีได้” ดังนี้. +--ภิกษุนั้น เมื่อตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์ใดเป็นอารมณ์อยู่ วิราคะย่อมมีขึ้นได้เพราะการตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งนั้นเป็นเหตุ ดังนี้แล้ว เธอก็ตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งในเหตุแห่งทุกข์นั้นเป็นอารมณ์ (ยิ่งขึ้นไป) ; +--และเมื่อเธอเข้าไปเพ่งซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์ใด ทำความเพ่งให้เจริญยิ่งอยู่ วิราคะย่อมมีขึ้นได้ ดังนี้แล้ว เธอก็เจริญความเพ่งในเหตุแห่งทุกข์ นั้น (ยิ่งขึ้นไป). เมื่อเธอตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์นั้นๆ เป็นอารมณ์อยู่ วิราคะก็มีขึ้นเพราะการตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่นั้นเป็นเหตุ ; เมื่อเป็นดังนี้ ความทุกข์นั้นของเธอ ก็สูญสิ้นไป ; เมื่อเธอเข้าไปเพ่งอยู่ซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์นั้น ๆ ทำความเพ่งให้เจริญยิ่ง อยู่ วิราคะก็มีขึ้น เมื่อเป็นดังนี้ ความทุกข์นั้นของเธอ ก็สูญสิ้นไป. http://etipitaka.com/read/pali/14/13/?keywords=วิราโค (นี้คืออาการที่ความบากบั่น ความพากเพียร เกิดมีผล). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษมีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ http://etipitaka.com/read/pali/14/14/?keywords=ปฏิพทฺธจิตฺโต พอใจมุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงคนหนึ่ง, เขาเห็นหญิงนั้นยืนอยู่ พูดอยู่ ระริกซิกซี้อยู่กับบุรุษอื่น. โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส จะพึงเกิดขึ้นแก่เขาใช่ไหม ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะว่าบุรุษ นั้นมีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ พอใจ มุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงคนนั้นพระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ต่อมาบุรุษคนนั้นคิดว่า “โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส เกิดขึ้นแก่เรา เพราะเรามีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ พอใจ มุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงนั้น ; ถ้ากระไร เราจะละฉันทราคะในหญิงนั้นเสีย” ดังนี้ ; แล้วเขาก็ละเสีย, ต่อมาเขาก็เห็นหญิงคนนั้น ยืนอยู่ พูดอยู่ ระริกซิกซี้อยู่กับบุรุษอื่น. โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส จะเกิดขึ้นแก่เขาอีกหรือไม่หนอ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่าบุรุษนั้นไม่มีราคะในหญิงนั้นเสียแล้ว”. --ภิกษุ ท. ! ความบากบั่น ความพากเพียร จะมีผลขึ้นมาได้ แม้ด้วยอาการอย่างนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/11/12-13. http://etipitaka.com/read/thai/14/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๓/๑๒-๑๓. http://etipitaka.com/read/pali/14/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=605 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=605 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้
    -ผู้อยู่อย่างคนมีความสุขก็ทำวิราคะให้ปรากฏได้ ภิกษุ ท. ! ความบากบั่น ความพากเพียร จะมีผลขึ้นมาได้อย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อม ไม่นำความทุกข์มาทับถมตน ซึ่งไม่มีทุกข์ทับถม ไม่ต้องสละความสุขอันประกอบด้วยธรรมที่มีอยู่ด้วย และก็ไม่มัวเมาอยู่ในความสุขนั้น ด้วย. ภิกษุนั้นรู้ชัดอยู่อย่างนี้ว่า “เมื่อเรากำลังตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์อยู่เป็นอารมณ์ วิราคะก็เกิดมีได้จากการตั้งไว้ ซึ่งความปรุงแต่งนั้นเป็นเหตุ ; และเมื่อเราเข้าไปเพ่งอยู่ซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์นั้น ทำความเพ่งให้เจริญยิ่งอยู่ วิราคะก็เกิดมีได้” ดังนี้. ภิกษุนั้น เมื่อตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์ใดเป็นอารมณ์อยู่ วิราคะย่อมมีขึ้นได้เพราะการตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งนั้นเป็นเหตุ ดังนี้แล้ว เธอก็ตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งในเหตุแห่งทุกข์นั้นเป็นอารมณ์ (ยิ่งขึ้นไป) ; และเมื่อเธอเข้าไปเพ่งซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์ใด ทำความเพ่งให้เจริญยิ่งอยู่ วิราคะย่อมมีขึ้นได้ ดังนี้แล้ว เธอก็เจริญความเพ่งในเหตุแห่งทุกข์ นั้น (ยิ่งขึ้นไป). เมื่อเธอตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่งเหตุแห่งทุกข์นั้นๆ เป็นอารมณ์อยู่ วิราคะก็มีขึ้นเพราะการตั้งไว้ซึ่งการปรุงแต่นั้นเป็นเหตุ ; เมื่อเป็นดังนี้ ความทุกข์นั้นของเธอ ก็สูญสิ้นไป ; เมื่อเธอเข้าไปเพ่งอยู่ซึ่งตัวเหตุแห่งทุกข์นั้น ๆ ทำความเพ่งให้เจริญยิ่ง อยู่ วิราคะก็มีขึ้น เมื่อเป็นดังนี้ ความทุกข์นั้นของเธอ ก็สูญสิ้นไป. (นี้คืออาการที่ความบากบั่น ความพากเพียร เกิดมีผล). