• https://youtube.com/shorts/uHROzWm5C2o?si=rz-GDWXTQ4I8o4Se
    https://youtube.com/shorts/uHROzWm5C2o?si=rz-GDWXTQ4I8o4Se
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 27 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/AKK4EVrPiYQ?si=qip2ZEHzAsIfUW7s
    https://youtube.com/shorts/AKK4EVrPiYQ?si=qip2ZEHzAsIfUW7s
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 40 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/n2tleqxcD-w?si=Gkg8AHPzz5KP_npk
    https://youtube.com/shorts/n2tleqxcD-w?si=Gkg8AHPzz5KP_npk
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/we4kD2q4VwQ?si=Nk0fJs7h41HDa3uZ
    https://youtu.be/we4kD2q4VwQ?si=Nk0fJs7h41HDa3uZ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/ISe9i_7XwqA?si=fnzgLxSYs3NDsJm_
    https://youtube.com/shorts/ISe9i_7XwqA?si=fnzgLxSYs3NDsJm_
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 27 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/QwV1p4dB2V8?si=EaJTM9CySCN5KqV0
    https://youtube.com/shorts/QwV1p4dB2V8?si=EaJTM9CySCN5KqV0
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/uhWITF_qwqw?si=AhMcYYa6TU00nfvb
    https://youtube.com/shorts/uhWITF_qwqw?si=AhMcYYa6TU00nfvb
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/1ahec8urWtU?si=-etb7rowOoTGKiRI
    https://youtu.be/1ahec8urWtU?si=-etb7rowOoTGKiRI
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/rTfamc7I80M?si=UR4h0OTzuAJ93HUX
    https://youtu.be/rTfamc7I80M?si=UR4h0OTzuAJ93HUX
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 27 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/SuGuA_-fYRE?si=zsaBgFydjgf15ICX
    https://youtube.com/shorts/SuGuA_-fYRE?si=zsaBgFydjgf15ICX
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/a0z7BQ09PpU?si=dKSWUgJJa0h-hYng
    https://youtube.com/shorts/a0z7BQ09PpU?si=dKSWUgJJa0h-hYng
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 34 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/245wPEktl2Y?si=at_RFq9uFlnJt53N
    https://youtube.com/shorts/245wPEktl2Y?si=at_RFq9uFlnJt53N
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/ys9SzYKmnZU?si=Bbkil2ccx2XOx4-Z
    https://youtube.com/shorts/ys9SzYKmnZU?si=Bbkil2ccx2XOx4-Z
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/djzvugSroGg?si=56uXhzK54nffTSxX
    https://youtube.com/shorts/djzvugSroGg?si=56uXhzK54nffTSxX
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/xhgGFAsEqfA?si=sPsdvDpHKji5pTQs
    https://youtube.com/shorts/xhgGFAsEqfA?si=sPsdvDpHKji5pTQs
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/uVMo8i3niEw?si=s1JcxL7QMyfXJyOl
    https://youtube.com/shorts/uVMo8i3niEw?si=s1JcxL7QMyfXJyOl
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/EOpde11vSI8?si=5IPfCJWypOYx8cNm
    https://youtube.com/shorts/EOpde11vSI8?si=5IPfCJWypOYx8cNm
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/DAhXNc8Titc?si=pqjhOe_wwGHxFPli
    https://youtu.be/DAhXNc8Titc?si=pqjhOe_wwGHxFPli
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/hb05HeF5yzY?si=OW0fmFNGvEemPXyZ
    https://youtube.com/shorts/hb05HeF5yzY?si=OW0fmFNGvEemPXyZ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 161
    ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ
    สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป,
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง,
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น,
    สัญเจตนาในเรื่องรส,
    สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ
    สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161

    สัทธรรมลำดับที่ : 162
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่
    ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ
    สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น
    ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป,
    ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา,
    ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา,
    ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ
    ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล)
    ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162

    สัทธรรมลำดับที่ : 163
    ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสังขาร
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่,
    เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า.
    เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้.
    เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก.
    บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น
    ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร,
    อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น
    ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 161 ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 เนื้อความทั้งหมด :- --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161 สัทธรรมลำดับที่ : 162 ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สังขาร” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร. -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป, ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา, ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา, ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162 สัทธรรมลำดับที่ : 163 ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสังขาร --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่, เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า. เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้. เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก. บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    -๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ สังขารหก ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา หกเหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 163 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึงศึกษาพระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ?
    สัทธรรมลำดับที่ : 592
    ชื่อบทธรรม :- พระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ?
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=592
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ?
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ภิกษุผู้มีจิตพ้นวิเศษแล้ว จะไปเกิดในที่ใด ? พระเจ้าข้า !”
    --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไปเกิด นั้น ไม่ควรเลย.
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ! ถ้าเช่นนั้น จะไม่ไปเกิดหรือ ?”
    --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไม่ไปเกิด นั้นก็ไม่ควร.
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าเช่นนั้น บางทีเกิด บางทีไม่เกิด กระนั้นหรือ ?”
    --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า บางทีเกิด บางทีไม่เกิด นั้น ก็ไม่ควร.
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าเช่นนั้น ภิกษุผู้มีจิตพ้นวิเศษแล้ว
    จะว่าไปเกิดก็ไม่ใช่ ไม่ไปเกิดก็ไม่ใช่ กระนั้นหรือ ?”
    --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไปเกิดก็ไม่ใช่ ไม่ไปเกิดก็ไม่ใช่ แม้กระนั้นก็ไม่ควร.
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้อที่พระองค์ตรัสตอบนี้
    ข้าพเจ้าไม่รู้เรื่องเสียแล้วทำให้ข้าพเจ้าวนเวียนเสียแล้ว
    แม้ความเลื่อมใสที่ข้าพเจ้ามีแล้ว ต่อพระองค์ในการตรัสไว้ตอนต้น ๆ
    บัดนี้ก็ได้ลางเลือนไปเสียแล้ว”.
    --วัจฉะ !
    ที่ท่านไม่รู้เรื่องนั้น ก็สมควรแล้ว
    ที่ท่านเกิดรู้สึกวนเวียนนั้น ก็สมควรแล้ว
    เพราะธรรมนี้เป็นของลุ่มลึก ยากที่จะเห็น ยากที่จะรู้ตาม,
    ธรรมนี้เป็นของสงบระงับ ประณีต ไม่เป็นวิสัยที่จะหยั่งถึงได้ด้วยการตรึก,
    ธรรมนี้เป็นของละเอียด บัณฑิตจึงจะรู้ได้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/13/246/?keywords=ปณฺฑิต
    เรื่องปริยายนี้ ตัวท่านมีความเห็นมาก่อนหน้านี้ เป็นอย่างอื่น
    มีความพอใจที่จะฟังให้เป็นอย่างอื่น
    มีความชอบใจจะให้พยากรณ์เป็นอย่างอื่น
    เคยปฏิบัติทำความเพียรเพื่อได้ผลเป็นอย่างอื่น
    ท่านเองได้มีครูบาอาจารย์เป็นอย่างอื่น,
    ฉะนั้นท่านจึงรู้ได้ยาก,
    --วัจฉะ ! ถ้าเช่นนั้น เราจักย้อนถามท่านดู ท่านเห็นควรอย่างใด จงกล่าวแก้อย่างนั้น.
    --วัจฉะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้เป็นไฉน
    ถ้าไฟลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่าน ท่านจะพึงรู้ได้หรือ
    ว่าไฟนี้ลุกโพลง ๆ อยู่ต่อหน้าเรา ?”
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าพึงรู้ได้ พระเจ้าข้า !”
    --วัจฉะ ! หากมีคนถามท่านว่า ไฟที่ลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่านนี้
    มันอาศัยอะไรจึงลุกได้ เมื่อถูกถามอย่างนี้
    ท่านจะกล่าวแก้เขาว่าอย่างไร ?