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษมีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ พอใจมุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงคนหนึ่ง, เขาเห็นหญิงนั้นยืนอยู่ พูดอยู่ ระริกซิกซี้อยู่กับบุรุษอื่น. โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส จะพึงเกิดขึ้นแก่เขาใช่ไหม ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะว่าบุรุษ นั้นมีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ พอใจมุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงคนนั้นพระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ต่อมาบุรุษคนนั้นคิดว่า “โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส เกิดขึ้นแก่เรา เพราะเรามีจิตกำหนัดปฏิพัทธ์ พอใจ มุ่งหมายอย่างแรงกล้าในหญิงนั้น ; ถ้ากระไร เราจะละฉันทราคะในหญิงนั้นเสีย” ดังนี้ ; แล้วเขาก็ละเสีย, ต่อมาเขาก็เห็นหญิงคนนั้น ยืนอยู่ พูดอยู่ ระริกซิกซี้อยู่กับบุรุษอื่น. โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส จะเกิดขึ้นแก่เขาอีกหรือไม่หนอ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่าบุรุษนั้นไม่มีราคะในหญิงนั้นเสียแล้ว”. .... ภิกษุ ท. ! ความบากบั่น ความพากเพียร จะมีผลขึ้นมาได้ แม้ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 44 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ลักษณะแห่งสิกขาสามอันได้แก่สีลขันธ์ สมาธิขันธ์และปัญญาขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 973
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งสิกขาสามโดยละเอียด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=973
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งสิกขาสามโดยละเอียด

    ๑. สีลขันธ์ โดยละเอียด
    --“ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! #อริยสีลขันธ์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า
    http://etipitaka.com/read/pali/9/252/?keywords=อริโย+สีลกฺขนฺโธ
    ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้
    ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?”
    --มาณพ !
    ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบเอง
    สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก
    เป็นสารถีผึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า
    เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์.
    ตถาคตนั้นทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์
    พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว
    สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม.
    ตถาคตนั้น แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด,
    ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง.
    +--คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี
    ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต.
    เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธรย่อมพิจารณาเห็น ว่า
    “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาส (คือที่โปร่งโล่ง) อันยิ่ง;
    การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียว
    เหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย.
    ถ้ากระไรเราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ
    ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”,
    ดังนี้.
    +--โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่
    และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ปลงผมและหนวด
    ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว.
    +--กุลบุตรนั้น ครั้นบวชแล้วอย่างนี้
    เป็นผู้สำรวมแล้วด้วยการสำรวมในปาติโมกข์อยู่
    ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย
    ประกอบด้วย กายกรรม วจีกรรมอันเป็นกุศล มีอาชีวะบริสุทธิ์ &​ถึงพร้อมด้วยศีล
    ....
    --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า ?
    --มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศัสตราเสียแล้ว
    มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลในบรรดาสัตว์ทั้งหลายอยู่
    ....ฯลฯ ....
    (ข้อความต่อจากที่กล่าวนี้ ตั้งแต่ คำว่า
    เป็นผู้ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน
    .... ไปจนถึงคำว่า
    .... (จบอริยสีลขันธ์)
    ....
    ).

    ๒. สมาธิขันธ์ โดยละเอียด
    --“ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! #อริยสมาธิขันธ์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า
    http://etipitaka.com/read/pali/9/255/?keywords=อริโย+สมาธิกฺขนฺโธ
    ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนให้สมาทาน
    ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?”
    (บุรพภาคแห่งการเจริญสมาธิ)
    --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวบถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว)
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วนๆ ;
    อกุศลธรรมอันลามกคืออภิชฌาและโทมนัส
    จะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด,
    เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษาอินทรีย์คือตา
    ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา.
    +--(ในกรณีแห่ง
    อินทรีย์คือหู
    อินทรีย์คือจมูก
    อินทรีย์คือลิ้น
    อินทรีย์คือกาย และ
    อินทรีย์คือ ใจ
    ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    ....
    --มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้ว ในอินทรีย์ทั้งหลาย ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบ
    ในการก้าวไปข้างหน้า การถอยกลับไปข้างหลัง,
    การแลดู การเหลียวดู,
    การคู้ การเหยียด,
    การทรงสังฆาฏิ บาตร จีวร,
    การฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม,
    การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ,
    เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบในการไป การหยุด,
    การนั่ง การนอน , การหลับ การตื่น, การพูด การนิ่ง.
    ....
    +--มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้สันโดษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้สันโดษ (ยินดีตามที่มีอยู่)
    ด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย สันโดษด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง
    ภิกษุนั้น จะหลีกไปโดยทิศใดๆ ย่อม ถือเอาบาตรและจีวรนั้นหลักไปได้ โดยทิศนั้นๆ.
    +--มาณพ ! เปรียบเสมือนนกมีปีก จะบินไปโดยทิศใดๆ มีปีกอย่างเดียวเป็นภาระบินไป ฉันใด; ภิกษุก็ฉันนั้น
    : เป็นผู้สันโดษด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย ด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง
    ถือเอาแล้วหลีกไปโดยทิศใดๆ ได้.
    ....
    +--มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้สันโดษ(สันตุฏฐิ)​ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    (การเจริญสมาธิ)
    --ภิกษุนั้น
    ประกอบด้วยอริยสีสขันธ์ (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) นี้ด้วย
    ประกอบด้วยอริยอินทรีย์นี้ด้วย
    ประกอบด้วยอริยสติสัมปชัญญะนี้ด้วย
    ประกอบด้วยอริยสันตุฏฐินี้ด้วย แล้ว,
    เธอเสพเสนาสนะอันสงัด คือ
    ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง),
    ในเวลาภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว
    เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า
    ....ฯลฯ....
    (ข้อความตอนต่อจากนี้ ดูได้ที่ภาคผนวก ตั้งแต่คำว่า ละอภิชฌาโลภะแล้ว
    มีจิตปราศจากอภิชฌาอยู่ .... ไปถึงคำว่า ....
    (จบอริยสมาธิขันธ์)
    ...
    )​ .

    ๓. ปัญญาขันธ์ โดยละเอียด
    --“ท่านอานนท์ผู้เจริญ! #อริยปัญญาขันธ์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า
    http://etipitaka.com/read/pali/9/263/?keywords=อริโย+ปญฺญากฺขนฺโธ
    ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ให้สมาทาน
    ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?”
    --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่อย่างไม่หวั่นไหวเช่นนี้แล้ว
    เธอชักนำจิตไปเพื่อญาณทัสสนะ.
    เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้ มีรูป ประกอบอยู่ด้วยมหาภูตทั้งสี่
    มีมารดาบิดาเป็นแดนเกิด เจริญขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด
    ต้องห่อหุ้มนวดฟั้นอยู่เนืองนิจ แต่ก็ยังมีการแตกทำลายสึกกร่อนเป็นธรรมดา,
    แต่วิญญาณของเรานี้ อาศัยอยู่ในกายนั้น เนื่องอยู่ในกายนั้น;
    (เธอรู้เห็นอย่างชัดเจน) เปรียบเหมือนมณีไพฑูรย์อันสวยงาม สมชาติแก้ว
    แปดเหลี่ยม เจียระไนดีแล้ว สดใส ผ่องใส ถึงพร้อมด้วยคุณค่าทั้งปวง,
    ในแก้วนั้นมีด้ายร้อยอยู่ สีเขียวบ้าง สีเหลืองบ้าง สีแดงบ้าง สีขาวบ้าง สีส้มบ้าง,
    บุรุษผู้มีตาดี วางแก้วนั้นลงในมือแล้ว ก็จะเห็นโดยประจักษ์ว่า มณีไพฑูรย์นี้
    เป็นของสวยงาม สมชาติแก้ว แปดเหลี่ยม เจียระไนดีแล้ว
    สดใส ผ่องใส ถึงพร้อมด้วยคุณค่าทั้งปวง.
    ในแก้วนี้มีด้ายร้อยอยู่ สีเขียวบ้าง สีเหลืองบ้าง สีแดงบ้าง สีขาวบ้าง สีส้มบ้าง, ฉันนั้นเหมือนกัน.
    แม้นี้ ก็เป็นปัญญาของเธอประการหนึ่ง.
    ....ฯลฯ....
    (ข้อความตอนต่อจากนี้ไป ตั้งแต่คำว่า
    ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่อย่างไม่หวั่นไหวเช่นนี้แล้ว
    เธอชักนำจิตไปเพื่อการนิรมิตกายอันสำเร็จด้วยใจ.
    เธอถอดกายอื่นออกจากกายนี้
    .... ไปจนถึงคำว่า
    .... (จบอริยปัญญาขันธ์)
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/284 - 304/318 - 337.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/284/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๕๒ - ๒๗๒/๓๑๘ - ๓๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/252/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=973
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=973
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ลักษณะแห่งสิกขาสามอันได้แก่สีลขันธ์ สมาธิขันธ์และปัญญาขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 973 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งสิกขาสามโดยละเอียด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=973 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งสิกขาสามโดยละเอียด ๑. สีลขันธ์ โดยละเอียด --“ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! #อริยสีลขันธ์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า http://etipitaka.com/read/pali/9/252/?keywords=อริโย+สีลกฺขนฺโธ ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” --มาณพ ! ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบเอง สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์. ตถาคตนั้นทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ตถาคตนั้น แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด, ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง. +--คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธรย่อมพิจารณาเห็น ว่า “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาส (คือที่โปร่งโล่ง) อันยิ่ง; การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียว เหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย. ถ้ากระไรเราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้. +--โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว. +--กุลบุตรนั้น ครั้นบวชแล้วอย่างนี้ เป็นผู้สำรวมแล้วด้วยการสำรวมในปาติโมกข์อยู่ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ประกอบด้วย กายกรรม วจีกรรมอันเป็นกุศล มีอาชีวะบริสุทธิ์ &​ถึงพร้อมด้วยศีล .... --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า ? --มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศัสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลในบรรดาสัตว์ทั้งหลายอยู่ ....ฯลฯ .... (ข้อความต่อจากที่กล่าวนี้ ตั้งแต่ คำว่า เป็นผู้ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน .... ไปจนถึงคำว่า .... (จบอริยสีลขันธ์) .... ). ๒. สมาธิขันธ์ โดยละเอียด --“ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! #อริยสมาธิขันธ์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า http://etipitaka.com/read/pali/9/255/?keywords=อริโย+สมาธิกฺขนฺโธ ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” (บุรพภาคแห่งการเจริญสมาธิ) --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? +--มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวบถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วนๆ ; อกุศลธรรมอันลามกคืออภิชฌาและโทมนัส จะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด, เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษาอินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. +--(ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู อินทรีย์คือจมูก อินทรีย์คือลิ้น อินทรีย์คือกาย และ อินทรีย์คือ ใจ ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). .... --มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้ว ในอินทรีย์ทั้งหลาย ด้วยอาการอย่างนี้แล. --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นอย่างไรเล่า ? +--มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบ ในการก้าวไปข้างหน้า การถอยกลับไปข้างหลัง, การแลดู การเหลียวดู, การคู้ การเหยียด, การทรงสังฆาฏิ บาตร จีวร, การฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม, การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ, เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบในการไป การหยุด, การนั่ง การนอน , การหลับ การตื่น, การพูด การนิ่ง. .... +--มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ ด้วยอาการอย่างนี้ แล. --มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้สันโดษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้สันโดษ (ยินดีตามที่มีอยู่) ด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย สันโดษด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง ภิกษุนั้น จะหลีกไปโดยทิศใดๆ ย่อม ถือเอาบาตรและจีวรนั้นหลักไปได้ โดยทิศนั้นๆ. +--มาณพ ! เปรียบเสมือนนกมีปีก จะบินไปโดยทิศใดๆ มีปีกอย่างเดียวเป็นภาระบินไป ฉันใด; ภิกษุก็ฉันนั้น : เป็นผู้สันโดษด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย ด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง ถือเอาแล้วหลีกไปโดยทิศใดๆ ได้. .... +--มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้สันโดษ(สันตุฏฐิ)​ด้วยอาการอย่างนี้แล. (การเจริญสมาธิ) --ภิกษุนั้น ประกอบด้วยอริยสีสขันธ์ (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) นี้ด้วย ประกอบด้วยอริยอินทรีย์นี้ด้วย ประกอบด้วยอริยสติสัมปชัญญะนี้ด้วย ประกอบด้วยอริยสันตุฏฐินี้ด้วย แล้ว, เธอเสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง), ในเวลาภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า ....ฯลฯ.... (ข้อความตอนต่อจากนี้ ดูได้ที่ภาคผนวก ตั้งแต่คำว่า ละอภิชฌาโลภะแล้ว มีจิตปราศจากอภิชฌาอยู่ .... ไปถึงคำว่า .... (จบอริยสมาธิขันธ์) ... )​ . ๓. ปัญญาขันธ์ โดยละเอียด --“ท่านอานนท์ผู้เจริญ! #อริยปัญญาขันธ์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า http://etipitaka.com/read/pali/9/263/?keywords=อริโย+ปญฺญากฺขนฺโธ ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่อย่างไม่หวั่นไหวเช่นนี้แล้ว เธอชักนำจิตไปเพื่อญาณทัสสนะ. เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้ มีรูป ประกอบอยู่ด้วยมหาภูตทั้งสี่ มีมารดาบิดาเป็นแดนเกิด เจริญขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด ต้องห่อหุ้มนวดฟั้นอยู่เนืองนิจ แต่ก็ยังมีการแตกทำลายสึกกร่อนเป็นธรรมดา, แต่วิญญาณของเรานี้ อาศัยอยู่ในกายนั้น เนื่องอยู่ในกายนั้น; (เธอรู้เห็นอย่างชัดเจน) เปรียบเหมือนมณีไพฑูรย์อันสวยงาม สมชาติแก้ว แปดเหลี่ยม เจียระไนดีแล้ว สดใส ผ่องใส ถึงพร้อมด้วยคุณค่าทั้งปวง, ในแก้วนั้นมีด้ายร้อยอยู่ สีเขียวบ้าง สีเหลืองบ้าง สีแดงบ้าง สีขาวบ้าง สีส้มบ้าง, บุรุษผู้มีตาดี วางแก้วนั้นลงในมือแล้ว ก็จะเห็นโดยประจักษ์ว่า มณีไพฑูรย์นี้ เป็นของสวยงาม สมชาติแก้ว แปดเหลี่ยม เจียระไนดีแล้ว สดใส ผ่องใส ถึงพร้อมด้วยคุณค่าทั้งปวง. ในแก้วนี้มีด้ายร้อยอยู่ สีเขียวบ้าง สีเหลืองบ้าง สีแดงบ้าง สีขาวบ้าง สีส้มบ้าง, ฉันนั้นเหมือนกัน. แม้นี้ ก็เป็นปัญญาของเธอประการหนึ่ง. ....