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ไฟที่ลุกโพลงๆ อยู่ต่อหน้านี้
    มันอาศัยหญ้าหรือไม้เป็นเชื้อ
    มันจึงลุกอยู่ได้ พระเจ้าข้า !”
    --วัจฉะ ! หากไฟนั้นดับไปต่อหน้าท่าน
    ท่านจะพึงรู้หรือ ว่าไฟได้ดับไปต่อหน้าเรา ?
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าพึงรู้ได้ พระเจ้าข้า !”
    --วัจฉะ ! หากมีคนถามท่านว่า
    ไฟที่ดับไปต่อหน้าท่านนั้น มันไปทางทิศไหนเสีย
    ทิศตะวันออกหรือตะวันตก ทิศเหนือหรือใต้
    เมื่อถูกถามอย่างนี้ ท่านจะกล่าวแก้เขาว่าอย่างไร ?
    “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้อนั้นไม่ควรกล่าวอย่างนั้น
    เพราะไฟนั้นอาศัยเชื้อคือหญ้าหรือไม้จึงลุกขึ้นได้
    แต่ถ้าเชื้อนั้นมันสิ้นไปแล้ว ทั้งไม่มีอะไรอื่นเป็นเชื้ออีก
    ไฟนั้นก็ควรนับว่าไม่มีเชื้อ ดับไปแล้ว”.
    ฉันใดก็ฉันนั้นนั่นแล
    --วัจฉะ เอย ! เมื่อไปบัญญัติอะไรขึ้นมาให้เป็นสัตว์
    โดยถือเอา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ กลุ่มใดขึ้นมา มันก็ได้,
    แต่ความยึดถือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    สำหรับกลุ่มนี้ ตถาคต เองละได้ขาดแล้ว ถอนขึ้นได้จนถึงรากเง่าของมันแล้ว
    ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วนเสียแล้ว ถึงความยกเลิกไม่มีอีก ไม่ให้เกิดขึ้นอีกต่อไปแล้ว.
    --วัจฉะ เอย ! ตถาคตอยู่นอกเหนือ
    การนับว่าเป็น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นั้นเสียแล้ว
    มันเป็นเรื่องลึกซึ้ง ที่ใครๆ ไม่พึงประมาณได้ หยั่งถึงได้ยาก
    เหมือนดั่งห้วงมหาสมุทรฉะนั้น.
    --วัจฉะ เอย ! ข้อนี้จึง
    ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิด
    ไม่ควรจะกล่าวว่าไม่เกิด
    ไม่ควรจะกล่าวว่าบางทีก็เกิด บางทีก็ไม่เกิด และ
    ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/245-247/248-251.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/190/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๔๕-๒๔๗/๒๔๘-๒๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/245/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=592
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=592
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40
    ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    อริยสาวก​พึงศึกษาพระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ? สัทธรรมลำดับที่ : 592 ชื่อบทธรรม :- พระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ? https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=592 เนื้อความทั้งหมด :- --พระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ? --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ภิกษุผู้มีจิตพ้นวิเศษแล้ว จะไปเกิดในที่ใด ? พระเจ้าข้า !” --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไปเกิด นั้น ไม่ควรเลย. --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ! ถ้าเช่นนั้น จะไม่ไปเกิดหรือ ?” --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไม่ไปเกิด นั้นก็ไม่ควร. --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าเช่นนั้น บางทีเกิด บางทีไม่เกิด กระนั้นหรือ ?” --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า บางทีเกิด บางทีไม่เกิด นั้น ก็ไม่ควร. --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าเช่นนั้น ภิกษุผู้มีจิตพ้นวิเศษแล้ว จะว่าไปเกิดก็ไม่ใช่ ไม่ไปเกิดก็ไม่ใช่ กระนั้นหรือ ?” --วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไปเกิดก็ไม่ใช่ ไม่ไปเกิดก็ไม่ใช่ แม้กระนั้นก็ไม่ควร. --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้อที่พระองค์ตรัสตอบนี้ ข้าพเจ้าไม่รู้เรื่องเสียแล้วทำให้ข้าพเจ้าวนเวียนเสียแล้ว แม้ความเลื่อมใสที่ข้าพเจ้ามีแล้ว ต่อพระองค์ในการตรัสไว้ตอนต้น ๆ บัดนี้ก็ได้ลางเลือนไปเสียแล้ว”. --วัจฉะ ! ที่ท่านไม่รู้เรื่องนั้น ก็สมควรแล้ว ที่ท่านเกิดรู้สึกวนเวียนนั้น ก็สมควรแล้ว เพราะธรรมนี้เป็นของลุ่มลึก ยากที่จะเห็น ยากที่จะรู้ตาม, ธรรมนี้เป็นของสงบระงับ ประณีต ไม่เป็นวิสัยที่จะหยั่งถึงได้ด้วยการตรึก, ธรรมนี้เป็นของละเอียด บัณฑิตจึงจะรู้ได้. -http://etipitaka.com/read/pali/13/246/?keywords=ปณฺฑิต เรื่องปริยายนี้ ตัวท่านมีความเห็นมาก่อนหน้านี้ เป็นอย่างอื่น มีความพอใจที่จะฟังให้เป็นอย่างอื่น มีความชอบใจจะให้พยากรณ์เป็นอย่างอื่น เคยปฏิบัติทำความเพียรเพื่อได้ผลเป็นอย่างอื่น ท่านเองได้มีครูบาอาจารย์เป็นอย่างอื่น, ฉะนั้นท่านจึงรู้ได้ยาก, --วัจฉะ ! ถ้าเช่นนั้น เราจักย้อนถามท่านดู ท่านเห็นควรอย่างใด จงกล่าวแก้อย่างนั้น. --วัจฉะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้เป็นไฉน ถ้าไฟลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่าน ท่านจะพึงรู้ได้หรือ ว่าไฟนี้ลุกโพลง ๆ อยู่ต่อหน้าเรา ?” --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าพึงรู้ได้ พระเจ้าข้า !” --วัจฉะ ! หากมีคนถามท่านว่า ไฟที่ลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่านนี้ มันอาศัยอะไรจึงลุกได้ เมื่อถูกถามอย่างนี้ ท่านจะกล่าวแก้เขาว่าอย่างไร ? --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ไฟที่ลุกโพลงๆ อยู่ต่อหน้านี้ มันอาศัยหญ้าหรือไม้เป็นเชื้อ มันจึงลุกอยู่ได้ พระเจ้าข้า !” --วัจฉะ ! หากไฟนั้นดับไปต่อหน้าท่าน ท่านจะพึงรู้หรือ ว่าไฟได้ดับไปต่อหน้าเรา ? --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าพึงรู้ได้ พระเจ้าข้า !” --วัจฉะ ! หากมีคนถามท่านว่า ไฟที่ดับไปต่อหน้าท่านนั้น มันไปทางทิศไหนเสีย ทิศตะวันออกหรือตะวันตก ทิศเหนือหรือใต้ เมื่อถูกถามอย่างนี้ ท่านจะกล่าวแก้เขาว่าอย่างไร ? “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้อนั้นไม่ควรกล่าวอย่างนั้น เพราะไฟนั้นอาศัยเชื้อคือหญ้าหรือไม้จึงลุกขึ้นได้ แต่ถ้าเชื้อนั้นมันสิ้นไปแล้ว ทั้งไม่มีอะไรอื่นเป็นเชื้ออีก ไฟนั้นก็ควรนับว่าไม่มีเชื้อ ดับไปแล้ว”. ฉันใดก็ฉันนั้นนั่นแล --วัจฉะ เอย ! เมื่อไปบัญญัติอะไรขึ้นมาให้เป็นสัตว์ โดยถือเอา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ กลุ่มใดขึ้นมา มันก็ได้, แต่ความยึดถือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สำหรับกลุ่มนี้ ตถาคต เองละได้ขาดแล้ว ถอนขึ้นได้จนถึงรากเง่าของมันแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วนเสียแล้ว ถึงความยกเลิกไม่มีอีก ไม่ให้เกิดขึ้นอีกต่อไปแล้ว. --วัจฉะ เอย ! ตถาคตอยู่นอกเหนือ การนับว่าเป็น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นั้นเสียแล้ว มันเป็นเรื่องลึกซึ้ง ที่ใครๆ ไม่พึงประมาณได้ หยั่งถึงได้ยาก เหมือนดั่งห้วงมหาสมุทรฉะนั้น. --วัจฉะ เอย ! ข้อนี้จึง ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าไม่เกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าบางทีก็เกิด บางทีก็ไม่เกิด และ ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ ดังนี้แล.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/245-247/248-251. http://etipitaka.com/read/thai/13/190/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๔๕-๒๔๗/๒๔๘-๒๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/13/245/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=592 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=592 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40 ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - พระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ?