ฯลฯ.... (ข้อความตอนต่อจากนี้ไป ตั้งแต่คำว่า ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่อย่างไม่หวั่นไหวเช่นนี้แล้ว เธอชักนำจิตไปเพื่อการนิรมิตกายอันสำเร็จด้วยใจ. เธอถอดกายอื่นออกจากกายนี้ .... ไปจนถึงคำว่า .... (จบอริยปัญญาขันธ์) ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/284 - 304/318 - 337. http://etipitaka.com/read/thai/9/284/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๕๒ - ๒๗๒/๓๑๘ - ๓๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/9/252/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=973 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=973 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งสิกขาสามโดยละเอียด
    -(ข้อความข้างบนนี้ เป็นคำของธัมมทินนาเถรี กล่าวตอบแก่วิสาขอุบาสก ครั้นอุบาสกนำข้อความนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า “วิสาขะ ! ธัมมทินนาภิกษุณีเป็นบัณฑิต มีปัญญามาก; ถ้าเธอถามข้อความนั้นกะเรา เราก็จะพยากรณ์กะเธอเช่นเดียวกับที่ธัมมทินนาภิกษุณีพยากรณ์แล้วแก่เธอ เธอจงทรงจำเนื้อความนั้นไว้.” ดังนั้นเป็นอันว่า ข้อความของธรรมทินนาเถรีมีค่าเท่ากับพระพุทธภาษิต จึงนำมาใส่ไว้ในหนังสือนี้ ในลักษณะเช่นนี้). ลักษณะแห่งสิกขาสามโดยละเอียด ๑. สีลขันธ์ โดยละเอียด “ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! อริยสีลขันธ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” มาณพ ! ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบเองสมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์. ตถาคตนั้นทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ตถาคตนั้น แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด, ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง. คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธรย่อมพิจารณาเห็น ว่า “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาส (คือที่โปร่งโล่ง) อันยิ่ง; การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียวเหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย. ถ้ากระไรเราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้. โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว. กุลบุตรนั้น ครั้นบวชแล้วอย่างนี้ เป็นผู้สำรวมแล้วด้วยการสำรวมในปาติโมกข์อยู่ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้ง หลายแม้มีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ประกอบด้วยกายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล มีอาชีวะบริสุทธิ์ ถึงพร้อมด้วยศีล .... มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศัสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลในบรรดาสัตว์ทั้งหลายอยู่ ....ฯลฯ .... (ข้อความต่อไปนี้ ดูได้ที่ภาคผนวกแห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หน้า ๑๕๔๑ ตั้งแต่ คำว่า เป็นผู้ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน ... ไปจนถึงคำว่า .... (จบอริยสีลขันธ์) .... ที่หน้า ๑๕๕๑). ๒. สมาธิขันธ์ โดยละเอียด “ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! อริยสมาธิขันธ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” (บุรพภาคแห่งการเจริญสมาธิ) มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวบถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วนๆ ; อกุศลธรรมอันลามกคืออภิชฌาและโทมนัส จะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด, เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษาอินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่งอินทรีย์คือหู อินทรีย์คือจมูก อินทรีย์คือลิ้น อินทรีย์คือกาย และอินทรีย์คือ ใจ ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). .... มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้ว ในอินทรีย์ทั้งหลาย ด้วยอาการอย่างนี้แล. มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบในการก้าวไปข้างหน้า การถอยกลับไปข้างหลัง, การแลดู การเหลียวดู, การคู้ การเหยียด, การทรงสังฆาฏิ บาตร จีวร, การฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม, การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ, เป็นผู้กระทำความรู้ตัวรอบคอบในการไป การหยุด, การนั่ง การนอน , การหลับ การตื่น, การพูด การนิ่ง. .... มาณพ ! ภิกษุเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ ด้วยอาการอย่างนี้ แล. มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้สันโดษ เป็นอย่างไรเล่า ? มาณพ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้สันโดษ (ยินดีตามที่มีอยู่) ด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย สันโดษด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง ภิกษุนั้น จะหลีกไปโดยทิศใดๆ ย่อม ถือเอาบาตรและจีวรนั้นหลักไปได้ โดยทิศนั้นๆ. มาณพ ! เปรียบเสมือนนกมีปีก จะบินไปโดยทิศใดๆ มีปีกอย่างเดียวเป็นภาระบินไป ฉันใด; ภิกษุก็ฉันนั้น : เป็นผู้สันโดษด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย ด้วยบิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง ถือเอาแล้วหลีกไปโดยทิศใดๆ ได้. .... มาณพ ! ภิกษุ เป็นผู้สันโดษ ด้วยอาการอย่างนี้แล. (การเจริญสมาธิ) ภิกษุนั้น ประกอบด้วยอริยสีสขันธ์ (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) นี้ด้วย ประกอบด้วยอริยอินทรีย์นี้ด้วย ประกอบด้วยอริยสติสัมปชัญญะนี้ด้วย ประกอบด้วยอริยสันตุฏฐินี้ด้วย แล้ว, เธอเสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง), ในเวลาภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า ....ฯลฯ.... (ข้อความตอนต่อจากนี้ ดูได้ที่ภาคผนวกหน้า ๑๕๕๓ แห่งหนังสือเล่มนี้ ตั้งแต่คำว่า ละอภิชฌาโลภะแล้ว มีจิตปราศจากอภิชฌาอยู่ .... ไปถึงคำว่า .... (จบอริยสมาธิขันธ์) .... ที่หน้า ๑๕๕๘). ๓. ปัญญาขันธ์ โดยละเอียด “ท่านอานนท์ผู้เจริญ! อริยปัญญาขันธ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ที่พระสมณโคดมทรงสรรเสริญ และทรงชักชวนมหาชนนี้ให้สมาทาน ให้เข้าไปอยู่ ให้ตั้งไว้เฉพาะ ?” ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่อย่างไม่หวั่นไหวเช่นนี้แล้ว เธอชักนำจิตไปเพื่อญาณทัสสนะ. เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้ มีรูป ประกอบอยู่ด้วยมหาภูตทั้งสี่ มีมารดาบิดาเป็นแดนเกิด เจริญขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด ต้องห่อหุ้มนวดฟั้นอยู่เนืองนิจ แต่ก็ยังมีการแตกทำลายสึกกร่อนเป็นธรรมดา, แต่วิญญาณของเรานี้ อาศัยอยู่ในกายนั้น เนื่องอยู่ในกายนั้น; (เธอรู้เห็นอย่างชัดเจน) เปรียบเหมือนมณีไพฑูรย์อันสวยงาม สมชาติแก้ว แปดเหลี่ยม เจียระไนดีแล้ว สดใส ผ่องใส ถึงพร้อมด้วยคุณค่าทั้งปวง, ในแก้วนั้นมีด้ายร้อยอยู่ สีเขียวบ้าง สีเหลืองบ้าง สีแดงบ้าง สีขาวบ้าง สีส้มบ้าง, บุรุษ ผู้มีตาดี วางแก้วนั้นลงในมือแล้ว ก็จะเห็นโดยประจักษ์ว่า มณีไพฑูรย์นี้ เป็นของสวยงาม สมชาติแก้ว แปดเหลี่ยม เจียระไนดีแล้ว สดใส ผ่องใส ถึงพร้อมด้วยคุณค่าทั้งปวง. ในแก้วนี้มีด้ายร้อยอยู่ สีเขียวบ้าง สีเหลืองบ้าง สีแดงบ้าง สีขาวบ้าง สีส้มบ้าง, ฉันนั้นเหมือนกัน. แม้นี้ ก็เป็นปัญญาของเธอประการหนึ่ง. ....ฯลฯ.... (ข้อความตอนต่อจากนี้ไป ดูได้ที่ภาคผนวกแห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หน้า ๑๕๕๙ ตั้งแต่คำว่า ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่อย่างไม่หวั่นไหวเช่นนี้แล้ว เธอชักนำจิตไปเพื่อการนิรมิตกายอันสำเร็จด้วยใจ. เธอถอดกายอื่นออกจากกายนี้ .... ไปจนถึงคำว่า .... (จบอริยปัญญาขันธ์)., ที่หน้า ๑๕๖๔).
    0 Comments 0 Shares 57 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 17 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 19 Views 0 Reviews
  • https://www.facebook.com/share/16ESweLwU2/
    https://www.facebook.com/share/16ESweLwU2/
    0 Comments 0 Shares 18 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 25 Views 0 0 Reviews
  • พูดวันนี้ก่อนที่จะสายเกินไป...
    Cr.Wiwan Boonya
    พูดวันนี้ก่อนที่จะสายเกินไป... Cr.Wiwan Boonya
    0 Comments 0 Shares 14 Views 0 Reviews
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันจันทร์ที่ 28 เดือนเมษายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันจันทร์ที่ 28 เดือนเมษายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 Comments 0 Shares 22 Views 0 Reviews