    -พระอรหันต์ตายแล้วสูญหรือ? “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ภิกษุผู้มีจิตพ้นวิเศษแล้ว จะไปเกิดในที่ใด ? พระเจ้าข้า !” วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไปเกิด นั้น ไม่ควรเลย. “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ! ถ้าเช่นนั้น จะไม่ไปเกิดหรือ ?” วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไม่ไปเกิด นั้นก็ไม่ควร. “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าเช่นนั้น บางทีเกิด บางทีไม่เกิด กระนั้นหรือ ?” วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า บางทีเกิด บางทีไม่เกิด นั้น ก็ไม่ควร. “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าเช่นนั้น ภิกษุผู้มีจิตพ้นวิเศษแล้ว จะว่าไปเกิดก็ไม่ใช่ ไม่ไปเกิดก็ไม่ใช่ กระนั้นหรือ ?” วัจฉะ ! ที่ใช้คำพูดว่า จะไปเกิดก็ไม่ใช่ ไม่ไปเกิดก็ไม่ใช่ แม้กระนั้นก็ไม่ควร. “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้อที่พระองค์ตรัสตอบนี้ ข้าพเจ้าไม่รู้เรื่องเสียแล้วทำให้ข้าพเจ้าวนเวียนเสียแล้ว แม้ความเลื่อมใสที่ข้าพเจ้ามีแล้ว ต่อพระองค์ในการตรัสไว้ตอนต้น ๆ บัดนี้ก็ได้ลางเลือนไปเสียแล้ว”. วัจฉะ ! ที่ท่านไม่รู้เรื่องนั้น ก็สมควรแล้ว ที่ท่านเกิดรู้สึกวนเวียนนั้น ก็สมควรแล้ว เพราะธรรมนี้เป็นของลุ่มลึก ยากที่จะเห็น ยากที่จะรู้ตาม, ธรรมนี้เป็นของสงบระงับ ประณีต ไม่เป็นวิสัยที่จะหยั่งถึงได้ด้วยการตรึก, ธรรมนี้เป็นของละเอียด บัณฑิตจึงจะรู้ได้. เรื่องปริยายนี้ ตัวท่านมีความเห็นมาก่อนหน้านี้ เป็นอย่างอื่น มีความพอใจที่จะฟังให้เป็นอย่างอื่น มีความชอบใจ จะให้พยากรณ์เป็นอย่างอื่น เคยปฏิบัติทำความเพียรเพื่อได้ผลเป็นอย่างอื่น ท่านเองได้มีครูบาอาจารย์เป็นอย่างอื่น, ฉะนั้นท่านจึงรู้ได้ยาก, วัจฉะ ! ถ้าเช่นนั้น เราจักย้อนถามท่านดู ท่านเห็นควรอย่างใด จงกล่าวแก้อย่างนั้น. วัจฉะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้เป็นไฉน ถ้าไฟลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่าน ท่านจะพึงรู้ได้หรือ ว่าไฟนี้ลุกโพลง ๆ อยู่ต่อหน้าเรา ?” “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าพึงรู้ได้ พระเจ้าข้า !” วัจฉะ ! หากมีคนถามท่านว่า ไฟที่ลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่านนี้ มันอาศัยอะไรจึงลุกได้ เมื่อถูกถามอย่างนี้ ท่านจะกล่าวแก้เขาว่าอย่างไร ? “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ไฟที่ลุกโพลงๆ อยู่ต่อหน้านี้ มันอาศัยหญ้าหรือไม้เป็นเชื้อ มันจึงลุกอยู่ได้ พระเจ้าข้า !” วัจฉะ ! หากไฟนั้นดับไปต่อหน้าท่าน ท่านจะพึงรู้หรือ ว่าไฟได้ดับไปต่อหน้าเรา ? “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าพึงรู้ได้ พระเจ้าข้า !” วัจฉะ ! หากมีคนถามท่านว่า ไฟที่ดับไปต่อหน้าท่านนั้น มันไปทางทิศไหนเสีย ทิศตะวันออกหรือตะวันตก ทิศเหนือหรือใต้ เมื่อถูกถามอย่างนี้ ท่านจะกล่าวแก้เขาว่าอย่างไร ? “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ข้อนั้นไม่ควรกล่าวอย่างนั้น เพราะไฟนั้นอาศัยเชื้อคือหญ้าหรือไม้จึงลุกขึ้นได้ แต่ถ้าเชื้อนั้นมันสิ้นไปแล้ว ทั้งไม่มีอะไรอื่นเป็นเชื้ออีก ไฟนั้นก็ควรนับว่าไม่มีเชื้อ ดับไปแล้ว”. ฉันใดก็ฉันนั้นนั่นแล วัจฉะเอย ! เมื่อไปบัญญัติอะไรขึ้นมาให้เป็นสัตว์ (ตถาคต) โดยถือเอา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ กลุ่มใดขึ้นมา มันก็ได้, แต่ความยึดถือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สำหรับกลุ่มนี้ ตถาคตเองละได้ขาดแล้ว ถอนขึ้นได้จนถึงรากเง่าของมันแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วนเสียแล้ว ถึงความยกเลิกไม่มีอีก ไม่ให้เกิดขึ้นอีกต่อไปแล้ว. วัจฉะเอย ! ตถาคตอยู่นอกเหนือการนับว่าเป็น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นั้นเสียแล้ว มันเป็นเรื่องลึกซึ้ง ที่ใครๆ ไม่พึงประมาณได้ หยั่งถึงได้ยาก เหมือนดั่งห้วงมหาสมุทรฉะนั้น. วัจฉะเอย ! ข้อนี้จึงไม่ควรจะกล่าวว่าเกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าไม่เกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าบางทีก็เกิด บางทีก็ไม่เกิด และไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 188 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สนิมจิต เทียบสนิมทอง
    สัทธรรมลำดับที่ : 960
    ชื่อบทธรรม :- สนิมจิต เทียบสนิมทอง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=960
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ช. ว่าด้วย ปกิณณกะ
    --สนิมจิต เทียบสนิมทอง
    --ภิกษุ ท. ! สนิมแห่งทอง ๕ ประการ เหล่านี้ มีอยู่
    เป็นสนิมทำให้ทองเศร้าหมอง
    มีเนื้อไม่อ่อน ไม่ควรแก่การงานของช่างทอง
    ไม่ส่งรัศมี มีเนื้อร่วน และไม่เหมาะสมแก่การกระทำของช่างทอง.
    สนิม ๕ ประการนั้นอย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ
    เหล็ก โลหะ ดีบุก ตะกั่ว เงิน.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดทองปราศจากสนิม ๕ ประการ เหล่านี้แล้ว
    ทองนั้น ย่อมเป็นทองมีเนื้ออ่อน
    ควรแก่การงานของช่างทอง
    มีรัศมี เนื้อไม่ร่วน และเหมาะแก่การกระทำของช่างทอง.
    ถ้าใครปรารถนาจะกระทำเครื่องประดับต่างๆ
    เช่น แหวน ตุ้มหู สร้อยคอ หรือสุวรรณมาลา ก็ตาม
    ก็สำเร็จประโยชน์แก่เขานั้น, นี่ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : สนิมแห่งจิต ๕ ประการเหล่านี้ มีอยู่
    เป็นสนิมทำให้จิตเศร้าหมอง
    ไม่อ่อนโยน
    ไม่ควรแก่การงานของจิต
    ไม่ประภัสสร รวนเร และไม่ตั้งมั่นโดยชอบเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/17/?keywords=น+จ+ปภสฺสรํ

    #สนิมแห่งจิต ๕ ประการนั้นอย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ
    ๑.กามฉันทะ
    ๒.พยาบาท
    ๓.ถีนมิทธะ
    ๔.อุทธัจจกุกกุจจะ
    ๕.วิจิกิจฉา.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดจิตปราศจากเครื่องเศร้าหมอง ๕ ประการเหล่านี้แล้ว
    จิตนั้นย่อมเป็นจิตอ่อนโยน
    ควรแก่การงานของจิต
    เป็นจิตประภัสสร
    http://etipitaka.com/read/pali/22/17/?keywords=ปภสฺสรํ
    ไม่รวนเร และตั้งมั่นโดยชอบเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/16/23.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/16/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๘/๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/17/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=960
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=960
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สนิมจิต เทียบสนิมทอง สัทธรรมลำดับที่ : 960 ชื่อบทธรรม :- สนิมจิต เทียบสนิมทอง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=960 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ช. ว่าด้วย ปกิณณกะ --สนิมจิต เทียบสนิมทอง --ภิกษุ ท. ! สนิมแห่งทอง ๕ ประการ เหล่านี้ มีอยู่ เป็นสนิมทำให้ทองเศร้าหมอง มีเนื้อไม่อ่อน ไม่ควรแก่การงานของช่างทอง ไม่ส่งรัศมี มีเนื้อร่วน และไม่เหมาะสมแก่การกระทำของช่างทอง. สนิม ๕ ประการนั้นอย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ เหล็ก โลหะ ดีบุก ตะกั่ว เงิน. --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดทองปราศจากสนิม ๕ ประการ เหล่านี้แล้ว ทองนั้น ย่อมเป็นทองมีเนื้ออ่อน ควรแก่การงานของช่างทอง มีรัศมี เนื้อไม่ร่วน และเหมาะแก่การกระทำของช่างทอง. ถ้าใครปรารถนาจะกระทำเครื่องประดับต่างๆ เช่น แหวน ตุ้มหู สร้อยคอ หรือสุวรรณมาลา ก็ตาม ก็สำเร็จประโยชน์แก่เขานั้น, นี่ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : สนิมแห่งจิต ๕ ประการเหล่านี้ มีอยู่ เป็นสนิมทำให้จิตเศร้าหมอง ไม่อ่อนโยน ไม่ควรแก่การงานของจิต ไม่ประภัสสร รวนเร และไม่ตั้งมั่นโดยชอบเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/17/?keywords=น+จ+ปภสฺสรํ #สนิมแห่งจิต ๕ ประการนั้นอย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ๑.กามฉันทะ ๒.พยาบาท ๓.ถีนมิทธะ ๔.อุทธัจจกุกกุจจะ ๕.วิจิกิจฉา. --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดจิตปราศจากเครื่องเศร้าหมอง ๕ ประการเหล่านี้แล้ว จิตนั้นย่อมเป็นจิตอ่อนโยน ควรแก่การงานของจิต เป็นจิตประภัสสร http://etipitaka.com/read/pali/22/17/?keywords=ปภสฺสรํ ไม่รวนเร และตั้งมั่นโดยชอบเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/16/23. http://etipitaka.com/read/thai/22/16/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๘/๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/22/17/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=960 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=960 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ช. ว่าด้วย ปกิณณกะ
    -หมวด ช. ว่าด้วย ปกิณณกะ สนิมจิต เทียบสนิมทอง ภิกษุ ท. ! สนิมแห่งทอง ๕ ประการ เหล่านี้ มีอยู่ เป็นสนิมทำให้ทองเศร้าหมอง มีเนื้อไม่อ่อน ไม่ควรแก่การงานของช่างทอง ไม่ส่งรัศมี มีเนื้อร่วน และไม่เหมาะสมแก่การกระทำของช่างทอง. สนิม ๕ ประการนั้นอย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ เหล็ก โลหะ ดีบุก ตะกั่ว เงิน. ภิกษุ ท. ! เมื่อใดทองปราศจากสนิม ๕ ประการ เหล่านี้แล้ว ทองนั้น ย่อมเป็นทองมีเนื้ออ่อน ควรแก่การงานของช่างทอง มีรัศมี เนื้อไม่ร่วน และเหมาะแก่การกระทำของช่างทอง. ถ้าใครปรารถนาจะกระทำเครื่องประดับต่างๆ เช่น แหวน ตุ้มหู สร้อยคอ หรือสุวรรณมาลา ก็ตาม ก็สำเร็จประโยชน์แก่เขานั้น, นี่ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : สนิมแห่งจิต ๕ ประการเหล่านี้ มีอยู่ เป็นสนิมทำให้จิตเศร้าหมอง ไม่อ่อนโยน ไม่ควรแก่การงานของจิต ไม่ประภัสสร รวนเร และไม่ตั้งมั่นโดยชอบเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ. สนิมแห่งจิต ๕ ประการนั้นอย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา. ภิกษุ ท. ! เมื่อใดจิตปราศจากเครื่องเศร้าหมอง ๕ ประการเหล่านี้แล้ว จิตนั้นย่อมเป็นจิตอ่อนโยน ควรแก่การงานของจิต เป็นจิตประภัสสร ไม่รวนเร และตั้งมั่นโดยชอบเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 183 มุมมอง 0 รีวิว
  • Love
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 117 มุมมอง 5 0 รีวิว
  • ค่าจัดหนวด สำหรับคนที่ไม่ได้อยากไว้หนวด ผมแนะนำให้ไปกำจัดหนวดแบบถาวรครับ เพราะแค่ไม่มีหนวดภาพลักษณ์ของคุณก็จะเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง อีกทั้งการโกนหนวดทำร้ายผิวหน้าอย่างมาก เมื่อไม่ต้องโกนหนวดแล้วผิวหน้าจึงดีขึ้นด้วย ค่ากำจัดหนวดแบบถาวรอยู่ที่ประมาณ 50,000-100,000 เยน แม้ราคาจะไม่ถือว่าถูกแต่สำหรับคนทำงานที่ต้องอาศัย ภาพลักษณ์ก็ถือว่าคุ้มค่ากับการลงทุนนะครับ

    จากหนังสือ #จิตวิทยาสายดาร์ก
    ค่าจัดหนวด สำหรับคนที่ไม่ได้อยากไว้หนวด ผมแนะนำให้ไปกำจัดหนวดแบบถาวรครับ เพราะแค่ไม่มีหนวดภาพลักษณ์ของคุณก็จะเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง อีกทั้งการโกนหนวดทำร้ายผิวหน้าอย่างมาก เมื่อไม่ต้องโกนหนวดแล้วผิวหน้าจึงดีขึ้นด้วย ค่ากำจัดหนวดแบบถาวรอยู่ที่ประมาณ 50,000-100,000 เยน แม้ราคาจะไม่ถือว่าถูกแต่สำหรับคนทำงานที่ต้องอาศัย ภาพลักษณ์ก็ถือว่าคุ้มค่ากับการลงทุนนะครับ จากหนังสือ #จิตวิทยาสายดาร์ก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 114 มุมมอง 0 รีวิว
  • DB Arnold Press
    โดนกล้ามเนื้อหัวไหล่(ทุกมัด)ในท่าเดียว
    DB Arnold Press โดนกล้ามเนื้อหัวไหล่(ทุกมัด)ในท่าเดียว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 3 0 รีวิว